You are on page 1of 6

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน

ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์

จดหมายข่าวอิหร่ าน (ฉบับที่ 25 )

การเมื อ ง

การเยื อ นละติ น อเมริ ก าของประธานาธิ บ ดี อิห ร่ าน


ฯพณฯ ระอีซี ประธานาธิ บดี แห่ งสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ านได้เดิ นทางไปยังเวเนซุ เอลา คิวบา และ
นิการากัว ในฐานะหัวหน้าคณะผูแ้ ทนทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ในระหว่างการเดินทางไปเวเนซุ เอลา นอกเหนื อจากการพูดคุยร่ วมกันระหว่างคณะผูแ้ ทนระดับสู งและ
การเจรจาเป็ นการส่ วนตัวของประธานาธิ บ ดี แล้ว เจ้า หน้าที่ ของทั้งสองประเทศได้ล งนามในเอกสารความ
ร่ วมมือและบันทึกที่สาคัญ 19 ฉบับ
ความร่ วมมือและการมีส่วนร่ วมในสาขาต่างๆ ที่ได้ลงนามร่ วมกัน อาทิเช่น การสื่ อสารและเทคโนโลยี
สารสนเทศ, พลังงาน, การประกันภัย, การขนส่ งทางเรื อ, การศึกษาระดับอุดมศึกษา, การเกษตร, การแพทย์ และ
การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เป็ นต้น
ประธานาธิ บดี อิหร่ านแสดงความหวังว่าปริ มาณการค้าระหว่างอิ หร่ านและเวเนซุ เอลาจะเพิ่มเป็ น 1
หมื่นล้านดอลลาร์ ในก้าวแรก และ 2 หมื่นล้านดอลลาร์ ในก้าวที่สอง
หลังจากสิ้ นสุ ดการเดินทางเยือนเวเนซุ เอลา ฯพณฯ ระอีซี ได้เดินทางไปยังเมืองมานากัวเพื่อพัฒนาและ
กระชับความสัมพันธ์กบั นิการากัว
ระหว่างการเดินทางเยือนนิ การากัวครั้งนี้ ฯพณฯ ระอีซี ได้พบและพูดคุยกับ ฯพณฯ ดานิ เอล ออร์ เตกา
ประธานาธิ บดีนิการากัว และคณะผูแ้ ทนระดับสู งของทั้งสองประเทศได้ลงนามในเอกสารความร่ วมมือ 3 ฉบับ
การพบปะกับประธานสภาสมัชชาแห่ งชาตินิการากัว และการกล่ าวสุ นทรพจน์ต่อหน้าบรรดาผูแ้ ทน
สภาดังกล่าว เป็ นอีกส่ วนหนึ่งของกาหนดการการเดินทางไปเยือนนิการากัวครั้งนี้
นอกจากนี้ รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, กระทรวงสาธารณสุ ข , กระทรวงน้ ามัน และ
กระทรวงกลาโหมของอิหร่ านยังได้จดั การประชุมแยกต่างหากกับมวลมิตรของพวกเขาอีกด้วย
ทั้ง นี้ จุ ดหมายปลายทางสุ ดท้ายของการเดิ นทางเยือนละติ นอเมริ ก ารใครครั้ งนี้ ของประธานาธิ บดี
อิหร่ าน คือ คิวบา โดยประธานาธิ บดีคิวบาให้ตอ้ นรับประธานาธิ บดี อิหร่ านอย่างเป็ นทางการที่ทาเนี ยบแห่ งการ
ปฏิวตั ิในกรุ งฮาวานา

1
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

พิ ธี ล งนามเอกสารความร่ วมมื อ ทวิ ภ าคี 6 ฉบับ ระหว่ า งอิ ห ร่ านและคิ ว บาได้ ถู ก จัด ขึ้ นโดยมี
ประธานาธิ บดี ข องทั้งสองประเทศร่ วมพิธี ด้วย เอกสารความร่ วมมื อที่ ไ ด้ล งนามร่ วมกัน อาทิ เช่ น ตุ ลาการ,
การเมือง, ศุลกากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น
ประธานาธิ บ ดี ข องอิ หร่ า นและคิ ว บายัง ตกลงที่ จะจัดตั้ง คณะท างานร่ วมส าหรั บ ความร่ วมมื อด้า น
เทคโนโลยี โดยพิ จ ารณาถึ ง ศัก ยภาพความสามารถของอิ ห ร่ า นในด้า นนาโนเทคโนโลยี แ ละศัก ยภาพ
ความสามารถของคิวบาในด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
การแลกเปลี่ย นเอกอัค รราชทู ต ระหว่ า งอิ ห ร่ า นและอียิ ป ต์
ตามการรายงานของสื่ อ อิ หร่ า นและอี ยิป ต์จะแลกเปลี่ ยนเอกอัครราชทู ตภายในไม่ กี่ เดื อนข้า งหน้า
นอกจากนี้ได้มีการบรรลุขอ้ ตกลงทัว่ ไปเกี่ยวกับการประชุ มระหว่าง ฯพณฯ ระอีซี ประธานาธิ บดีอิหร่ าน และ
ฯพณฯ อัลซีซีย ์ ประธานาธิ บดีอียปิ ต์ และมีแนวโน้มว่าการประชุมนี้จะเกิดขึ้นภายในสิ้ นปี นี้
อิ หร่ านและอี ยิป ต์ยงั ได้ตกลงจัดตั้งคณะกรรมการร่ วมเพื่ อสานสั มพันธ์ และประสานงานด้านความ
มัน่ คงระหว่างสองประเทศ เมื่อเร็ ว ๆ นี้ ผูน้ าสาธารณรัฐอิสลามแห่ งอิหร่ านได้สนับสนุ นการฟื้ นฟูความสัมพันธ์
กับอียปิ ต์ และกล่าวว่า เตหะรานยินดีที่อียปิ ต์จะทาการฟื้ นฟูความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างทั้งสองประเทศ ถูกตัดขาดหลังจากชัยชนะของการปฏิวตั ิในอิหร่ านใน
ปี ค.ศ. 1979 เนื่องจากไคโรอนุญาตให้โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กษัตริ ยแ์ ห่ งอิหร่ านที่ถูกขับไล่ล้ ีภยั และการลง
นามในข้อตกลงแคมป์ เดวิดกับอิ ส ราเอล ปั จจุ บ นั ความสัม พันธ์ ระหว่างอิ หร่ า นและอี ยิปต์ยงั คงอยู่ในระดับ
สานักงานคุม้ ครองผลประโยชน์
เศรษฐกิจ

อิห ร่ า น ผู้ ส่ งออกผลิต ภั ณ ฑ์ น มรายใหญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย


องค์การอาหารและการเกษตรโลกแห่งสหประชาชาติ (FAO) ประกาศในรายงานล่าสุ ดว่า อิหร่ านเป็ นผู ้
ส่ งออกผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ที่สุดในเอเชีย และเป็ นผูผ้ ลิตธัญพืชรายสาคัญ
ตามรายงานนี้ อิหร่ านได้ส่งออกนมและผลิ ตภัณฑ์นมมากกว่า 1 ล้านตันในปี พ.ศ. 2565 กล่าวอีกนัย
หนึ่ง คือ ร้อยละ 13 ของนมและผลิตภัณฑ์นมของอิหร่ านได้ส่งออกไปยังประเทศอื่นๆ ในปี ดังกล่าว
การส่ งออกนมและผลิตภัณฑ์นมทั้งหมดของประเทศในทวีปเอเชียในปี ที่แล้วมีจานวนกว่า 9 ล้านตัน ที่
ซึ่ งอิหร่ านมีส่วนแบ่งเป็ นจานวนมากในตัวเลขนี้ และร้อยละ17 ของการส่ งออกนมและผลิตภัณฑ์นมทั้งหมดใน
เอเชี ยในปี นี้ เป็ นส่ วนแบ่งการส่ งออกของอิหร่ าน และอิหร่ านได้ชื่อว่าเป็ นผูส้ ่ งออกผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ที่สุด
ในเอเชีย

2
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

อิหร่ านยังเป็ นผูผ้ ลิตข้าวสาลีรายใหญ่เป็ นอันดับที่ 13 ของโลก, เป็ นผูผ้ ลิตข้าวรายใหญ่เป็ นอันดับที่ 13
ของเอเชีย และเป็ นผูผ้ ลิตเนื้อสัตว์รายใหญ่เป็ นอันดับที่ 11 ของเอเชีย
FAO คาดการณ์วา่ การผลิตธัญพืชของอิหร่ านจะสู งถึง 19 ล้านตันในปี 2566 โดยข้าวสาลี , ข้าวและข้าว
บาร์เลย์จะเป็ นธัญพืชที่สาคัญที่สุด 3 ชนิดที่ผลิตในอิหร่ านในปี นี้
อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากอิหร่ านมีการบริ โภคข้าวสู ง ประเทศนี้ จึงนาเข้าข้าวมากกว่า 1 ล้านตันต่อปี จาก
ประเทศต่างๆ เช่น อินเดีย ปากีสถาน และไทย

เยอรมนี ก ลับ มานาเข้ า นา้ มั น จากอิห ร่ า นอีก ครั้ ง


แม้วา่ สหรัฐฯ จะมีบทลงโทษและคว่าบาตรห้ามทาการค้าผลิตภัณฑ์น้ ามันกับอิหร่ าน ภายหลังจากผ่าน
ไป 5 ปี แต่เยอรมนีกลับมานาเข้าน้ ามันจากอิหร่ านอีกครั้ง
จากการอ้างอิงข้อมูลของหน่ วยงานสถิติในสหภาพยุโรป, ยูโรสแตท แสดงให้เห็นว่าเยอรมนี มีการรับ
มอบขนส่ งน้ ามันขนาดใหญ่จากอิหร่ านในเดือนมีนาคม
การขนส่ งที่เยอรมนีได้นาเข้าน้ ามันดิบหรื อผลิตภัณฑ์น้ ามันจากอิหร่ านมีจานวนเกือบ 70,000 เมตริ กตัน
เยอรมนีได้ระงับการนาเข้าน้ ามันดิบหรื อผลิตภัณฑ์น้ ามันจากอิหร่ านในปี 2561 หลังจากที่สหรัฐฯ ถอน
ตัวจากข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ ยวกับโครงการนิ วเคลี ยร์ ของอิหร่ าน และกาหนดมาตรการคว่าบาตรการ
ส่ งออกน้ ามันของประเทศอิหร่ านอีกครั้ง
ตัวเลขของ ยูโรสแตท แสดงให้เห็นว่า การนาเข้าน้ ามันทั้งหมดจากอิหร่ านโดยประเทศในสหภาพยุโรป
ในช่วงสามเดือนแรกของปี 2566 นั้นสู งถึงเกือบ 67,000 ตัน โดยเยอรมนีและบัลแกเรี ยเป็ นผูซ้ ้ื อเพียงสองราย
ตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็ นว่าการนาเข้าน้ ามันของสหภาพยุโรปจากอิหร่ านนั้นสู งถึ งกว่า 4,000 ล้าน
ตันในปี 2565 ได้แก่ โรมาเนีย, โปแลนด์ และบัลแกเรี ย เป็ นผูน้ าเข้าการขนส่ งน้ ามันของอิหร่ าน
ตัวเลขดังกล่าวบ่งชี้ ว่าประเทศในสหภาพยุโรปลังเลที่ จะปฏิ บตั ิตามสหรั ฐฯ มากขึ้ นเรื่ อยๆ และการ
คว่าบาตรอิหร่ านส่ วนใหญ่เป็ นเพราะวิกฤตในตลาดพลังงานระหว่างประเทศที่เป็ นอยูร่ ุ นแรงขึ้นจากสงครามใน
ยูเครน

ข่ า วสารอื่น ๆ

ผู้ ป่ วยต่ า งชาติ ม ากกว่ า 1 ล้ า นคนได้ รั บ การรั ก ษาพยาบาลในอิ ห ร่ า นเมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว

3
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุ ขของอิหร่ าน ระบุว่า มีผปู ้ ่ วยต่างชาติมากกว่า 1.2 ล้านคนที่ได้เข้า


รับการรักษาในโรงพยาบาลของอิหร่ านเมื่อปี ที่แล้ว
ฯพณฯ ไอนุลลาฮี กล่าวว่า ผูป้ ่ วยส่ วนใหญ่มาจากอัฟกานิ สถาน, อิรัก, อาเซอร์ ไบจาน, ปากีสถาน, ตุรกี
และอินเดีย
รัฐมนตรี อิหร่ านได้กล่าวถึงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพในประเทศ โดยกล่าวว่า สาขาวิชานรี เวช
วิทยาและสู ติศาสตร์ , ศัลยกรรมตา, กระดูกและข้อ, ศัลยกรรมด้านความงาม, โรคหัวใจและหลอดเลือด, ระบบ
ทางเดินปั สสาวะ และมะเร็ ง เป็ นโรคที่พบบ่อยที่สุดที่ กระตุ น้ ให้นกั ท่องเที่ยวเชิ งสุ ขภาพไปเที่ยวอิหร่ านมาก
ที่สุด
ฯพณฯ ไอนุ ลลาฮี ยังกล่าวอีกว่า นักท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพยอมรับว่าแพทย์ชาวอิหร่ านมีทกั ษะสู งและมี
ความสามารถ
“ต้นทุนต่าและคุณภาพสู งในการรักษาโดยใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเป็ นวิธีการรักษา, ความคล้ายคลึ งกัน
ทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ , การเข้าถึงที่ง่ายและสถานที่ท่องเที่ยว เป็ นปั จจัยหลักในหมู่นกั ท่องเที่ยวใน
การเลือกอิหร่ านเพื่อรับการรักษาพยาบาล”
รัฐมนตรี อิหร่ าน กล่าวว่าอิหร่ านได้รับการจัดอันดับทางวิทยาศาสตร์ เป็ นครั้งแรกในเอเชี ยตะวันตกใน
ปี พ.ศ 2565 “ซึ่ งอิหร่ านอยูใ่ นอันดับที่ 15 ของโลกในด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และมหาวิทยาลัยทั้ง 40 แห่ ง
ของเราที่มีคุณภาพ มีศกั ยภาพ มีความเป็ นสากลในการศึกษาทางการแพทย์” และในช่วงหลายปี ที่ผา่ นมาอิหร่ าน
มีความก้าวหน้าอย่างมากในด้านการแพทย์ โดยเฉพาะด้านการผลิตยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ตลอดจนการ
ฝึ กอบรมแพทย์และศัลยแพทย์ในศูนย์การแพทย์ที่ทนั สมัย
ความก้าวหน้าที่เห็นได้ชดั นัน่ คือเมื่อครั้งนักวิทยาศาสตร์ ชาวอิหร่ านพัฒนาวัคซี นจานวนมากสาหรับ
COVID-19 รวมทั้งอุ ป กรณ์ ต่างๆ อาทิ เช่ น เครื่ องช่ วยหายใจและชุ ดตรวจที่ มีค วามแม่นยาสู ง ในช่ วงที่ มีการ
ระบาดใหญ่ของโรคท่ามกลางข้อจากัดในการนาเข้าจากต่างประเทศ
นั ก วิ จั ย ชาวอิห ร่ า น ได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทองจากสถาบั น นั ก ประดิ ษ ฐ์ แห่ ง ยุ โ รป
นักวิจยั ชาวอิหร่ านได้รับรางวัลเหรี ยญทองจากสถาบันนักประดิษฐ์แห่ งยุโรป ในเทศกาล "Teknofest
2023" ที่จดั ขึ้นในอิสตันบูล
ดร. สุ ดาเบะ ดาวารอน ซึ่ งเป็ นผูห้ ญิงคนแรกของโลกที่ได้รับเหรี ยญรางวัลทางวิทยาศาสตร์ ดา้ นนาโน
เทคโนโลยีจาก UNESCO ในความสาเร็ จครั้งใหม่น้ ี เธอยังได้รับรางวัลเหรี ยญทองจากสถาบันนักประดิษฐ์แห่ ง
ยุโรป อีกด้วย

4
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

ชื่อโครงการวิจยั ของเธอ คือ "เส้นใยนาโนที่มียาปฏิ ชีวนะและสารสกัดจากพืชต้านจุลชีพ สาหรับการ


รักษาบาดแผลติดเชื้อที่ด้ือยาปฏิชีวนะ" ซึ่งเธอได้รับรางวัลชนะเลิศในเทศกาลนี้

เหรี ย ญทองแรกในประวั ติ ศ าสตร์ เทควั น โดหญิ ง อิห ร่ า น


นอฮี ด กี ยอนี ย ์ นักเทควันโดหญิ ง ชาวอิ หร่ าน คว้า เหรี ย ญทองแรกในประวัติศ าสตร์ เทควันโดหญิ ง
อิหร่ านในการแข่งขันระดับโลก
นอฮีด กียอนีย ์ เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศเทควันโดชิงแชมป์ โลกที่สาธารณรัฐอาเซอร์ ไบจานเป็ นเจ้าภาพ ใน
รุ่ นน้ าหนัก 53 กิโลกรัม เอาชนะคู่ต่อสู ้จากเกาหลีใต้, ฮังการี , โครเอเชีย และรัสเซีย
นักเทควันโดชาวอิหร่ านรายนี้ พบกับตัวแทนจากจี นในรอบชิ งชนะเลิ ศ และสร้ างประวัติศาสตร์ ได้
อย่างโดดเด่นด้วยชัยชนะ 2 รอบติดต่อกัน

คลัง ภาพที่ ง ดงามของอิ ห ร่ า น

5
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 มิถุนายน 2566

เมืองโบราณแห่ งชู ช (Shush)


ตั้งอยูท่ างตะวันตกเฉี ยงใต้ของอิหร่ าน ถือเป็ นหนึ่งในสถานที่ทางประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดใน
โลก และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นแหล่งมรดกโลกขององค์การยูเนสโก (UNESCO)
***
ผูจ้ ดั ทา: ฝ่ ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตฯ
คุณสามารถติดตามข่าวสารล่าสุ ดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน ประจาประเทศไทย ได้ที่เพจเฟซบุก้ @IranInTh

You might also like