You are on page 1of 29

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

พัฒนาการอาณาจักรธนบุรี
เรื่อง สถาปนาอาณาจักรธนบุรี

รายวิชา ส2210๔ ประวัติศาสตร์ไทย ๔


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

ครูผู้สอน ๑. ว่าที่ร้อยตรีชลสินธุ์ แก้วสีขาว ๒. นางสาวศิริกร คะเชนเชื้อ


แนะนำ นัง ือ
อาณาจักรธนบุรี
ถาปนา เป็นอาณาจักรที่มีระยะเ ลา
กรุงธนบุรี ั้นที่ ุดของไทย คือ
ระ ่าง พ. . 2310 -
2325 ระยะเ ลา 15 ปี มี
พระม าก ัตริย์ปกครอง
เพียงพระองค์เดีย คือ
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ...
แผนที่แสดงตำแหน่งนิวำสสถำนของบุคคล
สำคัญครั้งกรุงธนบุรี (สกรีนสีเหลือง)
1. เจ้ำพระยำจักรี (ทองด้วง)
2. พระยำเสือ (บุญมำ)
3. พระยำสุริยอภัย (ทองอิน)
"พระราชวังเดิมกรุงธนบุร"ี ในจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถวัดอัมพวันเจติยาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
ทีเ่ ขียนเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชประวัติรัชกาลที่ 2 ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ เขียนแล้วเสร็จใน พ.ศ.2543
https://www.matichon.co.th/article/news_969609
สถาปนา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
กรุงธนบุรี • สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (พ.ศ. 2310 – 2325)
• เชื่อว่าพระราชสมภพวันที่ 17 เดือนเมษายน พ.ศ. 2277
• บิดาเป็นชาวจีนแต้จิ๋ว ชื่อแต้ย้ง มารดาไม่ปรากฏชื่อ แต่เชื่อว่าชื่อนกเอี้ยง
บิดาเป็นนายอากรบ่อนเบี้ย มีชื่อไทยว่า ขุนพัฒนน
ผลงานก่อนเสียกรุง
• ขณะที่กลับมากรุงศรีฯ เพื่อรับตาแหน่งพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกาแพงเพชร แต่
ยังไม่ทันเดินทางกลับ พอดีเกิดศึกพม่าเข้าประชิดพระนครจึงอยู่ช่วยรบกับพม่ า
หลายครั้ง แต่ก็ถูกคาดโทษหลายครั้ง เช่น
• เป็นนายกองเรือสู้กับพม่าพร้อมพระยาเพชรบุรี แต่พิจารณาเห็นว่ากาลังน้อยกว่า
แต่พระยาเพชรบุรีไม่เชื่อออกไปรบจนตาย จึงถูกกล่าวหา
• ขณะที่ป้องกันพระนครอยู่ได้ยิงปืนใหญ่ต่อสู้ โดยไม่ได้ขออนุญาต เพราะจวนตัว จึง
ถูกคาดโทษ
• จำกสำเหตุหลำยประกำร ทำให้คำดกำรณได้ว่ำ กรุงศรีฯ ต้องเสียแก่พม่ำ
แน่นอน จึงตัดสินใจนำทหำรตีฝ่ำวงล้อมพม่ำออกไปทำงทิศตะวันออกพร้อม
ทหำรไทยจีน
กอบกู้
เอกราช
ผลดีของการมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออก
กอบกู้
• ผู้คนแถบนั้นมิได้บอบช้ำจำกกำรต่อสู้กับพม่ำ เป็นกองกาลังช่วย
เอกราช กู้ชาติได้
• หัวเมืองชำยทะเลตะวันออกมีพ่อค้ำชำวจีนค้ำสำเภำมำค้ำขำย
ประจำเสมอ ทั้งเจ้าตากเองก็ทรงมีเชื้อสายจีน ย่อมแสวงหาความ
ร่วมมือด้านเสบียง อาหาร อาวุธ ทรัพย์สินเงินทองจากพ่อค้าจีนได้
สะดวก
• เมื่อเจ้าตากตีเมืองจันทบุรีและระยองได้แล้ว พ่อค้ำสำเภำชำวจีนที่
เคยแข็งข้อก็ยอมอ่อนน้อม
การกอบกู้เอกราชจากพม่า
กอบกู้
พระเจ้าตากเตรียมต่อเรือรบ ซึ่งเป็นการรบแบบใหม่พร้อม
เอกราช แล้ว จึงยกทัพมากรุงธนบุรีที่มีนายทองอินทร์ซึ่งเป็นคนไทยดูแลอยู่ที่
ป้อมวิไชยประสิทธิ์

• ุกี้พระนายกอง (คนมอญ) ที่ค่ายโพธิ์ ามต้นตายในที่ร บ จึงเท่า กับ


อิทธิพลของพม่าใน ่ นภาคกลาง มด ิ้นไป
• จากนั้นเ ด็จไปอยุธยาขุดพระบรม พพระเจ้าเอกทั ขึ้นมาถ ายพระ
เพลิง ลังจากประทับที่อยุธยา 1 คืน เลิกทัพก าดต้อนรา ฎรไพร่ฟ้า
เชื้อพระ ง ์เดิม ู่ธนบุรี
การกอบกู้เอกราชจากพม่า
กอบกู้
สุก้ีพระนายกอง (คนมอญ) ที่ค่ายโพธิ์สามต้นตายในที่รบ จึง
เอกราช เท่ากับอิทธิพลของพม่าในส่วนภาคกลางหมดสิ้นไป
จากนั้นเสด็จไปอยุธยาขุดพระบรมศพพระเจ้าเอกทัศขึ้นมา
ถวายพระเพลิง หลังจากประทับที่อยุธยา 1 คืน เลิกทัพกวาดต้อน
ราษฎรไพร่ฟ้า เชื้อพระวงศ์เดิมสู่ธนบุรี
ค่ำยโพธิ์สำมต้น
• ริมคลองโพธิ์สามต้น (หรือแม่น้าลพบุรี
เก่า) ตอนเหนือเกาะเมือง
พระนครศรีอยุธยา ห่างไปประมาณ 7
กิโลเมตร
พระเจ้าตากตีค่ายโพธิ์สามต้นแตก จึงไป
สถาปนากรุงธนบุรี

https://www.facebook.com/HistoryKrungsriAyutthaya/phot
os/pcb.1164171710323431/1164171210323481/
ประโยชน์จากการรบทางเรือ
กอบกู้
เอกราช • ปลอดภัยจากการโจมตีจากกองทัพพม่า ทาให้รักษากาลังคน
ได้ดี
• เจ้าตากสามารถรวบรวมกาลังคนและเสบียงจากพ่อค้าชาวจีน
• กองทัพพม่าที่ธนบุรีไม่มีโอกาสรู้ตัวล่วงหน้า
• พม่าไม่ถนัดการรบทางเรือ สู้ทหารพระเจ้าตากที่เป็นคนจีน
ไม่ได้
กรุงศรีอยุธยาไม่เหมาะเป็ นราชธานี
สถาปนา • ถูกทาลายย่อยยับ ชารุด ทรุดโทรม จนยากที่จะบูรณะให้ดี
กรุงธนบุรี ดังเดิม
• มีอาณาเขตกว้างขวางเกินกาลังไพร่พลของพระเจ้าตากใน
ขณะนั้นที่จะดูแลรักษาได้
• พม่าชานาญเส้นทาง รู้ล่ทู าง สภาพเมืองอยุธยาเป็นอย่างดี
แผนที่แสดงอาณาเขตกรุงธนบุรีในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

คลองบางกอกน้อย คลองบางลาพู
คลองบางกอกน้ อย
ชุมชนลาว

ชุมชนมลายู วัดสลัก

วัดระฆัง ชุมชนจีน

คลองมอญ
เรือนพระยาจักรี
ชุมชนเวียดนาม
วัดอมรินทราราม ที่อยู่อาศัยของขุนนาง
คลองนครบาล

วัดท้ ายตลาด

วัดโพธิ์

วัดแจ้ง พระราชวังพระเจ้ากรุงธนบุรี
สถาปนา กรุงธนบุรีเหมาะสมที่เป็นราชธานี
กรุงธนบุรี • มีขนาดเล็ก เหมาะกับกาลั พลที่ ะดูแลรักษาได้ ่าย
• ใกล้ปากน้า เหมาะแก่การค้าขายกับต่า าติ
• มีป้อมปราการอยู่แล้ว
• อยู่ที่น้าลึก ใกล้ทะเล ข้าศึกที่มาโ มตีต้อ เ ี่ยว าญทา เรือ
• กรณี ุกเ ินหนีไปตั้ หลักที่ ันทบุรีได้ ่าย
• หากปิดกั้นเส้นทา น้าก็สกัดกั้นเส้นทา ลาเลีย อาหาร อาวุธที่
ส่ ไปเมือ เหนือได้ ่าย
• ไม่ไกล ากรา ธานีเดิม ึ เป็นแหล่ รวมขวัญและกาลั พลได้
พระราชวังเดิม
การรวบรวมอาณาจักร
การเกิดชุมนุม
การ
ปราบ • ระบบควบคุมหัวเมืองไพร่ถูกทาลายลง และยิ่งศูนย์กลางอานาจที่
อยุธยาถูกทาลายลง ชุมนุมต่าง ๆ จึงตั้งตนเป็นใหญ่ข้นึ มา
ชุมนุม
• การตั้งชุมนุมเป็นใหญ่ เพื่อคุ้มครองตนเองจากอานาจพม่า

“สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จตี
เมืองพุทไธมาศ” โคลงภาพพระราช
พงศาวดารเขียนในสมัยรัชกาลที่ 5
โดยนายอ่อน
ชุมนุมทั้ง 5
การ
ปราบ • ชุมนุมพระเจ้าตาก
ชุมนุม • ชุมนุมเจ้าเมืองพิษณุโลก (เรือง)
• ชุมนุมเจ้าพระฝาง (เรือน) ที่อุตรดิตถ์
• ชุมนุมเจ้าพิมาย (กรมหมื่นเทพพิพิธ)
• ชุมนุมพระปลัดเมืองนครศรีธรรมราช (หนู)
การปราบปรามชุมนุม
การ
ปราบ
ชุมนุม • เมื่อเจ้าตากสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว จึงคิดยกทัพไปตีชุมนุม
ต่าง ๆ เพื่อขยายและรื้อฟื้นอ้านาจการปกครองของดินแดนที่เคยเป็น
ของราชอาณาจักรอยุธยามาก่อน
• งานปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ใช้เวลา 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2311 – 2314
การ
ปราบ
ชุมนุม
ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก
การ
• ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นชุมนุมแรกที่เสด็จไปปราบ สู้รบกันที่
ปราบ นครสวรรค์ เผอิญพระเจ้าตากสินทรงถูกปืนที่พระชงฆ์ ประกอบกับชุมนุมของ
ชุมนุม พระองค์ยังไม่เข้มแข็งและขาดการจัดระเบียบภายในจึงยกทัพกลับ
• เมื่อเจ้าพระยาพิษณุโลกชนะสงครามก็คิดว่าตนเองมีบุญ จึงราชาภิเษกตนเอง
เป็นกษัตริย์ อยู่ได้ 7 วัน ก็เป็นฝีในล้าคอถึงแก่พิราลัย
• พระอินทรอากรน้องชายขึ้นดูแลเมืองแทน แต่ไม่กล้าตั้งตนเป็นกษัตริย์ เจ้า
พระฝางเห็นความอ่อนแอของพระอินทรอากร จึงยกทัพมายึดเมืองพิษณุโลก
ภาคเหนือจึงตกอยู่ภายใต้อ้านาจของชุมนุมเจ้าพระฝาง
• การเข้าครอบคลุมชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลกของเจ้าพระฝาง เป็นผลดีต่อพระ
เจ้าตากสิน เพราะขุนนางอยุธยาหนีจากชุมนุมเจ้าพระฝางมาอยู่กับพระเจ้า
ตากมากขึ้น
การ ชุมนุมเจ้าพิมาย
ปราบ • ปลาย พ.ศ. 2311 โปรดให้พระมหามนตรี (นายสุจินดา) กับพระราชวรินทร์
ชุมนุม (หลวงยกกระบัตรเมืองราชบุรี ) เป็นทัพหน้ายกไปทางเมืองนครนายก ส่วน
พระองค์เป็นทัพหลวงยกไปทางสระบุรี
• กองทัพของกรมหมื่นเทพพิพิธสู้ไม่ได้ ตัวกรมหมื่น ฯ กับครอบครัวหนีไปพึ่ ง
บารมีเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต แต่ถูกกรมการเมืองนครราชสีมาตามจับกุมตัวมา
ได้
• โปรดฯ ให้ผนวชและประทับที่วัดอรุณ ราชวราราม แต่ปรากฏว่ามีขุนนางเก่า
สมัยอยุธยามาเฝ้าเนือง ๆ ด้วยเป็นเชื้อพระวงศ์เก่า ดังนั้นเพื่อเป็นการตัดไฟแต่
ต้นลม จึงประหารกรมหมื่นฯ เสีย ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2311
ชุมนุมเจ้าพระยานครศรีธรรมราช
การ
• พ.ศ. 2312 โปรดเกล้าฯ ให้ยกทัพใหญ่ลงไปโดยให้เจ้าพระยาจักรี (หมุด) เป็นแม่
ปราบ ทัพใหญ่และพระยายมราช แต่เกิดความขัดแย้งกันท้าให้ตีเมืองไม่ได้ ท่านจึงเสด็จ
ชุมนุม ยกทัพหลวงไปเองทั้งทางบกและทางเรือ
• เมื่อตีเมืองได้แล้ว เจ้านครฯ หนีไปเมืองตานี แต่เจ้าเมืองตานีจับกุมตัวมาถวาย
เพราะเกรงในพระราชอ้านาจ หัวเมืองปักษ์ใต้จึงตกอยู่ภายใต้อ้านาจมาโดยตลอด
• เจ้าเมืองนครฯ ไม่ได้ถูกประหารชีวิตเหมือนเจ้าชุมนุมอื่น เพราะ
• เจ้านครฯ มิได้เป็นข้าราชการในพระองค์ เมื่อพระองค์ต้งั ตนเป็นใหญ่ได้ เจ้าเมืองคน
อื่นก็ต้งั ตนเป็นใหญ่ได้เช่นกัน
• เมื่อเจ้าเมืองตานีจับตัวมาถวาย ก็ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี แล้วโปรดให้รับราชการใน
กรุงธนบุรี
• ตั้งเจ้าหลานยาเธอเจ้านราสุริยวงศ์เป็นเจ้าเมือง
ชุมนุมเจ้าพระฝาง
การ
ปราบ • เจ้าพระฝางเป็น ผู้น้ าของกบฏไพร่ เป็ น การรวมตั วกัน อย่ างหลวม ๆ ขาด
ระเบียบแบบแผน การควบคุมที่ดี
ชุมนุม • มิได้ตั้งตนอยู่ในเมืองใหญ่ ถึงตีพิษณุโลกได้ก็ยังอยู่ที่เมืองฝาง เพราะอ้านาจ
ผูกพันกับความศักดิ์สิทธิ์ของพระธาตุเมืองฝาง
• เมื่อพระยายมราช (บุญมา) และพระยาอนุชิตราชา (ทองด้วง) ยกทัพไปตี
เมืองสวางคบุรีเพียง 3 4 วัน ทัพเจ้าพระฝางก็แตกพ่าย เจ้าพระฝางหลบหนี
ไปได้ จับได้เพียงลูกช้างพังกลับมา
• เมื่อปราบชุมนุมต่าง ๆ หมดสิ้นแล้ว ประเทศก็ตกอยู่ภายใต้พระราชอ้านาจ
ของพระเจ้าตากสินตั้งแต่นั้นมา

You might also like