You are on page 1of 10

1

พลาสติกและไมโคร
พลาสติก

โดย...ผศ.ดร. ฒาลิศา
2
 ในแต่ละปี มีขยะพลาสติกจากทว่ ั โลกมากกว่า 8 ล้านต ันถูกทิง้ ลง
ิ้ สว่ นลอยในทะเล สว่ นที่
มหาสมุทร มีเพียงร้อยละ 5 ทีเ่ ห็นเป็นชน
เหลือนนจมอยู
ั้ ใ่ ต้ทะเล

 ประเทศไทยติดอ ันด ับ 6 ของโลกทีม ่ ข


ี ยะพลาสติกมากทีส ่ ด
ุ ใน
ทะเล ซงึ่ พลาสติกเป็นว ัสดุทยี่ อ
่ ยสลายได้ยาก มีความคงสภาพ
สูง จึงสง่ ผลให้ขยะพลาสติกทีต ่ กค้างในทะเลใชเ้ วลาในการ
ย่อยสลายอยูใ่ นชว ่ ง 10 – 600 ปี ขึน ้ อยูก่ ับประเภทของพลาสติก
สง่ ผลให้เกิดปัญหาในหลายพืน ้ ทีข
่ องทะเลไทย ไม่วา่ จะเป็น
ปัญหามลพิษทางน้ำ และการตายของสตว์ ั ทะเลทีก
่ น
ิ พลาสติก
เข้าไป

 นอกจากนีก้ ารทิง้ ขยะพลาสติกขนาดใหญ่ เมือ ่ เวลาผ่านไปก็


สามารถเกิดการย่อยสลาย มีการแตกห ักเป็นขยะพลาสติก
ขนาดเล็ก หรือเรียกว่าไมโครพลาสติก (Microplastic) มีขนาด 1
ไมโครเมตร – 5 มิลลิเมตร (Arthur et al., 2009; Cole et al., 2011)
แพร่กระจายสูส่ งิ่ แวดล้อม
ข้อมูลปริมาณขยะทะเลใน 9

ประเทศไทยปี 2560

ทีม
่ า : กรมทร ัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง, 2560
10

“””’พลาสติก ”’’’; ”
ปัญหาหล ักขยะในทะเล
ขยะทะเลในประเทศไทยมีปริมาณสูงเป็นอ ันด ับ 6
ของโลก น ับว่าเป็นปัญหามลพิษทางทะเลทีค ่ ก
ุ คามต่อ
ระบบนิเวศและสงิ่ มีชวี ต ิ ทางทะเล พลาสติกเป็นประเภท
ขยะทะเลทีพ ่ บมากทีส ่ ด ุ ในประเทศไทย และทีส ่ ผลต่อ
่ ง
การตายของสตว์ ั ทะเลมากทีส ่ ด ุ คือ ป
เศษพลาสติก เศษ
ู น ำไ
ี่ ก
ั้ ทํ ถ
ื ก และเศษอวนไนลอน
เชอ ้
อ ย ล ะ9 เท ่
า (ส
น น
ม ล
า พนษิ ทักอนุ
าง ร ักษ์ทร ัพยากร
ี ง ร ิ

ิ เพย ่ ใหเ้ ก ิ่ แวดลอ ้ ม
ทางทะเลและชายฝั
ม่ ! ข
ย ะพ ลา สต
ถก

ู นำไ ป เ ผ่ ง
า ซ, ่
ง ึ 2562)
กอ
คา้ งอย

ู ่ น ส ง
ื ไ
ู ้ รอ
รห ละ 12 ยละ 79 ตก
ิ ร ้
อ ย ้

รไี ซเค ละทเี่ หลอ ื รอ

อากาศ
10

“””’ การแบ่งประเภท
ของพลาสติก
1 เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) โพลิเมอร์
ประเภทนีจ ้ ะมีโครงสร้างโมเลกุลของสายโซโ่ พลิเมอร์
เป็นแบบเสน ้ ตรงหรือแบบกิง่ สน ั้ ๆ เมือ ่ ได้ร ับความร้อน
จะอ่อนต ัวและหลอมเหลวเป็นของเหลวหนืด และเมือ ่
เย็นต ัวลงก็จะแข็งต ัวได้ผลิตภ ัณฑ์ทม ี่ รี ป
ู ร่างตาม
ต้องการ เมือ ่ ใชเ้ สร็จแล้วสามารถนำกล ับมารีไซเคิลได้
เชน ่ ขวดน้ำดืม ่
2 เทอร์โมเซตติง้ (Thermosetting) โพลิเมอร์ประเภท
้ ะมีโครงสร้างเป็นแบบร่างแห ซงึ่ จะหลอมเหลวได้ใน
นีจ
ขนตอนการขึ
ั้ ้ รูปครงแรกเท่
น ั้ านน ั้ ไม่สามารถนำมาผ่าน
ไมโครพลาสติก 11

ขยะทะเลและขยะพลาสติกเป็นจุดกำเนิดของไมโครพลาสติกทีล ่ อ
่ งลอยอยูใ่ น
ทะเล ซงึ่ เป็นปัญหามลภาวะทางทะเลระด ับโลก

มีการให้คาํ จําก ัดความของไมโครพลาสติกว่าเป็นพลาสติกทีม ่ ข


ี นาด 1
ไมโครเมตร-5 มิลลิเมตร (Wright et al., 2013) และสามารถแบ่งประเภทของ
ไมโครพลาสติกตามแหล่งทีม ่ าหล ักตามการแบ่งของ Cole et al., (2011) ได้ 2
ประเภทด ังต่อไปนี้
1. Primary microplastic คือ ไมโครพลาสติกทีม ่ ก ี ารผลิตเป็น
พลาสติกขนาดเล็กมาตงแต่ ั้ ตน
้ เชน่ เม็ดพลาสติกทีอ ่ ยูใ่ นโฟมทําความ
สะอาดผิวหน้า
2. Secondary microplastic เป็นพลาสติกทีเ่ กิดจากพลาสติกทีม ่ ี
ขนาดใหญ่ โดยเกิดจากการสะสมของพลาสติกในสงิ่ แวดล้อมเป็นเวลา
ึ่
ผลกระทบจากพลาสติกและ 11

ไมโครพลาสติก
พลาสติก เป็นภ ัยคุกคามต่อสงิ่ มีชวี ต ิ ในทะเล ทงเต่ ั้ าทะเล ปลา นกทะเล
รวมถึงปะการ ังด้วย นอกจากนีก ้ ารแตกต ัวของขยะพลาสติกไปสูพ ่ ลาสติกทีเ่ รา
เรียกว่า ไมโครพลาสติก ย ังมีความเสย ี่ งทีจ ั ทะเลกินเข้าไปโดยไม่รต
่ ะถูกสตว์ ู ้ ัว
เมือ ่ นน
่ เป็นเชน ั้ ไมโครพลาสติกเหล่านีก ่ ว
้ ็จะเข้าสูห ่ งโซอ่ าหาร และมนุษย์ก็เป็น
หนึง่ ในห่วงโซอ ่ าหารนนั้ สรุปผลกระทบด ังนี้
ผลกระทบของไมโครพลาสติก 11

ต่อมนุษย์
ไมโครพลาสติก ย ังสามารถเข้าสูร่ า่ งกายมนุษย์ได้โดยการทานอาหารที่
ปรุงจากสตว์ั ทะเลทีม่ ไี มโครพลาสติก
อยูใ่ นร่างกาย มีการศก ึ ษาทีพ ั ทะเล ต ัวอย่างเชน
่ บไมโครพลาสติกในสตว์ ่
มีการปนเปื้ อน
ของไมโคร
พลาสติกในหอย
สองฝาบริเวณ ในกระเพาะปลาทู
ชายหาดเจ้าหลาว บริเวณหาดหาด
และชายหาดคุง้ เจ้าไหม จ ังหว ัด
วิมาน รูปร่างทีพ่ บ ตร ัง พบไมโคร
มากทีส ่ ด
ุ คือ พลาสติเฉลีย ่
พบไมโครพลาสติกในกระเพาะปลาทู
เสน้ ใย (ปิ ติพงษ์ 78.04 ชนิ้ /ต ัว
จากตลาดสดแม่กลอง เฉลีย ่ 39.40
ธาระมนต์ และ ิ้ ต่อต ัว (ฒาลิศา เนียมมณี และ
ชน
ผลกระทบของไมโคร 24

พลาสติกต่อมนุษย์
การพบไมโครพลาสติกในสตว์ ั ทะเล แสดงให้เห็นว่ามลพิษขยะพลาสติกไม่
ได้เป็นอ ันตรายต่อสตว์ ั ทะเล เพียงอย่างเดียว แต่มลพิษขยะพลาสติกที่
พวกเราสร้างขึน ้ กำล ังคุกคามเราอย่างเงียบๆ มีการคาดการณ์ไว้วา ่ ไมโคร
พลาสติกอาจสง ่ ผลต่อมนุษย์ได้หลายประการในระยะยาว เชน ่
 รบกวนฮอร์โมนในร่างกาย ไมโครพลาสติกมีสารทีเ่ รียกว่า Bisphenol A
(ฺBPA) อาจเข้าไปรบกวนการทำงานของต่อมไร้ทอ ่ มีผลกระทบก ับ
ฮอร์โมนเอสโตรเจนทีค ่ อยควบคุมการเจริญเติบโตของเนือ้ เยือ
่ และ มี
ผลกระทบถึงการเสอ ื่ มสมรรถภาพทางเพศชาย
 เด็กมีพ ัฒนาการลดลง สาร BPA มีผลกระทบต่อพ ัฒนาการทางสมอง
ของเด็กทีอ ่ ายุนอ้ ยกว่า 5 ปี ทำให้ความจำและระบบประสาทลดลง
 ข ัดขวางการทำงานของเสน ้ เลือด
 อาจเกิดโรคมะเร็ง เพราะไมโครพลาสติกอาจปล่อยพิษหรือโลหะหน ักที่
ติดจากสงิ่ แวดล้อมเข้าสูเ่ นือ ้ เยือ


ทางออก ปัญหาพลาสติกและไมโครพลาสติก 25

การละ ลด เลิก
ใชพ ้ ลาสติก
อาจเป็น
หนทางเดียวที่
จะลดจำนวน
ไมโคร
พลาสติกทีเ่ ข้า
่ ว่ งโซอ
สูห ่ าหาร
ของเราได้

You might also like