You are on page 1of 14

หน่วยการเรียนรู้ ท ี่ 3 พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
เวลา 7 ชัวโมง

ส 4.3 ม.2/1 วิเคราะห์พฒ ั นาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรใี นด้านต่างๆ


ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุร ี และอิทธิพลของภูมปิ ญั ญาดังกล่าวต่อการ

พัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา

2 สาระสำคัญ/ความคิ ดรวบยอด
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรมี ปี จั จัยสำคัญทีส่ ่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร ภูมปิ ญั ญา
และวัฒนธรรมของสมัยธนบุรยี งั มีอทิ ธิพลต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) การเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 การกูเ้ อกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี
2) ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น่
1) พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรธนบุรี
2) พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอาณาจักรธนบุรี

4 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการรวบรวมข้อมูล 4) ทักษะการสรุปลงความเห็น
2) ทักษะการวิเคราะห์ 5) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
3) ทักษะการสังเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ยั 3. มุง่ มันในการทำงาน

2. ใฝเ่ รียนรู้ 4. รักความเป็ นไทย
6 ชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
การจัดนิทรรศการแสดงพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

200
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
7 การวัดและการประเมิ นผล
7.1 การประเมิ นก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 เรือ่ ง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
7.2 การประเมิ นระหว่างการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
1) ตรวจใบงานที่ 3.1 เรือ่ ง ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักรธนบุรี
2) ตรวจใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี
3) ตรวจใบงานที่ 3.3 เรือ่ ง พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมสมัยธนบุรี
4) ตรวจใบงานที่ 3.4 เรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี
5) ตรวจใบงานที่ 3.5 เรือ่ ง พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี
6) ตรวจใบงานที่ 3.6 เรือ่ ง การเสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุรี
7) ตรวจใบงานที่ 3.7 เรือ่ ง ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
8) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
9) ประเมินการนำเสนอผลงาน
10) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
11) สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
12) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมิ นหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 เรือ่ ง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
7.4 การประเมิ นชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจนิทรรศการแสดงพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

8 กิ จกรรมการเรียนรู้

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที ่ 3

201
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่ 1 การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี และปัจจัย
ที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง 1 ชัวโมง

วิ ธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ขัน้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
ครูให้นกั เรียนดูภาพบรมราชานุสาวรียพ์ ระเจ้าตากสินมหาราช แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า
พระเจ้าตากสินมหาราชมีความสำคัญต่อประวัตศิ าสตร์ธนบุรอี ย่างไรบ้าง
ขัน้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)
ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา
ความรูเ้ รือ่ ง การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี และปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักรธนบุรี
จากหนังสือเรียน
ขัน้ ที่ 3 อธิ บายความรู้ (Explain)
1. สมาชิกแต่ละกลุ่มผลัดกันอธิบายความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษาให้เพือ่ นฟงั ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอธิบาย
จนทุกคนมีความเข้าใจทีช่ ดั เจนตรงกัน
2. ครูอธิบายความรูเ้ กีย่ วกับการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี และปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักร
ธนบุรี ให้นกั เรียนฟงั เพิม่ เติม เพือ่ ให้นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึน้
ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)
นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 3.1 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อความเจริ ญรุ่งเรืองของอาณาจักรธนบุรี
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
ครูตรวจสอบนักเรียนจากการทำใบงานที่ 3.1

202
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่2 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง
2 ชัวโมง

วิ ธีสอนตามรูปแบบ โมเดลซิปปา (CIPPA Model)
ขัน้ ที่ 1 ทบทวนความรู้เดิ ม
ครูเปิ ดเพลงเจ้าตาก ของศิลปินวงคาราบาว ให้นกั เรียนฟงั พร้อมแจกเนื้อเพลงประกอบ แล้วให้นกั เรียน
ร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลงและตอบคำถามทีกำ ่ หนด
ขัน้ ที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่
นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี จากหนังสือเรียน
โดยให้ครอบคลุมประเด็นทีกำ ่ หนด
ขัน้ ที่ 3 ศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิ ม
1. นักเรียนแต่ละคนศึกษาทำความเข้าใจความรูใ้ หม่ และเชือ่ มโยงกับความรูเ้ ดิม แล้วสรุปสาระสำคัญ
2. นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 3.2 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี เมือ่ ทำเสร็จ
แล้วตรวจสอบความถูกต้องและเติมเต็มคำตอบให้สมบูรณ์
ขัน้ ที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
นักเรียนแต่ละคนนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษาและการทำใบงานที่ 3.2 มาเล่าให้เพือ่ นในกลุ่มฟงั ผลัดกันซัก
ถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน จากนัน้ หลอมรวมคำตอบเป็ นผลงานของกลุ่ม
ขัน้ ที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู้
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรธนบุรี
ขัน้ ที่ 6 ปฏิ บตั ิ และ/หรือแสดงผลงาน
ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานในใบงานที่ 3.2 หน้าชัน้ เรียน โดยครูและเพือ่ นกลุ่มอื่นช่วยกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง และให้ขอ้ เสนอแนะ
ขัน้ ที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ไทยสมัยกรุงธนบุรี
ในด้านอื่นๆ ต่อไป

203
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่3 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคม
1 ชัวโมง

วิ ธีสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ขัน้ ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
ครูเล่าเหตุการณ์สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 และเชือ่ มโยงถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
ของกรุงธนบุรใี ห้นกั เรียนฟงั ประกอบใบความรู้ เรือ่ ง เศรษฐกิจสมัยธนบุรจี ากพงศาวดาร
ขัน้ ที่ 2 จัดการเรียนรู้
1. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมสมัยธนบุรี จาก
หนังสือเรียน ในหัวข้อต่อไปนี้
1) สาเหตุททำ่ี ให้เกิดปญั หาเศรษฐกิจ
2) นโยบายแก้ไขปญั หาเศรษฐกิจ
3) บทบาทและความสัมพันธ์ของชนชัน้ ต่างๆ ในสังคม
2. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เนื้อหาทีศ่ กึ ษา ผลัดกันอภิปรายและซักถามข้อสงสัยจนทุกคนมีความ
เข้าใจชัดเจนตรงกัน
3. ครูอธิบายความรูเ้ กีย่ วกับพัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมให้นกั เรียนฟงั เพิม่ เติม เพือ่ ให้นกั เรียนมีความรู้
ความเข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึน้
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำใบงานที่ 3.3 เรื่อง พัฒนาการด้านเศรษฐกิ จและสังคมสมัยธนบุรี
แล้วร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน้ นำส่งครูตรวจ
ขัน้ ที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้
1. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมสมัยธนบุรี
2. ครูแนะนำให้นกั เรียนนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาพัฒนาการด้านต่างๆ ในสมัย
ธนบุรตี ่อไป
ขัน้ ที่ 4 วัดและประเมิ นผล
ครูวดั และประเมินผลนักเรียนจากการทำใบงานที่ 3.3

204
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่4 พัฒนาการด้านความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ 1 ชัวโมง

วิ ธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคร่วมกันคิด
ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูให้นกั เรียนยกตัวอย่างการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพือ่ นบ้านในสมัยอยุธยา
และธนบุรี ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2. ครูอธิบายเชือ่ มโยงให้นกั เรียนเข้าใจถึงเหตุผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยสมัยอยุธยาว่าส่ง
ผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยสมัยธนบุรอี ย่างไรบ้าง
ขัน้ สอน
1. ครูแจกใบงานที่ 3.4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำ
และแสดงความคิดเห็น อภิปราย หาคำตอบ จากนัน้ อธิบายคำตอบให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความเข้าใจ
ชัดเจน เป็ นการกระตุน้ ให้นกั เรียนนำความรูเ้ ดิมของตนเองออกมาเชือ่ มโยงกับความรูใ้ หม่
2. ครูเฉลยคำตอบพร้อมกับอธิบายเพิม่ เติม นักเรียนแต่ละกลุ่มรับทราบผลคะแนนของกลุ่มและข้อผิดพลาด
ของตนเอง
3. ครูให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มจับสลากเลือกหัวข้อทีจ่ ะศึกษาเรือ่ ง พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
สมัยธนบุรี จากหนังสือเรียน และหนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม ในหัวข้อทีกำ
่ หนดให้
4. ครูแจกใบงานที่ 3.5 เรื่อง พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี ให้นกั เรียน
แต่ละกลุ่มช่วยกันทำ จากนัน้ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขัน้ สรุป
ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละกลุ่มเพือ่ เฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.5 หน้าชัน้ เรียน พร้อมทัง้ อธิบายให้เพือ่ นร่วมชัน้ ฟงั
จนเข้าใจชัดเจน ครูตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมกับอธิบายและยกตัวอย่างเพิม่ เติม

205
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่5 การเสื่อมอำนาจของอาณาจักรธนบุรี
1 ชัวโมง

วิ ธีสอนโดยใช้เทคนิ ค การคิดแบบหมวกหกใบ
ขัน้ ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
ครูให้นกั เรียนจินตนาการถึงเหตุผลทีทำ
่ ให้อาณาจักรใดๆ ก็ตามเกิดความเสือ่ มอำนาจ จากนัน้ ให้นกั เรียน

ช่วยกันคิดเพือ่ เสนอแนวทางปองกันการเสือ่ มอำนาจของอาณาจักร
ขัน้ ที่ 2 ชี้แจงรายละเอียด
1. ครูอธิบายให้นกั เรียนเข้าใจว่า จะมีกจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ และอธิบายถึง
ลักษณะพืน้ ฐานของหมวกทัง้ หกใบ จากนัน้ จึงชีแ้ จงบทบาท หน้าที่ ขัน้ ตอน กติกา ของการอภิปรายให้
นักเรียนฟงั
2. นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันปรึกษาและแบ่งบทบาทหน้าที่กนั ภายในกลุ่ม
ขัน้ ที่ 3 สาธิ ต
1. ครูแจกใบความรู้ เรือ่ ง เหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี ให้นกั เรียนทุกคนอ่าน จากนัน้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกีย่ วกับเรือ่ งทีอ่ ่าน
2. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 1 กลุ่ม เพือ่ เป็ นตัวแทนสาธิตวิธกี ารใช้หมวกหกใบตามสีของหมวก
3. สมาชิกกลุ่มอื่นๆ ชมการสาธิตของเพือ่ นกลุ่มอาสาสมัคร โดยครูเป็ นผูอ้ ธิบายลักษณะการคิดและบทบาท
ของหมวกแต่ละใบ
ขัน้ ที่ 4 ปฏิ บตั ิ
1. สมาชิกทุกคนในกลุ่มร่วมกันศึกษาความรูเ้ รื่อง การเสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุรี จากใบความรู้
หนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
2. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเลือกสวมบทบาทความคิดของหมวก คนละ 1 ใบ โดยร่วมกันอภิปรายให้ขอ้ เสนอแนะ
และความคิดเห็นเกีย่ วกับความรูเ้ รือ่ ง การเสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุรี
ขัน้ ที่ 5 สรุป
นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 3.6 เรื่อง การเสื่อมอำนาจของอาณาจักรธนบุรี จากนัน้ ร่วมกันสรุป
องค์ความรู้ ครูตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิม่ เติมให้นกั เรียนเข้าใจชัดเจน

206
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
เรื่องที่6 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
1 ชัวโมง

วิ ธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิด
ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูให้นกั เรียนดูภาพภูมปิ ญั ญาไทยทัวไปแล้
่ วซักถามนักเรียนว่าเป็ นภูมปิ ญั ญาเรือ่ งใด
2. ครูขออาสาสมัครนักเรียนสรุปความหมายและความสำคัญของภูมปิ ญั ญา
ขัน้ สอน
1. ครูให้นกั เรียนจับคูก่ นั แล้วให้แต่ละคู่รว่ มกันศึกษาความรูเ้ รือ่ ง ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี จาก
นัน้ ผลัดกันอภิปรายจนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน
2. นักเรียนแต่ละคู่ชว่ ยกันทำใบงานที่ 3.7 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี จากนัน้ ตรวจ
สอบความถูกต้องของใบงาน
3. ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละคูเ่ พือ่ อธิบายสรุปสาระสำคัญเรือ่ ง ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี ให้เพือ่ น
ร่วมชัน้ ฟงั พร้อมยกตัวอย่างภูมปิ ญั ญาทีแ่ สดงถึงการแก้ปญั หาในการดำรงชีวติ ปจั จุบนั ครูตรวจสอบความ
ถูกต้อง และอธิบายความรูเ้ พิม่ เติมให้นกั เรียนเข้าใจชัดเจน
4. ครูกล่าวชมเชยให้กำลังใจนักเรียนทุกคูท่ อ่ี อกมาอธิบายสาระสำคัญให้เพือ่ นร่วมชัน้ ฟงั
ขัน้ สรุป
1. ครูเฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.7 และเปิดโอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยหรือต้องการคำอธิบายเพิม่ เติม
2. ครูแนะนำให้นกั เรียนสืบค้นภูมปิ ญั ญาของคนในกรุงเทพฯ ฝงธนบุ
ั ่ รี

 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันจัดนิ ทรรศการแสดงพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทีกำ
่ หนด

นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ที ่ 3

207
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
9 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ประวัตศิ าสตร์ ม.2
2) หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
(1) ดนัย ไชยโยธา. 2550. ประวัติศาสตร์ไทย : ยุคกรุงธนบุรีถึงกรุงรัตนโกสิ นทร์.
กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
(2) นิธี เอียวศรีวงศ์. 2555. การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
(3) วินยั พงศ์ศรีเพียร. 2543. “รัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีในประวัติศาสตร์ไทย” ใน
คู่มือการจัดกิ จกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :
กระทรวงศึกษาธิการ.
3) ใบความรู้
4) เพลงเจ้าตาก
5) บัตรภาพ
6) ใบงานที่ 3.1 เรือ่ ง ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักรธนบุรี
7) ใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี
8) ใบงานที่ 3.3 เรือ่ ง พัฒนาการด้านเศรษฐกิจและสังคมสมัยธนบุรี
9) ใบงานที่ 3.4 เรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี
10) ใบงานที่ 3.5 เรือ่ ง พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยธนบุรี
11) ใบงานที่ 3.6 เรือ่ ง การเสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุรี
12) ใบงานที่ 3.7 เรือ่ ง ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/ประวัตศิ าสตร์ไทย
- http://th.wikipedia.org/.../พระเจ้าตากสิน
- http://www.aksorn.com/LC/Hist/M2/09

208
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
การประเมิ น ชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินนิทรรศการแสดงพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
คำอธิ บายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การเชื่อมโยง เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ ระหว่างกรุงศรีอยุธยา ระหว่างกรุงศรีอยุธยา ระหว่างกรุงศรีอยุธยา ระหว่างกรุงศรีอยุธยา
ระหว่างกรุง และกรุงธนบุรไี ด้ถูกต้อง และกรุงธนบุรไี ด้ถูกต้อง และกรุงธนบุรไี ด้ถูกต้อง และกรุงธนบุรไี ด้เป็ น
ศรีอยุธยาและ ทัง้ หมด เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน ส่วนน้อยหรือไม่ถูกต้อง
กรุงธนบุรี เลย
2. การเรียงลำดับ เรียงลำดับพัฒนาการ เรียงลำดับพัฒนาการ เรียงลำดับพัฒนาการ เรียงลำดับพัฒนาการ
พัฒนาการของ ของอาณาจักรธนบุรไี ด้ ของอาณาจักรธนบุรไี ด้ ของอาณาจักรธนบุรไี ด้ ของอาณาจักรธนบุรไี ด้
อาณาจักรธนบุรี ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็ นบางส่วน ถูกต้องเป็ นส่วนน้อยห
รือไม่ถูกต้องเลย
3. การวิ เคราะห์ วิเคราะห์ปจั จัยทีส่ ง่ ผล วิเคราะห์ปจั จัยทีส่ ง่ ผล วิเคราะห์ปจั จัยทีส่ ง่ ผล วิเคราะห์ปจั จัยทีส่ ง่ ผล
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ต่อพัฒนาการของ ต่อพัฒนาการของ ต่อพัฒนาการของ ต่อพัฒนาการของ
พัฒนาการของ อาณาจักรธนบุรไี ด้ถกู อาณาจักรธนบุรไี ด้ถูก อาณาจักรธนบุรไี ด้ถูก อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี ต้องและสมเหตุสมผล ต้องและสมเหตุ สม ต้องเป็ นบางส่วน แต่ไม่ ไม่ถูกต้อง
ผลเป็ นบางส่วน สมเหตุสมผล
4. การเชื่อมโยง เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ ระหว่างภูมปิ ญั ญาไทย ระหว่างภูมปิ ญั ญาไทย ระหว่างภูมปิ ญั ญาไทย ระหว่างภูมปิ ญั ญาไทย
ระหว่างภูมิปัญญา สมัยอยุธยาและธนบุรี สมัยอยุธยาและธนบุร ี สมัยอยุธยาและธนบุร ี สมัยอยุธยาและธนบุรี
ไทยสมัยอยุธยา ได้ถูกต้องทัง้ หมด ได้ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ได้ถูกต้องเป็ นบางส่วน ไม่ถูกต้อง
และธนบุรี
5. การระบุอิทธิพลของ ระบุอทิ ธิพลของ ระบุอทิ ธิพลของ ระบุอทิ ธิพลของ ระบุอทิ ธิพลของ
ภูมปิ ญ
ั ญาไทยสมัย ั
ภูมปิ ญญาไทยสมั ยอยุธยา ั
ภูมปิ ญญาไทยสมั ยอยุธยา ั
ภูมปิ ญญาไทยสมั ยอยุธยา ั
ภูมปิ ญญาไทยสมั ยอยุธยา
อยุธยาและธนบุรที ่ ี และธนบุรที ส่ ี ง่ ผลต่อ และธนบุรี และธนบุรที ส่ ี ง่ ผลต่อ และธนบุรที ส่ ี ง่ ผลต่อ
ส่งผลต่อพัฒนาการ พัฒนาการของชาติไทยใน ที พัฒนาการของชาติไทยใน พัฒนาการของชาติไทยใน
ของชาติไทยในยุค ั บนั ได้ถกู ต้อง
ยุคปจจุ ่สง่ ผลต่อพัฒนาการของ ั บนั ได้ถกู ต้องเป็น
ยุคปจจุ ั บนั ไม่ถกู ต้อง
ยุคปจจุ
ปัจจุบนั ทังหมด
้ ั บนั ได้ถกู
ชาติไทยในยุคปจจุ บางส่วน
ต้องเป็นส่วนใหญ่

เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ
ช่วงคะแนน 18 - 20 14 - 17 10 - 13 ต่ำกว่า 10
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

209
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
แบบทดสอบ ก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ ถ กู ต้ องที่ ส ุดเพี ยงข้ อเดี ยว
1. การเสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2 เกิดขึน้ ในรัชสมัย 6. วันที่ 28 ธันวาคม ของทุกปี มีความเกีย่ วข้องอย่างไร
ของกษัตริยพ์ ระองค์ใด กับอาณาจักรธนบุร ี
ก. สมเด็จพระทีน่ งสุั ่ รยิ าศน์อมั รินทร์ ก. วันสถาปนากรุงธนบุรเี ป็ นราชธานี
ข. สมเด็จพระมหินทราธิราช ข. วันปราบดาภิเษกของพระเจ้าตาก
ค. สมเด็จพระราเมศวร ค. วันบรมราชาภิเษกของพระเจ้าตาก
ง. สมเด็จพระเพทราชา ง. วันสวรรคตของพระเจ้าตาก
2. เพราะเหตุใด พระยาตากพร้อมพรรคพวกจึงตัดสินใจ 7. เพราะเหตุใด พระเจ้าตากจึงต้องตัดสินพระทัย
ตีฝา่ วงล้อมพม่าไปทางทิศตะวันออกในสงคราม ย้ายราชธานี
เสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2 ก. อยุธยาขาดแคลนอาหาร
ก. หนีพม่าได้สะดวก ข. อยุธยาเกิดอุทกภัยบ่อยครัง้
ข. ต้องการไปตัง้ ราชธานีใหม่ทจ่ี นั ทบุรี ค. อยุธยาถูกเผาทำลายมีสภาพทรุดโทรมมาก
ค. เป็ นชุมชนชาวจีนเช่นเดียวกับพระยาตาก ง. สภาพภูมปิ ระเทศของอยุธยาไม่เอือ้ ต่อการค้า
ง. จันทบุรมี กำี ลังคน ป้อมปราการ อาหารอุดมสมบูรณ์ ระหว่างประเทศ
3. เหตุผลสำคัญในข้อใดทีทำ ่ ให้พระยาตากตัดสินใจละทิง้ 8. สงครามครัง้ ใดสำคัญทีส่ ดุ ระหว่างไทยกับพม่า

การปองกันอยุธยาในสงครามก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ในสมัยธนบุร ี
ครัง้ ที่ 2 ก. ศึกบางกุง้
ก. ต้องการตัง้ ราชธานีใหม่แทนอยุธยา ข. ศึกเมืองพิชยั
ข. คิดจะแย่งชิงอำนาจจากพระเจ้าเอกทัศน์ ค. ศึกเมืองเชียงใหม่
ค. ท้อใจเพราะไม่ได้รบั การสนับสนุนในการสูร้ บ ง. ศึกเมืองพิษณุโลก
ง. เห็นว่ากำลังของอยุธยาไม่สามารถสูก้ บั 9. ข้อใดอธิบายการจัดการปกครองในสมัยธนบุร ี ไม่ถูก
กองทัพพม่าได้ ต้อง
4. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2 สภาพบ้านเมืองของ ก. จัดการปกครองตามแบบอยุธยาตอนปลาย
อยุธยามีลกั ษณะอย่างไร ข. พระมหากษัตริยม์ อำ ี นาจสูงสุดในการปกครอง
ก. ลาวตัง้ ตนเป็ นอิสระจากอยุธยา ค. เมืองพระยามหานครปกครองแบบจตุสดมภ์ เช่น
ข. พม่ายึดอยุธยาเป็ นเมืองประเทศราช เดียวกับราชธานี
ค. เขมรเข้ายึดครองหัวเมืองชายฝงตะวั ั ่ นออกของไทย ง. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริยก์ บั ราษฎรมีความ
ง. อยุธยาได้รบั ความเสียหายมากจนไม่สามารถ ใกล้ชดิ เหมือนพ่อปกครองลูก
เป็ นราชธานีได้ 10. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน
5. พระยาตากเตรียมการกอบกูเ้ อกราชอย่างไร ในสมัยธนบุร ี มีลกั ษณะอย่างไร
ก. ประกาศอิสรภาพทีเ่ มืองแครง ก. เป็ นมิตรกับทุกประเทศ
ข. ตัง้ กรุงธนบุรแี ล้วจึงตีคา่ ยโพธิ ์สามต้น ข. ขาดการติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน
ค. ต่อเรือและนำกองทัพเรือเข้าโจมตีพม่า ค. ทำสงครามกับพม่าเพือ่ ป้องกันราชอาณาจักร
ง. ใช้เวลารวบรวมกำลังพลนานถึง 15 ปี ง. ทำสงครามกับญวนและมลายูเพือ่ ขยายอาณาเขต

210
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
11. เพราะเหตุใด ศิลปวัฒนธรรมซึง่ เป็ นภูมปิ ญั ญา 13. พระเจ้าตากทรงแก้ปญั หาเศรษฐกิจใดเป็ นอันดับแรก
ในสมัยธนบุรจี งึ มีจำนวนน้อย ก. ขยายพืน้ ทีทำ
่ นา
ก. ยังมีศลิ ปวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาของอยุธยา หลง ข. ให้ขา้ ราชการทำนา
เหลืออยู่ ค. ส่งเสริมการค้ากับจีน
ข. ขาดแคลนกำลังทรัพย์ในการอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟู ศิลป ง. ซือ้ ข้าวมาแจกจ่ายแก่ราษฎร
วัฒนธรรมและภูมปิ ญญา ั 14. สมุดภาพไตรภูมิ เป็ นผลงานชิน้ สำคัญทีส่ ดุ
ค. พระเจ้าตากชำนาญในการรบมากกว่างานด้าน ศิลป ของอาณาจักรธนบุรใี นด้านใด
วัฒนธรรมและภูมปิ ญญา ั ก. จิตรกรรม
ง. ต้องทำสงครามเป็ นส่วนใหญ่จงึ ไม่มเี วลาฟื้นฟู ศิลป ข. วรรณกรรม
วัฒนธรรมและภูมปิ ญญา ั ค. ประณีตศิลป์
12. คำกล่าวทีว่ า่ “การตัง้ ธนบุรเี ป็ นราชธานีเพราะเหมาะแก่ ง. ประติมากรรม
การค้ากับต่างประเทศ” คำทีข่ ดี เส้นใต้ หมายความว่า 15. เหตุการณ์ใด เป็ นเหตุการณ์แรกทีทำ
่ ให้เกิดการ
อย่างไร เสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุร ี
ก. มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางพระนคร ก. ศึกอะแซหวุน่ กี้
ข. มีคลองภายในมากมายเป็ นเส้นทางการค้า ข. พระยาสรรค์ก่อกบฏ
ค. มีพอ่ ค้าจีนที่ชำนาญการค้าทางเรือเข้ามาติดต่อ ค. พระเจ้าตากลาผนวช
ค้าขาย ง. ประเทศราชของไทยแยกตัวเป็ นอิสระ
ง. ตัง้ อยูใ่ กล้ปากน้ำเจ้าพระยา เรือสินค้าเข้ามาค้าขาย
ได้สะดวก

มฐ. ส 4.3 ม.2/1,3


ได้คะแนน คะแนนเต็ม

เฉลย 1. ก 2. ก 3. ง 4. ง 5. ค 6. ก
15
7. ค 8. ง 9. ง 10. ค 11. ง 12. ง 13. ง
14. ก 15. ข

211
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
แบบทดสอบ หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ ถ กู ต้ องที่ ส ุดเพี ยงข้ อเดี ยว
1. พระยาตากเตรียมการกอบกูเ้ อกราชอย่างไร 6. เหตุผลสำคัญในข้อใดทีทำ ่ ให้พระยาตากตัดสินใจละทิง้
ก. ประกาศอิสรภาพทีเ่ มืองแครง ้
การปองกันอยุธยาในสงครามก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา
ข. ใช้เวลารวบรวมกำลังพลนานถึง 15 ปี ครัง้ ที่ 2
ค. ต่อเรือและนำกองทัพเรือเข้าโจมตีพม่า ก. เห็นว่ากำลังของอยุธยาไม่สามารถสูก้ บั
ง. ตัง้ กรุงธนบุรแี ล้วจึงตีคา่ ยโพธิ ์สามต้น กองทัพพม่าได้
2. คำกล่าวทีว่ า่ “การตัง้ ธนบุรเี ป็ นราชธานีเพราะเหมาะแก่ ข. ท้อใจเพราะไม่ได้รบั การสนับสนุนในการสูร้ บ
การค้ากับต่างประเทศ” คำทีข่ ดี เส้นใต้ หมายความว่า ค. คิดจะแย่งชิงอำนาจจากพระเจ้าเอกทัศน์
อย่างไร ง. ต้องการตัง้ ราชธานีใหม่แทนอยุธยา
ก. ตัง้ อยูใ่ กล้ปากน้ำเจ้าพระยา เรือสินค้าเข้ามาค้าขาย 7. พระเจ้าตากทรงแก้ปญั หาเศรษฐกิจใดเป็ นอันดับแรก
ได้สะดวก ก. ซือ้ ข้าวมาแจกจ่ายแก่ราษฎร
ข. มีพอ่ ค้าจีนที่ชำนาญการค้าทางเรือเข้ามาติดต่อ ข. ส่งเสริมการค้ากับจีน
ค้าขาย ค. ให้ขา้ ราชการทำนา
ค. มีคลองภายในมากมายเป็ นเส้นทางการค้า ง. ขยายพืน้ ทีทำ่ นา
ง. มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางพระนคร 8. เพราะเหตุใด พระยาตากพร้อมพรรคพวกจึงตัดสินใจ
3. สงครามครัง้ ใดสำคัญทีส่ ดุ ระหว่างไทยกับพม่า ตีฝา่ วงล้อมพม่าไปทางทิศตะวันออกในสงคราม
ในสมัยธนบุร ี เสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2
ก. ศึกเมืองพิษณุโลก ี ลังคน ป้อมปราการ อาหารอุดมสมบูรณ์
ก. จันทบุรมี กำ
ข. ศึกเมืองเชียงใหม่ ข. เป็ นชุมชนชาวจีนเช่นเดียวกับพระยาตาก
ค. ศึกเมืองพิชยั ค. ต้องการไปตัง้ ราชธานีใหม่ทจ่ี นั ทบุร ี
ง. ศึกบางกุง้ ง. หนีพม่าได้สะดวก
4. เหตุการณ์ใด เป็ นเหตุการณ์แรกทีทำ ่ ให้เกิดการ 9. สมุดภาพไตรภูมิ เป็ นผลงานชิน้ สำคัญทีส่ ดุ
เสือ่ มอำนาจของอาณาจักรธนบุรี ของอาณาจักรธนบุรใี นด้านใด
ก. ประเทศราชของไทยแยกตัวเป็ นอิสระ ก. วรรณกรรม
ข. พระเจ้าตากลาผนวช ข. จิตรกรรม
ค. พระยาสรรค์ก่อกบฏ ค. ประณีตศิลป์
ง. ศึกอะแซหวุน่ กี้ ง. ประติมากรรม
5. การเสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2 เกิดขึน้ ในรัชสมัย 10. เพราะเหตุใด พระเจ้าตากจึงต้องตัดสินพระทัย
ของกษัตริยพ์ ระองค์ใด ย้ายราชธานี
ก. สมเด็จพระเพทราชา ก. สภาพภูมปิ ระเทศของอยุธยาไม่เอือ้ ต่อการค้า
ข. สมเด็จพระราเมศวร ระหว่างประเทศ
ค. สมเด็จพระมหินทราธิราช ข. อยุธยาถูกเผาทำลายมีสภาพทรุดโทรมมาก
ง. สมเด็จพระทีน่ งสุั ่ รยิ าศน์อมั รินทร์ ค. อยุธยาเกิดอุทกภัยบ่อยครัง้
ง. อยุธยาขาดแคลนอาหาร

212
ประวัตศิ าสตร์ ม.2
11. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ 2 สภาพบ้านเมืองของ 14. เพราะเหตุใด ศิลปวัฒนธรรมซึง่ เป็ นภูมปิ ญั ญา
อยุธยามีลกั ษณะอย่างไร ในสมัยธนบุรจี งึ มีจำนวนน้อย
ก. อยุธยาได้รบั ความเสียหายมากจนไม่สามารถ ก. ต้องทำสงครามเป็ นส่วนใหญ่จงึ ไม่มเี วลาฟื้นฟู ศิลป
เป็ นราชธานีได้ วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา
ข. เขมรเข้ายึดครองหัวเมืองชายฝงตะวั ั ่ นออกของไทย ข. พระเจ้าตากชำนาญในการรบมากกว่างานด้าน ศิลป
ค. พม่ายึดอยุธยาเป็ นเมืองประเทศราช วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา
ง. ลาวตัง้ ตนเป็ นอิสระจากอยุธยา ค. ขาดแคลนกำลังทรัพย์ในการอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟู ศิลป
12. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา
ในสมัยธนบุร ี มีลกั ษณะอย่างไร ง. ยังมีศลิ ปวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาของอยุธยา หลง
ก. ทำสงครามกับญวนและมลายูเพือ่ ขยายอาณาเขต เหลืออยู่
ข. ทำสงครามกับพม่าเพือ่ ป้องกันราชอาณาจักร 15. ข้อใดอธิบายการจัดการปกครองในสมัยธนบุร ี ไม่ถูก
ค. ขาดการติดต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน ต้อง
ง. เป็ นมิตรกับทุกประเทศ ก. ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริยก์ บั ราษฎรมีความ
13. วันที่ 28 ธันวาคม ของทุกปี มีความเกีย่ วข้องอย่างไร ใกล้ชดิ เหมือนพ่อปกครองลูก
กับอาณาจักรธนบุรี ข. เมืองพระยามหานครปกครองแบบจตุสดมภ์ เช่น
ก. วันสวรรคตของพระเจ้าตาก เดียวกับราชธานี
ข. วันบรมราชาภิเษกของพระเจ้าตาก ค. พระมหากษัตริยม์ อำ ี นาจสูงสุดในการปกครอง
ค. วันปราบดาภิเษกของพระเจ้าตาก ง. จัดการปกครองตามแบบอยุธยาตอนปลาย
ง. วันสถาปนากรุงธนบุรเี ป็ นราชธานี

มฐ. ส 4.3 ม.2/1,3


ได้คะแนน คะแนนเต็ม

เฉลย 1. ค 2. ก 3. ก 4. ค 5. ง 6. ก
15
7. ก 8. ง 9. ข 10. ข 11. ก 12. ข 13. ง
14. ก 15. ก

213
ประวัตศิ าสตร์ ม.2

You might also like