You are on page 1of 19

หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย

่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทย
2 ชัวโมง

ในดินแดนไทย
1 สาระสำคัญ/ความคิ ดรวบยอด
พัฒนาการของรัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทยมีหลักฐานแสดงถึงอาณาจักรโบราณในทุกภาคของไทย

2 ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วดั
ส 4.3 ม.1/1 อธิบายเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายพัฒนาการของรัฐโบราณในดินแดนไทยได้
2) อธิบายพัฒนาการของรัฐไทยในดินแดนไทยได้

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) รัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ศรีวชิ ยั ตามพรลิงค์ ทวารวดี
2) รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช สุพรรณภูม ิ
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น่
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการสำรวจค้นหา 2) ทักษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการตีความ 4) ทักษะการสรุปลงความเห็น
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มันในการทำงาน

202
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย (ชัว่ โมงที่ 1)
เรือ

6 กิ จกรรมการเรียนรู้
วิ ธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ชัวโมงที
่ ่1

ขัน้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ


สือ่ การเรียนรู้ : บัตรคำ คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด  นักเรียนคิ ดว่า ความเจริ ญของไทยในปัจจุบนั
2. ครูให้นกั เรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1) มีรากฐานมาจากความเจริ ญของอาณาจักร
ส่งตัวแทนออกมาจับสลากบัตรคำเกีย่ วกับพัฒนาการของ ต่างๆ ในอดีตหรือไม่ อธิ บายเหตุผล
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ชุมชนมาสูร่ ฐั โบราณในดินแดนไทย ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายความรูเ้ กีย่ วกับบัตรคำที่
จับสลากได้วา่ มีลกั ษณะและมีความสำคัญอย่างไร
4. ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละกลุ่มให้บอกลักษณะและความสำคัญ
ของบัตรคำทีจ่ บั สลากได้ ครูและเพือ่ นกลุ่มอื่นร่วมกันตรวจ
สอบความถูกต้องและให้ขอ้ เสนอแนะ

ขัน้ ที่ 2 สำรวจค้นหา


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. หนังสือเรียน ประวัตศิ าสตร์ ม.1 4. ห้องสมุด 1. ถ้านักเรียนอาศัยอยูใ่ นจังหวัดนครปฐม
2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ 5. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ในสมัยก่อนกรุงสุโขทัย นักเรียนจะอาศัยอยู่ใน
3. หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม อาณาจักรใด และทราบได้อย่างไร
(อาณาจักรทวารวดี สันนิษฐานได้จากหลักฐานทีพ่ บ
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดหมายเลขประจำตัวให้สมาชิก ในจังหวัดนครปฐม คือ เหรียญทีม่ จี ารึกภาษา
แต่ละคนในกลุ่ม เป็ นหมายเลข 1-4 ตามลำดับ เรียกกลุ่มนี้ สันสกฤตว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ แปลว่า
ว่า กลุ่มบ้าน แล้วให้นกั เรียนทีม่ หี มายเลขเดียวกันมารวม การบุณย์ของพระเจ้าศรีทวารวดี จึงอาจกล่าวได้วา่
กันเป็ นกลุ่มใหม่ เรียกกลุ่มนี้วา่ กลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญ อาณาจักรทวารวดีมศี นู ย์กลางการปกครองอยูท่ ี ่
2. นักเรียนกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญร่วมกันศึกษาความรูเ้ รือ่ ง รัฐ จังหวัดนครปฐม)
2. อาณาจักรใดอยู่ภายใต้การปกครองของขอม
โบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย จากหนังสือเรียนหรือบท อธิ บายเหตุผล
เรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หนังสือค้นคว้า (อาณาจักรละโว้ พิจารณาจากหลักฐานต่างๆ เช่น
เพิม่ เติม ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ในประเด็น ในพงศาวดารเหนือได้กล่าวถึงเรือ่ งพระร่วงส่งส่วย
ต่อไปนี้ น้ำให้ขอม ในศิลาจารึกภาษาขอมทีล่ พบุรกี ม็ ี
- กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการของ ข้อความทีแ่ สดงว่าขอมเข้ามาปกครองบริเวณนี้
อาณาจักรโบราณในภาคกลาง รวมทัง้ ภาพแกะสลักขบวนแห่ของทหารละโว้ที ่
ระเบียงปราสาทนครวัด เป็ นต้น)
- กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการของ
อาณาจักรโบราณในภาคเหนือ
- กลุ่มหมายเลข 3 ศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการของ
อาณาจักรโบราณในภาคใต้

203
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย (ชัว่ โมงที่ 1-2)
เรือ

- กลุ่มหมายเลข 4 ศึกษาความรูเ้ รือ่ ง พัฒนาการของ


อาณาจักรโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แล้วบันทึกความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการ
อ่าน
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2

ขัน้ ที่ 3 อธิ บายความรู้


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : – คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญกลับเข้าสูก่ ลุ่มเดิมหรือกลุ่มบ้าน 1. อาณาจักรใดที่มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั
ผลัดกันนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาอธิบายให้เพือ่ นใน อาณาจักรหริ ภญ ุ ชัย อธิ บายเหตุผล
(อาณาจักรละโว้ เนือ่ งจากในตำนานจามเทวีวงศ์
กลุ่มฟงั เรียงตามลำดับหมายเลข 1-4 ผลัดกันซักถามข้อ
เรียกชาวหริภญ ุ ชัยว่า ชาวรามัญ เรียกพระเจ้าหริภญ ุ ชัย
สงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน ว่า พระเจ้ารามัญ นอกจากนี้กษัตริยล์ ะโว้ยงั ได้สง่
2. ครูอธิบายความรูเ้ กีย่ วกับพัฒนาการของอาณาจักรโบราณใน พระนางจามเทวี ซึง่ เป็นพระราชธิดามาเป็นปฐม
ดินแดนไทย ให้นกั เรียนฟงเพิั ม่ เติม และเปิดโอกาสให้นกั เรียนซัก กษัตริยแ์ ห่งอาณาจักรหริภุญชัย พร้อมพระสงฆ์ 500
ถามหากมีขอ้ สงสัย แล้วครูอธิบายเพิม่ เติมเพือ่ ให้นกั เรียน รูป และช่างแขนงต่างๆ มากมายด้วย)
มีความรูค้ วามเข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึน้ 2. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กบั คำกล่าวที่ว่า
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2 นครศรีธรรมราชเป็ นศูนย์กลางการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในดิ นแดนไทย
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

ชัวโมงที
่ ่2

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ


สือ่ การเรียนรู้ : คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. แบบวัดฯ 1. อาณาจักรโคตรบูรณ์สิ้นสุดอำนาจลงเพราะเหตุ
2. ใบงานที่ 3.5 ใด
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาเป็ นพืน้ (ถูกอาณาจักรขอมขยายอิทธิพลเข้ามาครอบครอง
และต่อมาถูกอาณาจักรล้านช้างเข้ายึดครองเป็ น
ฐานในการทำใบงานที่ 3.5 เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักร ประเทศราช)
โบราณในดิ นแดนไทย เมือ่ ทำเสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบ
2. หากนักเรียนต้องการศึกษาความรู้เกี่ยวกับ
ความถูกต้อง หากมีขอ้ บกพร่องให้ชว่ ยกันแก้ไขและเติมเต็ม
อาณาจักรโบราณในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
คำตอบให้สมบูรณ์ นักเรียนจะต้องไปที่จงั หวัดใด อธิ บายเหตุผล
2. นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมตามตัวชีว้ ดั : กิจกรรมที่ 3.3-3.4 (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
จากแบบวัดฯ เป็ นการบ้าน เมือ่ ทำเสร็จแล้วนำส่งครูตาม ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
กำหนดเวลาทีต่ กลงกัน
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย (ชัว่ โมงที่ 2)
เรือ

ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล

204
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย (ชัว่ โมงที่ 1-2)
เรือ
สือ่ การเรียนรู้ : ใบงานที่ 3.5 คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานในใบงานที่ 3.5 1. นักเรียนคิ ดว่า วัฒนธรรมของอาณาจักร
หน้าชัน้ เรียน ครูและเพือ่ นกลุ่มอื่นช่วยกันตรวจสอบความ โบราณในดิ นแดนไทยมีความเกี่ยวข้องกับ
ถูกต้องและให้ขอ้ เสนอแนะ วัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศ
ใดบ้าง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง รัฐโบราณและรัฐไทย (พม่า ลาว กัมพูชา และอินโดนีเซีย)
ในดินแดนไทย
2. นักเรียนได้รบั ประโยชน์ อะไรบ้าง จากการ
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของอาณาจักร
โบราณในดิ นแดนไทย
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

7 การวัดและประเมิ นผล
วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.5 ใบงานที่ 3.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุง่ มันในการ
่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ทำงาน

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ประวัตศิ าสตร์ ม.1
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์ ม.1
3) บทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ประวัตศิ าสตร์ ม.1 บริษทั เพลย์เอเบิล จำกัด
4) หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
- ดนัย ไชยโยธา. (2550). ประวัติศาสตร์ไทย : ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสิ้ นอาณาจักร
สุโขทัย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
5) บัตรคำ
6) ใบงานที่ 3.5 เรือ่ ง พัฒนาการของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย

205
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.aksorn.com/LC/Hist/M1/05
- http://www.aksorn.com/LC/Hist/M1/06
- http://www.aksorn.com/LC/HIst/M1/07

206
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

บัตรคำ

ชุมชน


บ้านเมือง
แคว้น
อาณาจักร
ใบงานที่
3.5 พัฒนาการของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย
ตอนที ่ 1

207
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. ในแต่ละภูมภิ าคของไทยมีรอ่ งรอยของอาณาจักรโบราณอาณาจักรใดบ้าง


- ภาคกลาง เช่น อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรละโว้
- ภาคเหนือ เช่น อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักรหริภุญชัย อาณาจักรล้านนา
- ภาคใต้ เช่น อาณาจักรลังกาสุกะ อาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวชิ ยั
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อาณาจักรโคตรบูรณ์ อาณาจักรอิศานปุระ

2. หลักฐานใดบ้างทีแ่ สดงถึงความเป็นอาณาจักรโบราณของอาณาจักรต่างๆ ในดินแดนไทย


หลักฐานทางโบราณคดีตา่ งๆ เช่น เหรียญโบราณ ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรมทางศาสนา และหลักฐานทีเ่ ป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรต่างๆ เช่น จารึกโบราณ บันทึกของชาวต่างชาติ และตำนานพื้นบ้าน เป็ นต้น

3. นักเรียนคิดว่า ความเจริญในท้องถิน่ ทีน่ กั เรียนอาศัยอยูม่ คี วามเกีย่ วข้องกับอาณาจักรโบราณอาณาจักร


ใดมาก่อน อธิบายเหตุผลพร้อมยกตัวอย่างประกอบให้ชดั เจน

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

ตอนที ่ 2
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปความเจริญของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย ตามประเด็นทีก่ ำหนด
1. อาณาจักรทวารวดี
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น บันทึกการเดินทางของหลวงจีนอี้จงิ บันทึกของหลวงจีนฉวนฉัง
จารึกหลักที ่ 30 เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญ ตัง้ อาณาจักรอยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุ่มแม่น้ำ
เจ้าพระยา ปกครองโดยกษัตริย์ มีเจ้านายปกครองด้วย แต่มคี วามสัมพันธ์ในลักษณะเครือญาติ มีการแบ่งชนชัน้
นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระพุทธรูปศิลาขาว วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ธรรมจักรและ
กวางหมอบ จารึกมอญ เป็ นต้น

2. อาณาจักรละโว้
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุจนี เรียกละโว้วา่ “หลอหู”่ จารึกหลักที ่ 18
ทีศ่ าลพระกาฬชินกาลมาลีปกรณ์
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญ ตัง้ อาณาจักรอยูบ่ ริเวณแม่น้ำ 3 สาย คือ
เจ้าพระยา ปา่ สัก และลพบุรี ปกครองโดยกษัตริย์ มีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท นิกายมหายาน ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และความเชือ่ พื้นเมือง เช่น การบูชาบรรพบุรุษ มีการแบ่งชนชัน้ เศรษฐกิจขึน้ กับการเกษตร มีการ
ติดต่อค้าขายกับจีนและอินเดีย
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก จังหวัดลพบุรี เป็ นต้น
3. อาณาจักรโยนกเชียงแสน

208
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานสิงหนวัตกิ ุมารและตำนานลวจังกราช
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เจ้าชายจากมณฑลยูนานได้อพยพผูค้ นมาตังเมืองทีเ่ ชียงแสน
ขอมเข้ายึดครอง จึงมีการอพยพสร้างเมืองใหม่หลายครัง้ ต่อมาอพยพจากเชียงแสนมายังเวียงไชยปราการ
และอพยพมายังกำแพงเพชร จนในทีส่ ดุ ตกเป็ นส่วนหนึง่ ของอาณาจักรล้านนา
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียว์ ดั ปา่ สัก จังหวัดเชียงราย เป็ นต้น
4. อาณาจักรหริภุญชัย
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานจามเทวีวงศ์ หรือตำนานเมืองหริภุญชัย
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญทีอ่ พยพมาจากละโว้ จนเมือ่ พระเจ้าอาทิตยราช
ได้เข้ามาปกครอง ได้ทรงสร้างความเจริญรุง่ เรือง โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ต่อมาภายหลังได้ตกเป็ น
ส่วนหนึง่ ของอาณาจักรล้านนา
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระธาตุหริภญุ ชัย จังหวัดลำพูน เป็ นต้น
5. อาณาจักรล้านนา
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ พงศาวดารโยนก ตำนานมูลศาสนา
เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร ผูก้ ่อตัง้ อาณาจักรล้านนา คือ พระยามังรายมหาราช
ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ใช้กฎหมายมังรายศาสตร์ นับถือพระพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์ มีตวั อักษร
เป็ นของตนเอง เป็ นไมตรีกบั สุโขทัย ภายหลังอ่อนแอ ทำให้อยุธยาและพม่าผลัดกันเข้าไปปกครองในฐานะ
เมืองประเทศราชจนถึงสมัยรัชกาลที ่ 5 จึงตกเป็ นส่วนหนึง่ ของไทย
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น กฎหมายมังรายศาสตร์ สถาปตั ยกรรมเวียงกุมกาม วัดเจดียห์ ลวง
อักษรธรรมล้านนา เป็ นต้น
6. อาณาจักรลังกาสุกะ
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุหลวงจีนอี้จงิ
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง เป็ นเมืองท่าค้าขายกับจีน-อินเดีย นับถือศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ต่อมาภายหลังอยูใ่ ต้อทิ ธิพลอาณาจักรศรีวชิ ยั
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เมืองโบราณยะรัง จังหวัดปตั ตานี เป็ นต้น
7. อาณาจักรตามพรลิงค์
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น เอกสารอินเดียเรียก “ตมลิง” เอกสารจีนเรียก “ถ่ามเหล่ง/ต่าน
หม่าลิง่ ”
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง เป็ นเมืองท่าค้าขายกับพ่อค้าอินเดีย-จีน มีความใกล้ชดิ
กับพระราชวงศ์พระร่วงแห่งสุโขทัย นับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายมหายาน พระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียพ์ ระบรมธาตุในวัดพระมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
เป็ นต้น
8. อาณาจักรศรีวชิ ยั
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น บันทึกของหลวงจีนอี้จงิ หนังสือจูฟานฉีของเกาจูกวั
นายด่านศุลกากรของจีน บันทึกสุไลมาน พ่อค้าชาวอาหรับ จารึกหลักที ่ 23 จารึกหลักที ่ 25 ทีไ่ ชยา เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เป็ นศูนย์กลางการค้าทางทะเลระหว่างจีน-อินเดีย นับถือศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์

209
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียพ์ ระบรมธาตุไชยา พระพุทธรูปางนาคปรกสำริดทีว่ ดั หัวเวียง
อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี เป็ นต้น
9. อาณาจักรโคตรบูรณ์
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานอุรงั คธาตุ พงศาวดารเหนือ เอกสารจีน
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง ได้รบั อิทธิพลของอินเดีย มีการนับถือพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท มีความเชือ่ พื้นเมืองเรือ่ งการนับถือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ และการบูชาพญานาค ภายหลังต่อมาตกเป็ นเมืองขึน้
ของอาณาจักรล้านช้าง
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป็ นต้น
10. อาณาจักรอิศานปุระ
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุจนี บันทึกของราชทูตจีนโจว ต้ากวน
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เป็ นอาณาจักรขอมตัง้ อยูร่ ะหว่างอาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรจามปา
ได้แก่ บริเวณทีเ่ ป็ นประเทศกัมพูชาในปจั จุบนั ปกครองในระบอบสมบูรณาญสิทธิราชย์ มีขนุ นาง ใช้ระบบจุตสดมภ์
ใช้กฎหมายพระธรรมศาสตร์ นับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายมหายาน
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น ปราสาทหินขนาดใหญ่ เช่น ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมรุง้
ปราสาทเมืองต่ำ ปราสาทศีขรภูมิ เป็ นต้น

ใบงานที่
3.5 พัฒนาการของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย
ตอนที ่ 1
คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. ในแต่ละภูมภิ าคของไทยมีรอ่ งรอยของอาณาจักรโบราณอาณาจักรใดบ้าง


- ภาคกลาง เช่น อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรละโว้
- ภาคเหนือ เช่น อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักรหริภุญชัย อาณาจักรล้านนา
- ภาคใต้ เช่น อาณาจักรลังกาสุกะ อาณาจักรตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวชิ ยั
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อาณาจักรโคตรบูรณ์ อาณาจักรอิศานปุระ

2. หลักฐานใดบ้างทีแ่ สดงถึงความเป็นอาณาจักรโบราณของอาณาจักรต่างๆ ในดินแดนไทย

210
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
หลักฐานทางโบราณคดีตา่ งๆ เช่น เหรียญโบราณ ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรมทางศาสนา และหลักฐานทีเ่ ป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรต่างๆ เช่น จารึกโบราณ บันทึกของชาวต่างชาติ และตำนานพื้นบ้าน เป็ นต้น

3. นักเรียนคิดว่า ความเจริญในท้องถิน่ ทีน่ กั เรียนอาศัยอยูม่ คี วามเกีย่ วข้องกับอาณาจักรโบราณอาณาจักร


ใดมาก่อน อธิบายเหตุผลพร้อมยกตัวอย่างประกอบให้ชดั เจน

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผสู้ อน)

ตอนที ่ 2
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปความเจริญของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย ตามประเด็นทีก่ ำหนด
1. อาณาจักรทวารวดี
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น บันทึกการเดินทางของหลวงจีนอี้จงิ บันทึกของหลวงจีนฉวนฉัง
จารึกหลักที ่ 30 เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญ ตัง้ อาณาจักรอยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุ่มแม่น้ำ
เจ้าพระยา ปกครองโดยกษัตริย์ มีเจ้านายปกครองด้วย แต่มคี วามสัมพันธ์ในลักษณะเครือญาติ มีการแบ่งชนชัน้
นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระพุทธรูปศิลาขาว วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ธรรมจักรและ
กวางหมอบ จารึกมอญ เป็ นต้น

2. อาณาจักรละโว้
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุจนี เรียกละโว้วา่ “หลอหู” จารึกหลักที ่ 18
ทีศ่ าลพระกาฬ ภาพสลักขบวนทหารทีร่ ะเบียงปราสาทนครวัด
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญ ตัง้ อาณาจักรอยูบ่ ริเวณแม่น้ำ 3 สาย คือ
เจ้าพระยา ปา่ สัก และลพบุรี ปกครองโดยกษัตริย์ มีการนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท นิกายมหายาน ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และความเชือ่ พื้นเมือง เช่น การบูชาบรรพบุรุษ มีการแบ่งชนชัน้ เศรษฐกิจขึน้ กับการเกษตร มีการ
ติดต่อค้าขายกับจีนและอินเดีย
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก จังหวัดลพบุรี เป็ นต้น
3. อาณาจักรโยนกเชียงแสน
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานสิงหนวัตกิ ุมารและตำนานลวจังกราช
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เจ้าชายจากมณฑลยูนานได้อพยพผูค้ นมาตัง้ เมืองทีเ่ ชียงแสน
ขอมเข้ายึดครอง จึงมีการอพยพสร้างเมืองใหม่หลายครัง้ ต่อมาอพยพจากเชียงแสนมายังเวียงไชยปราการ
และอพยพมายังกำแพงเพชร จนในทีส่ ดุ ตกเป็ นส่วนหนึง่ ของอาณาจักรล้านนา
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียว์ ดั ปา่ สัก จังหวัดเชียงราย เป็ นต้น
4. อาณาจักรหริภุญชัย
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานจามเทวีวงศ์ หรือตำนานเมืองหริภุญชัย

211
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร สันนิษฐานว่าเป็ นชาวมอญทีอ่ พยพมาจากละโว้ จนเมือ่ พระเจ้าอาทิตยราช
ได้เข้ามาปกครอง ได้ทรงสร้างความเจริญรุง่ เรือง โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ต่อมาภายหลังได้ตกเป็ น
ส่วนหนึง่ ของอาณาจักรล้านนา
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระธาตุหริภญุ ชัย จังหวัดลำพูน เป็ นต้น
5. อาณาจักรล้านนา
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ พงศาวดารโยนก ตำนานมูลศาสนา
เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร ผูก้ ่อตัง้ อาณาจักรล้านนา คือ พระยามังรายมหาราช
ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ใช้กฎหมายมังรายศาสตร์ นับถือพระพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์ มีตวั อักษร
เป็ นของตนเอง เป็ นไมตรีกบั สุโขทัย ภายหลังอ่อนแอ ทำให้อยุธยาและพม่าผลัดกันเข้าไปปกครองในฐานะ
เมืองประเทศราชจนถึงสมัยรัชกาลที ่ 5 จึงตกเป็ นส่วนหนึง่ ของไทย
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น กฎหมายมังรายศาสตร์ สถาปตั ยกรรมเวียงกุมกาม วัดเจดียห์ ลวง
อักษรธรรมล้านนา เป็ นต้น
6. อาณาจักรลังกาสุกะ
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุหลวงจีนอี้จงิ
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง เป็ นเมืองท่าค้าขายกับจีน-อินเดีย นับถือศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ต่อมาภายหลังอยูใ่ ต้อทิ ธิพลอาณาจักรศรีวชิ ยั
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เมืองโบราณยะรัง จังหวัดปตั ตานี เป็ นต้น
7. อาณาจักรตามพรลิงค์
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น เอกสารอินเดียเรียก “ตมลิง” เอกสารจีนเรียก “ถ่ามเหล่ง/
ต่านหม่าลิง่ ”
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง เป็ นเมืองท่าค้าขายกับพ่อค้าอินเดีย-จีน มีความใกล้ชดิ
กับพระราชวงศ์พระร่วงแห่งสุโขทัย นับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายมหายาน พระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท ลัทธิลงั กาวงศ์
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียพ์ ระบรมธาตุในวัดพระมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
เป็ นต้น
8. อาณาจักรศรีวชิ ยั
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น บันทึกของหลวงจีนอี้จงิ หนังสือจูฟานฉีของเกาจูกวั
นายด่านศุลกากรของจีน บันทึกสุไลมาน พ่อค้าชาวอาหรับ จารึกหลักที ่ 23 จารึกหลักที ่ 25 ทีไ่ ชยา เป็ นต้น
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เป็ นศูนย์กลางการค้าทางทะเลระหว่างจีน-อินเดีย นับถือศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียพ์ ระบรมธาตุไชยา พระพุทธรูปางนาคปรกสำริดทีว่ ดั หัวเวียง
อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี เป็ นต้น
9. อาณาจักรโคตรบูรณ์
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น ตำนานอุรงั คธาตุ พงศาวดารเหนือ เอกสารจีน
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร มีกษัตริยป์ กครอง ได้รบั อิทธิพลของอินเดีย มีการนับถือพระพุทธศาสนา
นิกายเถรวาท มีความเชือ่ พื้นเมืองเรือ่ งการนับถือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ และการบูชาพญานาค ภายหลังต่อมาตกเป็ นเมืองขึ้น
ของอาณาจักรล้านช้าง

212
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป็ นต้น
10. อาณาจักรอิศานปุระ
1) หลักฐานทีป่ รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตุจนี บันทึกของราชทูตจีนโจว ต้ากวน
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจักร เป็ นอาณาจักรขอมตัง้ อยูร่ ะหว่างอาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรจามปา
ได้แก่ บริเวณทีเ่ ป็ นประเทศกัมพูชาในปจั จุบนั ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีขนุ นาง ใช้ระบบจุตสดมภ์
ใช้กฎหมายพระธรรมศาสตร์ นับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู พระพุทธศาสนานิกายมหายาน
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น ปราสาทหินขนาดใหญ่ เช่น ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมรุง้
ปราสาทเมืองต่ำ ปราสาทศีขรภูมิ เป็ นต้น

แบบบันทึกการอ่าน

ชือ่ หนังสือ ชือ่ ผูแ้ ต่ง นามปากกา


สำนักพิมพ์ สถานทีพ่ มิ พ์ ปีทพ่ี มิ พ์
จำนวนหน้า ราคา บาทอ่านวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา

1. สาระสำคัญของเรือ่ ง

2. วิเคราะห์ขอ้ คิด/ประโยชน์ทไ่ี ด้จากเรือ่ งทีอ่ ่าน

3. สิง่ ทีส่ ามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

4. ข้อเสนอแนะของครู

ลงชือ่ นักเรียน ลงชือ่ ผูป้ กครอง


( ) ( )

213
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

ลงชือ่ ครูผสู้ อน
( )

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานมีความสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน ผลงานมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้ อย ให้ 3 คะแนน ผลงานมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

214
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

แบบประเมิ น การนำเสนอผลงาน
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีก่ ำหนด แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิ น
4 3 2 1
1 นำเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถกู ต้อง
2 การลำดับขัน้ ตอนของเนื้อเรือ่ ง
3 การนำเสนอมีความน่าสนใจ
4 การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
5 การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานรายบุคคล

215
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ความมีน้ำใจ การรับฟัง การแสดง


การตรงต่อ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ความมีวินัย เอื้อเฟื้ อ เสีย ความคิ ด ความคิ ด
เวลา 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น สละ เห็น เห็น
คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานกลุ่ม
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

216
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

การแก้ไข
ความ การแสดง การรับฟัง
ความตัง้ ใจ ปัญหา/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ความคิ ด ความคิ ด
ทำงาน ปรับปรุง ผล 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น ทำกิ จกรรม เห็น เห็น
งานกลุ่ม คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 14 - 17 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้
ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง

แบบประเมิ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ

217
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
กษัตริ ย์ เพลงชาติ
1.2 ปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหน้าทีข่ องนักเรียน
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชิกในชัน้ เรียน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทีส่ ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อ
โรงเรียนและชุมชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตริยต์ ามทีโ่ รงเรียน
และชุมชนจัดขึน้
2. ซื่อสัตย์ สุจริ ต 2.1 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง และเป็ นจริง
2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวทีจ่ ะทำความผิด ทำตาม
สัญญาทีต่ นให้ไว้กบั เพือ่ น พ่อแม่หรือผูป้ กครอง และครู
2.3 ปฏิบตั ติ ่อผูอ้ ่นื ด้วยความซื่อตรง
3. มีวินัย รับผิด 3.1 ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
ชอบ และโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ
ในชีวติ ประจำวัน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
4.3 สรุปความรูไ้ ด้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผูอ้ ่นื และไม่ทำให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมือ่ ผูอ้ ่นื
กระทำผิดพลาด

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชวี ติ ประจำวันบนพืน้ ฐานของ
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและ
ปรับตัว อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมันในการ
่ 6.1 มีความตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรคเพือ่ ให้งานสำเร็จ
7. รักความเป็ นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน

218
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปนั สิง่ ของให้ผอู้ ่นื
8.3 รูจ้ กั ดูแล รักษาทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ แวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 191 - 108 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 73 - 90 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 54 - 72 พอใช้
ต่ำกว่า 54 ปรับปรุง

แบบบันทึกหลังแผนการสอน

Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ญั หาของนักเรียนเป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปญั หา/อุปสรรค

219
ประวัตศิ าสตร์ ม.1
หน่วยการเรียนรู ้ที่ 3 สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
่ งที่ 5 รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
เรือ

Ÿ แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย


ข้อเสนอแนะ

ลงชือ่
( )
ตำแหน่ง

220
ประวัตศิ าสตร์ ม.1

You might also like