You are on page 1of 8

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน

ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์

จดหมายข่าวอิหร่ าน (ฉบับที่ 31)

การเมื อ ง

ผู้ นาอิ ห ร่ าน: ถ้ า อาชญากรรมของอิ ส ราเอลยั ง คงดาเนิ น ต่ อ ไป ไม่ มี ใ ครสามารถหยุ ด ชาวมุ ส ลิ ม และ
กองกาลั ง ต่ อ ต้ า นได้
ฯพณฯ อยาตุลลอฮ์ ไซยิด อาลี คาเมเนอี ผูน้ าการปฏิวตั ิอิสลาม กล่าวว่า หากการก่ออาชญากรรมของ
อิสราเอลที่มีต่อชาวปาเลสไตน์ในฉนวนกาซายังคงดาเนิ นต่อไป ไม่มีใครสามารถหยุดยั้งชาวมุสลิ มและกอง
กาลังต่อต้านได้
ฯพณฯ อยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี กล่าวว่า ประชาชาติมุสลิมไม่พอใจที่อิสราเอลทิ้งระเบิดฉนวนกาซา และ
“ไม่วา่ ระบอบไซออนิสต์จะทาอะไรก็ตาม ก็ไม่สามารถชดเชยความล้มเหลวอันอื้อฉาวที่ตนประสบได้”
ผูน้ าการปฏิวตั ิอิสลาม ยังกล่าวอีกว่า สิ่ งที่ปรากฏต่อหน้าต่อตาทั้งโลกในปาเลสไตน์ คือ อาชญากรรมการฆ่าล้าง
เผ่าพันธุ์ของรัฐบาลอิสราเอล
คากล่าวอ้างของบางประเทศที่วา่ ชาวปาเลสไตน์สังหารพลเรื อน และผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ นชุ มชนทัว่ ดินแดนที่
ถูกยึดครองนั้นมีอาวุธ ติดอาวุธ นั้น ไม่เป็ นความจริ ง
“ตอนนี้ สมมติว่าพวกเขาเป็ นพลเรื อน มีพลเรื อนเสี ยชี วิตกี่ คน? และระบอบการปกครองที่ยึดครองนี้
กาลังสังหารพลเรื อนมากกว่าร้อยเท่า ทั้งผูห้ ญิง เด็ก คนชรา และเยาวชน กองทัพไม่ได้อาศัยอยูใ่ นอาคารฉนวน
กาซา พวกเขาอยู่ในที่ ข องตัวเอง และพวกเขา (ชาวอิสราเอล) ก็ รู้เช่ นกัน ทว่า พวกเขาเลื อกสถานที่ที่ มีผูค้ น
หนาแน่นและโจมตีพวกเขา (ชาวปาเลสไตน์)”
ฯพณฯ อยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า ข้อมูลจานวนมากชี้ ให้เห็นว่านโยบายปั จจุบนั ภายใน
ระบอบไซออนิสต์ ถูกกาหนดโดยสหรัฐฯ
ท่านผูน้ าสู งสุ ด ยังได้เรี ยกร้องให้นกั วิชาการและนักวิทยาศาสตร์ อย่าเพิกเฉยต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน
ฉนวนกาซา
อิ ส ราเอลตอบโต้ด้วยการโจมตี ท างอากาศอย่า งหนัก หน่ วงต่ อเป้ าหมายที่ เป็ นพลเรื อน ส่ ง ผลให้ มี
ผูเ้ สี ยชีวติ ในฉนวนกาซาเป็ นจานวนมาก
1
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ชาวปาเลสไตน์อย่างน้อย 3,500 คนถูกสังหาร และอีกราว 12,000 คนได้รับบาดเจ็บจากการโจมตีฉนวน


กาซาของระบอบไซออนิสต์เมื่อเร็ วๆ นี้
หนึ่งในความรุ นแรงอันโหดร้าย คือ ระบอบไซออนิ สต์สังหารพลเรื อนอย่างน้อย 700 ราย ซึ่ งส่ วนใหญ่
เป็ นผูห้ ญิงและเด็ก ด้วยการทิ้งระเบิดที่โรงพยาบาลคริ สเตียนอัล-อะห์ลีในฉนวนกาซา
รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงการต่ า งประเทศอิ ห ร่ าน ส่ งจดหมายถึ ง เลขาธิ ก ารสหประชาชาติ
“กรณี เ หตุ ก ารณ์ ล่ า สุ ด ที่ เ กิ ด ขึ้น ในฉนวนกาซา”
ฯพณฯ ดร. อะมีรอับดุลลอฮียอน รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศอิหร่ าน ส่ งจดหมายถึง
เลขาธิการสหประชาชาติ “กรณี เกี่ยวกับการโจมตีอย่างโหดร้ายของระบอบไซออนิสต์ไปยังอัลกุดส์ ถูกยึดครอง
ในฉนวนกาซา โดยข้อความในจดหมายมีดงั นี้ :
ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์ พระผู้ทรงเมตตา กรุ ณายิง่ เสมอ
เรี ยน ฯพณฯ อันโตนิโอ กูเตอร์ เรส เลขาธิการสหประชาชาติ
ข้าพเจ้าเขียนจดหมายฉบับนี้ เพื่อแสดงให้เห็ นถึ งความกังวลใจและความรู ้ สึกเสี ยใจอย่างสุ ดซึ้ งของ
รัฐบาลสาธารณรัฐอิสลามแห่ งอิ หร่ านที่ มีต่อการละเมิ ดและการก่ออาชญากรรมที่เกิ ดขึ้นโดยระบอบรัฐเถื่ อน
อิสราเอลที่ยดึ ครองดินแดนปาเลสไตน์ และเพื่อเรี ยกร้องให้มีการแทรกแซงอย่างมีความรับผิดชอบของท่านและ
องค์การสหประชาชาติจะต้องประกาศยุติการรุ กราน ทั้งยังถือเป็ นคาตอบให้กบั เหล่าผูร้ ุ กรานที่ยดึ ครองอีกด้วย
นับเป็ นเวลากว่าเจ็ดทศวรรษแล้ว ที่ประชาชาติอนั เก่าแก่ซ่ ึ งถูกลิ ดรอนสิ ทธิ ในการกาหนดชะตากรรม
ของตัวเองและสิ ทธิ มนุ ษยชนขั้นพื้นฐานอื่นๆของพวกเขา ทั้งแผ่นดินและบ้านเรื อนของบรรพบุรุษของพวกเขา
ถูกยึดครอง
ในช่ วงเจ็ดทศวรรษที่ ผ่านมานี้ ระบอบไซออนิ สต์ไ ม่ไ ด้ใ ห้ค วามสนใจ แม้แต่ น้อยต่ อกฎหมายและ
บรรทัดฐานของกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายด้านมนุ ษยธรรมระหว่างประเทศและสิ ทธิ มนุ ษยชน
ด้วยผลประโยชน์จากการสนับสนุนทุกด้านของสหรัฐอเมริ กาและชาติตะวันตก ซึ่ ง ระบอบรัฐเถื่อนนี้ ได้รับการ
ยกเว้นจากความรับผิดชอบและการลงโทษใดๆ
อาชญากรรมสงครามที่เลวร้ ายที่สุด คื อ การก่ ออาชญากรรมต่อมนุ ษยชาติ และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่
กระทาต่อชาวปาเลสไตน์ ผูถ้ ูกกดขี่ การยึดแผ่นดินของผูอ้ ยูอ่ าศัยดั้งเดิมในภูมิภาคนี้ อย่างต่อเนื่ อง การสังหารหมู่
การทาลายบ้านเรื อนและเรื อกสวนไร่ นาของผูค้ น การจับกุมและการทรมานผูช้ ายและผูห้ ญิงหรื อแม้แต่เด็กๆ
ความอัปยศอดสู และการดูหมิ่นศักดิ์ศรี ของประชาชาติปาเลสไตน์ การดูหมิ่นสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ ของอิสลามหลาย

2
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ครั้ง รวมถึงมัสยิดอัล-อักซอ ถือเป็ นเพียงส่ วนหนึ่ งของอาชญากรรมและการละเมิดที่กระทาโดยระบอบรัฐเถื่อน


ที่ยดึ ครองปาเลสไตน์ การสนับสนุ นอย่างไร้เงื่อนไขของประเทศชาติตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริ กา
ต่อระบอบรัฐเถื่อนและการเพิกเฉยต่อการรุ กรานและการกดขี่ชาวปาเลสไตน์อย่างน่าอับอาย เป็ นหนึ่ งในปั จจัย
หลักของการดารงอยูข่ องระบอบรัฐเถื่อนนี้และการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศขั้นต้นอย่างต่อเนื่อง
ไม่เป็ นที่สงสัยเลย เนื่องจากการสนับสนุนทางการเงิน อาวุธยุทโธปกรณ์ และการเมืองอย่างกว้างขวาง
ของระบอบรัฐเถื่ อนนี้ เหล่าประเทศดังกล่าว จึงถื อเป็ นผูส้ มรู ้ ร่วมคิดในการก่ออาชญากรรมต่อประชาชนชาว
ปาเลสไตน์และภูมิภาค ก่อให้เกิ ดความรับผิดชอบระหว่างประเทศสาหรับพวกเขา และพวกเขาเหล่านี้ จะต้อง
รับผิดชอบต่อหน้าประชาคมโลก
สิ ทธิ ในการป้ องกันโดยชอบธรรม ด้วยกฎหมาย ถื อเป็ นสิ ทธิ โดยธรรมชาติที่ได้รับการยอมรับอย่าง
ชัดเจนในกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ ประชาชาติปาเลสไตน์ ในฐานะประชาชาติที่ถูก
ลิดรอนสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานในการกาหนดชะตากรรมของตนเองอย่างไม่ยุติธรรม และการเผชิ ญหน้ากับการโจมตี
และการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนและศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ในทุกชัว่ ขณะหนึ่ง
ไม่ต้องสงสัย เลยว่า พวกเขานั้นมี สิท ธิ ที่จะปกป้ องตนเองและยืนหยัดต่อสู ้ ก ับการยึดครองและการ
รุ กราน นี่ถือเป็ นสิ ทธิ ของประชาชาติปาเลสไตน์ที่ไม่จาเป็ นจะต้องได้รับใบอนุ ญาตหรื อคาสั่งจากบุคคลอื่นเพื่อ
ใช้สิทธิ ดงั กล่าวนี้ และด้วยการใช้ประโยชน์จากอิสรภาพและการมีวุฒิภาวะอย่างเต็มที่ อันเป็ นผลมาจากแปด
ทศวรรษแห่ งการต่อสู ้และการอดทนต่อความทุกข์ทรมานที่ร้ายแรงที่สุด และความขมขื่นของชี วิตที่อยู่ภายใต้
การยึดครอง ทั้งการตัดสิ นใจในประเด็นของเวลาและสถานที่และวิธีการในการใช้ประโยชน์จากสิ่ งเหล่านั้น การ
คาดการณ์ที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดไม่ได้เปลี่ยนความจริ งที่วา่ ปฏิบตั ิการพายุอลั อักซอ เป็ นสัญลักษณ์ของการ
เคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเองและเป็ นธรรมชาติของชาวปาเลสไตน์ เพื่อปกป้ องสิ ทธิ ของตนเองและศักดิ์ศรี ของความ
เป็ นมนุษย์ของพวกเขา และปฏิกิริยาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ต่อการกดขี่และการกดขี่อย่างต่อเนื่องและการไม่มีที่สิ้นสุ ด
ของเหล่าผูย้ ดึ ครองในการต่อต้านประชาชนชาวปาเลสไตน์ ผูบ้ ริ สุทธิ์ และถูกกดขี่ข่มเหง
เมื่ อเหลี ยวมองถึ งบัญชี ดาและความต่ อเนื่ องของระบอบไซออนิ ส ต์ในการก่ ออาชญากรรมระหว่า ง
ประเทศที่ชวั่ ร้ายและรุ นแรงที่สุดต่อชาวปาเลสไตน์ ตั้งแต่ อาชญากรรมดัยร์ ยาซี นไปจนถึงการสังหารหมู่ศอบรอ
และชาทีลา (Sabra and Shatila) และจากสงครามกาซาในปี 2008 จนถึงสงครามกาซาในปี 2014 และเมื่อ
พิจารณาถึงความเงียบงันอย่างพึงพอใจและแม้กระทัง่ การสนับสนุ นอย่างชัดเจนของประเทศชาติตะวันตกบาง
ประเทศ จากการทิง้ ระเบิดเข้าใส่ บา้ นเรื อนในฉนวนกาซา ซึ่ งจนถึงขณะนี้ ได้คร่ าชี วิตผูบ้ ริ สุทธิ์ ไปหลายร้อยคน
รวมทั้งผูห้ ญิงและเด็กด้วย นอกจากนี้ ด้วยการทบทวนต่อการกระทาที่ไร้มนุ ษยธรรมและการคุ กคามที่ชดั เจน
ของเจ้าหน้าที่ไซออนิ สต์ในช่ วงไม่กี่วนั ที่ผ่านมา รวมถึงการตัดการเข้าถึง อาหาร น้ า เชื้ อเพลิง และไฟฟ้ า ของ

3
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ประชาชนชาวกาซา ข้าพเจ้ารู้ สึกว่า จาเป็ นที่จะต้องเตือนเกี่ยวกับการเกิดภัยพิบตั ิอนั ใหญ่หลวงด้านมนุ ษยธรรม


ในปาเลสไตน์ที่ถูกยึดครอง และกล่าวถึ งความรับผิดชอบของสหประชาชาติและเลขาธิ การเป็ นการส่ วนตัว ใน
การสนับ สนุ นต่ อ ประชาชนปาเลสไตน์ ที่ ถู ก กดขี่ และเตื อ นระบอบรั ฐเถื่ อ น ผูย้ ึด ครองและผูร้ ุ ก รานไม่ ใ ห้
ดาเนินการต่อไปในความรุ นแรง การสังหาร และการทาลายล้างในฉนวนกาซา
เป็ นไปไม่ได้เลยที่จะเมินเฉยต่อความจริ งที่วา่ หลักฐานและพยานทั้งหมด รวมถึงจุดยืนของเจ้าหน้าที่
รัฐบาลที่ยึดครอง บ่งชี้ ถึงความตั้งใจของระบอบรัฐเถื่ อนนี้ ที่จะแก้แค้นปฏิ บตั ิการป้ องกันของชาวปาเลสไตน์
โดยผ่านการสังหารหมู่ของชาวปาเลสไตน์ ไม่มีการแบ่งแยกชาวปาเลสไตน์และการทาลายล้างโครงสร้ าง
พื้นฐาน พื้นที่ที่อยูอ่ าศัย มัสยิด สถานพยาบาลและสถานศึกษาในฉนวนกาซา และนี่ไม่ใช่สิ่งอื่นใด นอกจากการ
รับรู ้ถึงจุดเริ่ มต้นของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ประชาชาติ หนึ่ง ข้าพเจ้าไม่คิดเลยว่า จะมีหน่วยงานที่มีมโนธรรมหรื อมี
ความรับผิดชอบใดๆ จะสามารถเพิกเฉยต่อสัญญาณที่ชดั เจนของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในศตวรรษที่ 21 ได้
ข้าพเจ้าจึงขอเรี ยกร้องให้ ฯพณฯ อันโตนิโอ กูเตอร์ เรส ประณามการกระทาใด ๆ ที่ขดั แย้งกับกฎหมาย
ระหว่างประเทศโดยระบอบไซออนิสต์ต่อชาวปาเลสไตน์ในทันที ใช้มาตรการที่จาเป็ นอย่างเร็ วที่สุดเพื่อป้ องกัน
การละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างร้ายแรงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงกฎหมายด้านมนุ ษยธรรมระหว่างประเทศ
และสิ ทธิมนุษยชน รวมทั้งการก่ออาชญากรรมที่ร้ายแรง โดยเฉพาะอาชญากรรมสงครามและการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
ในปาเลสไตน์ ที่ ถู ก ยึ ด ครอง และโดยเฉพาะในฉนวนกาซาและขอเรี ย กร้ อ งให้ ก ลุ่ ม ประเทศสมาชิ ก ของ
สหประชาชาติ งดเว้นความช่วยเหลือและสนับสนุ นใดๆ แก่ผรู ้ ุ กรานที่ยึดครอง เปรี ยบดัง่ เป็ นเสมือนผูส้ มรู ้ร่วม
คิดในการก่ออาชญากรรม และจะต้องมีความรับผิดชอบต่อประชาคมโลก
สุ ดท้ายนี้ ข้าพเจ้า ขอเน้นย้าอีกครั้งว่า วิธีการเดียวในการแก้ไขของปั ญหานี้ คือ การยุติการยึดครองและ
การรู ้ จกั อย่างเป็ นทางการถึ งสิ ทธิ ของชาวปาเลสไตน์ที่ถูกกดขี่ ในการกาหนดชะตากรรมของตนเอง และการ
สถาปนารัฐปาเลสไตน์ที่เป็ นอิ สระในดิ นแดนนี้ ท้ งั หมด โดยที่มีอลั กุดส์ (กรุ งเยรู ซาเล็ม ) เป็ นเมืองหลวงของ
ปาเลสไตน์
ฮุเซน อะมีรอับดุลลอฮียอน
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่ าน

4
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

เศรษฐกิจ

การเพิ่ ม ทุ น สารองเงิ น ตราต่ า งประเทศและความยื ด หยุ่ น ของเศรษฐกิ จ อิ ห ร่ าน


รองประธานฝ่ ายเศรษฐกิ จของธนาคารกลาง ชี้ ถึงการเติ บโตอย่างสมดุ ลในภาคเศรษฐกิ จต่างๆ ของ
อิ หร่ าน และการเพิ่มความยืดหยุ่นของเศรษฐกิ จที่ ส่งผลกระทบต่อทัว่ โลกเมื่ อเร็ วๆ นี้ ว่า ทุ นสารองเงิ นตรา
ต่างประเทศของอิหร่ านเพิม่ ขึ้น เนื่องจากการเติบโตของการส่ งออกน้ ามันและผลิตภัณฑ์ไม่ใช่น้ ามัน
Mohammad Shirijian กล่าวถึงความพยายามของหลายประเทศในการลดอัตราเงินเฟ้ อด้วยเครื่ องมือและ
นโยบายทางการเงินต่างๆ โดยแนวโน้มที่สาคัญของการลดอัตราเงิ นเฟ้ อในดัชนี ราคาผูบ้ ริ โภค (CPI) และดัชนี
ราคาผูผ้ ลิต (PPI) ได้เริ่ มต้นขึ้นในอิหร่ านเช่นกัน
รองประธานฝ่ ายเศรษฐกิ จของธนาคารกลาง กล่ า วว่า ในช่ ว งหลายเดื อ นที่ ผ่า นมา ด้วยการรั ก ษา
เสถี ยรภาพของมูลค่าเรี ยล แรงกดดันด้านอัตราเงิ นเฟ้ อจึงได้บรรเทาลงบ้าง อย่างไรก็ตาม นโยบายการกากับ
ดูแลของธนาคารกลางจะยังคงใช้อยูเ่ พื่อให้แน่ใจว่าอัตราเงินเฟ้ อตกลงไปอยูใ่ นระดับที่เหมาะสมและเป็ นไปตาม
เป้ าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ เนื่องจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นและกิจกรรมในประเทศที่เฟื่ องฟู
ทั้งนี้ เขาเน้นว่า สภาพเศรษฐกิ จของอิหร่ านในปั จจุบนั ดี ข้ ึนเมื่อเทียบกับเมื่อก่อน แม้ว่าจะมีเหตุการณ์
ช็อกทัว่ โลกเมื่อเร็ วๆ นี้ และกิ จการทางเศรษฐกิจกาลังดาเนิ นไปสู่ ทางแห่ งความเจริ ญรุ่ งเรื อง เพื่อให้ GDP ที่
แท้จริ งเติบโตร้อยละ 4 ในปี 2565 และอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 5.3 และร้อยละ 6.2 ในไตรมาสแรก
และไตรมาสที่สองของปี 2566 ตามลาดับ นอกจากนี้ การเติบโตในด้านต่างๆ ของเศรษฐกิจ ยังมีความสมดุลอีก
ด้วย

อิ ห ร่ านผลิ ต ชิ้ น ส่ วนร้ อยละ 80 ที่ จาเป็ นสาหรั บ การซ่ อมแซมโรงกลั่ น ขึ้ น เองในอิ ห ร่ าน
เลขาธิ การสมาคมนายจ้างอุตสาหกรรมการกลัน่ น้ ามันแห่ งชาติกล่าวว่า ชิ้ นส่ วนที่ใช้ในการซ่ อมแซม
โรงกลัน่ น้ ามันมากกว่าร้อยละ 80 ถูกผลิตชึ้นภายในประเทศ
Hossein Ashuri ชี้ ถึงการส่ งน้ ามันดิบจานวน 2,500,000 บาร์ เรลไปยังโรงกลัน่ โดยกล่าวว่าร้อยละ 80
ของน้ ามันดิบที่ส่งไปนั้นจะถูกแปลงเป็ น Condensate และร้อยละ 20 เป็ นผลิตภัณฑ์พิเศษเฉพาะ และในช่วงไม่กี่
ปี ที่ผา่ นมาผลิตภัณฑ์เหล่านี้เพิ่มขึ้นจาก 30 รายการเป็ น 46 รายการ
Hossein Ashuri ชี้ถึงการทากาไรของโรงกลัน่ ภาคเอกชนทั้งหมดว่า วิสาหกิจทางเศรษฐกิจและโรงกลัน่
เอกชนที่มีผถู ้ ือหุ น้ รายใหญ่จะต้องทากาไรและจัดหาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อปฏิบตั ิตามพันธกรณี ที่มีต่อรัฐบาลและ
5
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ผูถ้ ือหุ ้น โดยเขาเน้นว่า แผนงานที่เรากาลังดาเนิ นการนั้นรวมถึงการปรับปรุ งคุ ณภาพของน้ ามันดี เซล เบนซิ น
การสร้างหน่วยกาจัดซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ และการกาจัดซัลเฟอร์ ไรเซชัน ซึ่ งมีความคืบหน้าจากร้อยละ 5 ถึงร้อย
ละ 96

ข่ า วสารอื่น ๆ

การพึ่ ง พาตนเองของอิ ห ร่ านในการบารุ ง รั ก ษาเครื่ อ งบิ น


ตามที่ เจ้า หน้า ที่ องค์ก ารการบิ นอิ ห ร่ า นระบุ ว่า แม้จะมี ก ารคว่า บาตร แต่ อุตสาหกรรมการบิ นของ
ประเทศก็มีความก้าวหน้าอย่างมาก และการซ่ อมแซมเครื่ องบินที่ มีอยู่ก็ดาเนิ นการโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญในประเทศ
ปั จจุบนั ไม่มีการส่ งเครื่ องบิ นไปซ่ อมในต่างประเทศ การดาเนิ นการที่ เรี ยกว่ากระบวนการซ่ อมแซม
ชิ้นส่ วนเพื่อเตรี ยมเครื่ องบินตั้งแต่ทาการขึ้นบินจนถึงการลงจอด
ในช่วงสองปี ที่ผา่ นมา เครื่ องยนต์เครื่ องบิน 31 เครื่ องได้รับการซ่อมแซมโดยอาศัยบริ ษทั ดาเนชบุนยอน
และผูเ้ ชี่ ยวชาญชาวอิหร่ าน และเครื่ องบิน ATR 3 ลา และเครื่ องบิน 319 A หนึ่ งลา ได้กลับคืนสู่ วงจรการ
ปฏิบตั ิงานแล้ว
โดยเฉลี่ ย แล้วการซ่ อมเครื่ องยนต์เครื่ องบินในอิ หร่ านจะใช้เวลาประมาณ 10 วัน ในขณะที่ การส่ ง
เครื่ องยนต์ไปซ่อมในต่างประเทศจะใช้เวลามากกว่าสองเดือน
ตามที่หัวหน้าองค์การการบินของอิหร่ าน ระบุว่า ในช่ วง 20 เดือนที่ผา่ น มีการนาเข้าเครื่ องบิน 60 ลา
เข้ามาในประเทศ จนถึงขณะถูกใช้งานไป 30 ลา
Mohammad Mohammadi Bakhsh เน้นว่า ไม่วา่ จะมีการคว่าบาตรอย่างไรก็ตาม เราต้องพึ่งพาตนเองและ
สร้ างศักยภาพความสามารถให้กบั ตนเอง นี่ คือสิ่ งที่ เกิ ดขึ้ นในปั จจุ บนั นี้ กบั อุตสาหกรรมการบินของอิ หร่ าน
วันนี้เรายืนหยัดด้วยลาแข้งของตัวเอง และสาหรับประเทศที่เป็ นมิตรบางประเทศที่เราได้ซ่อมเครื่ องบินของพวก
เขาในประเทศของเราเองหรื อแม้แต่เป็ นประเทศที่ใหญ่ๆก็ตาม จึงทาให้เรามีความหวัง
หัวหน้าองค์การการบิ นชี้ ให้เห็ นว่า ก่ อนหน้า นี้ เราประสบปั ญหาร้ า ยแรงในด้านน้ ามันหล่ อลื่ นหรื อ
น้ ามันเครื่ องสาหรับเครื่ องบิน บริ ษทั ที่มีชื่อเสี ยงของโลกไม่ขายน้ ามันเครื่ องสาหรับเครื่ องบินให้กบั อิหร่ าน แต่
ด้วยความร่ วมมือของบริ ษทั ฐานองค์ความรู ้ ของอิ หร่ าน ในช่ วงเวลาอันสั้น เราไม่เพียงแต่เป็ นผูจ้ ดั หาสาหรับ
ความต้องการของเราเพียงเท่านั้น แต่เเรากลายเป็ นผูส้ ่ งออกอีกด้วย

6
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

ความสาเร็ จ ของอิ ห ร่ านในหลายสาขาในเอเชี ย นเกมส์


ในการแข่งขันกีฬาเอเชี ยนเกมส์ ครั้งที่ 19 ที่เมืองหางโจว ประเทศจีน โดยทีมชาติอิหร่ านอยูใ่ นอันดับที่
7 ด้วยผลงานเหรี ยญทอง 13 เหรี ยญ เงิน 21 เหรี ยญ และเหรี ยญทองแดง 20 เหรี ยญ
หนึ่ งในกี ฬาของกลุ่มที่ประสบความสาเร็ จ อาทิเช่ น วอลเลย์บอลซึ่ งจบการแข่งขันด้วยการคว้าแชมป์
และหมากรุ กเป็ นอีกหนึ่งทีมที่สร้างประวัติศาสตร์ และได้รับรางวัลเหรี ยญทองอันล้ าค่ามาครอบครอง
ทีมเทเบิลเทนนิสที่ทาผลงานได้ยอดเยี่ยมและคว้าเหรี ยญทองแดงในเอเชีย นเกมส์ เป็ นครั้งแรกหลังจาก
เอาชนะญี่ปุ่นได้
กี ฬายิมนาสติก Mehdi Alfati ที่ทาให้อิหร่ านได้รับเหรี ยญรางวัลเป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ของ
เอเชียนเกมส์ และ Reza Alipour ที่ทาได้ดีมากและได้รับรางวัลเหรี ยญทองจากกีฬาปี นหน้าผา อีกด้วย
กีฬาเรื อพายของทีมหญิงอิหร่ านประสบความสาเร็ จอย่างมากในช่วงเวลานี้ และแสดงให้เห็นว่าทีมเรื อ
พายของอิหร่ านนี้สามารถมีอะไรให้พดู ถึงอย่างมากมายในอนาคตอย่างแน่นอน
นอกจากนี้ Franak Partoazer ยังได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดงในการปั่ นจักรยานหญิง และเหรี ยญรางวัล
แรกของอิหร่ านในกีฬาปั่ นจักรยานหญิงในประวัติศาสตร์เอเชียนเกมส์
อิหร่ านยังแสดงผลงานการเล่นสเก็ตได้ดีมากอีกด้วย โดย Taraneh Ahmadi ได้รับรางวัลเหรี ยญเงินจาก
การแข่งขันสเก็ต และ Romina Salek ได้ทาลายสถิติโลกสเก็ตประเภทบุคคลลงได้สาเร็ จ
คาราวานนักกี ฬาของอิหร่ าน ที่ได้ใช้แผน Quality plan โดยครั้งนี้ ส่งผูค้ นเข้าร่ วมการแข่งขันน้อยกว่า
ครั้งก่อนหน้าถึง 150 คน

7
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 20 ตุลาคม 2566

คลัง ภาพที่ ง ดงามของอิ ห ร่ า น

การเดินขบวนของชาวอิหร่ านเพื่อประณามอาชญากรรมของระบอบไซออนิสต์
และเพื่อการสนับสนุนการช่วยเหลือผูถ้ ูกกดขี่ในฉนวนกาซา
***
ผูจ้ ดั ทา: ฝ่ ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตฯ
คุณสามารถติดตามข่าวสารล่าสุ ดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน ประจาประเทศไทย ได้ที่เพจเฟซบุก้ @IranInTh

You might also like