You are on page 1of 3

ประชาคมอาเซียน » โครงสร้างและกลไกการดาเนินงานขององค์กรของอาเซียน

4-5 นาที

กฎบัตรอาเซียน ซึง่ เปรียบเสมือนกฎหมายสูงสุดของอาเซียน ซึง่ มีผลบังคับใช้ตง้ ั แต่วน


ั ที่
15 ธันวาคม 2551 เป็ นเอกสารหลักทีก่ าหนดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน
ไว้ในหมวดที่ 4 ดังนื้

1. ทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
ทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วย ประมุขหรือหัวหน้ารัฐบาล
มีอานาจหน้าทีใ่ นการกาหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางความร่วมมือของอาเซียน
และตัดสินใจในเรือ่ งสาคัญ
โดยให้ประเทศสมาชิกซึง่ เป็ นประธานอาเซียนเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุม 2 ครัง้ ต่อปี
หรือเรียกประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมือ่ มีความจาเป็ น

2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs)


คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
ประกอบด้วยรัฐมนตรีตา่ งประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน
ทาหน้าทีเ่ ตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน
ประสานงานความตกลงและข้อตัดสินใจของทีป ่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดาเนินงานและกิจการต่างๆ
ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมีการประชุมกันอย่างน้อย 2
ครัง้ ต่อปี

3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils)


คณะมนตรีประชาคมอาเซียนประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก
อันได้แก่คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
ซึง่ เป็ นผูแ
้ ทนทีป
่ ระเทศสมาชิกแต่งตัง้ ให้เป็ นผูร้ บั ผิดชอบแต่ละเสาหลัก
มีอานาจหน้าทีใ่ นการประสานงานและติดตามการทางานตามนโยบาย
โดยเสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อทีป ่ ระชุมผูน ้ า มีการประชุมอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้
ประธานการประชุมเป็ นรัฐมนตรีทเี่ หมาะสมจากประเทศสมาชิกซึง่ เป็ นประธานอาเซียน

4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies)


องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา(เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม
ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา
มีหน้าทีป
่ ฏิบตั ต
ิ ามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนทีอ่ ยูใ่ นขอบข่าย
การดาเนินงานของตน
และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึน ้
เพือ
่ สนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน

พื้นทีโ่ ฆษณา

5. เลขาธิการอาเซียนและสานักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN


Secretariat)

สานักเลขาธิการอาเซียนได้จดั ตัง้ ขึน ้ ตามข้อตกลงทีล่ งนามโดยรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซีย


นในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 1 ในปี 2519
เพือ ่ ทาหน้าทีป
่ ระสานงานและดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรมต่างๆ
ของสมาคมอาเซียน และเป็ นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอาเซียน
คณะกรรมการ ตลอดจนสถาบันต่าง ๆ
และรัฐบาลของประเทศสมาชิกสานักเลขาธิการอาเซียนตัง้ อยูท ่ ก
ี่ รุงจาการ์ตา
ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีหวั หน้าสานักงาน เรียกว่า “เลขาธิการอาเซียน” (ASEAN
่ ได้รบั การแต่งตัง้ โดยทีป
Secretary-General) ซึง ่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
โดยมีวาระการดารงตาแหน่ ง 5 ปี และต้องได้รบั เลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก
โดยหมุนเวียนตามลาดับตัวอักษร
ผูด
้ ารงตาแหน่ งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบ ันเป็ นคนไทย คือ ดร. สุรน ิ ทร์ พิศสุวรรณ
ซึง่ มีวาระดารงตาแหน่ งระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)

6. คณะกรรมการผูแ
้ ทนถาวรประจาอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to
ASEAN)

คณะกรรมการผูแ ้ ทนถาวรประจาอาเซียน
เป็ นผูแ
้ ทนระดับเอกอัคราชฑูตทีแ
่ ต่งตัง้ จากประเทศสมาชิกให้ประจาทีส่ านักงานใหญ่อาเ
ซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
มีหน้าทีส่ นับสนุนการทางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระดับ
รัฐมนตรีเฉพาะสาขา
ประสานงานกับเลขาธิการสานักงานอาเซียนและสานักงานเลขาธิการอาเซียนในเรือ ่ งทีเ่ กี่
ยวข้อง
และประสานงานกับสานักงานเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซีย
นเฉพาะสาขา

7. สานักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat)


เป็ นหน่ วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน
้ เพือ
ซึง่ แต่ละประเทศได้จดั ตัง้ ขึน ่ ทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบประสานงาน
สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่าง ๆ เกีย่ วกับอาเซียนในประเทศนัน ้ ๆ
สาหรับประเทศไทยหน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

8. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body)


้ โดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกีย่ วกับการส่งเ
เป็ นองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน
สริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขัน ้ พื้นฐาน
ซึง่ คณะทางานและอานาจหน้าทีจ่ ะได้กาหนดโดยทีป ่ ระชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียนต่
อไป

9. มูลนิธอ
ิ าเซียน (ASEAN Foundation)
มูลนิธอ
ิ าเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและดาเนินการร่วมกับองค์กรของอาเซียนทีเ่ กี่
ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียน
โดยการส่งเสริมความสานึกทีเ่ พิม ้ เกีย่ วกับอัตลักษณ์ ของอาเซียน
่ ขึน
การมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างประชาชน การดาเนินงานร่วมกันทีใ่ กล้ชด ิ ระหว่างภาคธุรกิจ
ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผูม ้ ส
ี ว่ นได้เสียอืน
่ ๆ ในอาเซียน

You might also like