You are on page 1of 1

การแก้ปญ

ั หาสถานการณ์บา
้ นเมืองในปัจจุบน

จากสถานการณ์บา
้ นเมืองในปัจจุบน
ั กลุ่ม #SAVEบางกลอย ได้จัดกิจกรรมหน้ากระทรวงทรัพยากรฯ

วันนี้ (26 กรกฎาคม) เมื่อเวลา 10.00 น. ที่บริเวณด้านหน้ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ


สิ่งแวดล้อม ได้มีกลุ่มมวลชนมาจัดกิจกรรมคัดค้านการขึ้นทะเบียนมรดกโลก บางกลอย นำโดย ธัช
พงศ์ แกดำ ภาคีกลุ่ม #SAVEบางกลอย โดยระบุว่า พี่น้องบางกลอยถูกไล่ออกจากบ้านเกิด การ
เดินทางกลับบ้าน 25 ปี แลกมาด้วยการถูกจับและดำเนินคดี กระทรวงทรัพยากรฯ กลับเร่งผลักดัน
การขึ้นทะเบียนมรดกโลก โดยไม่สนใจวิถีชีวิตของชนเผ่าพื้นเมือง อ้างเพียงว่าได้ดูแลชาวบ้านอย่างดี
แต่ผลที่เห็นคือ พี่น้องเราจำนวนมากไม่สามารถทำกินได้ เป็นโรคขาดสารอาหาร และเผชิญความยาก
ลำบาก การต่อสู้ของพวกเขาเพียงขอแค่ได้กลับบ้านเกิดก็ดูเป็นสิ่งที่ยากลำบาก วันนี้จึงมาร่วม
ส่งเสียงบอกสังคมโลกว่า การขึ้นทะเบียนมรดกโลกต้องเลื่อนออกไปจนกว่าจะมีการแก้ไขปัญหาร่วม
กันอย่างเป็นรูปธรรม…
...“วันนี้ เวลา 16.00 น. จะมีการพิจารณาเรือ่ งมรดกโลก แต่ตอนนี้ยังมีการอ้าง พ.ร.ก. ฉุกเฉิน
อ้างโควิด แต่เรือ ่ งมรดกโลกเป็นเรือ
่ งสำคัญ เพราะกระบวนการต่างๆ ยังไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่าง
ชัดเจน อยู่ดีๆ จะไปล็อกคอชาวบ้าน พี่ตำรวจที่นี่ก็เดือดร้อนไม่ต่างกับชาวบ้านหรอก แล้วอยู่ดีๆ มัน
มีคนฉวยโอกาสในการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ชาวบ้านที่เขาอยู่มาตั้งแต่บรรพบุรุษเขาจะอยู่ที่ไหน
ผมก็ขอให้แก้ปัญหาก่อน เลื่อนไปก่อน ใช้สิทธิใ์ นนามประชาชนเต็มที่” ธัชพงศ์กล่าว...
(ขอบคุณบทความจาก The Standard team 2021)

จากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน ้ ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2564 ทีผ ่ า่ นมาดังบทความทีค ่ ัดย่อมา ความ


ขัดแย้งทีเ่ กิดขึน ้ อันได้แก่ การจัดกิจกรรมคัดค้านบริเวณด้านหน้ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง ่ แวดล้อมของพีน ่ ้องชาวบางกลอยด้วยเหตุจากการกระทำของรัฐบาลทีม ่ กี ารเร่งผลักดันให้
กลุ่มป่าแก่งกระจานขึน ้ ทะเบียนเป็นมรดกโลกซึง ่ สวนทางกับความคิดของชาวบางกลอย การระงับ
ความขัดแย้งในสำหรับสถานการณ์ดังกล่าวควรริเริม ่ จากการพิจารณาจากต้นเหตุเรือ ่ งเสียก่อนนั่น
คือ การทีช ่ าวบ้านถูกบีบบังคับให้ออกมาจากพืน ้ ทีใ่ นอ.แก่งกระจาน ป่าใหญ่ใจแผ่นดิน ผ่านการใช้ก
ฏหมายอย่างไม่เป็นธรรมทำให้ชาวบ้านได้รบ ั ความเดือนร้อนอันเป็นปัญหามาตั้งแต่ปี 2539 และ
เมือ
่ พิจารณาเหตุแล้ว ทัง ้ สองฝั่งก็ควรทีจ ่ ะเปิดใจรับฟังข้อคิดเห็นทัง ้ หมดจากทัง ้ สองฝ่าย โดยไม่ใช่
การฟังจากเพียงฝ่ายใดฝั่งหนึ่งเพียงข้างเดียว และให้ความเคารพซึง ่ กันและกัน หลังจากการเปิดใจ
รับฟังข้อคิดเห็นทีผ ่ า ่ นการตีความหมายอย่างถูกต้อง และตรงกันของทัง ้ สองฝ่ายแล้วจึงนำไปสูก ่ าร
เจรจาไกล่เกลี่ยเพือ ่ ให้ชาวบ้านซึง ่ เป็นผูไ้ ด้รบ ั ตวามเสียหายได้รบ ั ความยุติธรรมกลับคืนมา โดยข้อ
เรียกร้องทีช ่ าวบ้านเสนอมี
1.ขอให้รฐ ั ยอมให้ชาวบ้านได้กลับเข้าไปอาศัยทีถ ่ ิ่นเดิม
2.ขอให้รฐ ั ยุติการใช้ความรุนแรง และมาตราการทางกฏหมายดำเนินคดีกับชาวบ้าน
3.ขอให้รฐ ั คุ้มครองวิถีชว ี ต
ิ ชาวกระเหรีย ่ งและการทำไร่หมุนเวียน
4.ขอให้รฐ ั ช่วยเหลือชาวบ้านในสภาวะขาดแคลนอาหารในปัจจุบน ั จากสภาพศก.และโควิด-19
หลังจากทัง ้ สองฝ่ายได้เจรจาและยอมรับข้อเรียกร้องต่างๆเพือ ่ ความยุติธรรมแล้วการ
สร้างเครือข่ายป้องกันปัญหาความขัดแย้งก็ควรถูกจัดตั้งขึน ้ โดยอาจจัดตั้งขึน ้ เพือ
่ ตอบสนองต่อ
ข้อเรียกร้องของฝั่งชาวบ้าน เช่นการจัดตั้งคณะด้านสิทธิมนุษยชนเพือ ่ ช่วยเหลือและคุ้มครองชีวต ิ
ชาวกะเหรีย ่ ง หรือคณะทีค ่ อยดูแลเรือ ่ งการจัดสรรพืน ้ ดินในบริเวณดังกล่าวอย่างยุติธรรม เป็นต้น

You might also like