You are on page 1of 1

ในการประชุมฯ ผูแ้ ทนหน่วยงานสหประชาชาติในประเทศไทยได้รายงานความก้าวหน้า

การดาเนินงานตามกรอบ UNSDCF และร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นต่อแนวทางการขับเคลื่อน


ผลลัพธ์ทงั้ 3 ด้านของกรอบความร่วมมือดังกล่าว ประกอบด้วย
ผลลัพธ์ที่ 1 การพลิกโฉมประเทศไทยไปสู่เศรษฐกิจที่ครอบคลุม บนฐานการพัฒนาสีเขียว มี
ภูมิคมุ้ กันวิกฤตสูง และมีความยั่งยืน โดยมีองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNIDO) และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) เป็ นผูป้ ระสานงานหลักใน
การส่งเสริมให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจบนฐาน BCG สร้างสังคมคาร์บอนต่า เพิ่ม
ความสามารถในการปรับตัวและลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ิ ซึ่งมีการดาเนินโครงการส่งเสริมการ
รักษาป่ าไม้อย่างยั่งยืน การลดการปล่อยคาร์บอน และการแก้ปัญหาพลาสติก
ผลลัพธ์ที่ 2 การพัฒนาทุนมนุษย์ที่จาเป็ นต่อการพัฒนาทางสังคม ที่ผคู้ นได้ประโยชน์จากการ
พัฒนาอย่างทั่วถึง โดยมีองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ร่วมด้วยองค์การ
อนามัยโลก (WHO) และสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) เป็ นผูป้ ระสานงานหลัก
ซึ่งให้ความสาคัญกับการปรับปรุงการเข้าถึงบริการสาธารณะของประชาชนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั
การส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต การพัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพและลดความเหลื่อม
ลา้ โดยมีตวั อย่างโครงการที่ดาเนินการร่วมกับ สศช. อาทิ การจัดทาดัชนีความยากจนหลายมิติ
ของเด็ก (Child Multidimensional Poverty Index: Child MPI)
ผลลัพธ์ที่ 3 ประชาชนในประเทศไทยสามารถมีส่วนร่วมและได้รบั ประโยชน์จากการพัฒนาโดย
ปราศจากการเลือกปฏิบตั ิทกุ รูปแบบ โดยมีโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และ
องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (IOM) เป็ นผูป้ ระสานงานหลัก ซึ่งเน้นส่งเสริม
สภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการแก้ปัญหาความยากจน การลดเหลื่อมลา้ การดาเนินธุรกิจที่คานึงถึง
สิทธิมนุษยชน และการป้องกันการค้ามนุษย์ โดยมีการดาเนินโครงการห้องปฏิบตั ิการนโยบาย
(Thailand Policy Lab) และโครงการส่งเสริมการใช้ขอ้ มูลที่มีประสิทธิภาพในการติดตาม
สถานการณ์และกาหนดนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจน เป็ นต้น

You might also like