You are on page 1of 53

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน

รายวิชาอาเซียนศึกษา สาระที่ 3 การเชื่อมโยงโลกและท้อง


ถิ่นเวลา 2 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้
1.1. ด้านความรู้
1.1.1 อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
1.1.2 อธิบายความเป็ นมาของความสัมพันธ์และยกตัวอย่างผลงานความ
ร่วมมือของอาเซียนกับ
สหภาพยุโรปและสหประชาชาติ
1.2 ทักษะ/กระบวนการ
1.2.1ทักษะพื้นฐาน
- สื่อสารอย่างน้อยได้ 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษและภาษาประเทศ
ในอาเซียนอีกอย่างน้อย 1 ภาษา)
- มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างสร้างสรรค์
- มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี
- มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ น

1.2.2ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม
- เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
- มีภาวะผู้นำ
- เห็นปั ญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
1.2.3ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน
- เห็นคุณค่าความเป็ นมนุษย์เท่าเทียมกัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 166


- มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่าง
ถูกต้อง
- มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง
1.3 ด้านเจตคติ
1.3.1มีความภูมิใจในความเป็ นไทย/ความเป็ นอาเซียน
1.3.2ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน
1.3.3มีความตระหนักในความเป็ นอาเซียน
1.4คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.4.1มีวินัย
1.4.2ใฝ่ เรียนรู้
1.4.3มุ่งมั่นในการทำงาน
2. สาระการเรียนรู้
2.1. รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
- อาเซียน+1
- อาเซียน+3
- อาเซียน+6
- อาเซียน+8
2.2 ผู้ประสานงานกับคู่เจรจา
2.3 ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
- ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับสหภาพยุโรป
- ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับสหประชาชาติ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 167


การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน
สาระสำคัญ การวัดและประเมินผล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 168
วิสัยทัศน์อาเซียนระบุไว้ให้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
อาเซียนมุ่งสร้างสัมพันธไมตรีกับภาคี เรียน
นอกอาเซียนโดยเฉพาะการส่งเสริม 2. คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้
ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับ 3. การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน
ประเทศคู่เจรจา เพื่อให้ดำรงอยู่ร่วม 4. ใบงาน/แบบฝึ กหัด
กันอย่างสันติ มีเสถียรภาพและมีความ 5. สมุดบันทึกความรู้
มั่งคั่งไพบูลย์ 6. แบบประเมิน/แบบบันทึก
กิจกรรมการเรียนรู้ คำถามสำคัญ
1. ศึกษาข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ - รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับ
อาเซียนกับภายนอก ภายนอกมีกี่
2. ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน รูปแบบ แต่ละรูปแบบมีลก
ั ษณะ
3. ทำใบงาน/แบบฝึ กหัด/แบบ อย่างไร
ทดสอบ - ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับ
4. อภิปรายและวิเคราะห์ข้อมูลร่วม สหภาพยุโรปและ
กัน สหประชาชาติมีความเป็ นมาอย่างไร
5. การแสดงบทบาทสมมติ และจงยกตัวอย่าง
6. ให้ความรู้พ้น
ื ฐาน/อธิบายเพิ่มเติม ความร่วมมือ
7. นำเสนอข้อมูล/ผลงาน
8. ตัง้ คำถามให้นักเรียน
อภิปราย/แสดงความคิดเห็น
9. สรุปข้อมูล/สาระสำคัญ และจด
บันทึก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 169


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6/1
เรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกเวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มฐ. ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ และความจำเป็ นของ
การร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชีว
้ ัดข้อ 2 ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการ
แข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
มฐ. ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและความ
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ตัวชีว
้ ัดข้อ 1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ภูมิภาคเอเชีย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 170


2. สาระสำคัญ
วิสัยทัศน์อาเซียนระบุไว้ให้อาเซียนมุ่งสร้างความสัมพันธ์และส่งเสริมความร่วม
มือในรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกกับประเทศคู่เจรจา โดย
อาจอยู่ในรูปแบบอาเซียน+1 อาเซียน+3 อาเซียน+6 และอาเซียน+8 เพื่อ
ดำรงอยู่อย่างสันติ มีเสถียรภาพและมีความมั่งคั่งไพบูลย์ เป็ นชุมชนแห่งสังคม
ที่เอื้ออาทร

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
- อาเซียน+1
- อาเซียน+3
- อาเซียน+6
- อาเซียน+8
4.2 ผู้ประสานงานกับคู่เจรจา

5. ชิน
้ งาน/ภาระงาน
ใบงาน เรื่องรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก

6. คำถามสำคัญ
รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกมีกี่รูปแบบ แต่ละรูปแบบมี
ลักษณะอย่างไร

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 171


7. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
ขัน
้ นำ
1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้าง
สัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน จำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที
2. ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอกให้นักเรียนฟั งแล้ว
ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นด้วยคำถามดังนี ้ “ข่าวที่นักเรียนได้ฟังนี ้
เป็ นข่าวเกี่ยวกับอะไร”
3. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนเรื่องรูปแบบความ
สัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
ขัน
้ สอน
1. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
เป็ นเวลา 10 นาที
2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ให้แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้า
เกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกและทำใบงาน เรื่อง รูป
แบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก ใช้เวลา 15 นาที ให้ตัวแทนออกมา
นำเสนอหน้าชัน
้ เรียน จากนัน
้ นักเรียนร่วมกันสรุปรูปแบบความสัมพันธ์ของ
อาเซียนกับภายนอก ครูอธิบายเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
3. ครูซักถามผู้เรียนว่า “ในปั จจุบันประเทศในอาเซียนและหน่วยงาน
อาเซียนที่เป็ นผู้ประสานงานความสัมพันธ์กับคู่เจรจาประเทศใด” จากนัน

นักเรียนร่วมกันสรุปผู้ประสานงานกับคู่เจรจา ครูอธิบายเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
4. เพื่อทดสอบความเข้าใจ ครูให้เล่นเกม “จับคู่ประเทศคูเ่ จรจา”
4.1 ครูแจกแถบประโยค เกี่ยวกับประเทศคูเ่ จรจากับอาเซียน กลุ่มละ 1
ใบ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 172


4.2 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ประโยค ในแถบประโยคนัน
้ ว่า
เป็ นประเทศคู่เจรจาว่าเป็ นคู่เจรจากับประเทศอาเซียนหรือหน่วยงานอาเซียน
ใด ใช้เวลา 2 นาที
4.3 ครูเขียนหัวข้อประเทศอาเซียนหรือหน่วยงานอาเซียนไว้บนกระดาน
จากนัน
้ ให้น ัก เรีย นส่ง ตัว แทนนำแถบประโยคมาติด บนกระดานให้ต รงกับ
ประเทศอาเซียนหรือหน่วยงานอาเซียนแถบประโยคนัน

4.4 ครูแก้ไขเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขัน
้ สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญที่ได้เรียนรู้ในวันนีว้ ่า “วิสัยทัศน์
อาเซียนกำหนดให้สง่ เสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือในรูปแบบความ
สัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอกกับประเทศคู่เจรจา เช่น อาเซียน+1
อาเซียน+3 อาเซียน+6 และอาเซียน+8 เพื่อดำรงอยู่อย่างสันติ มีเสถียรภาพ
และมีความมั่งคั่งไพบูลย์ เป็ นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร” และให้นักเรียนจด
บันทึกความรู้ที่ได้รับลงในสมุด

8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมอาเซียนศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำกัด
8.2 ข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก
8.3 ใบงาน เรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์กับภายนอก
8.4 แถบประโยคประเทศคู่เจรจา
8.5 หนังสือ “บันทึกการเดินทางอาเซียน”
8.6 เว็บไซต์ของกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
(http://www.mfa.go.th/asean/th)

9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 173
9.1 แบบทดสอบก่อนเรียน แบบเลือกตอบ (4 ตัวเลือก) จำนวน 10 ข้อ
9.2 ตรวจผลงานจากชิน
้ งาน/ภาระงาน
9.3 การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
10.1 ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้
ด้านผู้
เรียน...................................................................................................................
.....................
.................................................................................................................
.......................................
ด้านวิธีสอนการวัดผล
......................................................................................................................
.............................................................................................................
............................................
ด้านสื่อการเรียน
รู้.........................................................................................................................
....
.............................................................................................................
............................................
10.2 ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียน
รู้...............................................................................................
.............................................................................................................
...........................................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 174


10.3 สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
...............................................................................................................
...............................................................................................................
.........................................
เหตุผล
...........................................................................................................................
................
.............................................................................................................
..........................................
10.4 แนวทางการปรับปรุงครัง้ ต่อไป
.............................................................................................................
.........................................
.............................................................................................................
.........................................
.............................................................................................................
.........................................

ลงชื่อ ................................................................... ผู้สอน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 175


ตัวอย่างข่าวความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก
ตัง้ "สนง.องค์กรสำรองข้าวอาเซียน+3" บริหารจัดการข้าว แก้วิกฤติ
อาหาร
จากความร่วมมือกันของ 10 ประเทศอาเซียน บวก 3 ประเทศ ได้แก่
สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี รวมเป็ น 13 ประเทศ
ในการทำโครงการนำร่องเพื่อระบบการสำรองข้าวในเอเชียตะวันออกขึน
้ เพื่อ
เตรียมความพร้อมในการรับมืออาหารขาดแคลนในช่วงภัยพิบัติของประเทศ
อาเซียน+3 ที่มีการดำเนินการนำร่องมาเป็ นระยะเวลากว่า 10 ปี แล้วนัน
้ จนถึง
ปั จจุบันได้ขยายผลสู่การจัดตัง้ เป็ นองค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน+3
โดยมีสำนักงานเลขานุการอยู่ในประเทศไทยตัง้ อยู่ที่สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร (สศก.)
นายอภิชาติ จงสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กล่าวว่า
องค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน+3 (ASEAN Plus Three Emergency
Rice Reserve : APTERR) เกิดขึน
้ จากโครงการนำร่องระบบสำรองข้าวใน
เอเชียตะวันออกที่มีการดำเนินงานมาร่วม 10 ปี จนรัฐมนตรีอาเซียนมีความ
เห็นให้จัดตัง้ เป็ นองค์กรถาวรขึน
้ เพื่อให้ประสิทธิภาพในการดำเนินงานมากขึน

สำหรับประเทศไทยนัน
้ ต้องถือว่าเป็ นผู้ผลิตข้าวรายใหญ่ของโลกเป็ นผู้นำ
ประเทศหนึ่งในเรื่องของข้าวอีกทัง้ ยังมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนและผลัก
ดันการดำเนินงานตัง้ แต่เป็ นโครงการนำร่อง ดังนัน
้ ไทยจึงเสนอตัวขอเป็ นสถาน
ที่ตงั ้ ของสำนักงานเลขานุการองค์กรสำรองข้าวฉุกเฉินอาเซียน+3 หรือ
APTERR ซึ่งที่ประชุมก็เห็นชอบให้มาตัง้ สำนักงานอยู่ที่ประเทศไทยโดยตัง้ อยู่
ภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 
สำนักงานเลขานุการแห่งนีจ
้ ะทำหน้าที่เป็ นศูนย์กลางความร่วมมือ
ระหว่างประเทศสมาชิก APTERR ทัง้ 13 ประเทศในการบริหารจัดการสำรอง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 176


ข้าวฉุกเฉินของภูมิภาคอาเซียน+3 ช่วยเหลือประเทศสมาชิกที่ประสบภัยพิบัติ
ฉุกเฉินรวมถึงให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน

ก่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหารในระยะยาวต่อไป
ทัง้ นี ้ คณะมนตรีถาวรของ APTERR  ได้มีการประชุมอย่างเป็ นทางการที่
ประเทศไทยเมื่อเร็ว ๆ นีเ้ พื่อรับรองร่างกฎระเบียบและคู่มือการดำเนินงาน
ต่างๆให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร
ในภูมิภาค โดยล่าสุดมีการรับรองร่างกฎระเบียบการดำเนินงานของ APTERR
จำนวน 4 ฉบับ ประกอบด้วย 1. กฎระเบียบการระบายและเติมเต็มข้าว
สำรองฉุกเฉิน 2. กฎระเบียบการดำเนินงานของคณะมนตรีAPTERR 3. กฎ
ระเบียบของสำนักงานเลขานุการ APTERR 4. คู่มือการจัดจ้างผู้บริหาร
สำนักงานเลขานุการ APTERR นอกจากนีท
้ ี่ประชุมยังเห็นชอบให้จ้างผู้จัดการ
ทั่วไปของสำนักงานเลขานุการ APTERR และให้ประเทศสมาชิกเร่งส่งแผนการ
ส่งมอบเงินกองทุน APTERR มายังสำนักงานเลขานุการ เพื่อสนับสนุนการ
ดำเนินงานขององค์กรต่อไป
ในกลุ่มอาเซียนได้มีการสำรองข้าวฉุกเฉินไว้ประมาณ 87,000 ตันต่อปี
แบ่งเป็ นของประเทศไทยประมาณ 15,000 ตัน ขณะที่ 3 ประเทศที่เข้ามาช่วย
จะมีการสำรองข้าวประมาณ 7 แสนตันโดยการสำรองข้าวนัน
้ อาจจะไม่ใช่รูป
ของข้าวอย่างเดียวจะเป็ นการสำรองในรูปของเงินเพื่อนำไปซื้อข้าวบริจาคก็ได้
ส่วนการช่วยเหลือก็จะขึน
้ อยู่กับสถานการณ์และการพิจารณาของสำนักงาน
เลขานุการ APTERR  เช่น เกิดภัยพิบัติที่ทำให้เกิดปั ญหาการขาดแคลนอาหาร
และประเทศสมาชิกไม่มีข้าวสำรอง ประชาชนเดือดร้อนแม้มีเงินแต่ก็หาซื้อข้าว
ไม่ได้ ทาง APTERR ก็จะพิจารณาให้ความช่วยเหลือโดยถ้าเป็ นปริมาณขัน
้ ต่ำ
50 ตัน ทางสำนักงานเลขานุการสามารถตัดสินใจบริจาคได้ทันทีและแจ้งให้
ทางคณะมนตรี APTERR ได้รับทราบซึ่งเป็ นวิธีการที่สามารถให้ความช่วยเหลือ
ได้อย่างรวดเร็ว แม้ว่าขณะนีค
้ วามช่วยเหลือยังคงมุง่ เน้นไปที่สมาชิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 177
อาเซียน+3 เท่านัน
้ ประเทศอื่นไม่ได้อยู่ภายใต้เงื่อนไข แต่ว่าถ้าพูดถึงในแง่ของ
มนุษยธรรมถ้าประเทศที่ไม่ได้เป็ นสมาชิกเกิดความเดือดร้อนก็น่าจะมีการ
พิจารณาให้ความช่วยเหลือเป็ นกรณีพิเศษซึ่งเรื่องนีอ
้ าจจะมีการนำเสนอเข้าสู่
ที่ประชุมคณะมนตรี APTERR ต่อไปในอนาคต

ที่มา: หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันพุธที่ 10


เมษายน พ.ศ. 2556

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 178


ใบงาน
เรื่องรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
คำชีแ
้ จงให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าและอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบความ
สัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก จากนัน
้ นำเสนอหน้าชัน
้ เรียน

อาเซียน +8 อาเซียน +1
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................. ..................

รูปแบบความสัมพันธ์
ของอาเซียนกับภายนอก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 179
อาเซียน +6 อาเซียน +3
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................................. ..................................
.................. ..................

เฉลย ใบงาน
เรื่องรูปแบบความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
คำชีแ
้ จงให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าและอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบความ
สัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก จากนัน
้ นำเสนอหน้าชัน
้ เรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 180


อาเซียน +8 อาเซียน +1
กรอบความร่วมมือ กรอบความร่วมมือ
ระหว่างอาเซียนกับ ระหว่างอาเซียนกับ
อีก 6 ประเทศนอก อีก 1 ประเทศ
อาเซียน ได้แก่ จีน หรือ
ญี่ปุ่น 1 กลุ่มประเทศ
เกาหลีใต้ อินเดีย หรือ
ออสเตรเลีย
รูปแบบความสัมพันธ์
ของอาเซียนกับภายนอก

อาเซียน +6 อาเซียน +3
กรอบความร่วมมือ กรอบความร่วมมือ
ระหว่างอาเซียนกับ ระหว่างอาเซียนกับ
อีก 6 ประเทศนอก อีก 3 ประเทศใน
อาเซียน ได้แก่ จีน เอเชียตะวันออก
ญี่ปุ่น ได้แก่ จีน
เกาหลีใต้ อินเดีย ญี่ปุ่น และ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 181


เกณฑ์การประเมินการอธิบาย

หมายเหตุ รายการประเมินมี 4 รายการ คือ อาเซียน +1, อาเซียน +3,


อาเซียน+6, อาเซียน +8
รายการละ 3 คะแนน รวม 12 คะแนน

การอธิบาย ระดับคุณภาพ
1 2 3
การอธิบายรูป อธิบายไม่ค่อยถูก อธิบายได้ถูกต้อง อธิบายได้ถูกต้อง
แบบความ ต้องไม่ตรง ชัดเจน ตรง
สัมพันธ์ของ ประเด็นไม่ แต่ยังไม่ ประเด็นชัดเจน
อาเซียนกับ ชัดเจนไม่ ครอบคลุม ครอบคลุมสาระ
ภายนอก ครอบคลุมสาระ สาระสำคัญ สำคัญ
สำคัญ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 182


แบบการประเมินการอธิบาย

การอธิบาย รวม สรุปผล


การอธิบายรูปแบบ (12)
ที่ ชื่อ-สกุล
ความสัมพันธ์ของ ผ่าน ไม่ผ่าน
อาเซียนกับภายนอก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 183


เกณฑ์การประเมิน
7-9 คะแนน = ดี
4-6 คะแนน = พอใช้
0-3 คะแนน = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
􀂅ดี 􀂅พอใช้ 􀂅ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
􀂅ผ่าน􀂅ไม่ผ่าน
หมายเหตุเกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................ผู้ประเมิน
(..............................................
...............................)
................./ ...................../......
...............

แบบประเมินการนำเสนอข้อมูล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 184


เกณฑ์การนำเสนอข้อมูล
ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
1 2 3
1 วิธีนำเสนอข้อมูล ไม่น่าสนใจ น่าสนใจ น่าสนใจ แปลก
ใหม่
2 ลำดับขัน
้ ตอนการ พูดไม่ตรง พูดได้ตรง พูดได้ตรง
ทำงาน ประเด็นและ ประเด็น ตอบ ประเด็น ตอบ
ไม่มีลำดับขัน
้ ข้อซักถามได้ ข้อซักถามได้
ตอน ยังไม่ ชัดเจน
ครอบคลุม ครอบคลุม
เนื้อหา เนื้อหา
3 การสรุปข้อมูล สรุปใจความได้ สรุปใจความได้ สรุปใจความได้
ไม่ครอบคลุม ตรงตาม ตรงตาม
ตาม วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ แต่ไม่ และมีสาระ
ครอบคลุม ครอบคลุม
เนื้อหา เนื้อหา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 185


แบบการประเมินการนำเสนอข้อมูล
รายการประเมิน สรุปผล
วิธีการนำ ลำดับขัน
้ รว
การสรุป
ที่ ชื่อ-สกุล เสนอ ตอนการ ม ผ่า ไม่
ข้อมูล
ข้อมูล ทำงาน(3 (9) น ผ่าน
(3)
(3) )
1
2
3
4
5
6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 186


7
8
9
1
0

เกณฑ์การประเมิน
7-9 คะแนน = ดี
4-6 คะแนน = พอใช้
0-3 คะแนน = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
 ดี  พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
หมายเหตุ เกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................

(.............................................................................)
................./ ...........
........../.....................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 187


เกณฑ์การประเมินสมุดบันทึกความรู้

การให้คะแนน/ระดับคะแนน
ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3) ดีมาก (4)
บันทึกข้อมูลไม่ถูก บันทึกมีข้อมูลแต่ บันทึกมีความถูก บันทึกมีความถูก
ต้อง ยังไม่ครบถ้วน ต้องสมบูรณ์พอ ต้องชัดเจนครบ
สมบูรณ์ สมควร ถ้วนสมบูรณ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 188


แบบการประเมินการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

เกณฑ์คุณภาพการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
1 2 3
1 การทำงานร่วม ยอมรับมติการ ยอมรับมติของ - ยอมรับมติ
กัน ทำงานของกลุ่ม กลุ่ม ของกลุ่ม
แต่ปฏิบัติตาม - รับผิดชอบ
น้อยครัง้ งานที่รับมอบ
หมายจากกลุ่ม
2 ความ ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองาน
กระตือรือร้น ภายในกลุ่มเมื่อ ในกลุ่ม ภายในกลุ่ม
มีการร้องขอ - ร่วมแสดง - ร่วมแสดง
ความ ความคิดเห็น
คิดเห็น - ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
- ศึกษาค้นคว้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 189
3 การตอบคำถาม มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมใน ให้ความร่วมมือ
การตอบคำถาม การตอบคำถาม ในการตอบ
น้อยมาก บางครัง้ คำถามเป็ น
อย่างดี
4 ความคิดริเริ่ม ร่วมกิจกรรม รับฟั งแต่แสดง ร่วมรับฟั งและ
สร้างสรรค์ ตามที่กลุ่ม ความคิดเห็นที่ แสดงความคิด
ขอร้อง คล้อยตาม เห็นที่แตกต่าง
เพื่อนๆ แต่มีประโยชน์

แบบการประเมินการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

ที่ ชื่อ-สกุล รายการประเมิน รว สรุปผล


การ ความ การ ความคิด ม ผ่า ไม่
ทำงาน กระตือรื ตอบ ริเริ่ม (12 น ผ่าน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 190


ร่วมกัน อร้น คำถาม สร้างสรร
(3) (3) (3) ค์ (3) )
1
2
3
4
5
6
7
8
9
1
0

เกณฑ์การประเมิน
9-12 คะแนน ระดับ 3 = ดี
5-8 คะแนน ระดับ 2 = พอใช้
ต่ำกว่า 5 คะแนน ระดับ 1 = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
 ดี  พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : เกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 191


(.............................................................................)
................./ .........
............/.....................

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6/2
เรื่อง ความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอกเวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
มฐ. ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ และความจำเป็ นของ
การร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชีว
้ ัดข้อ 2 ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการ
แข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
มฐ. ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและความ
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ตัวชีว
้ ัดข้อ 1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ภูมิภาคเอเชีย

2. สาระสำคัญ
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปจัดอยู่ในรูปแบบอาเซียน+1
กับกลุ่มประเทศ ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติจัดอยู่ใน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 192


รูปแบบอาเซียน+1 กับองค์การระหว่างประเทศ โดยสหภาพยุโรป และ
สหประชาชาติต่างก็มีความร่วมมือระหว่างกันทัง้ ด้านการเมืองและความมั่นคง
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านความร่วมมือเพื่อพัฒนากับ
อาเซียน เพื่อดำรงอยู่อย่างสันติ มีเสถียรภาพและมีความมั่งคั่งไพบูลย์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความเป็ นมาของความสัมพันธ์และยกตัวอย่างผลงานความร่วมมือ
ของอาเซียนกับสหภาพยุโรปและสหประชาชาติได้

4. สาระการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก
- ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับสหภาพยุโรป
- ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับสหประชาชาติ

5. ชิน
้ งาน/ภาระงาน
แบบฝึ กหัด เรื่องความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก

6. คำถามสำคัญ
ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับสหภาพยุโรปและสหประชาชาติมีความเป็ นมา
อย่างไร และจงยกตัวอย่างความร่วมมือ

7. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
ขัน
้ นำ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 193


1. ครูทบทวนบทเรียนในคาบที่แล้วให้นักเรียนฟั ง
2. ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอกให้นักเรียนฟั งแล้ว
ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นด้วยคำถามดังนี ้ “ข่าวที่นักเรียนได้ฟังนี ้
เป็ นข่าวเกี่ยวกับอะไร”
3. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนเรื่องความสัมพันธ์
อาเซียนกับภายนอก
ขัน
้ สอน
1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็ น 2 กลุ่ม เพื่อให้แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติ
เกี่ยวกับบทบาทที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มประเทศคู่
เจรจา/องค์การระหว่างประเทศต่อไปนี ้
กลุ่มที่ 1 อาเซียนกับสหภาพยุโรป
กลุ่มที่ 2 อาเซียนกับสหประชาชาติ
(กิจกรรมนีค
้ รูอาจแจ้งล่วงหน้าให้นักเรียนเตรียมบทบาทสมมติเกี่ยวกับ
บทบาทที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มประเทศคูเ่ จรจา/องค์การ
ระหว่างประเทศมาล่วงหน้า)
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมติหน้าชัน
้ เรียน เกี่ยวกับ
บทบาทที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มประเทศคูเ่ จรจา/องค์การ
ระหว่างประเทศ พร้อมยกตัวอย่างความร่วมมือดังกล่าว นักเรียนร่วมกันสรุป
ครูอธิบายเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัด เรื่องความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก ใช้
เวลา 10 นาที
ขัน
้ สรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญที่ได้เรียนรู้ในวันนีว้ ่า “วิสัยทัศน์
อาเซียนกำหนดให้สง่ เสริมการมีปฏิสัมพันธ์กับภายนอกโดยเฉพาะการส่งเสริม
ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจา เช่น สหภาพยุโรป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 194
สหประชาชาติ ซึ่งแนวทางความร่วมมือระหว่างกันทัง้ ด้านการเมือง ความ
มั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านความร่วมมือเพื่อ
พัฒนา เพื่อดำรงอยู่อย่างสันติ มีเสถียรภาพและมีความมั่งคั่งไพบูลย์” และให้
นักเรียนจดบันทึกความรู้ที่ได้รับลงในสมุด
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความ
สัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียนจำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
8.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมอาเซียนศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำกัด
8.2 อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงบทบาทสมมติของนักเรียน
8.3 ข่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์อาเซียนของกับภายนอก
8.4 ใบงาน เรื่อง ความสัมพันธ์อาเซียนของกับภายนอก
8.5 หนังสือ “บันทึกการเดินทางอาเซียน”
8.6 เว็บไซต์ของกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
(http://www.mfa.go.th/asean/th)

9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
9.1 แบบทดสอบหลังเรียน แบบเลือกตอบ (4 ตัวเลือก) จำนวน 10 ข้อ
9.2 ตรวจผลงานจากชิน
้ งาน/ภาระงาน
9.3 การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
10.1 ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 195


ด้านผู้เรียน
...........................................................................................................................
............................
.................................................................................................................
........................................................
ด้านวิธีสอนการวัดผล
...........................................................................................................................
...........
.................................................................................................................
........................................................
ด้านสื่อการเรียนรู้
...........................................................................................................................
.................
.................................................................................................................
........................................................
10.2 ปั ญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
...............................................................................................................
.................................................................................................................
........................................................
10.3 สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
...........................................................................................................................
......
.................................................................................................................
........................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 196


เหตุผล
...........................................................................................................................
.................................
.................................................................................................................
........................................................
10.4 แนวทางการปรับปรุงครัง้ ต่อไป
.................................................................................................................
........................................................
.................................................................................................................
........................................................
.................................................................................................................
........................................................

ลงชื่อ ................................................................... ผู้สอน

ใบงาน
เรื่อง ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับภายนอก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 197


คำชีแ
้ จงให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข่าวต่อไปนีแ
้ ล้วช่วยกันตอบคำถาม

อาเซียนกับสหประชาชาติ
นอกจากอาเซียนจะมีความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ เป็ นอาเซียน +3
อาเซียน +6 แล้วองค์กรระดับโลกอย่างสหประชาชาติ (ยูเอ็น)ก็มค
ี วามเชื่อม
โยงกับอาเซียนเช่นกัน
เมื่อ 12 ก.พ. พ.ศ. 2543 มีการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ
ครัง้ ที่ 1 ที่กรุงเทพฯเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างการเชื่อมโยงที่ต่อเนื่อง
ทัง้ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลดช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
การพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงรวมทัง้ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องสถานการณ์
การเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค ส่วนการประชุมครัง้ ล่าสุดคือครัง้ ที่ 4 มีขน
ึ้
เมื่อเดือนพ.ย. ปี พ.ศ. 2555 ที่เกาะบาหลี อินโดนีเซีย
ปี พ.ศ. 2550 อาเซียนได้รับสถานะผู้สงั เกตการณ์ในยูเอ็น ปี เดียวกัน
อาเซียนและยูเอ็นลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อเสริมสร้างสันติภาพและความ
มั่นคงในภูมิภาค และบรรลุเป้ าหมายการพัฒนาสหัสวรรษในปี พ.ศ.2558 เพื่อ
ให้มีความร่วมมือในด้านต่างๆ แบ่งได้เป็ น
"ด้านการเมืองและความมั่นคง"
อาเซียนทำปฏิญญาเป็ นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็ นกลาง
(ZOPFAN) ในปี พ.ศ. 2514, ทำสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี พ.ศ. 2519, สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธ
นิวเคลียร์ (SEANWFZ) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือ
ด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หรือ ASEAN
Regional Forum (ARF) ซึง่ ไทยได้เป็ นเจ้าภาพจัดประชุมครัง้ แรกในปี พ.ศ.
2537 รวมถึงไทยได้เสนอแนวคิดเรื่อง ASEAN Troika ในช่วงที่ไทยเป็ น
ประธานอาเซียน ปี พ.ศ. 2542 ซึง่ เป็ นกลไกรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 198


แนวคิดหลักคือไม่ก้าวก่ายกิจการภายในของกันและกัน
"ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ"
อาเซียนกับสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เริ่ม
ความร่วมมือในปี พ.ศ. 2513 โดยสนับสนุนด้านการเงินและผู้เชี่ยวชาญเพื่อ
ช่วยอาเซียนในส่วนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ อาเซียนยังร่วมกับ
UN ESCAP เพื่อขอระดมทุนสร้างถนนและจัดตัง้ ระบบเทคโนโลยีด้านข้อมูล
ข่าวสารในภูมิภาค
"ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม"
อาเซียนโดยศูนย์ประสานงานเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมใน
การบริหารจัดการภัยพิบัติ (AHA Center) ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ของ
สหประชาชาติ เช่น สำนักงานประสานงานกิจกรรมด้านมนุษยธรรม (OCHA)
มีกรอบความร่วมมือกับกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) มีแผน
ระยะ 5 ปี ส่งเสริมให้เด็กได้รับสิทธิตามข้อบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิ
เด็กและเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษที่เกี่ยวกับเด็ก
ที่มา: ข่าวสดรายวัน วันที่ 17 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2556 ปี ที่ 22 ฉบับที่ 8116 
1. สาระสำคัญของข่าวนีค
้ ืออะไร
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
........................................................... ...............................................................
....................................................................................................................... ...
...........................................................................................................................
........................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 199
2. จงยกตัวอย่างความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
........................................................... ...............................................................
....................................................................................................................... ...
...........................................................................................................................
........................................................
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
........................................................... ...............................................................
....................................................................................................................... ...
...........................................................................................................................
........................................................
...........................................................................................................................
........................................................... ...............................................................
.......................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 200


...........................................................................................................................
...........................................................
...........................................................................................................................
........................................................... ...............................................................
....................................................................................................................... ...
...........................................................................................................................
........................................................

เฉลยใบงาน
เรื่อง ความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก

1. สาระสำคัญของข่าวนีค
้ ืออะไร
อาเซียนจะมีความสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น)เพื่อเสริม
สร้างสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และบรรลุเป้ าหมายการพัฒนา
สหัสวรรษในปี พ.ศ. 2558 เพื่อให้มค
ี วามร่วมมือในด้านต่างๆ ทัง้ ด้าน
การเมือง ความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 201


2. จงยกตัวอย่างความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ
1. ด้านการเมืองและความมั่นคง
อาเซียนทำปฏิญญาเป็ นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็ นกลาง
(ZOPFAN) ในปี พ.ศ. 2514, ทำสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี พ.ศ. 2519, สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธ
นิวเคลียร์ (SEANWFZ)
2. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
อาเซียนกับสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เริ่ม
ความร่วมมือในปี พ.ศ. 2513 โดยสนับสนุนด้านการเงินและผู้เชี่ยวชาญเพื่อ
ช่วยอาเซียนในส่วนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ อาเซียนยังร่วมกับ
UN ESCAP เพื่อขอระดมทุนสร้างถนนและจัดตัง้ ระบบเทคโนโลยีด้านข้อมูล
ข่าวสารในภูมิภาค
3. ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียนโดยศูนย์ประสานงานเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมใน
การบริหารจัดการภัยพิบัติ (AHA Center) ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ของ
สหประชาชาติ อาทิสำนักงานประสานงานกิจกรรมด้านมนุษยธรรม (OCHA)
มีกรอบความร่วมมือกับกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) มีแผน
ระยะ 5 ปี ส่งเสริมให้เด็กได้รับสิทธิตามข้อบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิ
เด็กและเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษที่เกี่ยวกับเด็ก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 202


แบบประเมินการทำใบงาน
เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน
เรื่องความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก
ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
1 2 3
1 การสรุปสาระ สรุปไม่ค่อยตรง สรุปได้ตรง สรุปได้ตรง
สำคัญของข่าว ประเด็น ไม่ ประเด็น แต่ยัง ประเด็น และ
ครอบคลุม ไม่ครอบคลุม ครอบคลุม
สาระสำคัญ สาระสำคัญ สาระสำคัญ
ของข่าว ของข่าว ของข่าว
2 การยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างจาก ยกตัวอย่างจาก ยกตัวอย่างจาก
ความร่วมมือ ข่าวไม่ค่อยถูก ข่าวได้ถูกต้อง ข่าวได้ถูกต้อง
ระหว่างอาเซียน ต้อง ไม่ครบ แต่ไม่ครบถ้วน ครบถ้วนทุก
กับสหประชาชาติ ถ้วนทุกด้าน ทุกด้าน ด้าน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 203


แบบการประเมินการทำใบงาน
เรื่องความสัมพันธ์อาเซียนกับภายนอก

รายการประเมิน รวม สรุปผล


ที่ ชื่อ-สกุล รายการที่ 1 รายการที่ (3) ไม่
ผ่าน
(3) 2 (3) ผ่าน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 204


เกณฑ์การประเมิน
5-6 คะแนน = ดี
3-4 คะแนน = พอใช้
0-2 คะแนน = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
􀂅ดี 􀂅พอใช้ 􀂅ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
􀂅ผ่าน􀂅ไม่ผ่าน
หมายเหตุเกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................ผู้ประเมิน
(..............................................
...............................)
................./ ...................../......
...............

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 205


แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ

เกณฑ์การประเมินแสดงบทบาทสมมติ
ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
1 2 3
1 ลักษณะการ ไม่น่าสนใจ น่าสนใจ น่าสนใจ แปลก
แสดงบทบาท ใหม่
สมมติ
2 ลำดับขัน
้ ตอนการ ขาดการ มีการวางแผน มีการวางแผน
ทำงาน วางแผนที่ดี ที่ดี แต่ทำงาน การทำงานที่ดี
(การเตรียมการ การทำงานไม่ ไม่ค่อยเป็ น และทำงาน
แสดงบทบาทสม ค่อยเป็ นระบบ ระบบ อย่างเป็ นระบบ
ติ)
3 การสรุปผลการ สรุปใจความได้ สรุปใจความได้ สรุปใจความได้
แสดงบทบาท ไม่ครอบคลุม ตรงตาม ตรงตาม
สมมติ ตาม วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ แต่ไม่ และมีสาระ
ครอบคลุม ครอบคลุม
เนื้อหา เนื้อหา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 206


แบบการประเมินการนำเสนอข้อมูล
รายการประเมิน สรุปผล
การสรุป
ลักษณะ ลำดับขัน
้ รว
ผลการ
ที่ ชื่อ-สกุล การแสดง ตอนการ ม ผ่า ไม่
แสดง
บทบาท ทำงาน (9) น ผ่าน
บทบาท
สมมติ(3) (3)
สมมติ(3)
1
2
3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 207


4
5
6
7
8
9
1
0

เกณฑ์การประเมิน
7-9 คะแนน = ดี
4-6 คะแนน = พอใช้
0-3 คะแนน = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
 ดี  พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
หมายเหตุ เกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................

(.............................................................................)
................./ ...........
........../.....................

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 208


เกณฑ์การประเมินสมุดบันทึกความรู้

การให้คะแนน/ระดับคะแนน
ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3) ดีมาก (4)
บันทึกข้อมูลไม่ถูก บันทึกมีข้อมูลแต่ บันทึกมีความถูก บันทึกมีความถูก
ต้อง ยังไม่ครบถ้วน ต้องสมบูรณ์พอ ต้องชัดเจนครบ
สมบูรณ์ สมควร ถ้วนสมบูรณ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 209


แบบการประเมินการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

เกณฑ์คุณภาพการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
1 2 3
1 การทำงานร่วม ยอมรับมติการ ยอมรับมติของ - ยอมรับมติ
กัน ทำงานของกลุ่ม กลุ่ม ของกลุ่ม
แต่ปฏิบัติตาม - รับผิดชอบ
น้อยครัง้ งานที่รับมอบ
หมายจากกลุ่ม
2 ความ ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองาน
กระตือรือร้น ภายในกลุ่มเมื่อ ในกลุ่ม ภายในกลุ่ม
มีการร้องขอ - ร่วมแสดง - ร่วมแสดง
ความ ความคิดเห็น
คิดเห็น - ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 210
- ศึกษาค้นคว้า
3 การตอบคำถาม มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมใน ให้ความร่วมมือ
การตอบคำถาม การตอบคำถาม ในการตอบ
น้อยมาก บางครัง้ คำถามเป็ น
อย่างดี
4 ความคิดริเริ่ม ร่วมกิจกรรม รับฟั งแต่แสดง ร่วมรับฟั งและ
สร้างสรรค์ ตามที่กลุ่ม ความคิดเห็นที่ แสดงความคิด
ขอร้อง คล้อยตาม เห็นที่แตกต่าง
เพื่อนๆ แต่มีประโยชน์

แบบการประเมินการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

ที่ ชื่อ-สกุล รายการประเมิน รว สรุปผล


การ ความ การ ความคิด ม ผ่า ไม่

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 211


ทำงาน กระตือรื ตอบ ริเริ่ม
ร่วมกัน อร้น คำถาม สร้างสรร น ผ่าน
(12
(3) (3) (3) ค์ (3)
)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
1
0

เกณฑ์การประเมิน
9-12 คะแนน ระดับ 3 = ดี
5-8 คะแนน ระดับ 2 = พอใช้
ต่ำกว่า 5 คะแนน ระดับ 1 = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
 ดี  พอใช้  ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสินใจ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : เกณฑ์เป็ นไปตามที่โรงเรียนกำหนด
ลงชื่อ............................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 212
(.............................................................................)
................./ .........
............/.....................

คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6

1. APO ย่อมาจากอะไร เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์อาเซียนกับ


ภายนอกอย่างไร
2. อาเซียนสถาปนาความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศคู่เจรจากี่กลุ่ม อะไร
บ้าง
3. ประเทศใดในอาเซียนที่เป็ นผู้ประสานงานกับสหภาพยุโรป
4. การเจรจาระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปทางด้านใดไม่ค่อย
ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
5. TAC คืออะไร มีความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปอย่างไร
6. จงยกตัวอย่างความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติมา
อย่างน้อย 3 ประเด็น

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 213


เฉลยคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 6

1. APO ย่อมาจากอะไร เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์อาเซียนกับ


ภายนอกอย่างไร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 214
APO ย่อมาจาก ASEAN Plus One เรียกว่า อาเซียน+1 โดยเป็ นก
รอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอีก 1 ประเทศหรือ 1 กลุ่ม
ประเทศ หรือ 1 องค์การระหว่างประเทศที่เป็ นคู่เจรจา ความสัมพันธ์
หรือกรอบความร่วมมือรูปแบบนีจ้ ะมีสมาชิกที่มีผู้เข้าร่วมประชุมและ
ทำงานร่วมกันถึง 11 ประเทศ หรือ 10 ประเทศกับอีก 1 กลุ่ม
ประเทศหรือ 1 องค์การ (ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ
อีก 1 ประเทศ/1 กลุ่มประเทศ/1 องค์การระหว่างประเทศ)
2. อาเซียนสถาปนาความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศคู่เจรจากี่กลุ่ม อะไร
บ้าง
1 กลุ่ม คือ สหภาพยุโรป
3. ประเทศใดในอาเซียนที่เป็ นผู้ประสานงานกับสหภาพยุโรป
เวียดนาม
4. การเจรจาระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปทางด้านใดไม่ค่อย
ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
ด้านเศรษฐกิจ
5. TAC คืออะไร มีความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปอย่างไร
TAC มาจากคำว่า Treaty of Amity and Cooperation in
Southeast Asia คือ สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยสหภาพยุโรปได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาดังกล่าว
กับเอเซียน เพื่อส่งเสริมสันติภาพ ยึดมั่นในหลักสันติวิธี และไม่มีการ
แทรกแซงกิจการภายในกับประเทศอื่น

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 215


6. จงยกตัวอย่างความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติมา
อย่างน้อย 3 ประเด็น
1. ความร่วมมือทางการเมืองเพื่อแก้ไขปั ญหากัมพูชาเมื่อต้น
ทศวรรษ 2520
2. การป้ องกันโรคไข้หวัดนกระบาดเมื่อปี พ.ศ. 2547
3. การร่วมมือบรรเทาภัยพิบัตธิ รรมชาติเมื่อปี พ.ศ. 2549 (ภัยพิบัติ
จากสึนามิในประเทศไทย) และปี พ.ศ. 2551 (ภัยพิบต
ั ิจากพายุไซโค
ลนนาร์กีสในประเทศเมียนมาร์)

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างสัมพันธไมตรีและภาคีนอกอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. อาเซียน+1 มีอักษรย่อว่าอะไร
ก. APO ข. APA ค. APT ง. APS
2. APT เป็ นตัวย่อของกรอบความร่วมมือใด
ก. อาเซียน+1 ข. อาเซียน+3 ค. อาเซียน+6 ง. อาเซียน+8
3. อาเซียน +3 เป็ นการร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศใด

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 216


ก. จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน ข. จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ค. จีน ไต้หวัน เกาหลีใต้ ง.
ญี่ปุ่น ฮ่องกง เกาหลีเหนือ
4. ประเทศในอาเซียนที่เป็ นผู้ประสานงานกับสหรัฐอเมริกาคือประเทศใด
ก. สิงคโปร์ ข. ไทย ค. อินโดนีเซีย ง. เมีย
นมาร์
5. ประเทศใด ไม่ใช่ ประเทศคู่เจรจากับอาเซียน
ก. รัสเซีย ข. แคนาดา ค. นิวซีแลนด์ ง.
เกาหลีเหนือ
6. องค์การระหว่างประเทศที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียนในรูปแบบอาเซียน+1
คือองค์การใด
ก. องค์การค้าโลก ข. สหประชาชาติ ค. โอเปค ง.องค์การ
อนามัยโลก
7. ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติมค
ี วามสัมพันธ์กันใน
โครงการใดเป็ นหลัก
ก.UNDP ข. UNESCO ค. UNICEF ง. UNFCCC
8. ปฏิญญานูแรมเบิร์กเป็ นแผนแม่บทที่แสดงคือความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียน
กับกลุ่มประเทศคู่เจรจาใด
ก. จีน ข. สหรัฐอเมริกา ค. สหภาพยุโรป ง.
สหประชาชาติ
9. การลักลอบการค้ามนุษย์เป็ นความร่วมมือของอาเซียนกับสหภาพยุโรปใน
ด้านใด
ก. ด้านการเมือง ข. ด้านเศรษฐกิจ
ค. ด้านสังคมและวัฒนธรรม ง. ด้านความร่วมมือเพื่อพัฒนา
10. ข้อใดไม่ใช่ความร่วมมือของอาเซียนกับสหประชาชาติ
ก. การป้ องกันโรคไข้หวัดนกระบาดปี พ.ศ. 2554
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน (ม.2) 217
ข. การรับรองแบบปฏิบัติการบันดาร์เสรีเบกาวัน
ค. การร่วมมือบรรเทาภัยพิบัติจากสึนามิในประเทศไทย
ง. การรับรองร่างปฏิญญาความเป็ นหุ่นส่วนระหว่างอาเซียนกับองค์กร
สหประชาชาติ

เฉลย

1. ก 2. ข 3. ข 4. ง 5. ง

6. ข 7. ก 8. ค 9. ค
10. ข

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สร้างความสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน(ม.2) 218

You might also like