You are on page 1of 79

พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.

2542
แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553

อาจารย์ ณฐั กา นาเลื่อน


พรบ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
>>> ประกาศใช้ 19 สิ งหาคม 2542
พรบ.การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ( ฉบั บ ที
2 ่ ) พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ ว่ าด้ วยแนวทางการจัดการศึกษา
>>> ประกาศใช้
หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้น19พืธัน้ นฐาน
วาคมพุท2545
ธศักราช 2551
พรบ.การศึ
มาตราฐานการศึ กษาแห่
กษาแห่ งชาติ(ฉบับที3่ ) พ.ศ.2553
งชาติ
>>> ประกาศใช้ 22 กรกฎาคม 2553
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ
ฉบับแรก2542 เกิดจาก
...รั
หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2540
ฉบั22บทีการจั
มาตรา ่ 2 พ.ศ.ดการศึ ก2545
ษาต้ องยึเกิ
ดจาก
ดหลั กว่ า ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนา
ตนเองได้ และถื อ ว่...ให้า ผู้ เ รี ยม
นมีค
ี คณะกรรมการอาชี
วามส าคั ญ ที่สุ ด กระบวนการจั วศึกษาดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
ฉบั
ฉะนั ้ น บ
ครู ที
ผูส้ ่ 3
อน พ.ศ.
และผู จ
้ 2553

ั การศึ ก เกิ

ษาจะต้ จาก
องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็ นผูช้ ้ ี นา ผูถ้ ่ายทอด
...แยกเขตพื
ความรู ้ ไปเป็ นผูช้ ่วยเหลื น้ ที่กบสนุ
อ ส่ งเสริ ม และสนั ารศึนผูกเ้ รีษาการศึ กษาประถม/มั
ยนในการแสวงหาความรู ธยม งการ
้จากสื่ อและแหล่
เรี ยนรู ้ต่าง ๆ และให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องแก่ผเู ้ รี ยน เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู ้ของตน
มาตรา 4 ความหมาย
“การศึกษา”
>>> กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม***
>>> โดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม
>>> การสื บสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ
>>> การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรี ยนรู ้
>>> และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิ ต
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
>>> การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา

การศึกษาตลอดชีวติ
>>> การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา
ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศึกษา
>>> สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรี ยน ศูนย์การเรี ยน วิทยาลัย
สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐหรื อของ
เอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรื อมีวตั ถุประสงค์ในการจัดการศึกษา

สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
>>> สถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษา
>>> ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และ
มาตรฐานที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
>>> เพื่อใช้เป็ นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่ งเสริ มและกากับดูแล
การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน
>>> การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน
>>> โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรื อโดยหน่วยงานต้นสังกัด
ที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น
การประกันคุณภาพภายนอก
>>> การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก
>>> โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
>>> หรื อบุคคลหรื อหน่วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรอง
>>> เพื่อเป็ นการประกันคุณภาพ
>>> และให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
ผู้สอน >>> ครู และคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
ครู >>> บุคลากรวิชาชีพ ที่ สอน+ การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของ
ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ
>>> ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

คณาจารย์ >>> บุคลากร ที่ สอน+ การวิจยั


>>> ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญา
ของรัฐและเอกชน
ผู้บริหารสถานศึกษา >>> บุคลากรวิชาชีพ
เช่น ผอ. ร.ร. รองผอ. ร.ร. >>> บริหารสถานศึกษา
>>> ของรัฐและเอกชน

ผู้บริหารการศึกษา >>> บุคลากรวิชาชีพ


เช่น ผอ.เขตฯ รองผอ.เขตฯ >>> บริหารการศึกษานอกสถานศึกษา
ตั้งแต่ ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาขึน้ ไป
บุคลากรทางการศึกษา
>>> ผ้ บู ริหารสถานศึกษา
>>> ผ้ บู ริหารการศึกษา
>>> รวมทั้งผ้ สู นับสนุนการศึกษา...
“บุคลากรทางการศึกษา” ทุกอย่ าง ยกเว้ นครู
>>> ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา >>> ผอ. รองผอ. โรงเรี ยน
>>> ผูบ้ ริ หารการศึกษา >>> ผอ. รองผอ. เขต
>>> รวมทั้งผูส้ นับสนุนการศึกษา ซึ่ งเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริ การ หรื อ
ปฏิบตั ิงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน การนิเทศ และ
การบริ หารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ
**** เน้นว่าครู ใม่ใช่บุคลากรทางการศึกษา****
มาตรา5
ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
# มีอานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบตั ิตาม
พระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ ประกอบด้ วย
9 หมวด
78 มาตรา
1 บทเฉพาะกาล
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
หมวด 2 สิ ทธิและหน้ าที่ทางการศึกษา
หมวด 3 ระบบการศึกษา
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หมวด 1
บททัว่ ไป
ความม่ ุงหมายและหลักการ
แยกเป็ น 2 ประเด็น
1. ความมุ่งหมาย >>> มาตรา6 ,7
>>> เก่ ง ดี มีสุข
>>> ปลูกจิตสานึก
ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา (มาตรา 6)
การจัดการศึกษา ต้ องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้ เป็ นมนุษย์ ที่สมบูรณ์
>>> ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ .....เก่ ง
>>> และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ ...ดี
>>> สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่ างมีความสุ ข .....มีสุข
กระบวนการเรียนรู้ ต้ องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้ องเกีย่ วกับ (มาตรา 7)
>>> การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
>>> รักษาและส่ งเสริมสิทธิ หน้ าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ฯ
>>> รักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมและของประเทศชาติ
>>> ส่ งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ... และความรู้อนั เป็ นสากล
>>> อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
>>> ความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จกั พึง่ ตนเอง
>>> ความริเริ่มสร้ างสรรค์
>>> ใฝ่ รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
2. หลักการ
>>> มาตรา 8 , 9
>>> การจัดระบบ โครงสร้ าง และกระบวนการจัด
การศึกษา
การจัดการศึกษา ให้ ยดึ หลักดังนี้ (มาตรา 8)
(1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน (Education for all)
(2)ให้ สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา (All for education)
(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ ให้ เป็ นไปอย่ างต่ อเนื่อง
**เน้ นว่ าพัฒนาสาระ ไม่ ใช่ พฒ
ั นาหลักสู ตรและกระบวนการเรียนรู้
การจัดระบบ โครงสร้ าง และกระบวนการจัดการศึกษา (มาตรา 9)
ให้ ยดึ หลักดังนี้
(1) มีเอกภาพ/ความหลากหลาย
(2) มีการกระจายอานาจ
(3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
(4) มีหลักการส่ งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู ฯ
(5) ระดมทรัพยากรจากแหล่ งต่ าง ๆ
(6) การมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
หมวด 2
สิ ทธิและหน้ าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 – 14
แบ่ งเป็ น 2 ประเด็น
1. สิ ทธิทางการศึกษา เรียนไม่ น้อยกว่ า12 ปี
2. หน้ าที่ทางการศึกษา รับการศึกษาภาคบังคับ
หน้ าที่ของ ผ้ ปู กครองต้ องส่ งเด็กเข้ าเรียน
สิ ทธิในจัดการศึกษา .....หน้ าทีร่ ัฐ
จัดการศึกษา
- บุคคลทัว่ ไป
- ผู้มคี วามบกพร่ อง
- คนพิการ
- ผู้มคี วามสามารถพิเศษ
การจัดการศึกษา
>>> ต้ องจัดให้ บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
>>> ในการรับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไม่ น้อยกว่ า12 ปี
>>> ทีร่ ัฐต้ องจัดให้ อย่ างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ
>>> โดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย
*** คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่28/2559 เรื่ อง ให้
จัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน15 ปี โดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย***
(1) ค่ าจัดการเรียนการสอน
(2) ค่ าหนังสื อเรียน
(3) ค่ าอุปกรณ์ การเรียน
(4) ค่ าเครื่ องแบบนักเรียน
(5) ค่ ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
(6) ค่ าใช้ จ่ายอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ
การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่ อง
>>> ทางร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สั งคม การสื่ อสารและการ
เรียนรู้ หรื อมีร่างกายพิการ หรื อทุพพลภาพหรื อบุคคลซึ่งไม่ สามารถ
พึง่ ตนเองได้ หรื อไม่ มีผู้ดูแลหรื อด้ อยโอกาส
>>> ต้ องจัดให้ บุคคลดังกล่ าวมี สิ ทธิและโอกาสได้ รับการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานเป็ นพิเศษ
การศึกษาสาหรับคนพิการ
>>> ให้ จัดตั้งแต่ แรกเกิดหรื อพบความพิการ
>>> โดยไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย
>>> และให้ บุคคลดังกล่ าวมีสิทธิได้ รับสิ่ งอานวยความสะดวก
สื่ อ บริการ และความช่ วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์
และวิธีการทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
(***เน้ นตรงคนปกติไม่ เก็บ คนพิการไม่ เสี ย)
การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ
>>> ต้ องจัดด้ วยรูปแบบทีเ่ หมาะสม
>>> โดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
บิดา มารดา หรื อผู้ปกครอง มีหน้ าที่
>>> จัดให้ บุตรหรื อบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้ รับการศึกษา
ภาคบังคับ
ย่ าง7 ย่ าง 16 เว้ นสอบได้ ช้ันปี ที่ 9 (ม.3)
**** (พรบ. การศึกษาภาคบังคับ 2545
ไม่ ส่งเด็กเข้ าเรียน ปรับไม่ เกิน1,000 บาท/
ขัดขวางไม่ ให้ เข้ าเรียน ไม่ แจ้ งเจ้ าหน้ าที่ ปรับไม่ เกิน10,000 บาท)
มาตรา 12
นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
>>> ให้บุคคล ครอบครัว องค์ กรชุ มชน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
>>> มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง
หน้ าที่ของรัฐต้ องให้ การสนับสนุน= สิ ทธิของบิดา มารดา ผู้ปกครอง
(1) ให้ ความรู้ ความสามารถในการอบรมเลีย้ งดู
(2) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
(3) การลดหย่ อนหรื อยกเว้ นภาษีสาหรับค่ าใช้ จ่ายการศึกษาตามที่
กฎหมายกาหนด
หมวด 3
ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบ .....แน่ นอน
การศึกษานอกระบบ ....ยืดหยุ่น
การศึกษาตามอัธยาศัย ....ตามความสนใจ ความพร้ อม
*** สถานศึกษาอาจจัดการศึกษา ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
หรื อทั้งสามรูปแบบก็ได้ ***
การศึกษาในระบบ (Formal Education)

การศึกษาในระบบ (Formal Education) เป็ นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย


วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็ น
เงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
การศึกษานอกระบบ (Non - formal Education)

การศึกษานอกระบบ (Non - formal Education) เป็ นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่น


ในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รู ปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็ นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษาโดยเนื้อหาและ
หลักสู ตรจะต้ องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้ องการของ
บุคคลแต่ ละกลุ่ม
การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education)

การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) เป็ นการศึกษาที่ให้ผเู ้ รี ยน


ได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส
โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อมหรื อแหล่งความรู ้อื่นๆ
การศึกษาในระบบ (Formal Education)

การศึกษาในระบบ

การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน อุดมศึกษา

ก่อนประถมศึกษา ระดับต่ากว่าปริญญา

ประถมศึกษา ตอนต้ น การศึกษาภาคบังคับ ระดับปริญญา


สามัญศึกษา
มัธยมศึกษา
ตอนปลาย อาชีวศึกษา
การศึกษาภาคบังคับ จานวนเก้ าปี
>>> โดยให้ เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้ าปี ที่ 7 เข้ าเรียนในสถานศึกษา
ขั้นพืน้ ฐานจนอายุย่างเข้ าปี ที่ 16

>>> เว้ นแต่ สอบได้ ช้ันปี ที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ


กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่ วยงานอื่นของรัฐ
>>> อาจจัดการศึกษาเฉพาะทาง
>>> ตามความต้ องการและความชานาญของหน่ วยงานนั้นได้
>>> โดยคานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ
หมวดที่ 4
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22-มาตรา 30
มาตรา 22 ****
การจัดการศึกษา ต้ องยึดหลักว่ า
>>> ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้
>>> และถือว่ าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
>>> กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่ งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ***มาตรา 23
>>> ต้ องเน้ นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
>>> กระบวนการเรียนรู้
>>> บูรณาการตามความเหมาะสม
สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาจาก
>>> พัฒนาการของผู้เรียน
>>> ความประพฤติ การสั งเกตพฤติกรรมการเรียน
>>> การร่ วมกิจกรรม
>>> การทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน
ตามความเหมาะสมของแต่ ละระดับและรูปแบบการศึกษา)
ให้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกาหนดหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
>>> เพื่อความเป็ นไทย
>>> ความเป็ นพลเมืองทีด่ ขี องชาติ
>>> การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ
>>> ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่ อ
ให้ สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีหน้ าที่ จัดทาสาระของหลักสู ตร
>>> เกีย่ วกับสภาพปัญหาในชุ มชนและสั งคม
>>> ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น
>>> คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็ นสมาชิกที่ดขี องครอบครัว
ชุ มชน สั งคม และประเทศชาติ
มาตรา 30
สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
รวมทั้งการส่ งเสริมให้ ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ ละระดับการศึกษา
หมวด 5
การบริหารและการจัดการศึกษา
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้ มอี งค์ กรหลัก ที่เป็ น
คณะบุคคลในรูปสภา หรื อในรูปคณะกรรมการ จานวน 4 องค์ กร
1. สภาการศึกษา (59)
2. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (ไม่ เกิน 27) กพฐ.
3. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ไม่ เกิน 32) กอศ.
4. คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ไม่ เกิน 28) กกอ.
สภาการศึกษา มีหน้ าที่
>>> เสนอแผน+ นโยบายการศึกษา ประเมินผล ให้คาแนะน า
>>> รัฐมนตรี วา่ การกท.ศธ.เป็ นประธาน กรรมการโดยตาแหน่ง
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีหน้ าที่. พิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนาการศึกษา มาตรฐานการจัดการศึกษา และหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม
แห่ งชาติและแผนการศึกษาแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้ าทีพ่ จิ ารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคล้ อง
กับความต้ องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติและแผนการ
ศึกษาแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษา โดยคานึงถึงคุณภาพและความเป็ นเลิศ
ทางวิชาชีพ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้ าทีพ่ จิ ารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา
และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม
แห่ งชาติและแผนการศึกษาแห่ งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 37 *** การแบ่ งเขตพท.การศึกษาต้ องคานึงถึงอะไรบ้ าง ***
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ให้ ยดึ เขตพืน้ ที่การศึกษา
โดยคานึงถึง
1. ระดับของการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2. จานวนสถานศึกษา
3. จานวนประชากร
4. วัฒนธรรม
5. ความเหมาะสมด้ านอื่นด้ วย
เว้ นแต่ การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานตามกฎหมายว่ าด้ วยการอาชีวศึกษา
*** เขตพื้นที่การศึกษามีท้ังหมด 225 เขต แบ่ งเป็ น
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 183 เขต
สานักงานเขตเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) 42 เขต
ให้ กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไปยัง
คณะกรรมการ และสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศึกษา 4 ด้ าน
1. ด้ านวิชาการ
2. งบประมาณ
3. การบริหารงานบุคคล
4. การบริหารทั่วไป
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ประกอบด้ วย*****
1. ผู้แทนผู้ปกครอง (1 คน)
2. ผู้แทนครู (1 คน)
3. ผู้แทนองค์ กรชุมชน (1 คน)
4. ผู้แทนองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น (1 คน)
5. ผู้แทนศิษย์ เก่าของสถานศึกษา (1 คน)
6. ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์หรื อผู้แทนองค์ กรศาสนาอื่นในพืน้ ที่ (เล็ก1 คน/ใหญ่ 2 คน)
7. ผู้ทรงคุณวุฒิ (เล็ก1 คน/ใหญ่ 6 คน)
8. ผู้ทรงคุ ณวุฒ>ิ >>>ทีไ่ ด้ รับคัดเลือกมาเป็ นประธาน (1 คน)
9. ผู้อานวยการสถานศึกษา (1 คน) >>> กรรมการและเลขานุการ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
>>> มีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรื อทุกระดับ
ตามความพร้ อม
>>> ตามความเหมาะสมและความต้ องการภายในท้ องถิ่น
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
>>> ความเป็ นอิสระ... โดยมีการกากับติดตาม การประเมิน
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ
>>> ต้ องปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ การประเมินคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาเช่ นเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ
หมวด 6
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
*** ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
*** สถานศึกษา และ หน่ วยงานต้ นสั งกัด
>>> จัดให้ มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
*** บุคลากรในสถานศึกษา หรื อ หน่ วยงานต้ นสั งกัด
>>> ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อ
>>>พัฒนาคุณภาพ
>>>มาตรฐานการศึ กษาทุกระดับ
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้ วย
>>> การประกันคุณภาพภายใน(Internal Quality Assurance : IQA)
>>> การประกันคุณภาพภายนอก(External Quality Assurance : EQA)
- ให้ ถือว่ าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ ้ องดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง โดยมี
การจัดทารายงานประจาปี เสนอต่ อหน่ วยงานต้ นสั งกัด หน่ วยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้ อง และเปิ ดเผยต่ อสาธารณชน
รายงานประจาปี
= รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR)
= สถานศึกษาประเมินตนเองทุกปี
= สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาตรวจสอบทบทวน อย่ างน้ อย 1
ครั้งในทุก ๆ 3 ปี
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
>>> มีฐานะเป็ นองค์ การมหาชน ***
ทาหน้ าที่
>>> พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
>>> ทาการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้ มีการตรวจสอบคุณภาพ
>>> อย่ างน้ อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี นับตั้งแต่ การประเมินครั้งสุ ดท้ าย ***
>>> เสนอผลการประเมินต่ อหน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องและสาธารณชน
หมวด7
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 53 ให้ มอี งค์ กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และ
ผู้บริหารการศึกษา
>>> มีฐานะเป็ นองค์ กรอิสระ ภายใต้ การบริหารของสภาวิชาชีพ
ในกากับของกระทรวง
*** เน้ น มาตรา53 ทาให้ เกิด พ.ร.บ.สภาครูฯ ปี 46 ***
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลาทางการศึกษาอื่น
ทั้งของรัฐและเอกชน ต้ องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ยกเว้ น ผู้จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้จัดการศึกษาในศูนย์ การเรียน
วิทยากรพิเศษ
ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพืน้ ที่การศึกษา
คณาจารย์ ผู้บริหาร ในสถาบันอุดมศึกษา
มาตรา54
ให้ มีองค์ กรกลางบริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู โดยให้ ครู และ
บุคลากรทางการศึกษาทั้งของหน่ วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษา
ของรัฐ และระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาเป็ นข้ าราชการในสั งกัดองค์ กรกลาง
บริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู
โดยยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารงานบุคคลสู่ เขตพืน้ ที่
การศึกษาและสถานศึกษา ทั้งนี้ ให้ เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด

*** เน้ น มาตรา 54 ทาให้ เกิด พ.ร.บ.ระเบียบข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา***


หมวด 8
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
>>> ระดมทรัพยากร และการลงทุนในการจัดการศึกษา
>>> การจัดสรรงบประมาณแผ่ นดินให้ กบั การศึกษา
>>> การจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษา
รายได้ ของสถานศึกษา
>>> บรรดาอสั งหาริมทรัพย์ ที่มีผู้อุทิศให้
>>> การซื้อหรื อแลกเปลีย่ นจากรายได้ ของสถานศึกษา ไม่ ถือเป็ นที่ราชพัสดุ
>>> รายได้ และผลประโยชน์ ของสถานศึกษาของรัฐที่เป็ นนิตบิ ุคคล
- ผลประโยชน์ ที่เกิดจากราชพัสดุ
- เบีย้ ปรับที่เกิดจากผิดสั ญญาลาศึกษา
- เบีย้ ปรับที่เกิดจากการผิดสั ญญาการซื้อทรัพย์ สิน
- การจ้ างทาของทีด่ าเนินการโดยใช้ เงินงบประมาณไม่ เป็ นรายได้ ที่ต้อง
นาส่ งกระทรวงการคลัง
รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่ นดินให้ กบั สถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน ดังนี้
1.ระดับก่ อนประถมศึกษา 1,700 บาท/คน/ปี
2.ระดับประถมศึกษา 1,900 บาท/คน/ปี
3.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น 3,500 บาท/คน/ปี
4.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน/ปี
ร.ร.ขนาดเล็กได้ รับเงินอุ ดหนุนรายหัวเพิม่
- ร.ร.ประถมศึกษาขนาดเล็ก (นักเรียนไม่ เกิน 120 คน) +500 บาท/คน/ปี
- ร.ร.มัธยมศึกษาขนาดเล็ก (นักเรียนไม่ เกิน 300 คน) +1000 บาท/คน/ปี
- ร.ร.ขยายโอกาส (นักเรียนไม่ เกิน 300 คน)
>>> ให้ เฉพาะม.ต้ น+1000 บาท/คน/ปี
หมวด 9
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
1. รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่ อตัวนา โครงสร้ างพืน้ ฐานเพื่อการสื่ อสารและ
ใช้ ประโยชน์ ทางการศึกษา
2. ส่ งเสริม สนับสนุน การผลิตและพัฒนาแบบเรียน สื่ อและเทคโนโลยี
เพื่อให้ การศึกษา โดยให้ มีการแข่ งขันอย่ างเสรี
3. พัฒนาบุคลากรผู้ผลิตและผู้ใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.ผู้เรียนมีสิทธิได้ รับการพัฒนาการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาต่ อเนื่อง
ตลอดชีวติ
5.รัฐต้ องส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา
6.จัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

You might also like