You are on page 1of 28

คู่มือการเรียนและใช้

ชีวิตในประเทศ
ออสเตรเลีย
www.studyinaustralia.gov.au

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย


ปจั จุบนั มีคนจํานวนมากต้องการเพิม่ ความรูแ้ ละทักษะให้ตวั เองเพือ่ ให้กา้ วทันโลกทีม่ ี
การแข่งขันสูง การศึกษาจากประเทศออสเตรเลียนับเป็ นคุณสมบัตทิ เ่ี ป็ นทีต่ อ้ งการทัว่
โลก ออสเตรเลียเป็ นประเทศทีน่ กั เรียนจะพบการเรียนการสอนทีม่ คี ุณภาพ เทียบเท่า
มาตรฐานในระดับนานาชาติ และมีระบบการช่วยเหลือนักเรียนทีด่ ที ส่ี ดุ แห่งหนึ่งใน
โลก รวมถึงเป็ นประเทศทีม่ สี ภาพแวดล้อมทีเ่ ป็ นมิตร

ด้วยเหตุผลทีก่ ล่าวมานี้ จึงมีนกั เรียนต่างชาติกว่า 600,000 คน จาก 200 ประเทศทัว่


โลกเดินทางมาเรียนทีอ่ อสเตรเลียในแต่ละปี และเมือ่ สําเร็จการศึกษาแล้ว พวกเขา
ต่างก็มคี วามรูค้ วามสามารถทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล และมีอนาคตไร้ขีดจากัด
อย่างแท้จริง

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย


ออสเตรเลีย มีศกั ยภาพอันเป็ นเลิศในการสร้างบัณฑิตทีม่ คี วามคิดเป็ น
อิสระและมีความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์

เราไม่เพียงแค่ป้อนคาตอบให้นักเรียน แต่ยงั สอนนักเรียนให้ตงั ้ คาถามให้ตรงประเด็น มี


นักเรียนต่างชาติ เข้าเรียนในหลักสูตรต่างๆของออสเตรเลียมานานกว่า 60 ปี หลายคนมี
ความก้าวหน้ าในสายงาน ดารงตาแหน่ งเป็ นรัฐมนตรี, นักธุรกิ จชัน้ นา, นักวิ จยั ,
นักวิ ทยาศาสตร์, แพทย์ และผูน้ าชุมชน อยู่ทวทุ
ั ่ กมุมโลก
ออสเตรเลีย เป็ นทีต่ งั ้ ของสถาบันการศึกษาชัน้ นําของโลก มีนกั วิชาการและนักวิจยั ทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับใน
ระดับสากล โดยมีแนวทางการทํางานทีไ่ ด้มาตรฐานสูงสุด
การศึกษาของออสเตรเลียมีความเป็ นเลิศทางวิชาการ โดยครอบคลุม สาขาวิชาแพทยศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ, ฟิสกิ ส์, เคมี, เทคโนโลยีสารสนเทศ, เอเชียแปซิฟิกศึกษา, เทคโนโลยีชวี ภาพและ
ดาราศาสตร์ ความสําเร็จของศิษย์เก่าแสดงให้เห็นถึงการศึกษาของออสเตรเลียทีม่ คี ุณภาพระดับโลก มีผู้
ประสบความสําเร็จได้รบั รางวัลระดับนานาชาติมากมาย
นอกจากนัน้ เรายังเพิม่ หลักสูตรต่างๆทีไ่ ด้คุณภาพและหลากหลายไปพร้อมๆกับคุณภาพชีวติ ทีเต็ี่ มไป
ด้วยกิจกรรมด้านวัฒนธรรมและกีฬาอีกด้วย ปจั จัยเหล่านี้จะช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
รวมถึงทําให้นกั เรียนเกิดแรงบันดาลใจและความมุง่ มัน่
การศึกษาของออสเตรเลียเป็ นทางเลือกทีล่ งตัวสําหรับนักเรียนทีก่ ําลังมองหาสถานทีเ่ รียนทีจ่ ะเปิดโลก
กว้าง มีการพัฒนาและเติบโตอย่างต่อเนื่อง และคุม้ ค่าการลงทุน
สารบัญ

1. เกีย่ วกับประเทศออสเตรเลีย ........................................................................................................... 1


2. การศึกษาในออสเตรเลีย . ............................................................................................................... 2
3. เตรียมความพร้อมในการเดินทางเพือ่ ศึกษาต่อประเทศออสเตรเลีย . ................................................ 6
4. การเข้าประเทศออสเตรเลีย ............................................................................................................ 8
5. ข้อมูลด้านการเงิน ........................................................................................................................... 9
6. การทําความคุน้ เคยกับชีวติ ในออสเตรเลีย ..................................................................................... 10
7. การติดต่อสื่อสาร........................................................................................................................... 13
8. สื่อ, วัฒนธรรม และสังคม .............................................................................................................. 14
9. การเดินทาง .................................................................................................................................. 16
10. เกีย่ วกับสุขภาพ .......................................................................................................................... 18
11. การทํางานในประเทศออสเตรเลีย................................................................................................ 19
12. ความปลอดภัยและกฎหมาย ....................................................................................................... 21
13. การกลับบ้าน .............................................................................................................................. 22
14. ลิงค์ทม่ี ปี ระโยชน์และข้อมูลต่างๆ ................................................................................................ 23

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย


1. เกีย่ วกับประเทศออสเตรเลีย
1.1 ข้อมูลเบือ้ งต้น
1.2 รัฐและเขตการปกครอง
รัฐวิคตอเรีย www.visitvictoria.com
เมืองหลวง คือ เมลเบิรน์
1.1 ข้อมูลเบือ้ งต้น มีประชากรประมาณ 5.5 ล้านคน
“ ประเทศออสเตรเลียมีประชากรจํานวนกว่า 22.5 ล้านคน สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 14-27 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 8-16
“ เป็นเพียงประเทศเดียวในโลกทีม่ พี น้ื ทีค่ รอบคลุมทัง้ ทวีป ออสเตรเลีย องศาเซลเซียส
ตัง้ อยู่ในซีกโลกใต้ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก
ประเทศเพือ่ นบ้านทีใ่ กล้ทส่ี ุดทางทิศเหนือคือปาปวั นิวกินีและอินโดนีเซีย รัฐควีนส์แลนด์ www.queenslandholidays.com.au
นิวซีแลนด์ตงั ้ อยู่ทางทิศตะวันออก เมืองหลวง คือ บริสเบน
“ ชาวออสเตรเลียเกือบหนึ่งในสีก่ าํ เนิดในต่างประเทศ มีผคู้ นจากทัวทุ
่ ก มีประชากรประมาณ 4.5 ล้านคน
มุมโลกย้ายถิน่ ฐานมาอยู่ทอ่ี อสเตรเลีย ทัง้ จากยุโรป, เอเชีย, แอฟริกา, สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 21-31 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 10-21
ตะวันออกกลางและอเมริกา องศาเซลเซียส
“ ออสเตรเลียเป็นประเทศแห่งนวัตกรรม นักวิทยาศาสตร์ออสเตรเลียได้
คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆทีท่ าํ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในระดับโลก อันได้แก่ รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย www.westernaustralia.com
กล่องดําบันทึกการบิน, เครือ่ งกระตุน้ การเต้นของหัวใจ, อัลตราซาวด์, เมืองหลวง คือ เพิรธ์
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่, หูไบโอนิค, อินเทอร์เน็ตไร้สาย, แผนทีก่ เู กิล้ มีประชากรประมาณ 2.2 ล้านคน
และสเปรย์ฉดี ผิวสําหรับผูท้ ถ่ี ูกไฟไหม้ สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 18-31 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 9-18
องศาเซลเซียส

1.2 รัฐและเขตการปกครอง รัฐเซาท์ออสเตรเลีย www.southaustralia.com


ข้อมูลต่อไปนี้เป็นข้อมูลด้านภูมศิ าสตร์เบือ้ งต้นเพือ่ ให้ผอู้ ่านได้เข้าใจถึง เมืองหลวง คือ แอดิเลด
ภูมปิ ระเทศ และความหลากหลายและงดงามของออสเตรเลีย ก่อนทีจ่ ะ มีประชากรประมาณ 1.6 ล้านคน
นําไปสู่ความน่าสนใจอื่นๆเมือ่ เดินทางไปศึกษาในประเทศออสเตรเลีย สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 17-32 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 8-16
มาทําความรูจ้ กั เกีย่ วกับรัฐ รวมถึงเมืองต่างๆทีน่ กั เรียนต่างชาติอาจต้อง องศาเซลเซียส
เดินทางไปศึกษาต่อหรือท่องเทีย่ วใน ‘ดินแดนแห่งซีกโลกใต้’ หรือ
‘Land Down Under’ แห่งนี้ รัฐแทสมาเนีย www.discovertasmania.com.au
ประเทศออสเตรเลียประกอบไปด้วย 6 รัฐและ 2 เขตปกครองพิเศษ แต่ เมืองหลวง คือ โฮบาร์ต
ละรัฐมีความโดดเด่นทางด้านประวัตศิ าสตร์ มีลกั ษณะ และสถานที่ มีประชากรประมาณ 507,600 คน
น่าสนใจต่างกัน รัฐทัง้ 6 ได้แก่ นิวเซาธ์เวลส์ (NSW), วิคตอเรีย (Vic), สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 11-22 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 3-11
เซาท์ออสเตรเลีย (SA), ควีนส์แลนด์ (Qld), เวสเทิรน์ ออสเตรเลีย (WA) องศาเซลเซียส
และแทสมาเนีย (Tas) เขตการปกครองพิเศษ 2 แห่ง คือ นอร์ทเทิรน์ แทริ
ทอรี่ (NT) และ ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่ (ACT) ซึง่ มีทงั ้ การ ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่ www.visitcanberra.com.au
ปกครองตนเอง และบริหารจัดการโดยรัฐบาลกลาง เมืองหลวง คือ แคนเบอร์รา
มีประชากรประมาณ 358,900 คน
รัฐนิวเซาธ์เวลส์ www.visitnsw.com.au สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 13-52 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม -1 ถึง -
เมืองหลวง คือ ซิดนีย์ 11 องศาเซลเซียส
มีประชากรประมาณ 7.2 ล้านคน
สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 19-27 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 8-16 นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่ www.travelnt.com
องศาเซลเซียส เมืองหลวง คือ ดาร์วนิ
มีประชากรประมาณ 229,700 คน
สภาพภูมอิ ากาศ มกราคม 26-34 องศาเซลเซียส และกรกฏาคม 21-32
องศาเซลเซียส

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >1


การศึกษาแรกมักจะเริม่ ในเดือนกุมภาพันธ์และสิน้ สุดในเดือนมิถุนายน
2. การศึกษาในออสเตรเลีย ในขณะทีภ่ าคเรียนทีส่ องจะเริม่ ต้นจากกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน
นักเรียนสามารถสมัครเพือ่ เริม่ ต้นเรียนได้ทงั ้ ในเดือนกุมภาพันธ์และ
กรกฎาคม
2.1 ปี การศึกษา, คุณสมบัติและระยะเวลาในการเรียน
TAFE และ สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ ต่างๆมีความเชีย่ วชาญในหลักสูตร
2.2 การปฐมนิ เทศ
ทีเ่ พิม่ ทักษะสําหรับอุตสาหกรรมเฉพาะด้าน หรือ ด้านธุรกิจการค้า หรือ
2.3 ชัน้ เรียน เป็นหลักสูตรเพือ่ เตรียมความพร้อมสําหรับการศึกษาต่อ หลักสูตรต่างๆ
2.4 การประเมิ นผล ประกอบด้วยหลักสูตรทีไ่ ด้รบั ประกาศนียบัตร มีดว้ ยกัน 4 ระดับ
2.5 การลอกข้อมูล/ผลงานของผูอ้ ื่น (ประกาศนียบัตรขัน้ ที่ I, II, III และ IV ซึง่ ใช้เวลาเรียนตัง้ แต่ 6 เดือนถึง1
2.6 ข้อมูลหลักสูตร ปี), หลักสูตรอนุปริญญา (1-2 ปี) และหลักสูตรอนุปริญญาขัน้ สูง (2-3 ปี)
โดยหลักสูตรอนุปริญญาและอนุปริญญาขัน้ สูงเป็นใบรับรองทีส่ ามารถใช้
2.7 การบริการต่างๆเพือ่ ช่วยเหลือนักเรียน เพือ่ สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับทีส่ งู ขึน้ ได้
2.8 การประกันคุณภาพการศึกษา
สถาบันสอนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนต่างชาติ (ELICOS)
หลักสูตรภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนต่างชาติ (ELICOS) มีทงั ้ เป็น
2.1 ปี การศึกษา, คุณสมบัติและระยะเวลาในการเรียน โรงเรียนเอกชนทีค่ วบคุมโดยรัฐบาล สถาบัน VET, TAFE และโรงเรียน
ภาษาในเครือมหาวิทยาลัย ELICOS เป็นหลักสูตรทีไ่ ด้รบั การพัฒนา
มหาวิ ทยาลัย
เพือ่ ให้นกั เรียนต่างชาติสามารถพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษซึง่ เป็นภาษาที่
ปีการศึกษาของมหาวิทยาลัยในออสเตรเลียจะเริม่ ต้นช่วงปลายเดือน
สองรวมทัง้ เป็นการวางรากฐานสําหรับการศึกษาเชิงวิชาการต่อไป
กุมภาพันธ์ถงึ ต้นเดือนมีนาคม การปฐมนิเทศนักเรียนใหม่มกั จะจัดขึน้
ในช่วงกลางถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ภาคการศึกษาทีส่ องมักจะเริม่ หลักสูตร ELICOS เปิดสอนตลอดทัง้ ปี มีระยะเวลาตัง้ แต่ 4 ถึง 48
ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่จะมีสองภาค สัปดาห์โดยเรียนเต็มเวลา ขึน้ อยู่กบั โปรแกรมทีเ่ ลือก มีการเปิดรับสมัคร
การศึกษา โดยมีการสอบในเดือนมิถุนายนสําหรับภาคการศึกษาทีห่ นึ่ง เข้าเรียนอยู่ตลอด (ทุก 5 สัปดาห์โดยทัวไป)
่ อย่างไรก็ตามแต่ละสถาบัน
และในเดือนพฤศจิกายนสําหรับภาคการศึกษาทีส่ อง มีการหยุดพัก อาจมีการเปิดรับนักเรียนทีแ่ ตกต่างกันไป
ประมาณ 4-6 อาทิตย์ ระหว่างภาคการศึกษา และหยุดยาวในช่วงฤดู
ร้อนตัง้ แต่เดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศออสเตรเลีย ดําเนินการ
มีหลายหลักสูตรทีส่ ามารถเลือกได้ว่าจะเริม่ ต้นเรียนในเดือนกุมภาพันธ์
สอนตามแนวทางของหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติเพือ่ ให้แน่ใจว่าได้
หรือกรกฎาคม อย่างไรก็ตาม ในบางหลักสูตร เช่น แพทย์ศาสตร์ หรือ
มาตรฐาน การศึกษาในระดับโรงเรียนจะเริม่ ด้วยการเรียนเตรียมความ
ทันตแพทย์ศาสตร์ จะเปิดสอนในเดือนกุมภาพันธ์เท่านัน้
พร้อม 1 ปี ตามด้วยการเรียนในระดับประถมและมัธยมเป็นเวลา12 ปี
ดูวนั เปิดเรียนของมหาวิทยาลัยในออสเตรเลียได้ท่ี
ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 เทอม เริม่ ต้นตัง้ แต่ปลายเดือนมกราคมหรือ
www.universitiesaustralia.edu.au หัวข้อ ‚Australian Universities‛
ต้นเดือนกุมภาพันธ์จนถึงเดือนธันวาคม มีวนั หยุดสัน้ ๆ ระหว่างเทอม
มหาวิทยาลัยในออสเตรเลียจะมีการสอนในระดับปริญญาตรี โดยใช้เวลา และมีการปิดภาคเรียนยาวช่วงฤดูรอ้ นในเดือนธันวาคมและเดือน
เรียน 3-4 ปี แบบเต็มเวลา ขึน้ อยู่กบั สาขาวิชาและวิชาทีล่ งเรียน มกราคม
มหาวิทยาลัยบางแห่งมี "ปริญญาตรีเกียรตินยิ ม" (Bachelor Degree
โรงเรียนมีการสอนวิชาหลัก 8 วิชา คือ ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์,
with honours) สําหรับนักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนโดดเด่น และบาง
สังคมและสิง่ แวดล้อม, วิทยาศาสตร์, ศิลปะ, ภาษาอื่นทีไ่ ม่ใช่
มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรเรียนเพิม่ อีกหนึ่งปี โดยนักเรียนจะได้รบั
ภาษาอังกฤษ, เทคโนโลยี, การพัฒนาบุคคล, สุขภาพและพละศึกษา
‚Honours Degree‛ หลักสูตรวิจยั ฝึกอบรมและการพัฒนาในสาขา
โรงเรียนหลายแห่งมีหลักสูตรภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนต่างชาติเพือ่
อาชีพ สามารถเรียนได้ในหลักสูตรระดับปริญญาโทและเอก ซึง่ ส่วนใหญ่
ส่งเสริมการเรียนของนักเรียนจากประเทศอื่นๆ
ระดับปริญญาโทจะใช้เวลา 1-2 ปี และ สําหรับปริญญาเอกใช้เวลาอย่าง
น้อย 3 ปี นักเรียนหลายคนศึกษาในระดับมัธยมปลายเพือ่ ใช้วุฒกิ ารศึกษาในการ
สมัครเข้าเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียนมัธยมในออสเตรเลีย
สถาบันฝึ กอบรมวิ ชาชีพ (VET) ประมาณ 9 ใน 10 แห่ง มีหลักสูตรทีเ่ น้นสายอาชีพนอกเหนือไปจาก
ปีการศึกษาสําหรับ Technical and Further Education (TAFE) รวมทัง้ หลักสูตรปกติของโรงเรียนด้วย
สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ (VET) ต่างๆนัน้ มีสองภาคการศึกษา โดยภาค

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >2


2.3 การเรียน
2.2 การปฐมนิ เทศ
มหาวิ ทยาลัย
การปฐมนิเทศจะช่วยให้นกั เรียนต่างชาติปรับตัวและทําความคุน้ เคยกับ
การเรียนการสอนทีม่ หาวิทยาลัยในออสเตรเลียผสมผสานระหว่างการ
สถาบันการศึกษาและรูปแบบการเรียนการสอนอย่างรวดเร็ว นักเรียน
บรรยายและการสอน การบรรยาย (Lecture) อาจมีจาํ นวนนักเรียนในชัน้
ต่างชาติหลายคนพบว่าการเรียนการสอนในประเทศออสเตรเลียค่อนข้าง
เรียนถึง 200 คน จากภาควิชาทีแ่ ตกต่างกัน ขณะทีก่ ารสอน (Tutorial)
แตกต่างจากประเทศของตน
จะมีขนาดชัน้ เรียนเล็ก ประมาณ 30 คนในแต่ละวิชา จุดประสงค์เพือ่ ให้
การศึกษาในประเทศออสเตรเลียจะมุง่ เน้นการเรียนรูแ้ ละส่งเสริมให้เกิด ชัน้ เรียนได้อภิปรายเนื้อหาทีเ่ รียนมา การเข้าฟงั บรรยายทุกครัง้ เป็ นสิง่ ที่
ความคิดสร้างสรรค์ มีอสิ ระทางความคิด และ ถกเถียงในประเด็นต่างๆ สําคัญมาก เพราะจะทําให้สามารถเข้าใจเนื้อหาและนําไปอภิปรายต่อใน
ครูผสู้ อนจะให้ความสําคัญกับความเข้าใจในเนื้อหา มากกว่าการท่องจํา การชัวโมง่ Tutorial ได้ การเตรียมตัวให้พร้อมสําหรับการเรียนเป็นสิง่
คําศัพท์ วลี หรือสูตร สําหรับการสอบเมือ่ ได้ลงทะเบียนเรียนเรียบร้อย สําคัญและจะช่วยทําให้มผี ลการเรียนดีในวิชานัน้ อาจารย์ผสู้ อนคาดหวัง
แล้ว นักเรียนจะได้รบั คู่มอื การเตรียมตัวก่อนการเดินทาง เมือ่ เดินทาง ให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียน เพราะเป็นวิธที จ่ี ะทําให้สามารถพูดคุย
มาถึง และ/หรือคู่มอื ปฐมนิเทศ ทีป่ ระกอบด้วยข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์เพือ่ ในประเด็นทีเ่ รียนได้อย่างเปิดเผย
เตรียมความพร้อมสําหรับการศึกษาและการใช้ชวี ติ ในออสเตรเลีย
ถึงแม้ว่ารูปแบบการสอนจะแตกต่างกันขึน้ อยู่กบั หลักสูตรและ
มหาวิ ทยาลัยและสถาบันฝึ กอบรมวิ ชาชีพ (VET) มหาวิทยาลัย แต่ระบบการศึกษาของออสเตรเลียมีกาํ หนดมาตรฐานขัน้
สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยและฝึกอบรมวิชาชีพส่วนใหญ่ จะจัด ตํ่าซึง่ นักเรียนจะต้องผ่านเกณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้เมือ่ สําเร็จภาคการศึกษา
ให้มกี ารปฐมนิเทศทีค่ รอบคลุมและเป็นภาคบังคับสําหรับนักเรียน โดยวิธกี ารเรียนอาจไม่เหมือนกัน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวธิ กี ารเรียนรู้
ต่างชาติ บางสถาบันจะมีเจ้าหน้าทีใ่ ห้คาํ ปรึกษาสําหรับนักเรียน ทีต่ ่างกัน
นานาชาติ เพือ่ ทําหน้าทีช่ ว่ ยเหลือนักเรียนต่างชาติทเ่ี พิง่ เข้าเรียน โดยให้
ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์และช่วยเตรียมความพร้อมในการเรียนและใช้ชวี ติ สถาบันฝึ กอบรมวิ ชาชีพ (VET)
ในออสเตรเลีย ทีส่ ถาบัน TAFE และ VET การบรรยายและการสอนมักจะไม่แยกออก
จากกัน โดยการสอนเพือ่ ให้ขอ้ มูลและการอภิปรายจะรวมอยู่ในชัวโมง ่
เจ้าหน้าทีใ่ ห้คาํ ปรึกษาจะช่วยแนะนําโครงสร้างของสถาบัน การบริหาร เรียนเดียวกัน สําหรับวิชาทีผ่ สู้ อนเห็นว่านักเรียนบางคนอาจต้องการ
จัดการ วิทยาเขต และการบริการต่างๆทีม่ อี ยู่ในมหาวิทยาลัย รวมถึง คําแนะนําเพิม่ เติมหรือสอนพิเศษ อาจจัดให้มกี ารสอน (Tutorial) แยก
สมาคมและกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยงั สามารถให้คาํ แนะนําเกีย่ วกับ ต่างหาก ซึง่ จะเป็นการสอนพิเศษเพือ่ ช่วยให้เรียนได้งา่ ยขึน้ และจะเป็น
วัฒนธรรมและปญหาทั ั ่วไปทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินชีวติ ในประเทศ ชัวโมงบั
่ งคับ
ออสเตรเลีย
หลักสูตร VET เป็นหลักสูตรทีอ่ อกแบบมาเพือ่ เพิม่ ทักษะวิชาชีพและการ
สถาบันสอนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนต่างชาติ (ELICOS) ปฏิบตั ิ จึงเป็นการสอนทฤษฎีร่วมกับภาคปฏิบตั ิ ขนาดของชัน้ เรียน
หลักสูตร ELICOS ส่วนใหญ่จะเริม่ ต้นหลักสูตรด้วยการปฐมนิเทศ และ โดยทัวไปจะมี
่ ขนาดเล็กกว่าชัน้ เรียนในมหาวิทยาลัยหรือสถาบัน
อาจมีเจ้าหน้าทีใ่ ห้คาํ ปรึกษานักเรียนต่างชาติ หรือสํานักงานฝา่ ย ฝึกอบรมวิชาชีพ (TAFE)
ต่างประเทศเพือ่ ช่วยให้นกั เรียนต่างชาติสามารถปรับตัวเข้ากับหลักสูตร
การเรียนการสอนรวมทัง้ การใช้ชวี ติ ในออสเตรเลีย สถาบันสอนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนต่างชาติ (ELICOS)
การเรียนภาษาอังกฤษส่วนใหญ่จะทําการสอนในลักษณะของห้องเรียน
โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยมีการจัดสรรเวลาสําหรับการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองภายใต้การดูแลของ
โรงเรียนในออสเตรเลีย เปิดเรียนวันจันทร์ถงึ ศุกร์ของแต่ละสัปดาห์ ครูผสู้ อน การเรียนในชัน้ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาของโรงเรียนใน
ชัวโมงเรี
่ ยนอาจมีความต่างกันเล็กน้อยในแต่ละเมือง แต่โดยทัวไปชั
่ วโมง
่ ออสเตรเลีย นักเรียนจะเข้าเรียนทุกวันจันทร์ถงึ ศุกร์ ตัง้ แต่ 9.00 น. ถึง
เรียนเริม่ ต้นเวลา 9.00น. - 15.30น. ของทุกวัน ขนาดของชัน้ เรียนโดย 15.30 น. โดยประมาณ
เฉลีย่ มีนกั เรียนประมาณ 22 คน โดนอัตราเฉลีย่ จํานวนครูต่อนักเรียนอยู่
ขนาดของชัน้ เรียนโดยเฉลีย่ มีนกั เรียนประมาณ 22 คน และ อัตราส่วนครู
ตํ่ากว่า 1 ต่อ 14
ต่อนักเรียนได้แก่ ครูมากกว่า 1 คนต่อนักเรียน14 คน

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >3


2.4 การประเมิ นผล
โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
มหาวิ ทยาลัย โรงเรียนในออสเตรเลียจะวัดผลการเรียนจากการมีส่วนร่วมในชันเรี
้ ยน
ผลคะแนนของวิชาทีเ่ รียน ขึน้ อยู่กบั ผลของงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (การ ของนักเรียน การทําโครงการหรือรายงาน การทดสอบอย่างต่อเนื่องและ
เขียนรายงานหรือการปฏิบตั ขิ น้ึ อยู่กบั วิชาทีเ่ รียน), การสอบ, การมีส่วน การสอบปลายภาค ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนของโรงเรียนจะขึน้ อยู่กบั
ร่วมชัน้ เรียน (โดยวัดจากการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการ ระบบของแต่ละรัฐและเขตพืน้ ที่ แต่ทกุ โรงเรียนจะใช้เกณฑ์มาตรฐาน
อภิปรายในชันเรี ้ ยน), การเข้าชัน้ เรียน และร่วมกิจกรรมกลุ่ม การ ระดับประเทศในการประเมินผล
ประเมินอย่างต่อเนื่องตลอดภาคการศึกษาอาจมีผล มากกว่าการวัดผล A (ดีมาก): 85 และมากกว่า
ในช่วงท้ายๆของการเรียนการสอน หรือ จากการสอบปลายภาค ทัง้ นี้ B (ดี): 70-84
ขึน้ อยู่กบั หลักสูตรทีเ่ รียน ข้อดีของวิธนี ้คี อื การที่ผลคะแนนทีไ่ ด้นนั ้ ไม่ได้ C (พอใช้): 50-69
ขึน้ อยู่กบั การประเมินเพียงครัง้ เดียว D (ไม่ผ่าน): 25-49
E (ไม่ได้มาตรฐาน): 0-24
หากนักเรียนทําข้อสอบได้ไม่ดนี กั ยังมีโอกาสปรับปรุงให้ได้ผลคะแนนที่
ดีขน้ึ จากการทํารายงานชิน้ อื่นๆ ระบบการประเมินมีความแตกต่างกัน
ในแต่ละที่ แต่โดยทัวไปจะวั
่ ดผลตามคะแนนต่อไปนี้
2.5 การลอกข้อมูล/ผลงานของผูอ้ ื่น (Plagiarism)
ดีมาก (High Distinction): ร้อยละ 85-100 Plagiarism คือ การลอกข้อเขียนหรือผลงานของผูอ้ น่ื (รวมถึงการลอก
ดี (Distinction): ร้อยละ 70 - 79 งานของนักเขียนทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์) และนําส่งอาจารย์โดยถือว่าเป็นงาน
พอใช้ (Credit) : ร้อยละ 60 - 69 ของตนเอง โดยไม่อา้ งอิงถึงแหล่งทีม่ าของข้อมูล ถือเป็นการกระทําที่
ผ่าน (Pass) : ร้อยละ 50 - 59 ร้ายแรงอย่างมากในระบบการศึกษาของออสเตรเลีย การกระทําดังกล่าว
ไม่ผ่าน (Fail) : น้อยกว่าร้อยละ 50 อาจมีบทลงโทษรุนแรงโดยการปรับให้ตกวิชานัน้ ๆ หรือแม้กระทังมี ่ ผล
ต่อวีซ่านักเรียน
สถาบันฝึ กอบรมวิ ชาชีพ (VET)
สถาบัน TAFE หรือ VET จะบอกรายละเอียดของเกณฑ์การประเมินใน นักเรียนต้องทําความเข้าใจให้ดวี ่าการกระทําใดอาจหมายถึงการลอก
หลักสูตรต่างๆ ข้อมูล โดยศึกษาวิธกี ารอ้างอิงข้อมูลในการทํารายงาน สถาบันการศึกษา
และสํานักงานฝา่ ยต่างประเทศสามารถให้คาํ แนะนําในเรือ่ งนี้ได้
การประเมินผลการเรียนมีความแตกต่างขึน้ อยู่กบั วิชาทีเ่ รียน โดยอาจมี
การวัดผลจากงานทีม่ อบหมายให้ทาํ และการสอบภาคปฎิบตั ิ ซึง่ นักเรียน
2.6 ข้อมูลหลักสูตร
ต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถทํางานได้ตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด
นอกจากนัน้ อาจมีการสอบปากเปล่า หรือการสอบข้อเขียน เพือ่ ประเมิน กฎหมายกําหนดให้ทุกสถาบันทีจ่ ะรับนักเรียนต่างชาติ ผลิตสือ่ การตลาด
ความรูแ้ ละความเข้าใจในเนื้อหาทีเ่ รียน (เช่นโบรชัวร์ และหนังสือข้อมูล) ทีม่ ขี อ้ มูลถูกต้องและไม่ทาํ ให้เกิดการ
เข้าใจผิด ทางสถาบันจะต้องให้ขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักสูตร ก่อนทีจ่ ะทํา
สถาบัน TAFE และ VET ใช้ระบบประเมินผลคะแนนการเรียนดังต่อไปนี้
การยืนยันการลงทะเบียนเรียน เช่น
มีความสามารถในระดับดีมาก (Competent with Distinction); มี
“ เนื้อหาหลักสูตรและระยะเวลา
ความสามารถในระดับดี (Competent with Credit); มีความสามารถใน
“ วุฒกิ ารศึกษาทีจ่ ะได้รบั
ระดับพอใช้ (Competent) และความสามารถยังไม่อยู่ในระดับทีน่ ่าพอใจ
“ วิธกี ารสอนและการประเมินผล
(Not yet competent)
• ข้อกําหนดเรือ่ งภาษาอังกฤษ
• ข้อกําหนดประสบการณ์การทํางาน หรือ วุฒทิ างการศึกษาทีจ่ าํ เป็นใน
สถาบันสอนภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนต่างชาติ (ELICOS)
การสมัครเรียน
ก่อนทีจ่ ะเริม่ เรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษ จะมีการทดสอบเพือ่ วัดระดับ
• ข้อกําหนดทีใ่ ช้ประเมินว่าเรียนจบหลักสูตร
ภาษา ซึง่ จะนําไปใช้เพือ่ กําหนดระดับชัน้ เรียนทีเ่ หมาะสมสําหรับ
• ค่าใช้จ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง
นักเรียนแต่ละคน หลักสูตรแต่ละระดับใช้เวลาประมาณ 10 สัปดาห์
“ อุปกรณ์และและทรัพยากรการเรียนรูต้ ่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับการเรียนใน
ผลงานตลอดระยะเวลาทีเ่ รียน รวมทัง้ การทํางานในชัน้ และการบ้าน รวม
หลักสูตร
กับผลสอบเมือ่ จบหลักสูตร จะถูกนํามาประเมินรวมกันออกมาเป็นผล
“ การบริการต่างๆเพือ่ ช่วยเหลือนักเรียน
คะแนนสุดท้าย

เมือ่ จบหลักสูตรแล้ว นักเรียนจะได้รบั ประกาศนียบัตรทีแ่ สดงชือ่ ผูเ้ รียน


และหลักสูตรทีเ่ รียน ระยะเวลาของหลักสูตร ระดับชัน้ ทีเ่ รียน และ ชัวโมง่
การเข้าเรียน

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >4


2.7 การบริการต่างๆเพือ่ ช่วยเหลือนักเรียน เข้ามาเรียนโดยได้รบั วีซ่านักเรียนเรียบร้อยแล้ว ทางสถาบันต้องคืนเงิน
ให้กบั นักเรียน หรือถ้าไม่สามารถทําได้ ต้องให้นกั เรียนลงเรียนใน
สถาบันการศึกษาต้องให้ความช่วยเหลือนักเรียนต่างชาติในการปรับตัว หลักสูตรอื่นตามนโยบายประกันค่าเล่าเรียน
ให้เข้ากับการเรียนและการใช้ชวี ติ ในออสเตรเลีย เพือ่ ให้สามารถเรียน
สําเร็จ และมีการเรียนรูต้ ามหลักสูตรทีส่ มัครเข้ามาเรียน นอกจากจะจัด สําหรับข้อมูลรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับการคุม้ ครองและการให้รบั รอง
ให้มเี จ้าหน้าทีใ่ ห้คาํ ปรึกษาอย่างต่อเนื่องแล้ว ทางสถาบันการศึกษาควร ตามกฎหมาย สามารถดูได้ท่ี https://aei.gov.au/regulatory-information
ให้ขอ้ มูลดังต่อไปนี้
“ การปฐมนิเทศ
“ ความก้าวหน้าในการเรียน
“ การศึกษาเพิม่ เติม
“ ทีพ่ กั

เจ้าหน้าทีจ่ ะสามารถช่วยให้ตดิ ต่อกับบุคลากรทางวิชาการ หรือเจ้าหน้าที่


ฝา่ ยบริหาร และกรณีทต่ี อ้ งการความช่วยเหลือใดๆเกีย่ วกับหลักสูตรและ
การลงทะเบียน หรือมีปญั หาส่วนตัวต่างๆ

2.8 การประกันคุณภาพการศึกษา
ออสเตรเลียมีความมุง่ มันที
่ จ่ ะนําเสนอระบบการศึกษาและการฝึกอบรมที่
มีคุณภาพสําหรับนักเรียนต่างชาติ ด้วยเหตุน้รี ฐั บาลออสเตรเลียจึงได้
ออกกฎหมายเพือ่ คุม้ ครองสิทธิของนักเรียน กฎหมายเหล่านี้จะถูกจัด
กลุ่มเข้าด้วยกันภายใต้ชอ่ื กฎหมายการบริการการศึกษาสําหรับนักเรียน
ต่างชาติ (ESOS) ปี 2000 ภายใต้กรอบกฎหมายนี้ ทุกสถาบันการศึกษา
ของออสเตรเลียทีร่ บั นักเรียนต่างชาติทถ่ี อื วีซ่านักเรียน จะต้องมีหลักสูตร
ทีม่ คี ุณภาพ ได้มาตรฐานแห่งชาติในการให้บริการสําหรับนักเรียน และ มี
การจัดการด้านสิง่ อํานวยความสําดวกต่างๆในสถาบัน
ตัวอย่าง เช่น กฎหมาย ESOS เพือ่ การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค กําหนดว่า
หากทางสถาบันการศึกษาไม่สามารถดําเนินหลักสูตรทีน่ กั เรียนได้สมัคร

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >5


3. เตรียมความพร้อมในการเดินทางเพือ่ ศึกษาต่อประเทศ
ออสเตรเลีย
3.1 สิ่ งที่ต้องทาก่อนออกเดิ นทาง 3.2 เอกสารสาคัญ
3.2 เอกสารสาคัญ
เตรียมแฟ้มสําหรับใส่เอกสารสําคัญเพือ่ นําติดตัวไปออสเตรเลีย โดยมี
3.3 การประกันภัย เอกสารต่อไปนี้
3.4 การนาเงิ นสดเข้าออสเตรเลีย “ หนังสือเดินทาง
3.5 ที่พกั ในช่วงแรกที่เดิ นทางมาถึงออสเตรเลีย “ จดหมายยืนยันการออกวีซ่านักเรียน
3.6 น้าหนักของสัมภาระ “ จดหมายตอบรับการเข้าเรียนจากสถาบันการศึกษา
“ เอกสารยืนยันการลงทะเบียนเรียน (eCoE)
3.7 เสื้อผ้าและฤดูกาล “ ใบเสร็จการชําระเงิน (เช่น ค่าเล่าเรียน, ค่าประกันสุขภาพ, หลักฐาน
3.8 ยาตามใบสังแพทย์
่ จากธนาคาร)
3.9 ที่แปลงไฟ และตัวแปลง “ กรมธรรม์ประกันภัย
3.10 การนาเครือ่ งคอมพิ วเตอร์เข้าออสเตรเลีย “ สําเนาหรือต้นฉบับ ใบรับรองผลการเรียน และ ประกาศนียบัตร
“ เอกสารส่วนตัวอื่น ๆ (เช่น สูตบิ ตั ร, บัตรประจําตัวประชาชน, ใบขับขี)่
“ บันทึกทางการแพทย์และยา
“ สําเนาบัตรเครดิต / เดบิต ต่างๆ
3.1 สิ่ งที่ต้องทาก่อนออกเดิ นทาง
“ ชือ่ ของยาตามใบสังแพทย์
่ และชือ่ ทัวไปของยา

□ ทําหนังสือเดินทางและตรวจสอบให้แน่ใจว่าหนังสือเดินทางมี
“ จดหมายรับรองสําหรับการสมัครงานพาร์ทไทม์ หรือ การเช่าทีพ่ กั
อายุครอบคลุมช่วงเวลาทีว่ างแผนทีจ่ ะอยู่ในต่างประเทศ
□ ยืน่ ขอวีซ่านักเรียน ก่อนเดินทาง ควรถ่ายสําเนาเอกสารทัง้ หมดและเก็บไว้ทบ่ี า้ นหนึ่งชุด
□ ติดต่อกับสถาบันการศึกษาทีอ่ อสเตรเลียยืนยันการ เพือ่ คนทีบ่ า้ นจะสามารถส่งสําเนาไปให้ทอ่ี อสเตรเลียได้ในกรณีทเ่ี อกสาร
ลงทะเบียนและวันเปิดเรียน และตรวจสอบว่า ต้นฉบับหาย ขณะเดินทาง ควรเก็บเอกสารทัง้ หมดไว้ในกระเป๋าถือทีน่ ํา
สถาบันการศึกษาหรือวิทยาลัยมีบริการมารับทีส่ นามบิน ขึน้ เครือ่ ง
หรือไม่
□ ฉีดวัคซีนและขอยาประจําตัวจากแพทย์ 3.3 การประกันภัย
□ สมัครบัตรเครดิตและ / หรือ จัดการให้สามารถเบิกถอนเงิน
สําหรับใช้ในออสเตรเลีย ประกันการเดิ นทาง
□ แจ้งธนาคารเพือ่ ยืนยันการเบิกถอนเงินในต่างประเทศ ควรทําประกันภัยการเดินทางเผือ่ ไว้ในกรณีจาํ เป็น ถึงแม้ว่าอาจไม่ม ี
อุบตั เิ หตุใดๆเกิดขึน้ ระหว่างเดินทาง แต่การประกันภัยจะมีประโยชน์ใน
□ จัดการเรือ่ งการเดินทาง รวมทัง้ การประกันการเดินทาง
กรณีทม่ี กี ารยกเลิกเทีย่ วบินหรือกระเป๋าเดินทางสูญหายเนื่องจากอาจทํา
□ แจ้งสถาบันการศึกษาถึงรายละเอียดการเดินทาง
ให้ตอ้ งมีค่าใช้จ่ายและเสียเวลา
□ จัดการเรือ่ งทีพ่ กั อย่างน้อยสําหรับสัปดาห์แรก หรืออาจนาน
กว่านัน้ ประกันสุขภาพ
□ จัดการเรือ่ งการเดินทางจากสนามบินไปยังทีพ่ กั และเตรียม ผูท้ ถ่ี อื วีซ่านักเรียนเข้าประเทศออสเตรเลียจะต้องทําประกันสุขภาพของ
เงินสกุลดอลลาร์ออสเตรเลียให้เพียงพอสําหรับค่าบริการรถ นักเรียนต่างชาติ (OSHC) ซึง่ การประกันนี้จะช่วยคุม้ ครองค่าใช้จ่ายเมือ่
แท็กซีห่ รือโทรศัพท์ในกรณีฉุกเฉิน ต้องพบแพทย์ในช่วงเวลาทีอ่ ยู่ในประเทศออสเตรเลีย ดูท่ี
□ เมือ่ เตรียมกระเป๋าเดินทางเรียบร้อยแล้ว อย่าลืมใส่ชอ่ื และ www.oshcworldcare.com.au สําหรับข้อมูลเกีย่ วข้อง
รายละเอียดของเจ้าหน้าฝา่ ยต่างประเทศของ
สถาบันการศึกษาติดไว้กบั กระเป๋า 3.4 การนาเงิ นสดเข้าออสเตรเลีย
ควรนําเงินสดสกุลดอลล่าร์ออสเตรเลียไปให้พอสําหรับใช้ในช่วงแรกทีอ่ ยู่
ในออสเตรเลีย แต่ไม่ควรนําเงินสดติดตัวไปจํานวนมากเกินไป ควรซื้อ
เช็คเดินทางประมาณ 1,500 - 3,000 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย (ในชือ่ ของ

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >6


นักเรียน) ติดตัวไปเพือ่ ให้สามารถจัดการเรือ่ งค่าใช้จ่ายต่างๆในช่วงแรก 3.8 ยาตามใบสังแพทย์

ได้
หากจะนํายาตามใบสังแพทย์่ เข้าประเทศออสเตรเลีย จะต้องเข้าไปดู
หากนําเงินจํานวนกว่า 10,000 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย หรือเทียบเท่า กฎระเบียบต่างๆทีเ่ ว็บไซต์ Therapeutics Goods Administration
จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าทีศ่ ุลกากรทราบเมือ่ เดินทางเข้าประเทศออสเตรเลีย (TGA) สําหรับข้อมูลทีค่ รบถ้วนเกีย่ วกับชนิดของยาทีไ่ ด้รบั การอนุญาต
สําหรับข้อมูลเพิม่ เติม ดูได้ท่ี www.tga.gov.au และเลือกหัวข้อ ‚For
3.5 ที่พกั ในช่วงแรกที่เดิ นทางมาถึงออสเตรเลีย Travellers & Visitors‛ จากเมนู ‚Consumers‛

นักเรียนชันมั
้ ธยมจะต้องจัดหาทีพ่ กั ล่วงหน้าแบบบ้านพักกับครอบครัว อีกทางเลือกหนึ่งคือการซือ้ ยาตามใบสังแพทย์
่ จากร้านขายยาเมือ่ มาถึง
ชาวออสเตรเลีย โรงเรียนประจํา หรือ อื่นๆในลักษณะคล้ายกัน ส่วน ออสเตรเลียแล้ว สําหรับวิธนี ้จี ะต้องได้รบั ใบสังยาที
่ ถ่ ูกต้องจากแพทย์ใน
นักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย หรือฝึกอบรมวิชาชีพ (TAFE / VET) ออสเตรเลีย
หรือ สถาบันสอนภาษา ควรจัดหาทีพ่ กั ชัวคราวสํ
่ าหรับช่วงแรกทีเ่ ดินทาง
ไปถึงออสเตรเลีย และระหว่างการหาทีพ่ กั ถาวร
3.9 ที่แปลงไฟ และตัวแปลง
สถาบันการศึกษาอาจจะสามารถช่วยหาหอพักและจองทีพ่ กั ออนไลน์ได้ท่ี
ระบบไฟมาตรฐานในออสเตรเลียคือ 240 โวลต์ โดยส่วนใหญ่ เครือ่ ง
www.yha.com.au
คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป และทีช่ าร์จแบตเตอรีส่ าํ หรับโทรศัพท์มอื ถือ
นอกจากนัน้ ยังมีบริการจองทีพ่ กั ทางอินเทอร์เน็ตสําหรับโรงแรมและ เครือ่ งเล่น MP3 และกล้องดิจติ อล จะปรับระดับไฟเป็น 110 หรือ 240
เช่าอพาร์ทเม้นท์แบบระยะสัน้ เช่น www.getaroom.com.au และ โวลต์ โดยอัตโนมัติ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์บางชนิดอาจต้องใช้หม้อ
www.wotif.com แต่โรงแรมในเมืองใหญ่ ๆ อาจมีราคาแพงโดยมีราคา แปลงไฟฟ้าและตัวแปลง
เริม่ ต้นทีป่ ระมาณ 150 ดอลล่าร์ออสเตรเลียต่อคืน
ปลักไฟฟ
๊ ้ าในประเทศออสเตรเลียมีลกั ษณะเป็ นสามหมุดแบน ซึง่ ขาหนึ่ง
เป็นสายดิน อาจจําเป็นต้องซื้อตัวแปลงไฟหรือเปลีย่ นหัวปลักเมื
๊ ่อมาถึง
3.6 น้าหนักของสัมภาระ ประเทศออสเตรเลีย
นํ้าหนักของสัมภาระเมือ่ เดินทางโดยเครือ่ งบินเมือ่ เข้าออสเตรเลียและใน
ประเทศออสเตรเลียนัน้ ทางสายการบินอาจจํากัดนํ้าหนักของสัมภาระไว้ 3.10 การนาเครือ่ งคอมพิ วเตอร์เข้าออสเตรเลีย
น้อยกว่าประเทศอื่นๆ ั บนั คอมพิวเตอร์เป็ นสิง่ สําคัญ แต่ในการนําคอมพิวเตอร์เข้ามายัง
ปจจุ
“ เพือ่ หลีกเลีย่ งค่าธรรมเนียมสําหรับสัมภาระนํ้าหนักเกิน กระเป๋า ออสเตรเลีย ผูเ้ ดินทางจะต้องตระหนักถึงระเบียบศุลกากรของ
เดินทางสําหรับเทีย่ วบินระหว่างประเทศทีเ่ ดินทางไปออสเตรเลียควรมี ออสเตรเลีย หากเดินทางมาเรียนหลักสูตรสัน้ ๆ และไม่ได้ตงั ้ ใจจะอยู่ใน
นํ้าหนักไม่เกิน 23 กิโลกรัม ออสเตรเลียนานกว่า 12 เดือน ศุลกากรออสเตรเลียจะอนุญาตให้นํา
• สําหรับเทีย่ วบินภายในประเทศออสเตรเลีย กระเป๋าจะต้องมีน้ําหนักไม่ คอมพิวเตอร์เข้าเป็นการชัวคราว
่ โดยไม่ตอ้ งจ่ายภาษีอากรหรือภาษี
เกิน 20 กิโลกรัม และควรตรวจสอบกับสายการบินเรือ่ งนํ้าหนักกระเป๋า สินค้าและบริการ (GST) หลักการนี้อาจสามารถใช้ได้ในกรณีทอ่ี ยู่ใน
ก่อนเดินทาง ประเทศน้อยกว่า 24 เดือน ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั เงือ่ นไขต่างๆ รวมทัง้ ค่ามูลค่า
ของเครือ่ งคอมพิวเตอร์
3.7 เสื้อผ้าและฤดูกาล
หากจะอยู่ในออสเตรเลียนานกว่า 24 เดือน และเป็นเจ้าของและใช้เครือ่ ง
นักเรียนออสเตรเลียโดยทัวไปใส่ ่ เสือ้ ผ้าทีไ่ ม่เป็นทางการ โดยพิจารณาถึง คอมพิวเตอร์มานานกว่า 12 เดือนก่อนทีจ่ ะมาถึงประเทศออสเตรเลีย ผู้
ความสะดวกสบายเป็นหลัก ส่วนใหญ่เพือ่ นนักเรียนในมหาวิทยาลัยและ เดินทางจะได้รบั อนุญาตให้นําเครือ่ งเข้าประเทศได้โดยไม่ตอ้ งเสียภาษี
สถาบันต่างๆจะใส่เสือ้ ยืด กางเกงยีนส์ เสือ้ กันหนาวแต่ นักเรียนใน แต่อาจต้องแสดงหลักฐานการซือ้ ทีร่ ะบุวนั และราคาซื้อ ควรนําใบเสร็จติด
โรงเรียนส่วนมากสวมเครือ่ งแบบนักเรียน ฤดูรอ้ นของออสเตรเลียเริม่ ตัวมาด้วย หากคอมพิวเตอร์มมี ลู ค่าสูงกว่า 400 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย
ตัง้ แต่เดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ ฤดูใบไม้ร่วงตัง้ แต่เดือนมีนาคมถึง และมีอายุน้อยกว่า 12 เดือนหรือถ้าไม่มใี บเสร็จ อาจจะต้องจ่ายภาษีใน
เดือนพฤษภาคม ฤดูหนาวเริม่ จากเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม และ อัตราร้อยละ 10
ฤดูใบไม้ผลิจากเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน
เดือนทีร่ อ้ นทีส่ ุดคือเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ หากเดินทางมาถึง ตรวจสอบข้อมูลของสิง่ ของทีอ่ นุญาตให้นําเข้าและห้ามนําเข้าประเทศ
ออสเตรเลียในเดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม ซึง่ เป็นเดือนทีห่ นาวทีส่ ุด ออสเตรเลีย ได้ท่ี www.customs.gov.au หัวข้อ ‚traveller‛ จากเมนูหลัก
ควรนําเสือ้ กันหนาวติดตัวไปด้วย

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >7


4. การเข้าประเทศออสเตรเลีย
4.1 ตรวจคนเข้าเมืองของออสเตรเลีย ให้ชดั เจน ผูท้ ไ่ี ม่ได้แจ้งรายการของต่างๆอย่างตรงไปตรงมาจะเสีย่ งกับ
4.2 การผ่านด่านศุลกากรในออสเตรเลีย การถูกปรับและดําเนินคดีตามกฏหมาย
4.3 เงื่อนไขวีซ่านักเรียน
4.3 เงื่อนไขวีซ่านักเรียนกระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและการเป็น
4.4 การเปลี่ยนแปลงหรือขยายเวลาสาหรับวีซ่านักเรียน พลเมือง (Department of Immigration and Citizenship - DIAC) คือ
หน่วยงานของรัฐบาลออสเตรเลียทีท่ าํ หน้าทีจ่ ดั การทุกอย่างเกีย่ วกับวีซ่า
4.1 ตรวจคนเข้าเมืองของออสเตรเลีย สําหรับนักเรียน นักเรียนจะต้องตระหนักและปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของวีซ่า
ทีไ่ ด้รบั
นักเรียนได้เดินทางมาถึงประเทศออสเตรเลียและกระตือรือร้นทีจ่ ะออก
จากสนามบินไปเผชิญโลกใหม่ แต่ก่อนอืน่ เมือ่ เดินทางมาถึง จะต้อง เงือ่ นไขของวีซ่าเป็นเอกสารแนบอยู่ในจดหมายอนุมตั วิ ซี ่า หรือ อยู่บน
ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองของออสเตรเลีย เจ้าหน้าทีต่ รวจคนเข้าเมืองจะ เอกสารวีซ่า โดยอาจมีเงือ่ นไขพิเศษสําหรับนักเรียนทีไ่ ด้รบั
ขอดูบตั รผูโ้ ดยสารขาเข้าทีก่ รอกรายละเอียดเรียบร้อย (บัตรนี้คอื บัตรที่ ทุนการศึกษา ดังนัน้ หากได้รบั ทุนการศึกษา ควรอ่านและทําความเข้าใจ
ได้รบั บนเครือ่ งบิน) และหนังสือเดินทาง เจ้าหน้าทีต่ รวจคนเข้าเมืองจะ เงือ่ นไขทัง้ หมด สําหรับเงือ่ นไขและข้อบังคับทัง้ หมดของวีซ่านักเรียน
ตรวจสอบเอกสารและอาจจะถามคําถามเล็กน้อยเกีย่ วกับแผนการ อ่านเพิม่ เติมได้ท่ี www.immi.gov.au/students/visa-conditions.htm
เดินทาง นอกจากนี้อาจจะต้องแสดงเอกสารยืนยันการลงทะเบียนเรียน
ด้วย ในแต่ละปี มีนกั เรียนทีล่ ะเมิดกฎหมาย ตัวอย่างเช่น ทํางานเป็นเวลานาน
กว่าทีไ่ ด้รบั อนุญาต หรือ อยู่เกินทีไ่ ด้รบั อนุญาตตามวีซ่า การละเมิดกฎ
4.2 การผ่านด่านศุลกากรในออสเตรเลีย เหล่านี้อาจทําให้ถูกยกเลิกวีซ่า ซึง่ ส่งผลกระทบร้ายแรงทางกฏหมาย
นักเรียนอาจจะต้องออกจากประเทศออสเตรเลียและไม่ได้รบั อนุญาตให้
เมือ่ ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองมาแล้ว จะมาถึงยังส่วนรับกระเป๋าเดินทาง กลับมาภายในสามปีหลังจากทีว่ ซี ่าถูกยกเลิก
และต่อไปยังด่านศุลกากรและตรวจสัมภาระ
4.4 การเปลี่ยนแปลงหรือขยายเวลาวีซ่านักเรียน
ผูเ้ ดินทางมาถึงยังออสเตรเลียจะดําเนินการด้านศุลกากรโดยเดินผ่าน
ทางเดินสองช่อง ช่องสีเขียวสําหรับผูท้ ่ี ‘ไม่มขี องทีต่ อ้ งสําแดง’ ส่วนช่อง หากสถานะของนักเรียนมีการเปลีย่ นแปลง และต้องการทีจ่ ะเปลีย่ น
สีแดงสําหรับผูท้ ่ี ‘มีของทีต่ อ้ งสําแดง‘ หากนําอาหาร, วัสดุพชื และ หลักสูตรหรือสถานศึกษา หรือต้องการอยู่ในประเทศออสเตรเลียนานกว่า
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ติดตัวมาด้วย จะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ สําหรับข้อมูล ทีก่ าํ หนดไว้ ต้องติดต่อทีส่ าํ นักงานของกระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและ
เพิม่ เติมเกีย่ วกับสิง่ ของทีส่ ามารถนําเข้าและห้ามนําเข้าประเทศ การเป็นพลเมือง (DIAC) ทีใ่ กล้ทส่ี ุด เพือ่ ขอคําแนะนําว่าจะต้องทํา
ออสเตรเลีย อ่านเพิม่ เติมได้ท่ี www.daff.gov.au/aqis อย่างไร
ไม่ว่าจะเดินเข้าช่องใด กระเป๋าเดินทางและกระเป๋าถืออาจต้องถูก ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวีซ่ายังไม่หมดอายุในขณะทีอ่ ยู่ในประเทศ
เอ็กซ์เรย์ และตรวจสอบโดยสุนขั ตํารวจ ออสเตรเลีย หากอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียเกิน 28 วันหลังจากวันที่
วีซ่านักเรียนหมดอายุ โดยไม่มกี ารขอต่ออายุวซี ่า อาจไม่ได้รบั อนุญาต
“ หากไม่มขี องทีจ่ ะสําแดง ให้เดินตามช่องสีเขียว
ให้กลับเข้าประเทศเป็นเวลาสามปี หากวีซ่านักเรียนหมดอายุกอ่ นทีจ่ ะ
“ หากมีสงิ่ ของทีจ่ ะต้องสําแดง ให้เดินตามช่องสีแดง
เรียนจบหลักสูตร ควรติดต่อสํานักงานวีซ่าทีใ่ กล้ทส่ี ุด นักเรียนสามารถ
เมือ่ เดินผ่านช่องสีแดงของด่านศุลกากร เจ้าหน้าทีจ่ ะขอให้เปิดกระเป๋า ยืน่ ขอต่อวีซ่าได้หากวีซ่าไม่มเี งือ่ นไข ‘No Further Stay’ หรือ ห้ามอยู่ต่อ
เดินทางเพือ่ ตรวจสอบ หากพิจารณาแล้วว่าสัมภาระผ่านการตรวจสอบ ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงือ่ นไขต่างๆเหล่านี้ ติดต่อ กระทรวงตรวจคนเข้า
จะได้รบั อนุญาตให้นําสิง่ ของนัน้ เข้าประเทศได้ ของทีไ่ ม่ผ่านการ เมืองและการเป็นพลเมือง (DIAC) หรือ ดูท่ี
ตรวจสอบจะถูกยึดไว้และทําลายทิง้ หรืออาจนําไปผ่านการฆ่าเชือ้ โรค www.immi.gov.au/students/visa-conditions.htm
และส่งคืนในภายหลัง
สําหรับข้อมูลเพิม่ เติมดูท่ี http://www.immi.gov.au/students/
ถ้าเข้าช่องสีเขียว ผูเ้ ดินทางอาจจะถูกเจ้าหน้าทีศ่ ุลกากรสุ่มตรวจสอบและ
ขอให้เปิดกระเป๋าเพือ่ ตรวจค้น ออสเตรเลียมีกฎหมายกักกันทีเ่ ข้มงวด
เพราะฉะนัน้ จะต้องแจ้งรายการของทีน่ ําเข้ามาลงในบัตรศุลกากรขาเข้า

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >8


บัญชีดงั กล่าว ต้องแสดงบัตรประจําตัวนักเรียนเพือ่ ยืนยันสถานะนักเรียน
5. ข้อมูลด้านการเงิน ข้อมูลเปรียบเทียบบัญชีของธนาคารทัวประเทศออสเตรเลี
่ ย ดูได้ท่ี
www.banks.com.au
5.1 สกุลเงิ นออสเตรเลีย
ธนาคารส่วนใหญ่จะเปิดตัง้ แต่วนั จันทร์ถงึ วันพฤหัสบดี เวลา 9.00 น. -
5.2 การเปิ ดบัญชีธนาคาร 16.00 น. และ วันศุกร์ เวลา 9.00 น. -17.00 น. (ยกเว้นวันหยุดราชการ)
5.3 บัตรเครดิ ต บางสาขามีการขยายชัวโมงทํ
่ าการในวันธรรมดาและอาจเปิดวันเสาร์
ตรวจสอบรายละเอียดต่างๆได้โดยตรงกับธนาคาร ส่วนเครือ่ ง ATM
5.1 สกุลเงิ นออสเตรเลีย เปิดตลอด 24 ชัวโมง

หน่วยเงินของออสเตรเลีย มีดงั นี้ 5.3 บัตรเครดิ ต


ธนบัตร: 5 ดอลล่าร์, 10 ดอลล่าร์, 20 ดอลล่าร์, 50 ดอลล่าร์, 100 บัตรเครดิตทีเ่ ป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางในประเทศออสเตรเลีย คือ
ดอลล่าร์ บัตรมาสเตอร์การ์ด (MasterCard) และ บัตรวีซ่า (Visa) ร้านค้าปลีกบาง
เหรียญ: 5 เซ็นต์, 10 เซ็นต์, 20 เซ็นต์, 50 เซ็นต์, 1 ดอลล่าร์, 2 ดอลล่าร์ ร้านอาจคิดค่าบริการในการใช้บตั รเครดิต ส่วนใหญ่จะคิดค่าบริการ
ั บนั ออสเตรเลียไม่มเี หรียญ 1 เซ็นต์ หรือ 2 เซ็นต์ เหรียญเหล่านี้
ปจจุ พิเศษสําหรับการใช้บตั รอเมริกนั เอ็กซ์เพรส
ถูกนําออกจากระบบเมือ่ หลายปีก่อน ราคาของในประเทศออสเตรเลียจะ ร้านค้าส่วนใหญ่ยนิ ดีรบั บัตรเครดิต แต่อาจกําหนดวงเงินการใช้จ่ายอย่าง
ยังมีหน่วยหนึ่งเซ็นต์อยู่ (เช่น 2.99 ดอลล่าร์) แต่เมือ่ จ่ายเงิน จํานวนเงิน ตํ่าที่ 10 -15 ดอลล่าร์ ควรตรวจสอบกับธนาคารทีอ่ อกบัตรเครดิตให้ถงึ

จะถูกปดเศษขึ น้ หรือลงไปทีห่ า้ เซนต์ทใ่ี กล้ทส่ี ุด ดังนัน้ ราคา 2 ดอลล่าร์ ค่าบริการสําหรับการทําธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศ
99 เซ็นต์ จะกลายเป็น 3 ดอลล่าร์ และ 12 ดอลล่าร์ 42 เซ็นต์ จะ
กลายเป็น 12 ดอลล่าร์ 40 เซ็นต์

อัตราแลกเปลีย่ นเงินดอลล่าร์ออสเตรเลียสามารถปรับขึน้ ลงได้ใน


ช่วงเวลาสัน้ ๆ เช่นเดียวกับสกุลเงินอืน่ ๆ สามารถดูอตั ราแลกเปลีย่ น
ล่าสุดได้ท่ี www.xe.com

5.2 การเปิ ดบัญชีธนาคาร


นักเรียนต้องแสดงเอกสารประจําตัวเพือ่ เปิดบัญชีธนาคารในประเทศ
ออสเตรเลีย ซึง่ แต่ละประเภทบัญชีจะมี ‘คะแนน’ กําหนดไว้ โดยจะต้องมี
100 คะแนนเพือ่ ยืนยันการมีตวั ตนและผ่านการพิจารณา

หนังสือเดินทางและหลักฐานยืนยันวันทีเ่ ดินทาง นับเป็น 100 คะแนน


หากเปิดบัญชีภายในหกสัปดาห์ทเ่ี ดินทางถึงประเทศออสเตรเลีย แต่ถา้
ขอเปิดบัญชีหลังจากนี้ จะต้องใช้เอกสารเพิม่ เติม การเปิดบัญชีจะต้องมี
ฝากเงินขันตํ
้ ่า (อย่างน้อย 10 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย) นักเรียนอาจ
สามารถเปิดบัญชีทใ่ี ห้ผลประโยชน์พเิ ศษสําหรับนักเรียน ธนาคารหลาย
แห่งมี ‘บัญชีสาํ หรับนักเรียน’ ซึง่ เป็นบัญชีออมทรัพย์ทค่ี ดิ ค่าธรรมเนียม
น้อยมากหรือไม่มคี ่าธรรมเนียมสําหรับการทําธุรกรรมโอนเงิน ในการเปิด

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย >9


6. การทําความคุน้ เคยกับชีวติ ในออสเตรเลีย
6.1 ที่พกั แตกต่างกันไป ค่าเช่ามักจะรวมค่าอาหารไว้แล้ว บางโฮมสเตย์มที ใ่ี ห้
6.2 ประเภทที่พกั ทําอาหารรับประทานเองและมีราคาถูกกว่า
ควรจะจ่ายค่าเช่าโฮมสเตย์พร้อมค่ามัดจํา ซึง่ มักจะคิดเป็นเงินเท่ากับค่า
6.3 การเช่าที่พกั และสัญญาเช่า เช่าต่อสีส่ ปั ดาห์ เมือ่ เดินทางมาถึง (นอกจากว่าจ่ายค่ามัดจําล่วงหน้า
6.4 การซื้ออาหารและของใช้ ก่อนเดินทางแล้ว) ควรเก็บใบเสร็จไว้ทุกครัง้ เมือ่ จ่ายค่าเช่า
6.5 การทาความรูจ้ กั กับเพือ่ นใหม่
โฮสเทล ที่พกั แบบแบ็คแพ็คเกอร์ และ เกสต์เฮาส์
(ประมาณ 90 - 160 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย ต่อสัปดาห์)
6.1 ที่พกั
โฮสเทลส่วนใหญ่ดาํ เนินกิจการโดยองค์กรต่างๆ เช่น YMCA หรือ
การหาทีพ่ กั ทีเ่ หมาะสมเป็นหนึ่งในความท้าทายของนักเรียนต่างชาติท่ี บริหารโดยเอกชนทัวไป่ นักเรียนจะใช้หอ้ งครัวและห้องนํ้าร่วมกัน ทีพ่ กั
เดินทางมาอยู่ใหม่ และการหาทีพ่ กั ในราคาทีพ่ งึ พอใจเป็นเรือ่ งทีย่ ากขึน้ ลักษณะนี้มกั จะเป็นตัวเลือกสําหรับการเข้าพักระยะสัน้
อีก ก่อนเดินทางมาศึกษาต่อยังออสเตรเลีย นักเรียนควรเตรียม
โรงเรียนประจา
ค่าใช้จ่ายให้พร้อมสําหรับค่าเช่าทีพ่ กั ซึง่ มีราคาสูง และสําหรับการค่าเช่า
(ประมาณ 10,000 - 15,000 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย ต่อปี )
ทีพ่ กั ทีอ่ าจมีการปรับราคาสูงขึน้ หากสถาบันการศึกษามีสาํ นักงาน
โรงเรียนมัธยมเอกชนหลายแห่งเป็นโรงเรียนประจํา ประกอบด้วย ทีพ่ กั
ระหว่างประเทศ ควรติดต่อกับเจ้าหน้าทีก่ ่อนล่วงหน้าเพือ่ ศึกษาข้อมูล
อาหาร และบริการซักรีดสําหรับนักเรียนนานาชาติ ค่าเล่าเรียนไม่รวมอยู่
เกีย่ วกับทีอ่ ยู่อาศัยทัง้ ในและนอกสถานศึกษา
ในค่าทีพ่ กั ดังกล่าว ลักษณะหอพักจะเป็นการอยู่รวมกับนักเรียนคน
ทางเจ้าหน้าทีอ่ าจจะสามารถช่วยส่งลิงค์ขอ้ มูลเรือ่ งทีพ่ กั จากเว็บไซต์ของ อื่นๆ โดยแยกชายหญิง และมีผใู้ หญ่คอยดูแล
สถาบันการศึกษา หรือในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงให้ได้ นอกจากนัน้ ควรตรวจสอบ
ที่ พกั ในมหาวิ ทยาลัย
เว็บไซต์ เช่น www.domain.com.au และ www.realestate.com.au
(ประมาณ 150 - 280 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย ต่อสัปดาห์)
รวมถึง www.gumtree.com.au ซึง่ มีขอ้ มูลทีพ่ กั ให้เช่า และห้องสําหรับ
แบ่งให้เช่า เมือ่ เดินทางมาถึงสถานศึกษา ควรดูทบ่ี อร์ดข่าวสารซึง่ อาจมี มหาวิทยาลัย สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพและสถาบันสอนภาษาอังกฤษ
ประกาศให้่เช่าทีพ่ กั หรือหาผูเ้ ช่าร่วม หลายแห่ง มีทพ่ี กั หลากหลายให้เลือก ทัง้ ในมหาวิทยาลัย หรือย่าน
ใกล้เคียง เช่น อพาร์ทเม้นท์ หรือ หอพักของมหาวิทยาลัย ค่าใช้จ่าย
นอกจากนัน้ ควรให้สาํ เนาเอกสารแจ้งยอดบัญชีธนาคารแนบไปด้วยเพือ่ ขึน้ อยู่กบั ประเภทของทีพ่ กั หอพักแบบ ‘Residential colleges’ จะแพง
แสดงให้เห็นว่ามีเงินเพียงพอสําหรับจ่ายค่าเช่าบ้าน กว่าเล็กน้อยเพราะมีทพ่ี กั พร้อมอาหาร นอกจากนัน้ ยังมีสงิ่ อํานวยความ
สะดวก เช่น กีฬาและกิจกรรมด้านสังคม การกวดวิชา ห้องสมุด และห้อง
คอมพิวเตอร์
6.2 ประเภทที่พกั
หอพักแบบ ‘Hall of Residence’ ตัง้ อยู่ในมหาวิทยาลัยหรือบริเวณ
ทีพ่ กั ในออสเตรเลียมีหลายประเภท เพราะฉะนัน้ ควรเลือกแบบที่ ใกล้เคียง มักจะมีราคาถูกกว่าแบบ ‘Residential colleges’ ส่วนใหญ่ทาง
เหมาะสมกับความต้องการ ทีพ่ กั ส่วนใหญ่ ยกเว้นการพักอยู่กบั หอพักจะมีบริการอาหารและทําความสะอาดให้กบั นักเรียน
ครอบครัวชาวออสเตรเลีย จะไม่รวมค่าไฟฟ้า ไม่มเี ฟอร์นิเจอร์ เตียงหรือ
หากสนใจ สามารถสมัครล่วงหน้าได้กบั สถาบันการศึกษา ทีพ่ กั ใน
เครือ่ งครัว ของใช้ในบ้านทีม่ รี าคาย่อมเยาว์จะลงประกาศขายใน
ลักษณะนี้เป็นทีต่ อ้ งการของนักเรียนอย่างมาก และทางมหาวิทยาลัยใน
หนังสือพิมพ์และบนบอร์ดในมหาวิทยาลัย รวมถึงร้านค้าการกุศล และ
ออสเตรเลียไม่สามารถรับประกันได้วา่ จะได้หอ้ งพัก ถึงแม้ว่าจะได้รบั เข้า
ร้านขายของมือสอง เรียนแล้วก็ตาม
นักเรียนสามารถเลือกทีพ่ กั แบบต่างๆได้ ดังต่อไปนี้ ราคาทีก่ าํ กับไว้เป็น
ราคาสําหรับค่าทีพ่ กั เท่านัน้ โดยยังไม่รวมค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 6.3 การเช่าที่พกั และสัญญาเช่า
การพักอยู่กบั ครอบครัวชาวออสเตรเลีย หรือ โฮมสเตย์ การเช่าที่ พกั ร่วมกับผู้เช่ารายอื่น (ประมาณ 100-250 ดอลล่าร์
(ประมาณ 180 - 290 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย ต่อสัปดาห์) ออสเตรเลีย ต่อสัปดาห์) และเช่าที่ พกั เดี่ยว (ประมาณ 250-500 ดอล
โฮมสเตย์คอื การพักอาศัยในบ้านร่วมกับครอบครัวชาวออสเตรเลีย เป็นที่ ล่าร์ออสเตรเลีย ต่อสัปดาห์)
นิยมสําหรับนักเรียนทีม่ อี ายุน้อยและสําหรับผูท้ เ่ี รียนหลักสูตร
ภาษาอังกฤษระยะสัน้ บางบ้านมีหอ้ งเดีย่ วหรือห้องรวมโดยมีค่าใช้จ่ายที่

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 10


นักเรียนต่างชาติสว่ นใหญ่นิยมเช่าบ้านหรือแฟลตสําหรับอยูค่ นเดียวหรือ ระยะเวลาการเช่าและการขึน้ ค่าเช่า: สัญญาเช่ามีทงั ้ แบบคงทีร่ ะยะ

อยู่รว่ มกับคนอื่น อย่างไรก็ตาม ปญหาการขาดแคลนที พ่ กั ให้เช่าใน ยาวหรือระยะสัน้ การเช่าคงทีร่ ะยะยาวมีการระบุเวลาทีแ่ น่นอน ตามปกติ
ออสเตรเลียส่งผลให้ค่าใช้จ่ายของทีพ่ กั เพิม่ ขึน้ และมีการแข่งขันสูง คือ 6 หรือ 12 เดือน ในช่วงเวลานี้ ผูใ้ ห้เช่าไม่สามารถขึน้ ค่าเช่าได้
พระราชบัญญัตกิ ารครอบครองทีอ่ ยู่อาศัยในแต่ละรัฐ ปกป้องสิทธิของทัง้ สัญญาแบบเดือนต่อเดือนจะไม่ระบุวนั ทีส่ น้ิ สุดการเช่าทีช่ ดั เจน ใน
ผูเ้ ช่าและผูใ้ ห้เช่า โดยศาลจะเป็นผูต้ ดั สินข้อพิพาททีเ่ กิดขึน้ ผูเ้ ช่าควร ระหว่างนี้ อาจมีการขึน้ ค่าเช่าได้
ตระหนักในสิทธิ และสามารถค้นหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับกฎหมายการ
เช่า และศาลในรัฐทีอ่ าศัยอยู่ (ดูรายการด้านล่าง) ตัวแทนหาบ้านเช่าจะแจ้งให้ทราบถึงอัตราค่าเช่าทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ แต่ ละรัฐมี
กฎหมายทีแ่ ตกต่างกันในประเด็นนี้ หากมีปญั หาหรือต้องการข้อมูล
ก่อนทีจ่ ะมองหาทีพ่ กั ให้เช่า ควรรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับประเภทของทีพ่ กั เพิม่ เติม ติดต่อ Residential Tenancy Tribunal ของรัฐทีพ่ าํ นักอยู่ (ดู
ค่าใช้จ่าย และสถานทีน่ ่าพักอาศัย สอบถามข้อมูลจากสถาบันการศึกษา รายละเอียดด้านล่าง)
นักเรียนคนอื่น ๆ หรือตัวแทนหาบ้านเช่า และตรวจสอบบอร์ดประกาศ รายงานสภาพบ้าน: เมือ่ ตัวแทนหาบ้านเช่าให้สญ ั ญาเช่าและกุญแจบ้าน
ของมหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์สาํ หรับนักเรียนหรือหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่
เพือ่ ให้เข้าตรวจเช็ค จะต้องให้ใบรายงานสภาพบ้านมาด้วย ซึง่ ใบ
รวมทัง้ เว็บไซต์ทไ่ี ด้กล่าวถึงข้างต้น
รายงานนี้จะมีรายการข้อบกพร่องต่างๆ เช่น รอยแตก รอยคราบบนพรม
การเข้าดูสถานที่พกั และอืน่ ๆ รวมไปถึง สภาพของหลอดไฟ, เครือ่ งทําความร้อน, เครือ่ งใช้
เมือ่ เห็นประกาศโฆษณาทีพ่ กั ให้เช่า ให้ตรวจสอบกับตัวแทนหาบ้านเช่า ในครัวและ ห้องนํ้า
ว่าจะสามารถเข้าดูได้เมือ่ ใด รายงานสภาพบ้านเป็นเอกสารสําคัญในการเช่าบ้าน ถ้าสังเกตเห็นความ
โดยทัวไปแล้
่ วจะไม่ได้รบั อนุญาตให้เช่าหากยังไม่ได้เข้าดูสถานที่ เสียหายของทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ระบุอยู่ในรายงาน จะต้องขอเพิม่ เข้าไปทันที
เมือ่ ต้องการเช่าบ้าน จะต้องแจ้งความจํานงต่อเจ้าของบ้านหรือตัวแทนฯ เพราะเอกสารนี้จะช่วยปกป้องผูเ้ ช่าเมือ่ ย้ายออก ตัวอย่างเช่น ถ้า
แนบสําเนาจดหมายรับรองจากเจ้าของบ้านทีเ่ คยเช่า (ทีป่ ระเทศไทยหรือ สังเกตเห็นรอยขีดข่วนบนพืน้ ซึง่ ไม่มใี นรายงานและไม่ได้ใส่เพิม่ เข้าไป ผู้
เช่าอาจต้องรับผิดชอบในการแก้ไขปญหารอยขีั ดข่วนตอนย้ายออก
ออสเตรเลีย) เพือ่ ให้ทางตัวแทนฯเห็นว่าเป็นผูเ้ ช่าทีด่ ี หากตัดสินใจทีจ่ ะ
เช่าบ้าน จะต้องจ่ายเงินมัดจําซึง่ สามารถเรียกคืนได้ จนกว่าใบสมัคร เนื่องจากไม่มหี ลักฐานว่าไม่ได้เป็นผูก้ ่อความเสียหาย
ได้รบั การอนุมตั ิ และอาจจําเป็นต้องแสดงหลักฐานว่ามีความสามารถใน การตรวจสอบ: เงือ่ นไขดังกล่าวจะระบุอยู่ในสัญญาเช่า ว่าตัวแทนหา
การจ่ายค่าเช่าอีกด้วย บ้านเช่าสามารถเข้าตรวจสอบบ้านได้ โดยมีการแจ้งล่วงหน้า

เมือ่ เข้าไปตรวจดูบา้ นทีจ่ ะเช่า ควรตรวจสอบสภาพบ้านอย่างละเอียด (ดู การบารุงรักษา: เจ้าของบ้านจะต้องรักษาบ้านให้อยู่ในสภาพทีเ่ หมาะสม


รายงานสภาพทีพ่ กั ด้านล่าง) กับการพักอาศัย และมีการซ่อมแซมทีด่ ี ซึง่ รวมถึง การซ่อมท่อนํ้าแตก,

หลังคารัว,่ ปญหาไฟฟ ้ า และความเสียหายสําคัญอื่นๆสัญญาเช่าจะมี
สัญญาเช่า รายละเอียดความรับผิดชอบของเจ้าของบ้านและขัน้ ตอนในการซ่อมแซม
หากได้รบั อนุมตั ใิ ห้เช่าทีพ่ กั ทีต่ อ้ งการ จะต้องทําสัญญาเช่า คือ Tenancy
สาธารณูปโภค: ส่วนใหญ่ผเู้ ช่าจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายสําหรับ แก๊ส,
Agreement เงือ่ นไข ข้อตกลงนี้แตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ แต่ทุกแห่งจะ
นํ้า, ไฟฟ้า และโทรศัพท์ ในช่วงทีเ่ ช่าบ้าน โดยสามารถจ่ายค่าบริการ
ระบุเรือ่ งการชําระเงินค่าเช่าและค่ามัดจํา, สภาพทีพ่ กั , การบํารุงรักษา,
เหล่านี้โดยตรงกับผูใ้ ห้บริการทีเ่ กีย่ วข้อง
การตรวจสอบ, การเปลีย่ นแปลงค่าเช่า และยกเลิกสัญญาเช่า โดยทัวไป ่
กฎหมายของออสเตรเลียปกป้องและให้ความเป็ นธรรมต่อทัง้ ผูเ้ ช่าและ การจบสัญญาเช่า: ทัง้ ผูเ้ ช่าและเจ้าของบ้านมีสทิ ธิจบสัญญาเช่า หากทํา
ผูใ้ ห้เช่า สัญญาเช่าระยะยาว สามารถย้ายออกได้เมือ่ สิน้ สุดสัญญาและไม่ตอ้ งเสีย
ค่าธรรมเนียมใดๆ โดยให้แจ้งเป็นลายลักษณ์อกั ษรว่าจะทําการย้ายออก
ค่ามัดจา: ค่ามัดจําเป็นเงินทีจ่ ่ายเพือ่ เป็นเงินประกัน มักจะอยู่ระหว่างสี่
สัญญาเช่าจะระบุไว้ชดั เจนว่าจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้านานเท่าใด ถ้า
ถึงหกสัปดาห์ของราคาค่าเช่า และจะต้องจ่ายเงินให้กบั ตัวแทนหาบ้าน
เจ้าของบ้านเลือกทีจ่ ะไม่ขยายระยะเวลาการเช่าทัง้ แบบระยะยาวหรือ
เช่าเป็นเงินสด (ไม่ใช่บตั รเครดิตหรือเช็ค) เมือ่ ลงนามในสัญญาเช่า เมือ่
ระยะสัน้ ด้วยเหตุผลใดก็ตาม จะต้องแจ้งให้ผเู้ ช่าทราบล่วงหน้าเช่นกัน
สิน้ สุดการเช่าบ้าน ผูเ้ ช่าควรได้รบั เงินจํานวนนี้คนื ในกรณีทบ่ี า้ นอยู่ใน
ช่วงเวลาของการแจ้งให้ทราบจะแตกต่างกันในแต่ละรัฐ ควรตรวจสอบ
สภาพเหมือนเมือ่ ตอนทีย่ า้ ยเข้า (ความเสือ่ มเล็กๆน้อยๆเป็นทีย่ อมรับได้)
สัญญาเช่าอย่างระมัดระวัง
การเช่า: ราคาค่าเช่าทีร่ ะบุไว้มกั จะเป็นค่าเช่ารายสัปดาห์ ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั
ข้อพิ พาท: หากมีขอ้ พิพาททีไ่ ม่สามารถหาข้อยุตไิ ด้ระหว่างผูเ้ ช่าและ
สัญญาเช่า การจ่ายค่าเช่าจะต้องจ่ายล่วงหน้าทุกสองสัปดาห์หรือเป็น
เจ้าของบ้านหรือตัวแทนหาบ้านเช่า หรือต้องการความคิดเห็น สามารถ
รายเดือน (ในกรณีทเ่ี ป็นการเช่าร่วมกัน อาจถูกขอให้จ่ายค่าเช่าเป็นราย
ติดต่อ Residential Tenancy Tribunal ในรัฐต่างๆได้
สัปดาห์) หากชําระเงินล่าช้า อาจถูกให้ออกจากบ้านและถูกริบเงินมัดจํา
เพือ่ นํามาจ่ายค่าเช่าทีค่ า้ งชําระ

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 11


รัฐนิวเซาธ์เวลส์ www.fairtrading.nsw.gov.au เวลาเปิด-ปิดร้านค้าในประเทศออสเตรเลียมีการควบคุมโดยแต่ละรัฐและ
Office of Fair Trading เขตการปกครอง โดยทัวไป ่ วันและเวลาทําการสําหรับร้านค้าในประเทศ
Tel: 13 32 20 ออสเตรเลีย สําหรับวันจันทร์ถงึ ศุกร์ คือ เวลา 8.00 น. - 17.30 น. โดย
ในวันพฤหัสบดีหรือวันศุกร์ ร้านค้าส่วนใหญ่จะเปิดถึงเวลา 21.00 น.
รัฐวิคตอเรีย www.consumer.vic.gov.au ส่วนวันหยุดสุดสัปดาห์รา้ นค้าส่วนใหญ่ เปิดเวลา 10.00 น. ” 16.00 น.
Consumer Affairs ยกเว้นย่านการค้า ร้านค้าจะปิดช้ากว่า
Tel: 1300 558 181

รัฐควีนส์แลนด์ www.rta.qld.gov.au 6.5 การทาความรูจ้ กั กับเพือ่ นใหม่


Residential Tenancy Authority
การมีเพือ่ นทีค่ อยให้ความช่วยเหลือและใช้เวลาร่วมกัน เป็นส่วนสําคัญที่
Tel: 1300 366 311
จะทําให้นกั เรียนรูส้ กึ สนุกสนานกับการศึกษาเล่าเรียนในออสเตรเลีย
รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย www.docep.wa.gov.au สถานทีท่ ด่ี ที ส่ี ุดทีจ่ ะหาคนทีม่ คี วามสนใจคล้ายๆ กัน มีทงั ้ ใน
Department of Consumer and Employment Protection มหาวิทยาลัย สภานักเรียนนักศึกษา สมาคม คลับ และสโมสรต่างๆ
Tel: 1300 304 054 ตัง้ แต่ชมรมกีฬา เช่น คริกเก็ต, ฮอกกีแ้ ละฟุตบอล, ชมรมการละคร,
วัฒนธรรม, หนังสือ และชมรมภาษาอังกฤษ นอกจากนัน้ ในคณะทีเ่ รียน
รัฐเซาท์ออสเตรเลีย www.ocba.sa.gov.au ส่วนใหญ่ยงั มีสมาคม หรือ ชมรมต่างๆ ซึง่ เป็ นโอกาสทีดีี่ ในการสร้าง
Office of Consumer and Business Affairs สัมพันธ์กบั เพือ่ นใหม่
Tel: 08 8204 9544
วิทยาเขตขนาดใหญ่ จะมีกลุ่มชมรมตามสัญชาติของนักเรียน เช่น
รัฐแทสมาเนีย www.consumer.tas.gov.au มาเลเซีย, อินเดีย, จีน, หรืออินโดนีเซีย นอกจากนัน้ ยังมีองค์กรที่
Consumer Affairs and Fair Trading ประกอบด้วยตัวแทนของนักเรียนต่างชาติในประเทศออสเตรเลียที่
Tel: 1300 65 44 99 เรียกว่า สภานักเรียนนานาชาติ (Council of International Students) อีก
ด้วย
ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่ www.ors.act.gov.au
Office of Regulatory Service สโมสรกีฬาเป็นทีน่ ิยมมากสําหรับชาวออสเตรเลีย และในมหาวิทยาลัย
Tel: 02 6207 3000 หรือใกล้ทพ่ี กั น่าจะมีสโมสรในลักษณะนี้เช่นกัน การเข้าร่วมกิจกรรมกับ
ชุมชนและองค์กรอาสาสมัครต่างๆ เป็นโอกาสดีทจ่ี ะได้พบกับเพือนทีม่ ี
นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่ www.consumeraffairs.nt.gov.au
ความสนใจคล้ายกัน และทําให้ได้รจู้ กั วิถชี วี ติ ของชาวออสเตรเลียมากขึน้
Consumer Affairs
โบสถ์ มัสยิด วัด หรือศาสนสถานอืน่ ๆ จะสามารถช่วยให้รสู้ กึ เหมือนเป็น
Tel: 1800 019 319
ส่วนหนึ่งของชุมชนออสเตรเลีย
6.4 การซื้ออาหารและของใช้ การเข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับประเทศไทย เป็นวิธที ด่ี ใี นการสร้าง
สัมพันธ์และได้รบั ความช่วยเหลือต่างๆ นักเรียนสามารถแนะนําเพือ่ น
เมืองต่างๆในออสเตรเลียมีหา้ งสรรพสินค้า และร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ต่างชาติให้รจู้ กั กับวัฒนธรรมและความเป็นมาของประเทศไทยอีกด้วย
เช่น Kmart และ Target และห้างสรรพสินค้า เช่น ห้าง Myer และ David เว็บไซต์ต่อไปนี้อาจช่วยในการหาองค์กรต่างๆในแต่ละพืน้ ที่
Jones แถบชานเมืองของเมืองใหญ่จะมีหา้ งสรรพสินค้าขนาดใหญ่ และ
ช็อปปิ้งมอลล์ มีรา้ นขายของหลากหลาย ทัง้ ร้านเสือ้ ผ้า, ร้านขาย รัฐนิวเซาธ์เวลส์ www.crc.nsw.gov.au
เครือ่ งใช้ไฟฟ้า, และของใช้ในบ้าน และร้านซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ รัฐวิคตอเรีย www.multicultural.vic.gov.au
เช่น Coles, Woolworths, IGA และ Aldi รัฐควีนส์แลนด์ www.multicultural.qld.gov.au
รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย www.multicultural.online.wa.gov.au
ออสเตรเลียเป็นประเทศทีม่ วี ฒ ั นธรรมหลากหลายและมีชาวต่างชาติ รัฐเซาท์ออสเตรเลีย www.multicultural.sa.gov.au
หลากหลายเชือ้ ชาติเข้ามาพํานักซึง่ จะพบความหลากหลายของอาหาร รัฐแทสมาเนีย www.mcot.org.au
นานาชาติในซุปเปอร์มาร์เก็ตส่วนใหญ่ในออสเตรเลีย นอกจากนี้ยงั มี ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่ www.communitiesonline.org.au
ร้านอาหารขนาดเล็กทีข่ ายอาหารชาติต่างๆ ในขณะทีร่ า้ นอาหารแบบซื้อ นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่ www.mcnt.org.au
กลับบ้าน และร้านอาหารต่างๆทีม่ อี ยูม่ ากมาย ก็มอี าหารรสชาติท่ี
นักเรียนคุน้ เคยให้ได้ลม้ิ ลอง

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 12


สําหรับหมายเลขโทรศัพท์ของประชากรในพืน้ ที่ ห้างร้านและหน่วยงาน
7. การติดต่อสือ่ สาร ของรัฐบาลออสเตรเลีย รหัสพืน้ ทีแ่ ละรหัสประเทศต่างๆ ดูได้ท่ี
www.whitepages.com.au และ www.yellowpages.com.au
7.1 โทรศัพท์
7.2 การโทรไปยังที่ต่างๆ 7.3 การแบ่งเขตเวลาในออสเตรเลีย
7.3 การแบ่งเขตเวลาในออสเตรเลีย GMT +8 ชัวโมง
่ รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย
7.4 คอมพิวเตอร์และอิ นเทอร์เน็ต GMT +9.30 ชัวโมง่ รัฐเซาท์ออสเตรเลีย
7.5 เครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook และ Skype GMT +10.30 ชัวโมง*่ (Daylight นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่ *
7.6 บริการไปรษณี ย์ Saving Time)
GMT +10 ชัวโมง
่ รัฐควีนส์แลนด์
GMT +11 ชัวโมง*
่ (Daylight รัฐนิวเซาธ์เวลส์*
7.1 โทรศัพท์
Saving Time) ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี*่
ออสเตรเลียมีระบบการสือ่ สารทีท่ นั สมัย การโทรศัพท์แบบใช้สายภายใน รัฐวิคตอเรีย*
เขตจะไม่จาํ กัดเวลา และมีค่าบริการประมาณ 40 เซ็นต์ การโทร รัฐแทสมาเนีย*
ระหว่างรัฐและระหว่างประเทศขึน้ อยูก่ บั ผูใ้ ห้บริการ
7.4 คอมพิวเตอร์และอิ นเทอร์เน็ต
ออสเตรเลียมีผใู้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือหลายราย สามารถซือ้ โทรศัพท์
แบบชําระเงินล่วงหน้าหรือเรียกเก็บเงินภายหลัง โทรศัพท์แบบเติมเงิน ออสเตรเลียมีผใู้ ห้บริการอินเทอร์เน็ตหลายราย โดยมีการบริการที่
เป็นตัวเลือกทีด่ สี าํ หรับนักเรียนทีม่ เี งินจํากัด โดยจ่ายเงินซื้อ แตกต่างกันมากทัง้ ค่าใช้จ่ายและความเร็ว ศึกษาการบริการให้รอบคอบ
เครือ่ งโทรศัพท์ (โทรศัพท์แบบการใช้งานธรรมดาสามารถซื้อได้ในราคา สําหรับบริษทั ผูใ้ ห้บริการและการบริการต่างๆ ดูรายละเอียดได้ท่ี
ตํ่ากว่า 100 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย) แล้วเติมเงินเก็บไว้ สามารถใช้ได้หลาย www.broadbandguide.com.au การเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตในออสเตรเลีย
เดือน มีทงั ้ แบบใช้ระบบ dial-up, ระบบสาย, ระบบ ADSL และบรอดแบนด์ผ่าน
ดาวเทียม ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ว่าอยู่สว่ นใดของประเทศ สอบถามข้อมูล
โทรศัพท์มอื ถือแบบเรียกเก็บเงินส่วนใหญ่จะเป็นการให้ฟรี โดยต้องใช้ เพิม่ เติมจากผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต
บริการกับผูใ้ ห้บริการมือถือนัน้ ๆเป็นเวลาสองปี ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ราย
ใหญ่ในประเทศออสเตรเลีย ได้แก่ Telstra, Optus, Virgin Mobile และ เมืองใหญ่ทุกเมืองมีรา้ นอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ นักเรียนสามารถท่องเน็ต ใช้
Vodafone โปรแกรม Skype เพือ่ ติดต่อกับเพือ่ นฝูงและครอบครัวได้อย่างสะดวก
สามารถใช้แล็ปท็อปทีร่ า้ นกาแฟและร้านอาหาร ทีม่ บี ริการ WiFi
7.2 การโทรไปยังที่ต่างๆ ห้องสมุดสาธารณะส่วนใหญ่มบี ริการอินเทอร์เน็ตโดยใช้คอมพิวเตอร์
สาธารณะ หรือใช้บริการอินเตอร์เน็ทไร้สายผ่านเครือ่ งมือสือ่ สารของตน
การโทรออกต่างประเทศ: สําหรับการโทรออกไปต่างประเทศจาก
ออสเตรเลีย กดรหัส (0011) + รหัสประเทศ + รหัสพืน้ ที่ (ถ้ามี) +
หมายเลขโทรศัพท์
7.5 เครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook และ Skype

การโทรภายในประเทศ: สําหรับโทรออกภายในประเทศออสเตรเลีย เช่นเดียวกันกับประเทศอื่นๆในโลก Facebook เป็นเครือข่ายสังคม


ออนไลน์ทม่ี ผี ใู้ ช้มากทีส่ ุดในออสเตรเลีย การโทรระหว่างประเทศทีม่ ี
กดรหัสพืน้ ที่ (หากจะโทรไปยังพืน้ ทีอ่ น่ื หรือ โทรต่างรัฐ) + หมายเลข
ค่าใช้จ่ายน้อยทีส่ ุดคือการใช้บริการเสียงผ่านอินเตอร์เนท (VoIP) เช่น
โทรศัพท์
Skype ผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่มบี ริการนี้และมีผใู้ ห้บริการ
รหัสพืน้ ทีส่ าํ หรับรัฐต่างๆ มีดงั นี้
VoIP โดยเฉพาะอีกด้วย ดูขอ้ มูลเพิม่ เติมจาก www.acma.gov.au
(02) รัฐนิวเซาธ์เวลส์, ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่
(03) รัฐวิกตอเรีย, รัฐแทสมาเนีย
(07) รัฐควีนส์แลนด์ 7.6 บริการไปรษณี ย์
(08) รัฐเซาท์ออสเตรเลีย, รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลียและ
ไปรษณียอ์ อสเตรเลีย หรือ ออสเตรเลียนโพสต์ มีความน่าเชือ่ ถือและมี
นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่
ประสิทธิภาพด้วยการจัดส่งวันถัดไปภายในเมืองเดียวกัน ไปรษณีย์
ออสเตรเลียส่งจดหมายวันละครัง้ ตัง้ แต่วนั จันทร์ถงึ วันศุกร์ สามารถดู
ข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี www.austpost.com.au

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 13


8.3 ห้องสมุด
8. สือ่ , วัฒนธรรม และสังคม
นอกเหนือจากห้องสมุดของสถาบันการศึกษาแล้ว ในแต่ละเมืองยังมี
8.1 โทรทัศน์ บริการห้องสมุดประชาชนอีกด้วย ห้องสมุดส่วนใหญ่จะเปิด 6หรือ 7วัน
ต่อสัปดาห์ โดยมีบริการหนังสือ, ซีด,ี ดีวดี ,ี หนังสือพิมพ์, นิตยสาร,
8.2 หนังสือพิ มพ์
วารสาร และหนังสืออีเลคทรอนิคส์ หรือ e-books และหลายทีม่ บี ริการ
8.3 ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หากห้องสมุดไม่มสี งิ่ ทีต่ อ้ งการ สามารถขอให้เจ้าหน้าทีท่ าํ
8.4 วัฒนธรรมและสังคม เรือ่ งขอยืมมาจากห้องสมุดอื่นได้

การยืมหนังสือหรืออื่นๆไม่มคี ่าใช้จ่ายแต่อย่างใด แต่จะต้องสมัครสมาชิก


8.1 โทรทัศน์
และมีบตั รสมาชิก การคืนของช้าอาจต้องเสียค่าปรับเล็กน้อย
ออสเตรเลียมีฟรีทวี หี า้ ช่อง ออกอากาศผ่านระบบอนาล็อก และ ฟรีทวี ี
กว่า 15 ช่อง ออกอากาศโดยระบบดิจติ อล และมีช่องทีวแี บบจ่ายเงินอีก 8.4 วัฒนธรรมและสังคม
หลายสิบช่อง ออสเตรเลียจะเลิกใช้การออกอากาศโดยระบบอนาล็อก
ภายในปี 2013 ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโทรทัศน์ในประเทศออสเตรเลีย ในประเทศออสเตรเลีย อาจสังเกตเห็นความแตกต่างในวิถชี วี ติ ค่านิยม
ดูได้ท่ี www.dbcde.gov.au/television มารยาท และการให้คุณค่ากับสิง่ ต่างๆ ซึง่ อาจไม่เหมือนกับทีบ่ า้ น ชาว
ออสเตรเลียมีความเป็นกันเอง ซึง่ อาจต้องปรับตัวเพือ่ ให้เกิดความคุน้ เคย
โดยเฉพาะถ้านักเรียนมาจากวัฒนธรรมทีม่ พี ธิ รี ตี อง มีระดับชันวรรณะ

8.2 หนังสือพิ มพ์
เคารพในอํานาจหน้าที่ และมีระเบียบเคร่งครัด สิง่ เหล่านี้ไม่ใช่วฒั นธรรม
หนังสือพิมพ์ The Australian www.theaustralian.news.com.au เป็น ของออสเตรเลีย และทุกคนควรยอมรับความหลากหลายของผูค้ นบน
หนังสือพิมพ์แห่งชาติของออสเตรเลีย รัฐแต่ละรัฐมีหนังสือพิมพ์รายใหญ่ พืน้ ฐานทีเ่ ท่าเทียมกัน ในสถานการณ์ทเ่ี ป็นกันเอง การปรับตัวให้เข้ากับ
ของตัวเอง รวมถึงหนังสือพิมพ์ระดับภูมภิ าคและหนังสือประเภทแทบ วัฒนธรรมและวิถชี วี ติ ใหม่ตอ้ งใช้เวลา ใช้เวลาสังเกตคนรอบข้าง ทัง้
ลอยด์ สามารถค้นหาหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ ได้ท่ี รูปแบบการสือ่ สาร ทัง้ ทางวาจาและการกระทํา การถามเมือ่ ไม่เข้าใจจะ
www.newspapers.com.au หนังสือพิมพ์หลักในแต่ละรัฐมีดงั นี้ ช่วยลดความสับสนหรือความเข้าใจผิด

รัฐนิวเซาธ์เวลส์ ต่อไปนี้เป็นเคล็ดลับบางประการเกีย่ วกับวัฒนธรรมของชาวออสเตรเลีย


The Sydney Morning Herald www.smh.com.au
สรรพนาม/การเรียกผูอ้ ื่น -ชาวออสเตรเลียมักมีชอ่ื แรก ชือ่ รอง และ
รัฐวิคตอเรีย
นามสกุล เมือ่ เรียกคนอายุเท่ากันหรือน้อยกว่า สามารถเรียกโดยใช้ชอ่ื
The Melbourne Age www.theage.com.au
แรก เมือ่ พูดกับคนทีม่ อี ายุมากกว่า ควรเรียก มิสเตอร์ (Mr) มิสซิส
รัฐควีนส์แลนด์
(Mrs) หรือ มิส (Ms) ตามด้วยนามสกุลจนกว่าจะรูจ้ กั กันดี และได้รบั
The Brisbane Courier Mail www.news.com.au/couriermail
อนุญาตให้เรียกชือ่
รัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย
The West Australian www.thewest.com.au ทักทาย - การทักทายอย่างเป็นทางการ ใช้ Good morning, Good
รัฐเซาท์ออสเตรเลีย afternoon และ Good evening ส่วนทักทายอย่างไม่เป็นทางการ ใช้
The Adelaide Advertiser www.news.com.au/adelaidenow hello หรือ hi
รัฐแทสมาเนีย
The Hobart Mercury www.news.com.au/mercury Please และ Thank you - พูด Please เมือ่ ร้องขอบางสิง่ บางอย่าง และ
ออสเตรเลียน แคปิตอล แทริทอรี่ Thank you เมือ่ มีคนทําอะไรให้
The Canberra Times www.canberratimes.com.au
นอร์ทเทิรน์ แทริทอรี่ พืน้ ที่ ส่วนตัว - ออสเตรเลียเป็นประเทศทีม่ ขี นาดใหญ่ทม่ี ปี ระชากร
The Northern Territory News www.ntnews.com.au จํานวนน้อย คนส่วนใหญ่จงึ คุน้ เคยกับการมีพน้ื ทีส่ ่วนตัวค่อนข้างมาก
ไม่บ่อยนักทีจ่ ะต้องยืนไหล่ชนกัน ดังนัน้ พยายามอยู่ห่างจากผูอ้ ่นื
นอกจากนี้ ในออสเตรเลียยังมีการผลิตหนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศ ประมาณหนึ่งช่วงแขน
หลายฉบับ สามารถหาหนังสือพิมพ์เหล่านี้ได้ในชุมชนในบางพืน้ ที่
การแต่งตัว - ชาวออสเตรเลียแต่งตัวแบบสบาย ๆ จะมีการบอก
ล่วงหน้าหากต้องมีการแต่งตัวอย่างเป็นทางการ ทุกคนมีอสิ ระในการ
แต่งตัวในแบบทีเ่ หมาะสมกับวัฒนธรรมและความชอบของตน

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 14


การเข้าคิ ว - ทุกคนต้องต่อแถวเพือ่ รอคิว (เช่น รอแท็กซี,่ รถบัส, ที่
เคาน์เตอร์จาํ หน่ายบัตรโดยสารหรือ จ่ายเงิน) การแซงคิว หรือ ลัดคิว
เป็นการกระทําทีไ่ ม่เหมาะสมและไม่เป็นทีย่ อมรับ

การตรงต่อเวลา - ถ้าไม่สามารถไปตามทีไ่ ด้นดั หมายหรือตามทีร่ บั คํา


เชิญไว้ หรือจะต้องไปช้า ควรแจ้งให้อกี ฝา่ ยทราบก่อนล่วงหน้า

บุหรี่ - ห้ามสูบบุหรีใ่ นอาคารของรัฐบาล บนรถโดยสารสาธารณะ รวมถึง


เทีย่ วบินในประเทศและระหว่างประเทศ, โรงละคร, ห้างสรรพสินค้า และ
สถานทีพ่ บปะทัง้ ในร่มและกลางแจ้ง ร้านอาหารหลายแห่งไม่อนุญาตให้
สูบบุหรีต่ ามทีก่ ฎหมายกําหนด หากจะสูบบุหรี่ ควรขออนุญาตก่อนเสมอ

ความเสมอภาค - บุคคลทุกคนมีสทิ ธิทางสังคม, กฎหมาย และการเมือง


เท่าเทียมกันในประเทศออสเตรเลีย และควรได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเสมอ
ภาค

การบ้วนน้าลาย - การบ้วนนํ้าลายในทีส่ าธารณะเป็นสิง่ ผิดกฎหมายและ


อาจทําให้เกิดความไม่พอใจอย่างมาก

การทิ้ งขยะ - ออสเตรเลียเป็นประเทศทีใ่ ส่ใจต่อสิง่ แวดล้อมและการทิง้


ขยะไม่เป็นที่ ถือเป็นสิง่ ผิดกฎหมาย และอาจถูกปรับ

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 15


ออสเตรเลียมีบริการจากสองสายการบินหลัก และสายการบินต้นทุนตํ่า
9. การเดินทาง อีก 2-3ราย และสายการบินระดับภูมภิ าค สามารถจองตั ๋วผ่านตัวบริษทั
ท่องเทีย่ ว โทรศัพท์หรือผ่านทางอินเทอร์เน็ต
9.1 การขนส่งสาธารณะ
สายการบินหลัก ได้แก่ แควนตัส (Qantas) - www.qantas.com.au และ
9.2 การเดิ นทางระหว่างรัฐ เวอร์จน้ิ ออสเตรเลีย (Virgin Australia) www.virginaustralia.com
9.3 การใช้ยานพาหนะส่วนตัว เชือ่ มโยงเมืองหลวงทัง้ หมดและเมืองใหญ่ๆในภูมภิ าค
9.4 รถแท็กซี่ นอกจากนัน้ เจ็ทสตาร์ (Jetstar) www.jetstar.com.au เป็นสายการบิน
ต้นทุนตํ่าร่วมกับแควนตัส สายการบินต้นทุนตํ่าอีกบริษทั คือ ไทเกอร์
9.1 การขนส่งสาธารณะ แอร์เวย์ส (Tiger Airways) www.tigerairways.com.au บินไปยังเมือง
หลวง และเมืองอื่นๆในภูมภิ าค ในขณะที่ สายการบินเร็กซ์ (Rex) -
ออสเตรเลียมีตวั เลือกมากมายสําหรับการเดินทางในประเทศ ระบบการ www.rex.com.au ให้บริการในเมืองต่างๆของรัฐนิวเซาท์เวลส์ รัฐ
ขนส่งของออสเตรเลียค่อนข้างปลอดภัยและราคาไม่แพง และในบางกรณี วิคตอเรีย และรัฐเซาท์ออสเตรเลีย
ไม่มคี ่าใช้จ่ายใดๆ ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั เมืองแต่ละแห่ง ซึง่ อาจมีทงั ้ รถไฟ, รถ
รถไฟและรถบัสเป็นทางเลือกทีด่ สี าํ หรับการเดินทางระหว่างเมือง ดู
บัส, รถราง และเรือข้ามฟาก
ข้อมูลเพิม่ เติมสําหรับการบริการรถไฟ ค่าตั ๋ว และตารางเวลา ได้ท่ี
www.railaustralia.com.au และสําหรับการเดินรถบัส ดูได้ท่ี
ซิ ดนี ย:์ สําหรับข้อมูลเกีย่ วกับรถโดยสารเรือข้ามฟากและรถไฟ ดูได้ท่ี
www.buslines.com.au
www.131500.com.au

เมลเบิรน์ : สําหรับตารางเวลาของรถบัส, รถไฟ และรถราง, แผนทีแ่ ละ 9.3 การใช้ยานพาหนะส่วนตัว


ค่าโดยสาร ดูได้ท่ี www.metlinkmelbourne.com.au ถ้าต้องอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียเป็นระยะเวลานาน หลายคนอาจ
บริ สเบน: ข้อมูลเกีย่ วกับรถบัสของเมืองบริสเบนและเส้นทางเรือเฟอร์ร่ี ต้องการซื้อยานพาหนะเป็นของตนเอง
และการเชือ่ มต่อไปทีต่ ่างๆ ดูได้ท่ี www.translink.com.au สามารถซื้อจักรยานมือสองได้ในราคาประมาณ 200 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย
เพิ รธ์ : ทรานส์เพิรธ์ ดําเนินกิจการรถโดยสารสาธารณะ รถไฟ และเรือ และรถมือสองสภาพดีมรี าคาตํ่ากว่า 10,000 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย หาก
ข้ามฟาก www.transperth.wa.gov.au ตัดสินใจซือ้ รถยนต์ ผูซ้ ้อื ต้องรับผิดชอบในการลงทะเบียน, ค่าซ่อม, การ
ประกัน, ค่านํ้ามันค่า และค่าบริการอื่นๆ รถยนต์ตอ้ งได้รบั การจด
แอดิ เลด: ข้อมูลเมโทรแอดิเลด มีตารางเดินรถและจําหน่ ายตั ๋วสําหรับรถ ทะเบียนก่อนทีจ่ ะนํามาขับบนท้องถนนได้ ต้องจดทะเบียนในชือ่ ของตน
โดยสาร, รถไฟและรถราง Glenelg www.adelaidemetro.com.au และให้ใบอนุญาตขับรถ พร้อมรายละเอียดทีอ่ ยูอ่ าศัยในออสเตรเลีย แก่
คณะกรรมการการลงทะเบียนรถยนต์ของรัฐ ดูขอ้ มูลการลงทะเบียนได้ท่ ่ี
โฮบาร์ต: สําหรับข้อมูลเพิม่ เติม ดูได้ท่ี www.metrotas.com.au www.australia.gov.au เข้าไปที่ registration and licences จากเมนู
‘Transport’
แคนเบอร์รา: สําหรับข้อมูลเพิม่ เติม ดูได้ท่ี www.action.act.gov.au
หมายเหตุ: มีขอ้ บังคับให้ซ้อื ประกันบุคคลทีส่ ามซึง่ จะครอบคลุมความ
ดาร์วิน: สําหรับข้อมูลเพิม่ เติม ดูได้ท่ี www.nt.gov.au/transport/public
เสียหายให้กบั รถยนต์หรือทรัพย์สนิ ของผูอ้ ่นื หากมีอุบตั เิ หตุ หากวางแผน
การบริการขนส่งสาธารณะในประเทศออสเตรเลียจะเป็นระบบการซือ้ ตั ๋ว จะอยู่ในประเทศออสเตรเลียเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นักเรียน
ดังนัน้ ต้องซือ้ ตั ๋วก่อนทีจ่ ะขึน้ รถบัส, รถราง, รถไฟ หรือเรือข้ามฟาก สามารถขับรถโดยใช้ใบอนุญาตขับรถระหว่างประเทศหรือใบอนุญาตขับ
สามารถซื้อตั ๋วทีส่ ถานีรถไฟ และท่าเรือข้ามฟาก รวมถึงร้านขายหนังสือ รถของประเทศอื่นได้ หากต้นฉบับไม่ได้เป็นภาษาอังกฤษ ต้องพก
และของจิปาถะ ‘News Agencies’ และร้านสะดวกซื้อทีม่ อี ยู่เป็นจํานวน เอกสารฉบับแปลไว้ดว้ ย ถ้าวางแผนทีจ่ ะอยู่นานกว่า 3เดือนจะต้องขอทํา
มาก ใบอนุญาตขับรถของออสเตรเลียโดยการทดสอบหมายเลขรหัสทางหลวง
และระเบียบข้อบังคับ ติดต่อ the Road and Traffic Authority ในแต่ละ
9.2 การเดิ นทางระหว่างรัฐ รัฐสําหรับข้อมูลเพิม่ เติมในการยืน่ ขอใบขับขีแ่ ละกฎระเบียบการใช้ถนน

ออสเตรเลียเป็นประเทศทีม่ อี าณาบริเวณกว้างใหญ่ นักท่องเทีย่ วต่างชาติ สิ่ งสาคัญที่ ควรจาขณะขับรถ


มักจะคิดว่าพวกเขาจะเดินทางจากจากซิดนียไ์ ปเมลเบิรน์ โดยรถบัส “ ออสเตรเลียขับรถด้านซ้ายของถนน (เช่นเดียวกับประเทศไทย)
ประจําทาง ซึง่ ก็สามารถทําได้ แต่ตอ้ งใช้เวลาประมาณ 13 ชัวโมง
่ ส่วน “ การคาดเข็มขัดนิรภัยเป็นข้อบังคับกฎหมาย โดยกฎนี้ใช้กบั ผูโ้ ดยสารที่
ใหญ่จงึ นิยมโดยสารเครือ่ งบินมากกว่า สําหรับเส้นทางภายในประเทศ นังเบาะหลั
่ งเช่นกัน ถ้ามีเข็มขัดนิรภัย ต้องใส่ไว้ตลอดเวลา

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 16


“ เกณฑ์อายุทอ่ี นุญาตให้ขบั รถได้ในออสเตรเลียคือ18 ปี ในบางรัฐ
สามารถขับรถคนเดียวได้เมือ่ อายุครบ 17 ปี ตรวจสอบข้อมูลเพิม่ เติม
ได้ท่ี the Road and Traffic Authority ของแต่ละรัฐ
“ ทุกรัฐมีกฏหมายควบคุมการดืม่ แอลกอฮอล์ขณะขับรถทีเ่ ข้มงวด โดย
อนุญาตให้มแี อลกอฮอล์เพียงร้อยละ 0.05 หากฝา่ ฝื นจะมีบทลงโทษที่
รุนแรง รวมถึงการจําคุก หากดืม่ อย่าขับรถ
“ ความเร็วสูงสุดสําหรับการขับรถในบริเวณทีอ่ ยู่อาศัยจํากัดไว้ท่ี 50
กิโลเมตรต่อชัวโมง
่ และ 110 กิโลเมตรต่อชัวโมงสํ
่ าหรับบนทางหลวง
เว้นแต่มปี ้ ายสัญญาณบอก ตํารวจใช้กล้องเรดาร์เพือ่ ตรวจจับความเร็ว
และคิดค่าปรับในอัตราทีส่ งู มาก
“ ต้องมีใบอนุญาตสําหรับขีม่ อเตอร์ไซค์และจะต้องมีอายุเกิน 18 ปี มี
กฏหมายบังคับให้สวมหมวกกันน็อคขณะขับขี่
“ การใช้โทรศัพท์มอื ถือในขณะขับรถ เป็นการกระทําทีผ่ ดิ กฎหมายใน
ออสเตรเลีย แต่สามารถใช้เทคโนโลยีแบบแฮนด์ฟรี หากฝา่ ฝื นจะถูกปรับ
พอสมควร

9.4 รถแท็กซี่
ในเมืองใหญ่ๆมีรถแท็กซีท่ ม่ี เิ ตอร์จาํ นวนมากและหาได้งา่ ย สามารถ
เรียกใช้บริการรถแท็กซีแ่ ละจองล่วงหน้าทางโทรศัพท์ ผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต หรือรอทีป่ ้ ายจอดรถซึง่ อยู่ตามอาคารการขนส่ง โรงแรมและ
ศูนย์การค้าต่างๆ สามารถโบกเรียกแท๊กซีบ่ นถนนได้ รถทีว่ ่างคือคันที่
เปิดป้ายไฟบนหลังคา

อัตราค่าโดยสารเริม่ จากค่าบริการขัน้ ตํ่าและหลังจากนัน้ คิดตามระยะทาง


ต่อกิโลเมตร

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 17


โรงพยาบาลมีไว้เพือ่ รองรับสถานการณ์ฉุกเฉินเท่านัน้ สามารถไปพบ
10. เกีย่ วกับสุขภาพ แพทย์ในศูนย์แพทย์ (Medical Center) ได้โดยไม่ตอ้ งทําการนัดหมาย
แต่สาํ หรับแพทย์ทวไปหรื
ั่ อ General Practitioners (GP) ในคลีนิก
10.1 ประกันสุขภาพสาหรับนักเรียนต่างชาติ (OSHC) เอกชน ส่วนใหญ่ตอ้ งนัดหมายล่วงหน้า สามารถค้นหารายชือ่ แพทย์หรือ
10.2 การพบแพทย์ ศูนย์การแพทย์ทอ่ี ยู่ใกล้บา้ นได้จากสมุดหน้าเหลือง
www.yellowpages.com.au
10.3 ทันตแพทย์
10.4 ข้อมูลเพิ่มเติ มเกี่ยวกับยาตามใบสังแพทย์
่ ประกันสุขภาพ OSHC จะครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการไปพบแพทย์สว่ น
หนึ่ง แต่ผปู้ ว่ ยอาจจะต้องสํารองจ่าย และนําใบเสร็จมาเบิกจากบริษทั
10.1 ประกันสุขภาพสาหรับนักเรียนต่างชาติ (OSHC) ประกันในภายหลัง

ข้อมูลต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างการพบแพทย์ทศ่ี นู ย์
ออสเตรเลีย มีระบบพิเศษของประกันสุขภาพสําหรับนักเรียนต่างชาติ
แพทย์ และ คลีนกิ เอกชน
เรียกว่า Overseas Student Health Cover (OSHC) นักเรียนต่างชาติ
ต้องซื้อประกันสุขภาพ OSHC ก่อนเดินทางเพือ่ การคุม้ ครองตัง้ แต่ คลีนิกเอกชน ศูนย์แพทย์
เดินทางมาถึออสเตรเลีย กระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและการเป็น ต้องนัดหมายล่วงหน้า และอาจ ไม่ตอ้ งนัดหมายล่วงหน้าเพือ่ ขอ
พลเมือง มีขอ้ บังคับให้ทาํ ประกันสุขภาพ ตลอดระยะเวลาทีถ่ อื วีซ่า ไม่ได้พบแพทย์ในวันเดียวกันกับที่ พบแพทย์ และสามารถพบแพทย์
นักเรียนในประเทศออสเตรเลีย ทางสถาบันการศึกษาอาจมีขอ้ ตกลง โทรศัพท์ไปขอนัดพบ ในศูนย์แพทย์ได้ตลอดเวลา โดย
พิเศษกับผูใ้ ห้บริการประกันสุขภาพรายใดรายหนึ่ง นักเรียนสามารถ ในบางพืน้ ทีข่ องประเทศ อาจต้อง ลงชือ่ ไว้และเจ้าหน้าทีจ่ ะเรียกให้
เลือกประกันสุขภาพกับบริษทั ดังกล่าว หรือบริษทั อืน่ ๆตามทีต่ อ้ งการ รอถึง 2สัปดาห์ เข้าพบแพทย์เมือ่ ถึงคิว ซึง่ อาจใช้
เว็บไซต์ดา้ นล่างเป็นรายละเอียดเกีย่ วกับบริษทั ประกันสุขภาพ เวลาถึง 2-3ชัวโมง่
“ Australian Health Management www.ahm.com.au ค่าใช้จ่ายในการพบแพทย์อยู่ท่ี ศูนย์การแพทย์บางแห่งมีการเรียก
“ BUPA Australia www.overseasstudenthealth.com ประมาณ 50 - 100 ดอลล่าร์ เก็บเงินเฉพาะส่วนต่าง หมายถึง
“ Medibank Private www.medibank.com.au ออสเตรเลีย สําหรับการให้ ผูป้ ว่ ยจ่ายเฉพาะส่วนต่างทีป่ ระกัน
“ OSHC Worldcare www.oshcworldcare.com.au คําปรึกษาเป็นเวลา 20 นาที สุขภาพไม่ครอบคลุม
“ Westfund www.westfund.com.au คลีนิกส่วนใหญ่จะเปิดในช่วงเวลา โดยทัวไป ่ สามารถขอพบแพทย์
“ NIB Health www.nib.com.au ทําการปกติสาํ หรับวันธรรมดา รายเดิมซึง่ คุน้ เคยกับประวัตทิ าง
และบางแห่งอาจเปิดหลังเวลาทํา การแพทย์ได้ เวลาทําการส่วน
การประกันสุขภาพจะช่วยจ่ายค่ารักษาพยาบาล หากนักเรียนเจ็บปว่ ย การรวมทัง้ เช้าวันเสาร์ ก่อน ใหญ่เปิดทุกวัน แต่ก่อนเดินทางไป
ระหว่างศึกษาอยู่ในออสเตรเลีย และครอบคลุมค่าใช้จ่ายสําหรับยาตาม เดินทางไปพบแพทย์ ควร พบแพทย์ ควรตรวจสอบเวลาเปิด
ใบสังแพทย์
่ รถพยาบาลในกรณีฉุกเฉิน ทัง้ นี้ การประกันสุขภาพไม่ ตรวจสอบเวลาเปิดทําการก่อน ทําการก่อน
ครอบคลุมค่าทันตกรรม รักษาสายตา หรือกายภาพบําบัด ถ้านักเรียน
ต่างชาติตอ้ งการประกันทีค่ รอบคลุมการรักษาทีก่ ล่าวมา จะต้องซือ้ 10.3 ทันตแพทย์
ประกันสุขภาพเพิม่ เติม เช่น
“ ประกันสุขภาพเสริม โดยบริษทั ประกันสุขภาพต่างๆ รายชือ่ ทันตแพทย์ มีอยู่ในสมุดหน้าเหลือง ประกันสุขภาพ OSHC อาจ
• ประกันภัยสําหรับการเดินทางระหว่างประเทศ หรือ ครอบคลุมค่าใช้จ่ายส่วนหนึ่งในการพบทันตแพทย์ ต้องศึกษากรมธรรม์
• ประกันภัยทัวไปของบริ
่ ษทั ประกันสุขภาพเอกชนต่างๆของออสเตรเลีย ให้ละเอียดเพือ่ ให้ทราบว่าประกันสุขภาพคุม้ ครองการรักษาชนิดใดบ้าง

สามารถหารายชือ่ ของบริษทั ประกัน ได้ท่ี www.privatehealth.gov.au 10.4 ข้อมูลเพิ่มเติ มเกี่ยวกับยาตามใบสังแพทย์



หรือ www.iselect.com.au
รัฐบาลออสเตรเลียมีกฎระเบียบทีเ่ ข้มงวดในการรักษาทางการแพทย์
10.2 การพบแพทย์ เพือ่ การปกป้องสุขภาพ และทําให้ยากต่อการนํายาตามใบสังแพทย์
่ ไปใช้
ผิดวัตถุประสงค์ ในประเทศออสเตรเลีย แพทย์จะเป็นผูเ้ ขียนใบสังยา ่
แพทย์ในออสเตรเลียเป็นผูท้ ม่ี คี วามรูแ้ ละความเชีย่ วชาญ และผูป้ ว่ ยจะ เภสัชกรทําหน้าทีจ่ ่ายยาตามใบสังแพทย์
่ และผูป้ ว่ ยจะต้องเซ็นต์ชอ่ื
ได้รบั การดูแลทีด่ เี ยีย่ มในสภาพแวดล้อมทีส่ ะอาดและมีสุขอนามัยทีด่ ี ใน รับรองยาทีเ่ ภสัชกรจ่ายให้
สถานการณ์ทวไป ั ่ นักเรียนควรปรึกษาแพทย์ในศูนย์แพทย์ หรือ คลีนิก
เอกชน ยกเว้นในสถานการณ์ทอ่ี นั ตรายถึงชีวติ ห้องฉุกเฉินของ

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 18


11. การทํางานในประเทศออสเตรเลีย
11.1 การอนุญาตให้ทางาน หนังสือพิ มพ์: www.newspapers.com.au มีรายชือ่ ของหนังสือพิมพ์
11.2 ประเภทของงาน หลักของออสเตรเลีย สามารถเลือกรัฐหรือเขตปกครองพิเศษทีพ่ าํ นักอยู่
เพือ่ เรียกดูฐานข้อมูลของหนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ มีการประกาศ
11.3 การหางาน
ตําแหน่งงานว่างในหัวข้อ ‚Help Wanted‛ หรือ ในหน้าหางาน
11.4 ภาษี
11.5 การคืนเงิ นภาษี บอร์ดประกาศของมหาวิ ทยาลัย: มหาวิทยาลัยในออสเตรเลียส่วน
ใหญ่ม ี สํานักงานบริการหางาน โดยมีประกาศรับสมัครงานจากผูจ้ า้ งงาน
11.6 เงิ นสะสม
ทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง
11.7 สิ ทธิ และความรับผิดชอบในสถานที่ทางาน
11.8 การจ่ายค่าจ้าง รัฐบาลออสเตรเลียรวบรวมรายชือ่ ตําแหน่งงานว่าง โดยดูได้จาก
www.jobsearch.gov.au/KeyLinks/Pages/JobBoards/aspx
11.1 การอนุญาตให้ทางาน
11.4 ภาษี
หากถือวีซ่านักเรียน นักเรียนมีสทิ ธิที์ จ่ ะทํางานขณะพํานักอยู่ในประเทศ
ออสเตรเลีย ทัง้ นี้ สิทธิดงั กล่าวมีเงือ่ นไขหลายประการ เช่น ทุกคนทีท่ าํ งานในประเทศออสเตรเลียจะต้องจ่ายภาษี และจํานวนภาษีท่ี
“ ต้องเริม่ เรียนหลักสูตรทีล่ งทะเบียนไว้ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ทํางาน จ่ายขึน้ อยู่กบั รายได้ของแต่ละคน ระบบภาษีของออสเตรเลียดําเนินการ
“ ทํางานได้ไม่เกิน 40 ชัวโมงต่
่ อ 2 สัปดาห์ในช่วงเปิดภาคเรียน และ ไม่ โดย สํานักงานสรรพากรออสเตรเลีย (ATO) ผูม้ รี ายได้มหี น้าทีข่ อ
จํากัดชัวโมงในช่
่ วงปิดภาคเรียน หมายเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษี (TFN) เพือ่ ให้สามารถทํางานใน
“ สามารถทํางานได้ ต่อเมือ่ กระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและการเป็น ออสเตรเลียได้ หมายเลขดังกล่าวเป็นหมายเลขประจําตัวเพือ่ การเสีย
พลเมือง (DIAC) ได้พจิ ารณาแล้วว่าหลักสูตรเป็ นแบบ ‘In Session’ - ภาษีโดยเฉพาะ ซึง่ ทางนายจ้างจะให้กรอกแบบฟอร์มการเสียภาษีเมือ่
หมายถึง อยู่ในช่วงภาคการศึกษาตามทีไ่ ด้ประกาศไว้ (รวมถึงระยะเวลา เริม่ ต้นทํางาน หากไม่ได้ให้หมายเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษี ผูท้ าํ งานจะถูก
ช่วงสอบ) หักภาษีในอัตราสูงสุดของภาษีรายได้ส่วนบุคคล ซึง่ หมายความว่าจะ
ได้รบั ค่าจ้างน้อยลง
ศึกษาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงือ่ นไขการทํางานของวีซ่านักเรียนได้ท่ี
www.immi.gov.au/students สําหรับข้อมูลเพิม่ เติมเรือ่ งภาษีสามารถดูได้ท่ี www.ato.gov.au

11.2 ประเภทของงาน 11.5 การคืนเงิ นภาษี

นักเรียนต่างชาติสว่ นใหญ่มกั จะทํางานตามร้านค้า งานด้านการบริการ ถ้าจ่ายภาษีเกินอัตราทีก่ าํ หนด ผูม้ รี ายได้มสี ทิ ธิทจ่ี ะขอรับเงินคืน โดย
และงานด้านจัดการ ค่าจ้างจะขึน้ อยู่กบั ชนิดของงานทีท่ าํ และอายุของผู้ จะต้องยืน่ แบบฟอร์มการขอคืนเงินภาษี ซึง่ สามารถยืน่ ออนไลน์ผ่าน e-
ทํางาน ซึง่ อาจได้รายได้มากขึน้ สําหรับการทํางานในวันอาทิตย์หรือ tax (ไม่มคี ่าใช้จ่าย) ส่งจดหมายขอคืนภาษี หรือจ้างตัวแทนยืน่ ภาษีท่ี
วันหยุดราชการ การสอนหนังสือให้นกั เรียนทีม่ อี ายุน้อยกว่าในวิชาที่ ได้รบั การรับรองให้ดาํ เนินการแทน หากยืน่ ภาษีโดยใช้ e-tax จะได้รบั
เรียน หรือสอนภาษาทีถ่ นัด เป็นวิธหี ารายได้พเิ ศษซึง่ มีรายได้ดี ติวเตอร์ เงินคืนภายใน 14 วัน การยืน่ ขอคืนภาษีจะทําในช่วงปลายปีภาษีของ
หรือผูช้ ่วยสอนสามารถทํารายได้ถงึ 40 ดอลล่าร์ออสเตรเลียต่อชัวโมง ่ ออสเตรเลียซึง่ จะเริม่ ตัง้ แต่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 มิถุนายน สามารถยืน่
ออนไลน์โดยใช้ e-tax ได้ท่ี www.ato.gov.au
11.3 การหางาน
11.6 เงิ นสะสม
การหางานทําในประเทศออสเตรเลียมีหลายวิธี
เงินสะสมเป็นเงินบํานาญ / โครงการเกษียณอายุของออสเตรเลีย หาก
การหางานออนไลน์ : ส่วนใหญ่ตําแหน่งงานว่างในออสเตรเลียจะมีการ รายได้ต่อเดือนมากกว่า 450 ดอลล่าร์ออสเตรเลีย นายจ้างจะต้องจ่ายเงิน
ประกาศทางเว็บไซต์ สามารถดูได้ท่ี www.seek.com.au, ไม่น้อยกว่าร้อยละ 9 ของเงินเดือนเข้ากองทุนสะสมในบัญชี ส่วนใหญ่จะ
www.mycareer.com.au, www.careerone.com.au หรือ สามารถเบิกถอนเงินได้เมือ่ เดินทางออกจากประเทศออสเตรเลียอย่าง
www.studyandwork.com.au นอกจากนี้ สํานักงานฝา่ ยต่างประเทศของ ถาวร อย่างไรก็ตามเงินสะสมจะต้องถูกหักภาษี ตรวจสอบสิทธิ ์ในการ
สถาบันการศึกษาอาจมีคาํ แนะนําเพิม่ เติม เรียกคืนเงินสะสมและการชําระเงินได้ท่ี www.ato.gov.au

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 19


“ การจ่ายเงินค่าจ้างต้องจ่ายเป็นประจํา ลูกจ้างชัวคราวและไม่
่ ประจําจะ
11.7 สิ ทธิ และความรับผิดชอบในสถานที่ทางาน ได้รบั ค่าจ้างเป็นรายสัปดาห์ หรือ สองสัปดาห์ ตามชัวโมงการทํ
่ างานที่
ทําไปแล้ว นันคื่ อจะได้รบั เงินค้างชําระไม่ใช่เงินล่วงหน้า
ก่อนทีจ่ ะเริม่ ต้นทํางาน ควรศึกษาเรือ่ งสิทธิตามกฎหมายในฐานะ “ สลิปการจ่ายเงินค่าจ้าง ต้องมีขอ้ มูลของนายจ้าง (รวมถึงหมายเลข
พนักงานและหน้าทีร่ บั ผิดชอบทีม่ ตี ่อนายจ้าง การทีเ่ ป็นนักเรียนต่างชาติ ธุรกิจออสเตรเลียหรือ ABN), จํานวนชัวโมงการจ้
่ างงาน ภาษี ค่ากองทุน
ไม่ได้หมายความว่าจะไม่ได้รบั สิทธิต่างๆ เท่าเทียมกับผูอ้ ่นื สามารถหา เงินสะสม และ จํานวนเงินค่าจ้าง
ข้อมูลเพิม่ เติมได้จาก www.fairwork.gov.au หรือ โทร 13 13 94 “ ไม่ควรต้องถูกหักเงินเพือ่ จ่ายทดแทนสิง่ ต่างๆ เช่น ลูกค้าไม่ยอมชําระ
เงิน
11.8 การจ่ายค่าจ้าง “ ควรได้รบั เงินค่าจ้างในช่วงทดลองงาน
“ หากทํางานในวันหยุดสาธารณะ ควรจะได้รบั ค่าแรงเพิม่ ขึน้ สําหรับวัน
นักเรียนมีสทิ ธิทจ่ี ะได้รบั ค่าจ้างตามอัตราจ้างขัน้ พืน้ ฐาน ตามเกณฑ์อายุ ดังกล่าว อาจได้รบั ค่าจ้างในอัตราทีส่ งู กว่าปกติสาํ หรับการทํางานใน
และลักษณะงาน นายจ้างส่วนใหญ่จะจ่ายค่าจ้างในอัตราทีส่ งู กว่าอัตรา วันหยุดสุดสัปดาห์
ขันพื
้ น้ ฐาน ประเด็นทีค่ วรทราบมีดงั ต่อไปนี้
“ นายจ้างจะต้องจ่ายเงินให้ในอัตราทีถ่ ูกต้องและยึดตามชัวโมงการ ่ หากต้องการความช่วยเหลือ สอบถามเรือ่ งการจ้างงาน หรือมีขอ้ พิพาท
ทํางาน ต่างๆ สามารถติดต่อได้ท่ี www.fairwork.gov.au หรือ โทร 13 13 94

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 20


12. ความปลอดภัยและกฎหมาย
12.1 การเคารพกฎหมาย การเดินทางกลับบ้านตอนกลางคืนโดยแท็กซีเ่ ป็นวิธหี นึ่งทีป่ ลอดภัย
12.2 ความปลอดภัยส่วนบุคคล อย่างไรก็ตาม ผูโ้ ดยสารควรระมัดระวังทุกครัง้ ทีเ่ ดินทางโดยรถสาธารณะ
หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินของออสเตรเลียคือ 000 (ศูนย์ ศูนย์ ศูนย์) ซึง่
เป็นเบอร์ทโ่ี ทรได้จากโทรศัพท์ทุกประเภทในออสเตรเลีย รวมถึง
12.1 การเคารพกฎหมาย โทรศัพท์มอื ถือ โดยไม่มคี ่าใช้จ่าย (สําหรับโทรศัพท์ดจิ ติ อลรุน่ ใหม่ ผูใ้ ช้
สิง่ สําคัญในการใช้ชวี ติ ในออสเตรเลีย คือ นักเรียนต้องตระหนักและ อาจต้องกดหมายเลข 112 ซึง่ เป็นหมายเลขฉุกเฉินตามมาตรฐานสากล
ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฏระเบียบต่างๆ วีซ่านักเรียนจะมีการลงนาม สอบถามผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือสําหรับการโทรออก 000 ในเหตุ
ในเอกสารทีเ่ รียกว่า ‚Australian Value Statement‛ ซึง่ หมายถึงนักเรียน ฉุกเฉิน)
ยินยอมทีจ่ ะเคารพและปฏิบตั ติ ามกฎหมายของประเทศออสเตรเลีย ควรจะโทร 000 เมือ่ เผชิญสถานการณ์ทค่ี ุกคามต่อชีวติ และต้องการ
ระหว่างพํานักอยู่ในประเทศ หากมีการละเมิดกฏหมาย (รวมถึง ความช่วยเหลือของตํารวจ ดับเพลิง หรือบริการรถพยาบาล ซึง่ รวมถึง
กฎหมายของรัฐและเขตปกครองตนเอง) จะส่งผลให้ถูกปรับ ยกเลิกวีซ่า กรณีทพ่ี บเห็นการก่อเหตุอาชญากรรม ถ้าไม่ได้เป็นกรณีฉุกเฉิน ไม่
และถูกส่งกลับประเทศของตน การประกอบอาชญากรรมร้ายแรงมีโทษ ควรใช้เบอร์โทร 000 อาทิ นักเรียนเป็นหวัดและต้องพบแพทย์ หลงทาง
ถึงจําคุก สามารถศึกษากฎหมายออสเตรเลียได้ท่ี หรือไม่มกี ุญแจและไม่สามารถเข้าบ้านได้
www.nla.gov.au/oz/law/html
หากต้องโทร 000 แต่พดู ภาษาอังกฤษไม่คล่อง ก่อนอื่นต้องบอก
12.2 ความปลอดภัยส่วนบุคคล โอเปอร์เรเตอร์ว่าต้องการความช่วยเหลือประเภทใด (ตํารวจ รถดับเพลิง
หรือรถพยาบาล) และระบุภาษา เจ้าหน้าทีจ่ ะโอนสายไปยังบริการแปล
ออสเตรเลียเป็นประเทศสําหรับการศึกษาต่อทีม่ คี วามปลอดภัยและมี และล่าม ระหว่างนัน้ ไม่ตอ้ งวางสาย ล่ามจะเป็นผูส้ อบถามรายละเอียด
อัตราการเกิดอาชญากรรมทีต่ ่าํ มาก อย่างไรก็ตาม ต้องมีความระมัดระวัง ให้กบั ตํารวจ เจ้าหน้าทีด่ บั เพลิง หรือรถพยาบาล
และตระหนักรูถ้ งึ สภาพแวดล้อมและสถานการณ์รอบๆตัวเพือ่ หลีกเลีย่ ง
พืน้ ทีแ่ ละกิจกรรมทีอ่ นั ตราย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเวลากลางคืน ใน ในขณะทีก่ าํ ลังรอคอยการช่วยเหลือ พยายามอยู่ในความสงบและไม่ทาํ
สถานทีเ่ ดียวกันอาจมีความแตกต่างในช่วงกลางวันและกลางคืน ความ อะไรทีจ่ ะทําให้ตนเองหรือผูอ้ ่นื ตกอยู่ในอันตราย โดยทัวไปแล้่ ว
แตกต่างนี้สามารถมีผลกระทบต่อความรูส้ กึ ได้ ถึงแม้จะเป็นทีเ่ ดียวกันก็ เจ้าหน้าทีจ่ ะเดินทางมาถึงอย่างรวดเร็ว และวิธที ด่ี ที ส่ี ุดคือให้เจ้าหน้าที่
ตาม เป็นผูร้ บั มือกับสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้
รถโดยสารสาธารณะในประเทศออสเตรเลียมีความปลอดภัย แต่กย็ งั ควร
ระมัดระวังตัว
“ เก็บของไว้กบั ตัวตลอดเวลา
“ เก็บของมีค่า เช่นกระเป๋าสตางค์ ในทีท่ ป่ี ลอดภัย
“ หากต้องเดินทางในเวลากลางคืน ควรมีเพือ่ นไปด้วย และหากเป็นไป
ได้ให้นงใกล้
ั ่ กบั คนขับรถ
“ หากทําได้ ควรเดินไปสถานีรถไฟ รถบัส หรือกลับบ้าน ในทีท่ ม่ี แี สง
สว่างและมีคนพลุกพล่าน
“ ระแวดระวังถึงสภาพแวดล้อมรอบตัว สังเกตผูโ้ ดยสารคนอื่นๆ
หากมีใครทําให้คุณอึดอัดหรือถูกคุกคาม ให้แจ้งคนขับ กดปุ่มฉุกเฉินหรือ
คันโยกทีจ่ ะหยุดรถ หรือตะโกนขอความช่วยเหลือ
“ ใช้ความระมัดระวังเมือ่ อยู่ทส่ี ถานีรถไฟ รถราง และป้ายรถประจําทาง
อย่ายืนเตร็ดเตร่อยูต่ ามสถานีรถไฟหรือสถานีรถประจําทางในเวลา
กลางคืน ถ้าต้องใช้บริการรถสาธารณะในเวลากลางคืน ให้ตรวจสอบ
ตารางเวลาและพยายามมาให้ใกล้เคียงเวลาเพือ่ จะได้ไม่ตอ้ งรอนาน
ตูร้ ถไฟทีใ่ กล้คนขับทีส่ ุด เป็นตูท้ เ่ี ปิดให้บริการสําหรับผูโ้ ดยสารและจะ
เปิดไฟไว้

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 21


หากต้องการทํางานในประเทศออสเตรเลียเมือ่ จบการศึกษา กิจกรรม
13. การกลับบ้าน นอกหลักสูตร เช่นการทํางานเพือ่ ชุมชน งานอาสาสมัคร หรือการมีส่วน
ร่วมในทีมกีฬา ถือเป็นกิจกรรมทีจ่ ะได้รบั การพิจารณาเป็นพิเศษจาก
13.1 การวางแผนอนาคต นายจ้างในออสเตรเลีย โดยเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการ
13.2 สมาคมศิ ษย์เก่า ทํางานเป็นทีม การเป็นผูน้ ํา และการมีความคิดริเริม่

นอกจากนี้ควรขอจดหมายรับรองจากหน่วยงานทีค่ ุณทํางานในระหว่าง
13.1 การวางแผนอนาคต เรียนหนังสือ รวมทัง้ จดหมายรับรองด้านวิชาการจากอาจารย์ ข้อมูล
เพิม่ เติมเกีย่ วกับการวางแผนอาชีพสามารถดูได้ท่ี
คุณวุฒกิ ารศึกษาจากออสเตรเลียจะเตรียมให้ผเู้ รียนพร้อมเผชิญกับความ www.graduatecareers.com.au
ท้าทายต่างๆทีจ่ ะเข้ามาในชีวติ

เมือ่ ใกล้จบการศึกษา จะต้องเตรียมตัวสําหรับการทํางานโดยศึกษาตลาด 13.2 สมาคมศิ ษย์เก่า


งานในประเทศของตน หรือมองหาทีโ่ อกาสการทํางานในประเทศอื่น ๆ
นักเรียนต่างชาติทม่ี าเรียนในสถาบันการศึกษาออสเตรเลียถือเป็นศิษย์
สํานักงานฝา่ ยต่างประเทศของมหาวิทยาลัย จะสามารถแนะนําและให้
เก่าออสเตรเลีย ในประเทศต่างๆทัวโลก ่ อาจมีสมาคมศิษย์เก่าที่
ความช่วยเหลือเกีย่ วกับการวางแผนเรือ่ งงาน ทัง้ ในออสเตรเลียและ
มหาวิทยาลัยจัดตัง้ ขึน้ หรือเครือข่ายศิษย์เก่าออสเตรเลีย สมาคมศิษย์
ต่างประเทศได้ สํานักงานฝา่ ยต่างประเทศส่วนใหญ่มขี อ้ มูลจากกระทรวง
เก่าออสเตรเลียสามารถ
ตรวจคนเข้าเมืองและการเป็นพลเมือง (DIAC) ในประเด็นการย้ายมาอยู่
“ ช่วยกระชับความสัมพันธ์ทงั ้ ด้านส่วนตัว, ธุรกิจ, องค์กร, สถาบัน และ
ทีอ่ อสเตรเลีย การขอเป็นพลเมืองถาวร (Permanent Residency) และ
เชือ่ มโยงมิตรภาพระหว่างเพือ่ นทีเ่ คยคบหากันเมือ่ ศึกษาอยู่ท่ี
การขอสัญชาติออสเตรเลีย หลายสถาบันจัดให้มงี านพบปะกับผูจ้ า้ งงาน
ออสเตรเลีย
สําหรับนักเรียนต่างชาติ โดยมีหน่วยงานของออสเตรเลียและหน่วยงาน
“ ช่วยสร้างโอกาสทางธุรกิจและอาชีพการงาน ทัง้ ในประเทศไทยและ
ระหว่างประเทศทีส่ นใจนักเรียนต่างชาติ กิจกรรมเหล่านี้จะช่วยให้
อื่นๆ
นักเรียนมีมมุ มองทีก่ ว้างขึน้ เกีย่ วกับโอกาสในการทํางาน และใช้เพือ่
“ ช่วยผสานความเข้าใจและการช่วยเหลือซึง่ กันและกันในกลุ่มนักเรียนที่
พิจารณาประเด็นสําคัญอื่นๆ เช่น สิทธิในการยื์ น่ ขอวีซ่า
มีประสบการณ์คล้ายกันในการจากบ้านไปเรียนทีป่ ระเทศออสเตรเลียและ
การบริการแนะนําอาชีพและงาน ทีส่ ถาบันการศึกษาจัดขึน้ จะช่วยให้ กลับมาในฐานะศิษย์เก่า
นักเรียนเข้าถึงข้อมูลและสามารถเขียนประวัตกิ ารทํางานได้อย่างน่าสนใจ
รวมถึงช่วยฝึกทักษะการสัมภาษณ์งาน นอกจากนัน้ นักเรียนอาจสมัคร
เป็นอาสาสมัครและขอฝึกงานในช่วงทีก่ าํ ลังศึกษาอยู่ ซึง่ จะช่วยพัฒนา
ทักษะเพือ่ ความก้าวหน้าการประกอบอาชีพในอนาคต

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 22


14. ลิงค์ทม่ี ปี ระโยชน์และข้อมูลต่างๆ
14.1 การใช้ชีวิตและการศึกษาในออสเตรเลีย “ Overseas Student Health Cover (OSHC) การประกันสุขภาพของ
14.2 หมายเลขสาคัญ นักเรียนต่างชาติ
14.3 อภิ ธานศัพท์
14.4 กรณี ฉุกเฉิ น

14.1 การใช้ชีวิตและการศึกษาในออสเตรเลีย 14.4 ในกรณี ฉุกเฉิ น


“ รัฐบาลออสเตรเลีย www.australia.gov.au หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินของออสเตรเลียคือ 000 สามารถโทรออกได้
“ การศึกษาในประเทศออสเตรเลีย www.studyinaustralia.gov.au จากโทรศัพท์ทุกประเภทในออสเตรเลียโดยไม่มคี ่าใช้จ่าย รวมถึงจาก
“ ระบบการศึกษาในออสเตรเลีย www.education.gov.au โทรศัพท์มอื ถือ
“ กระทรวงการต่างประเทศและการค้า (สําหรับข้อมูลเพือ่ ติดต่อสถาน
เอกอัครราชทูตประเทศ) www.dfat.gov.au ควรจะโทร 000 เมือ่ เผชิญสถานการณ์ทค่ี ุกคามต่อชีวติ และต้องการ
“ กระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและการเป็นพลเมือง (สําหรับข้อมูลตรวจคน ความช่วยเหลือของตํารวจ รถดับเพลิง หรือบริการรถพยาบาล ซึง่ รวมถึง
เข้าเมืองและการขอวีซ่า) www.immi.gov.au กรณีทพ่ี บเห็นการก่อเหตุอาชญากรรม ผูต้ ดิ ต่อทีม่ ปี ญั หาการได้ยนิ และ
“ ศุลกากรออสเตรเลีย (สําหรับข้อมูลเกีย่ วกับสิง่ ทีอ่ นุญาตให้นําเข้ามาใน การพูด ติดต่อโทร 106 เพือ่ ส่งข้อความผ่านผูใ้ ห้บริการหรือใช้
ประเทศออสเตรเลีย) www.customs.gov.au คอมพิวเตอร์ทเ่ี ชือ่ มต่อโมเด็ม เพือ่ ติดต่อขอความช่วยเหลือตํารวจ
“ หน่วยงานกักกันและตรวจสอบพืชและสัตว์ (AQIS) www.aqis.gov.au รถดับเพลิง หรือ พยาบาล
“ สํานักงานสรรพากรออสเตรเลีย www.ato.gov.au
ห้ามใช้หมายเลขเหล่านี้ถา้ ไม่ใช่กรณีฉุกเฉิน
“ การท่องเทีย่ วออสเตรเลีย www.australia.com
“ ค่าจ้างและสภาพการทํางาน www.fairwork.gov.au

14.2 หมายเลขสาคัญ
บริการฉุกเฉิน: 000 (ตํารวจ, ดับเพลิง, รถพยาบาล)

ปญหาวี ซ่า: 131 881
โทรออกจากประเทศออสเตรเลีย: 0011 (รหัสประเทศ) + (รหัสเมือง /
ภูมภิ าค) + (หมายเลขโทรศัพท์)
รหัสประเทศของออสเตรเลีย: 61

14.3 อภิ ธานศัพท์


“ Australian Quarantine and Inspection Service (AQIS) หน่วยงาน
กักกันและตรวจสอบพืชและสัตว์
“ Australian Taxation Office (ATO) สํานักงานสรรพากรออสเตรเลีย
“ Department of Industry, Innovation, Science, Research and
Tertiary Education (DIISRTE) กระทรวงอุตสาหกรรม นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์ การวิจยั และการศึกษา
“ Deparment of Immigration and Citizenship (DIAC) กระทรวงตรวจ
คนเข้าเมืองและการเป็นพลเมือง
“ English Language Intensive Courses for Overseas Students
(ELICOS) หลักสูตรภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียนต่างชาติ
“ International Student Adviser (ISA) ทีป่ รึกษานักเรียนนานาชาติ

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 23


Disclaimer: These fact sheets have been prepared as a general overview. They are not intended to provide an exhaustive coverage of the topic.
The information is made available on the understanding that the Australian Trade Commission (Austrade) is not providing professional advice.
Therefore, while all care has been taken in the preparation of these fact sheets, Austrade does not accept responsibility for any losses suffered
by persons relying on the information contained in these fact sheets or arising from any error or omission in these fact sheets. Any person
relying on this information does so entirely at their own discretion and Austrade strongly recommends the reader obtain independent
professional advice prior to acting on this information.

© Commonwealth of Australia 2011. This work is copyright. Apart from any use as permitted under the Copyright Act 1968, no part may be
reproduced by any process without prior written permission from the Commonwealth, available through the Australian Trade Commission.
Requests and inquiries concerning reproduction and rights should be addressed to Marketing Manager by email to
Bangkok@studyinaustralia.gov.au.

คู่มอื เรียนต่อและใช้ชวี ติ ในประเทศออสเตรเลีย > 24

You might also like