You are on page 1of 6

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน

ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์

จดหมายข่าวอิหร่ าน (ฉบับที่ 19 )

การเมื อ ง

อิ ห ร่ าน: เรากาลั ง พยายามอย่ า งสุ ด ความสามารถเพื่ อ ยุ ติ ก ารสู้ รบในยู เ ครน

ฯพณฯ ฮุเซน อะมีรอับดุ ลลอฮียอน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสาธารณรัฐอิสลาม


แห่ ง อิ หร่ า นกล่ า วว่า : เตหะรานก าลัง พยายามอย่า งเต็ม ที่ ใ นระดับ ประธานาธิ บ ดี และรั ฐ มนตรี ต่า งประเทศ
เพื่อยุติสู้รบในยูเครน เราหวังว่าจะเห็นการหยุดยิงและมุ่งสู่ สันติภาพในภูมิภาคนี้ของโลกโดยเร็ วที่สุด
ฯพณฯ ฮุเซน อะมีรอับดุลลอฮียอน ได้กล่าวนอกรอบในการสัมมนาสตรี ผทู ้ รงอิทธิ พลระดับนานาชาติ
เน้นย้ าว่า: "เราต่อต้านสงครามอย่างจริ งจัง และอิหร่ านห่ างไกลจากปฏิ บตั ิแบบสองมาตรฐาน อิหร่ านมีความ
กังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ของสตรี และเด็กในปาเลสไตน์ เยเมน อัฟกานิ สถาน และประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
สงครามและวิกฤตการณ์ รวมทั้งสตรี และเด็กในยูเครนด้วยเช่นกัน
รัฐมนตรี ต่างประเทศของอิหร่ านกล่าวว่า: การกีดกันอิหร่ านจากการเป็ นสมาชิ กของคณะกรรมาธิ การ
สหประชาชาติวา่ ด้วยสถานภาพสตรี น้ นั ไม่มีผลและจะไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อเตหะรานที่มุ่งเน้นเป็ นพิเศษใน
การส่ งเสริ มสถานะของสตรี และบทบาทที่มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นของสตรี ในกิจกรรมต่าง ๆ ในอิหร่ าน
การประชุมสัมมนาสตรี ผทู ้ รงอิทธิ พลระดับนานาชาติครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุ งเตหะราน โดยมีแขกต่างชาติ
เข้า ร่ ว มกว่ า 300 คน ซึ่ งรวมถึ ง เจ้า หน้ า ที่ ห ญิ ง และนัก เคลื่ อ นไหวจากสาขาต่ า งๆ บรรดารั ฐ มนตรี รอง
ประธานาธิ บดี และสมาชิกรัฐสภา เข้าร่ วมด้วย

พล.อ.ซะลามี : ไฟแห่ ง การก่ อ การร้ ายจะลุ ก ท่ ว มยุ โ รป ถ้ า ไม่ ใ ช่ เพราะ IRGC

หัวหน้าผูบ้ ญั ชาการของกองกาลังพิทกั ษ์การปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่ าน (IRGC) ได้ทาลายมติของรัฐสภา


ยุโรปที่เรี ยกร้องให้ติดป้ ายกองกาลังชั้นนาว่าเป็ น “องค์กรผูก้ ่อการร้าย” เตือนว่า ชาวยุโรปจะต้องรับผลกระทบ
จากการทาความผิดพลาดซ้ าเช่ นในอดีตของพวกเขา ในขณะที่ภูมิภาคนี้ ติดหนี้ การรักษาความปลอดภัยให้กบั
กองกาลังพิทกั ษ์การปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่ าน (IRGC)
1
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

การสดุดียกย่องผูเ้ สี ยสละที่ทาโดยกองกาลังพิทกั ษ์การปฏิวตั ิอิสลามของอิหร่ าน (IRGC) โดยเฉพาะอย่าง


ยิ่งผูบ้ ญั ชาการ Quds Force ของกองกาลัง IRGC และนายพลกอเซ็ม สุ ไลมานี (Qassem Soleimani) ผูล้ ่วงลับไป
แล้ว โดยนายพลซะลามี กล่ า วว่า ท่ า นคื อ ไอคอนแห่ ง การต่ อ ต้า นการก่ อ การร้ า ยอัน ดับ ต้น ๆ ของอิ ห ร่ า น
"เป็ นผูเ้ ล่นบทบาทที่ใหญ่ที่สุดและเป็ นผูน้ ามากที่สุดในการกาจัดการรวมตัวของการก่อการร้ายทัว่ โลก ซึ่ งก็คือ
กลุ่มก่อการร้ายไอซิส/ ดาอิช (Takfiri Daesh)
“หากไม่ใช่ เพราะความพยายามของกองกาลังพิทกั ษ์การปฏิ วตั ิอิสลามของอิหร่ าน (IRGC) โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกองกาลัง Quds Force และการนาของผูล้ ่วงลับนายพล กอเซ็ม สุ ไลมานี (Martyr Soleimani) แล้วไซร้
ภูเขาไฟแห่ งการก่อการร้ายที่สร้างขึ้นโดยชาวอเมริ กนั จะกลืนกินชาวยุโรป และความมัน่ คงในยุโรปจะต้องถูก
ทาลาย” หัวหน้ากองกาลัง IRGCได้กล่าวไว้
นายพลซะลามี เรี ยกร้องให้รัฐบาลยุโรปหลีกเลี่ยงการทาผิดพลาดเฉกเช่นในอดีต และเน้นย้ าที่จะต้อง
รับผลที่ตามมาหากทาผิดซ้ าอีก
หน่ วยข่ าวกรองของอิ หร่ านได้พ บรอยเท้า ของหน่ วยสอดแนมของอเมริ ก าและชาติ ตะวันตกอื่ นๆ ใน
เหตุจลาจลรุ นแรงล่าสุ ดที่เกิดขึ้นในอิหร่ านซึ่ งได้คร่ าชีวติ ผูค้ นและกองกาลังความมัน่ คงไปหลายสิ บคน

เศรษฐกิจ

การลงนามข้ อ ตกลงการค้ าเสรี ร ะหว่ า งอิ ห ร่ านและยู เ รเซี ย


ข้อตกลงการค้าเสรี ระหว่างอิหร่ านและสหภาพเศรษฐกิ จยูเรเชี ย ได้รับการลงนามโดยหัวหน้าองค์กร
พัฒนาการค้าอิหร่ านและคณะผูแ้ ทนอย่างเป็ นทางการของสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย
ฯพณฯ อะลีเรซา พัยมอนพาก หัวหน้าองค์กรพัฒนาการค้าของอิหร่ าน กล่าวว่า การลงนามในข้อตกลง
นี้ สามารถอานวยความสะดวกและเร่ งการพัฒนาความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิ จและการค้าระหว่างทั้งสองฝ่ าย
ประธานาธิ บดีอิหร่ านให้ความสาคัญกับการพัฒนาความสัมพันธ์กบั ประเทศสมาชิกของสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชี ย
และเตหะรานพร้อมที่จะสร้างความมัน่ คงทางด้านอาหารผ่านความร่ วมมือในภาคเกษตรกรรมมากขึ้น
รัฐมนตรี การค้ายูเรเชี ยยังชี้ ให้เห็ นถึ งกิ จกรรมที่เพิ่มขึ้นในความร่ วมมือของอิหร่ านกับสหภาพนี้ และ
เน้นย้ าว่า: ในขั้นตอนแรกนั้นข้อตกลงการค้าได้รับการลงนามเป็ นการชัว่ คราว ซึ่ งเป็ นการปูทางสาหรับวันนี้
ทั้งยังชี้ให้เห็นว่าข้อตกลงการค้าเสรี ระหว่างอิหร่ านและยูเรเซี ยจะช่วยขยายความร่ วมมือในอนาคตได้อย่างมาก

2
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

โดยกล่าวว่า มีโครงการขนาดใหญ่ในด้านการขนส่ ง การเงินและการเกษตร และด้านอื่นๆ ซึ่ งจะบรรลุผลสาเร็ จ


ด้วยการสนับสนุนทางการเมืองของประเทศต่างๆ
รัฐมนตรี ก ารค้ายูเรเชี ย กล่ าวเพิ่มเติ มว่า : แม้ว่า จะมี ก ารบังคับ ใช้มาตรการคว่าบาตรต่ างประเทศต่ อ
อิ หร่ า นและรั ส เซี ย แต่ด้วยความมุ่งมัน่ ของทั้งสองประเทศ ระดับ ความร่ วมมื อก็เพิ่ มขึ้ นอย่างมาก อิ หร่ านมี
ประสบการณ์มากมายในด้านการคว่าบาตร และเราเคารพในประสบการณ์น้ ี
รั ฐมนตรี ก ารค้า ยูเรเชี ย ได้แสดงความขอบคุ ณคณะเจรจาของอิ หร่ า น และกล่ า วว่า: หากไม่ มีค วาม
พยายามและการบริ หารจัดการของหัวหน้าองค์กรพัฒนาการค้าของอิหร่ านแล้วไซร้ การกระทาที่สาคัญนี้ จะไม่
บรรลุผลอย่างแน่นอน
โอเปกรายงานผลผลิ ต น้า มั น ของอิ ห ร่ านเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อยละ 6.7 ในปี 2565
จากตัวเลขล่าสุ ดที่นาเสนอโดยองค์การประเทศผูส้ ่ งออกน้ ามัน (โอเปก) แสดงให้เห็ นว่าอิหร่ านเพิ่ม
การผลิตน้ ามันในปี ที่แล้ว แม้วา่ จะยังคงดาเนินต่อไปโดยมีขอ้ จากัดของสหรัฐฯ เกี่ยวกับการค้าน้ ามันของอิหร่ าน
กับประเทศส่ วนที่เหลือของโลก
ตัว เลขและตารางจากรายงานประจาเดื อนของโอเปก แสดงให้ เห็ น ว่า ในปี ที่ แ ล้ว อิ ห ร่ า นได้ผ ลิ ต
น้ ามันดิบเฉลี่ย 2.5 ล้านบาร์ เรลต่อวัน โดยเพิ่มขึ้น 162,000 บาร์เรลหรื อร้อยละ 6.7 จากปี พ.ศ. 2564
ข้อมูลแสดงให้เห็นว่าผลผลิตน้ ามันของอิหร่ านในปี พ.ศ. 2565 เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับ
ปี พ.ศ. 2563 ที่ประเทศอิหร่ านนั้นสู ญเสี ยการขายน้ ามันดิบไปมากจากการคว่าบาตรของสหรัฐฯ
ตัว เลขผลผลิ ตที่ สู ง ขึ้ นที่ รายงานโดยโอเปก ส าหรั บ อิ หร่ า นในปี พ.ศ. 2565 มาจากรายงานบ่ ง ชี้ ว่า
ประเทศส่ งออกน้ ามันมากขึ้นในปี ที่แล้ว แม้วา่ อเมริ กาจะยังคงดาเนินการกดดันประเทศต่อไปก็ตาม
รายงานล่าสุ ดโดยรอยเตอร์ แสดงให้เห็นว่าการส่ งออกน้ ามันของอิหร่ านในช่วงปลายปี พ.ศ. 2565 แตะ
ระดับสู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์ต้ งั แต่ประเทศถูกสหรัฐฯ คว่าบาตรเมื่อเกือบ 5 ปี ที่แล้ว
รายงานอ้างตัวเลขจากบริ การติ ดตามเรื อบรรทุ กน้ ามันระหว่างประเทศที่แสดงให้เห็ นว่าการส่ งออก
น้ ามันของอิหร่ านสู งถึง 1.2 ล้านบาร์ เรลต่อวันในปลายปี พ.ศ. 2565

3
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

ข่ า วสารอื่น ๆ

การประกาศความพร้ อมของมหาวิ ท ยาลั ย ในอิ ห ร่ านในการรั บ นั ก ศึ ก ษาหญิ ง ชาวอั ฟ กานิ ส ถาน


สื บเนื่ องจากเรื่ องข้อจากัดด้านการศึกษาสาหรับนักศึกษาหญิงชาวอัฟกานิ สถานนั้น มหาวิทยาลัยใน
อิหร่ านหลายแห่ ง เช่ น มหาวิทยาลัยเตหะราน (University of Tehran) มหาวิทยาลัยอาซาด (Islamic Azad
University) มหาวิทยาลัยพัยยอมนู ร (Payame Noor University) และอัซซะห์รอ (Alzahra University) ได้
ประกาศความพร้อมในการรับนักศึกษาเหล่านี้
มหาวิ ท ยาลัย เตหะรานจะมี ก ารวางแผนการศึ ก ษาที่ ส มบู ร ณ์ พ ร้ อ มส าหรั บ นัก ศึ ก ษาหญิ ง ชาว
อัฟกานิ สถานที่ประสบปั ญหาไม่สามารถเรี ยนต่อได้ เจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัยเตหะรานระบุว่า งบประมาณ
ของมหาวิทยาลัยแห่ งนี้ สาหรับทุนการศึกษาของนักเรี ยนชาวอัฟกานิ สถานได้เพิ่มขึ้นถึง 5 เท่า และค่าเล่าเรี ยน
ของนัก ศึ ก ษาชาวอัฟ กานิ ส ถานก็ จะปรั บ ลดลงเช่ นกัน นัก ศึ ก ษาอัฟ กานิ ส ถานจานวนครึ่ งหนึ่ ง จากจานวน
500 คนที่กาลังศึกษาอยูท่ ี่มหาวิทยาลัยเตหะรานนั้นเป็ นผูท้ ี่ได้รับทุนการศึกษา
Islamic Azad University ยังเป็ นหนึ่ งในมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ ภาครัฐที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีคณะและ
สาขาวิชาการศึกษาหลากหลาย อาทิเช่ น สายการแพทย์และไม่ใช่ การแพทย์ และสาขาวิชาอื่นๆ ยินดี ตอ้ นรั บ
บรรดาสตรี ที่สนใจวิชาการและความรู้ในทุกสาขาและทุกระดับการศึกษา
บรรดาสตรี ชาวอัฟกานิสถานสามารถลงทะเบียนออนไลน์ผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยใน
สาขาที่ตนสนใจและรับประโยชน์จากห้องเรี ยนทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์
นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย Payam Noor ของอิหร่ านยังประกาศว่าจะรับนักศึกษาอัฟกานิ สถาน 5,000 คน
ในหลักสู ตรการเรี ยนที่มหาวิทยาลัยและอีก 50,000 คนในหลักสู ตรการเรี ยนออนไลน์
หลังจากที่กลุ่มตาลี บนั เข้าควบคุมอัฟกานิ สถาน ก็มีการจากัดขอบเขตของสตรี และเมื่อเร็ วๆ นี้ บรรดา
สตรี ก็ถูกห้ามไม่ให้ไปเรี ยนมหาวิทยาลัยและห้ามไม่ให้ทางานในสถาบันที่ไม่ใช่ของรัฐ
เนื่ องจากคุ ณภาพที่ ดีและค่า เล่ า เรี ย นที่ ส มเหตุ สมผลของมหาวิทยาลัยในอิ หร่ าน นัก ศึ กษาประมาณ
100,000 คนจาก 120 ประเทศกาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยของอิหร่ าน และนักศึกษาไทยก็สามารถศึกษาต่อใน
สาขาต่างๆ โดยใช้ทุนของมหาวิทยาลัยในอิหร่ านได้ดว้ ยเช่นกัน

อิ ห ร่ านผลิ ต อุ ป กรณ์ ผ่ า ตั ด ด้ ว ยแก๊ ส อาร์ กอน


อุปกรณ์การผ่าตัดไฟฟ้ าสาหรับหลอดเลื อดแดงที่แข็งตัวโดยใช้ก๊าซอาร์ กอนซึ่ งถูกออกแบบและสร้ าง
ขึ้นด้วยความพยายามของผูเ้ ชี่ยวชาญชาวอิหร่ าน

4
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

ผูบ้ ริ หารของโครงการนี้ ก ล่ า วว่า ต้อ งใช้เวลากว่า สามปี ในการออกแบบและผลิ ต อุ ป กรณ์ น้ ี และ


หลังจากได้รับการอนุมตั ิในระดับประเทศและระดับนานาชาติแล้ว เราก็สามารถส่ งมอบให้กบั โรงพยาบาลได้
อุปกรณ์ที่ใช้ในเชิ งพาณิ ชย์น้ ี ทาให้ไม่ตอ้ งอาศัยมีดผ่าตัดและการเย็บบาดแผล ซึ่ งใช้แก๊สอาร์ กอนเพื่อสลายการ
แข็งตัวของเลือด
นักวิจยั รายนี้ ช้ ี แจงว่า ก่อนหน้านี้ เรานาเข้าอุปกรณ์ดงั กล่าวจากเยอรมันและอเมริ กา แต่หลังจากที่มีการ
ผลิตในประเทศแล้ว นอกจากจะประหยัดค่าใช้จ่ายแล้ว ราคาของอุปกรณ์ยงั ลดลงเหลือหนึ่งในสี่ อีกด้วย วิธีน้ ี ใช้
ในการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะ โดยเฉพาะการปลูกถ่ายตับซึ่ งมีเนื้ อเยื่อที่บอบบาง และยังใช้ในการส่ องกล้องลาไส้
ใหญ่ โดยสอดเครื่ องมือผ่าตัดเข้าไปตามช่องทางธรรมชาติของร่ างกายมนุ ษย์ เพราะถึงอย่างนั้นก็จะหมดความ
กังวลเรื่ องการทะลุของทางเดินอาหารและเลือดออกในอวัยวะภายใน
ตามที่ผบู้ ริ หารโครงการกล่าวไว้ อุปกรณ์น้ ี ยงั ได้รับใบรับรอง CE ของสหภาพยุโรปและได้ส่งออกไป
ยังหลายประเทศ เนื่องจากเป็ นเครื่ องมือที่มีคุณภาพสู ง ได้รับการตอบรับจากศัลยแพทย์เป็ นอย่างดี
บริ ษทั นี้มีความศักยภาพสามารถในการผลิตอุปกรณ์ผา่ ตัดไฟฟ้ าชนิดนี้ 400 ชิ้นต่อปี จากจานวนนี้ ร้อย
ละ 80 ส่ งมอบภายในประเทศ และอีกร้อยละ 20 ได้ส่งออกไปนอกประเทศ
การผลิ ต SERUM ของมนุ ษ ย์ จ ากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ วนเกิ น ในศู น ย์ ถ่ า ยเลื อ ดของอิ ห ร่ าน
นักวิจยั ของบริ ษทั ฐานองค์ความรู ้ ของอิหร่ านประสบความสาเร็ จในการผลิ ตซี รั่ม(serum) ของมนุ ษย์
จากผลิตภัณฑ์ส่วนเกินในศูนย์เปลี่ยนถ่ายเลือด ด้วยกับเทคโนโลยีน้ ีเองอิหร่ านจึงถูกจัดอยูใ่ นกลุ่มไม่กี่ประเทศที่
สามารถผลิต serum มนุษย์ได้
นอกจากจะใช้ในอาหารเลี้ยงเชื้ อแล้ว เซรั่มนี้ ยงั ใช้สาหรับการรักษาภาวะมีบุตรยาก การผลิตยาสาหรับ
เซลล์ใหม่ และการบาบัดด้วยเซลล์ และราคาของมันต่ากว่าตัวอย่างที่คล้ายกันจากต่างประเทศเป็ นอย่างมาก
สภาพแวดล้อมการเพาะเลี้ยง เป็ นแพลตฟอร์ มหลักสาหรับการเติบโตของผลิตภัณฑ์เซลล์ และโดยการ
ผลิตได้เองในอิหร่ าน นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการผลิตแล้ว ยังป้ องกันการไหลออกของเงินตราในต่างประเทศ
อีกด้วย
ในอดีต มีการใช้ serum จากสัตว์ในการเพาะเลี้ยงเซลล์ ซึ่ งก่อให้เกิดผลข้างเคียงบางประการ และ serum
ใหม่ของมนุษย์น้ ีเป็ นทางเลือกที่ดีกว่า serum จากสัตว์
อิหร่ านสามารถผลิ ต serum ทั้งหมดได้ประมาณ 15 ล้านหน่ วยต่อเดื อน วัตถุดิบของ serum เหล่านี้ ถูก
ผลิตขึ้นในประเทศ และนาเข้าอุปกรณ์การผลิตเพียงบางส่ วนเท่านั้น

5
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 28 มกราคม 2565

เจ้าหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุ ขอิหร่ าน ให้ขอ้ มูลว่า เร็ วๆ นี้ สายการผลิต serum แห่ งใหม่จะเปิ ดตัว
ในบริ ษทั เภสัชกรรมแห่ งหนึ่ งของประเทศ โดยกาลังการผลิ ตอย่างน้อย 3 ล้านซี รั่มต่ อเดื อน และอิ หร่ านจะ
กลายเป็ นผูส้ ่ งออก serum นี้ในที่สุด

คลัง ภาพที่ ง ดงามของอิ ห ร่ า น

จัตุรัสอิหม่ าม (Naqsh Jahan) ตั้งอยูใ่ นเมืองอิสฟาฮาน


และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก
***
ผูจ้ ดั ทา: ฝ่ ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตฯ
คุณสามารถติดตามข่าวสารล่าสุ ดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน ประจาประเทศไทย ได้ที่เพจเฟซบุก้ @IranInTh

You might also like