You are on page 1of 4

ชุดที่ 2 เวลาทาข้ อสอบ 50 นาที

1. ข้อใดไม่ ใช่ ผลของการเรี ยนรู ้อดีต ปั จจุบนั 6. “ประวัติศาสตร์ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ ”


และอนาคต นักเรี ยนเห็นด้วยหรื อไม่ เพราะเหตุใด
ก. เข้าใจเหตุการณ์ปัจจุบนั ก. เห็นด้วย เพราะมีหลักฐานที่ให้เหตุผล
ข. เข้าใจความเปลี่ยนแปลง ได้ดีกว่าอดีต
ค. ลาดับเหตุการณ์สาคัญได้ ข. เห็นด้วย เพราะนักประวัติศาสตร์
ง. เพื่อแก้ไขเหตุการณ์ในอดีตให้ทนั สมัย มีความคิดเห็นต่างกัน
2. ข้อใดเป็ นการบอกเวลาตามแบบสุ ริยคติ ค. ไม่เห็นด้วย เพราะหลักฐานทางประวัติ-
ก. พ.ศ. 2320 – 2520 ศาสตร์ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ข. คริ สต์ศตวรรษที่ 19 ง. ไม่เห็นด้วย เพราะจะทาให้ขอ้ มูลต่างๆ
ค. ขึ้น 5 ค่า เดือน 4 ปี ระกา ไม่น่าเชื่อถือ
ง. วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 7. ข้อใดไม่ ใช่ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
3. วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ตรงกับ ที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 อีก 7 วัน ตรงกับข้อใด ก. จารึ ก ข. วรรณคดี
ก. แรม 7 ค่า เดือน 12 ค. โบราณสถาน ง. จดหมายเหตุ
ข. ขึ้น 7 ค่า เดือนอ้าย 8. ประวัติศาสตร์ไทย แบ่งยุคสมัยอย่างไร
ค. แรม 7 ค่า เดือนอ้าย ก. แบ่งตามยุคอารยธรรม
ง. ขึ้น 5 ค่า เดือน 12 ข. แบ่งตามเหตุการณ์สาคัญ
4. กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1782 ค. แบ่งตามเครื่ องมือเครื่ องใช้
ตรงกับข้อใด ง. แบ่งตามอาณาจักรหรื อราชธานี
ก. คริ สต์ศตวรรษที่ 16 9. ข้อใดไม่ ใช่ ความสาคัญในการแบ่งช่วงเวลา
ข. คริ สต์ศตวรรษที่ 17 ก. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของเหตุการณ์
ค. คริ สต์ศตวรรษที่ 18 ข. เพื่อยกย่องบุคคลสาคัญได้
ง. คริ สต์ศตวรรษที่ 19 ค. เพื่อเข้าใจเรื่ องราวชัดเจน
5. ช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 2310 – 2325 ง. เพื่อลาดับเหตุการณ์
อยูใ่ นช่วงสมัยใด 10. ข้อใดกล่าวถึงตานานไม่ ถูกต้ อง
ก. รัตนโกสิ นทร์ ก. เป็ นเรื่ องที่เล่าต่อๆ กันมา
ข. ธนบุรี ข. เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา
ค. อยุธยา ค. สะท้อนความคิดวิถีชาวบ้าน
ง. สุ โขทัย ง. บันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับกษัตริ ย ์
6
11. ใครอยูใ่ นขั้นตอนแรกของวิธีการหาความรู ้ 17. วัฒนธรรมพื้นบ้านมักสื บทอดด้วยวิธีใด
ทางประวัติศาสตร์ ก. บันทึก ข. หนังสื อเรี ยน
ก. ณัฐกรตีความข้อมูล ค. การบอกเล่า ง. อินเทอร์เน็ต
ข. สาธิ นีอ่านศิลาจารึ ก 18. วัฒนธรรมข้อใด รับมาจากชาวตะวันตก
ค. สัญญาสัมภาษณ์ชาวบ้าน ก. การใช้ชอ้ นส้อม
ง. ศักดิ์สิทธิ์ เลือกหัวข้อการศึกษา ข. การใช้กระติบข้าว
12. ข้อใดเป็ นลักษณะทางภูมิศาสตร์ภาคกลาง ค. การใช้ตะเกียบ
ก. ที่ราบชายฝั่งทะเล ง. การกินขันโตก
ข. เป็ นเขตที่ราบสู ง 19. ใครอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย
ค. มีเทือกเขาสลับที่ราบ ก. กวีพูดภาษาไทยคาอังกฤษคา
ง. เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ ากว้างใหญ่ ข. นาวินไหว้คุณพ่อคุณแม่ก่อนไป
13. การประกอบอาชีพใดใช้ประโยชน์จาก โรงเรี ยน
แหล่งน้ าธรรมชาตินอ้ ยที่สุด ค. วีรชัยชอบทานขนมเค้ก
ก. ประมง ข. เพาะปลูก ง. อรวีแข่งขันเทนนิสกับเพื่อน
ค. เลี้ยงสัตว์ ง. อุตสาหกรรม 20. เพราะเหตุใดภาษาไทยพื้นบ้านแต่ละ
14. ข้อใดไม่ ใช่ สาเหตุสาคัญของการย้ายถิ่น ท้องถิ่นแตกต่างกัน
ก. การได้รับการศึกษา ก. ความชอบของแต่ละท้องถิ่น
ข. ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ ข. สภาพสังคมและการประกอบอาชีพ
ค. การคมนาคมขนส่ งสะดวก ค. รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมใกล้เคียง
ง. ความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ ง. ความสามารถของผูน้ าท้องถิ่น
15. ปัญหาการลักลอบตัดไม้ทาลายป่ า ข้อใด 21. วัฒนธรรมข้อใดสัมพันธ์กนั
ร้ายแรงที่สุด ก. ภาคใต้ – ลาตัด
ก. ขาดที่ดินทากิน ข. ภาคเหนือ – รามโนราห์
ข. ทาให้เกิดน้ าท่วม ค. ภาคกลาง – หนังตะลุง
ค. ขาดแหล่งอาหาร ง. ภาคอีสาน - หมอลา
ง. เกิดความแห้งแล้ง 22. การเลิกทาสในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นการ
16. ข้อใดไม่เกิดขึ้นในสังคมไทยปั จจุบนั เปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญในด้านใด
ก. มีครอบครัวใหญ่มากขึ้น ก. กฎหมาย
ข. มีการอพยพย้ายถิ่นสู่ เมืองเพิ่มขึ้น ข. สังคมและวัฒนธรรม
ค. ประชากรแต่งงานเมื่ออายุมากขึ้น ค. การศึกษาและศาสนา
ง. การคมนาคมสะดวกรวดเร็ ว ง. การสาธารณสุ ข
7
23. การปฏิรูปในด้านใดมีผลต่อการพัฒนา 28. ข้อใดไม่ ใช่ คุณสมบัติของการสร้างสรรค์
ประเทศมากที่สุด ภูมิปัญญาโดยอาศัยประสบการณ์
ก. การศึกษา ข. การทหาร ก. ทาแบบผลงานผูอ้ ื่นทั้งหมด
ค. การคมนาคม ง. การเกษตร ข. พัฒนาผลงานตลอดเวลา
24. ข้อใดไม่ ใช่ ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ค. แสวงหาความรู ้อยูเ่ สมอ
การปกครองเป็ นระบอบประชาธิปไตย ง. ลงมือทดลองทา
ก. กษัตริ ยม์ ีอานาจสู งสุ ด 29. “ผ้ าปาเต๊ ะ เสื้ อแขนกระบอก มีผ้าคลุมศีรษะ”
ข. ประชาชนมีสิทธิ เสมอภาคกัน เป็ นลักษณะการแต่งกายของภาคใด
ค. ประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครอง ก. ภาคเหนือ
ง. ประชาชนมีเสรี ภาพในการกระทาสิ่ งใด ข. ภาคใต้
โดยไม่ขดั ต่อกฎหมาย ค. ภาคกลาง
25. การปฏิรูปเศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 5 เกิดผลดี ง. ภาคอีสาน
ต่อประเทศ ยกเว้ นข้อใด 30. ภาษาถิ่นภาคเหนือมีเอกลักษณ์ตรงกับข้อใด
ก. การเงินไทยมีเสถียรภาพ ก. พูดสั้นๆ เร็ ว กระชับ
ข. ฐานะทางการคลังมัน่ คง ข. อ่อนหวานนุ่มนวล
ค. การค้าขายกับต่างชาติลดลง ค. จังหวะเร็ วปานกลาง
ง. มีรายได้เพิ่มมากขึ้น ง. ใกล้เคียงกับภาษาราชการ
26. การนาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 31. ปั จจุบนั ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี
แห่งชาติมาใช้ในประเทศไทย มีผลดีหลาย ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ ว ส่ งผลต่อภูมิปัญญา
ประการ ยกเว้นข้อใด ท้องถิ่น ยกเว้นข้อใด
ก. คนไทยมีงานทา และมีรายได้เพิ่มขึ้น ก. การแปรรู ปผลิตภัณฑ์
ข. คนไทยมีอิสระในการค้ามากขึ้น ข. การใช้เครื่ องทุ่นแรงในการเกษตร
ค. ชาวต่างชาติมาลงทุนในไทยมากขึ้น ค. การใช้เครื่ องไฟฟ้าในการทางาน
ง. ไทยเก็บภาษีขาเข้าจากต่างชาติเพิ่มขึ้น ง. การประดิษฐ์เครื่ องมือเครื่ องใช้
27. การจัดตั้งเมืองดุสิตธานี ของรัชกาลที่ 6 จากทรัพยากรท้องถิ่น
เกิดผลดีอย่างไร 32. ข้อใดไม่อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ก. เป็ นเมืองหลวงของไทยสมัยนั้น ก. นภาช่วยคุณแม่ทาคุก้ กี้
ข. ใช้ทดลองปฏิรูปเศรษฐกิจ ข. วสิ นชอบทานทุเรี ยนกวน
ค. ใช้ทดลองปฏิรูปการศึกษา ค. สโรชาชอบใส่ เสื้ อผ้าบาติก
ง. ใช้ทดลองปฏิรูปการปกครองตาม ง. ศรกมลซื้ อสิ นค้า OTOP มาฝากเพื่อน
ระบอบประชาธิปไตย
8
33. สมัยกรุ งธนบุรีในระยะต้น เกิดเหตุการณ์ใด 37. สภาพสังคมไทยในปั จจุบนั เป็ นอย่างไร
ก. ขาดแคลนน้ า ก. ตัดขาดจากสังคมโลกตะวันตก
ข. ขาดแคลนกาลังพล ข. ไม่ยอมรับวัฒนธรรมต่างชาติ
ค. ขาดแคลนอาหาร ค. รับค่านิยมจากชาติตะวันตกมากขึ้น
ง. เกิดโรคระบาด ง. รักษาประเพณี วฒั นธรรมเข้มแข็ง
34. ข้อใดไม่สัมพันธ์กนั 38. ข้อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของบุคคลสาคัญ
ก. สมัยรัชกาลที่ 7 เปลี่ยนแปลง ก. ผูท้ ี่กระทาความดี
การปกครอง ข. ผูท้ ี่มีฐานะทางสังคม
ข. สมัยรัชกาลที่ 6 ใช้นามสกุล ค. ผูท้ ี่อุทิศตนเพื่อประเทศ
ค. สมัยรัชกาลที่ 5 เลิกทาส ง. ผูท้ ี่ทาประโยชน์แก่สังคม
ง. สมัยรัชกาลที่ 4 ยุคทองของวรรณคดี 39. การจัดงานวันสุ นทรภู่ เมื่อถึงวันคล้าย
35. ข้อใดไม่ ใช่ ผลที่ได้รับจากการติดต่อกับชาติ วันเกิดของท่าน มีผลดีอย่างไร
ตะวันตก ก. ทาให้คนสนใจวรรณคดีไทย
ก. ทาให้คนไทยมีความสามัคคี ข. ทาให้คนไทยเห็นคุณค่าของภาษาไทย
ข. รับวิทยาการและความเจริ ญใหม่ๆ ค. ทาให้คนรุ่ นหลังรู ้จกั สุ นทรภู่
ค. ทาให้วฒั นธรรมค่านิยมเปลี่ยนไป ง. ทาให้คนนาไปเป็ นแบบอย่าง
ง. การใช้เทคโนโลยีมีบทบาทต่อการ 40. ความกล้าหาญของคุณหญิงจันและ
ดารงชีวติ มากขึ้น คุณหญิงมุก ทาให้เกิดผลดีอย่างไร
36. การที่ไทยยอมเสี ยดินแดนบางส่ วนให้องั กฤษ ก. เมืองถลางได้ผนู ้ าคนใหม่
และฝรั่งเศส ก่อให้เกิดผลดีในด้านใด ข. เมืองถลางได้รับการยกย่อง
ก. ไม่ตอ้ งเสี ยกาลังทหาร ค. พม่ายกทัพถอยกลับ ไม่กล้าเข้าตี
ข. สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ ง. ชาวเมืองถลางช่วยกันสร้างอนุสาวรี ย ์
ค. ได้เป็ นพันธมิตรกับชาติมหาอานาจ ให้คุณหญิงจันและคุณหญิงมุก
ง. คนไทยเดินทางไปเที่ยวอังกฤษและ
ฝรั่งเศสสะดวก

You might also like