You are on page 1of 75

หน่วยที่ ๒

บุคคลสำคัญ
หน่วยที่ ๒
บุคคลสำคัญ
n
บุคคลสำคัญ
ที่มีส่วนสร้างสรรค์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

บิดา : พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ
มารดา : สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
พระนามเดิมว่า ฉิม
ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2352
สวรรคตเมื่อ พ.ศ. 2367

มีศึกพม่ายกทัพมาตีหัวเมืองปักษ์ใต้
แต่เพียงครั้งเดียวก็แพ้ไป


ทรงทานุบารุงบ้านเมืองให้เจริญในทุกด้าน
โดยเฉพำะด้ำนศิลปะและวัฒนธรรม
ด้านการเมือง ไพ
นทะเ ยน

• ทรงปรับปรุงกฎหมายพระราชก• ☐
าหนดสักเลก เมื่อ พ.ศ. 2353
• ตรำกฎหมำยห้ำมสู•
-
บ ซื้อขำยฝิ่น ใน พ.ศ. 2354
(โดยกาหนดบทลงโทษไว้อย่างหนัก)
ขึ้
ซุ๊
ร่
บี
ด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรม
• โปรดเกล้าให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง
(ด้วยกำรสถำปนำโบสถ์)
• *0
-
ทรงฟื้นฟูพระรำชพิ
-
ธ ี ว น
ั วิ ส ำขบู
ช ำขึ น
้ มำใหม่ เมื อ
่ พ.ศ.
2360 ตามที่เคยปฏิบัติกันมาในสมัยสุโขทัย

ของโลก
คู่
ฉึ
ด้านศิลปกรรมและวรรณกรรม
.

• ทรงปรับปรุงท่าราต่างๆ ทั้งโขน
* และละคร ซึ่งกลายเป็นต้นแบบมา
จนถึงปัจจุบัน ทรงประพันธ์เพลง
↳ บุหลันลอยเลื่อน หรือ บุหลันลอย

÷
⇐ ฟ้ำ

÷
• ทรงแกะสลักบำนประตูวิหำร
* ศำกยมุนี ที่ วัดสุทัศนเทพวรำรำม
ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
ร. 2 ทรงพระรำชนิพนธ์วรรณกรรมหลำยเรื่อง เช่น

0 →

_
เ อออ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ร 3

SGCO
.

ขณะทรงดารง พระอิสริยยศ
พระเจ้าลูกยาเธอ
กรมหมื่นเจษฎำบดินทร์
ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัย
ให้ทรงปฏิบัติงานในตาแหน่ง สาคัญ
เช่น
- ทรงกำกับรำชกำรกรมท่ำ
- - กรมพระคลังมหำสมบัติ

อ­
การป้องกันราชอาณาจักร ร .
Eno ←
.
.

- สิ้นสุดกำรทำสงครำมกับพม่ำ
- ความสัมพันธ์ทางพระราชไมตรีกบั ลาว เขมร และเวียดนามเริ่มมี
ข้อขัดแย้งถึงขั้นต้องทาสงคราม
- โปรดเกล้าให้สร้างเมืองชายพระราชอาณาจักร คือ เมืองจันทบุรี
°
- สร้างป้อมหัวเมืองชายทะเล เช่น ป้อมเมืองฉะเชิงเทรำ

§
- ต่อกำปั่นเรือ กาปั่นลาดตระเวนรักษาพระนครและใช้ค้าขาย
_

ป้อมเมืองฉะเชิงเทรา

ด้านเศรษฐกิจ
ร 3-
การ า เรา -
- ทรงได้รับพระนามว่า เจ้ำสัว _
_

- ทรงตั้งระบบเจ้ำภำษีนำยอำกร
ให้สัมปทานเอกชนจัดเก็บภาษี


แทนรัฐ ส่วนใหญ่เป็นพวกชาวจีน
ทาให้รายได้แผ่นดินสูงขึ้นมาก
- ทรงรวบรวมพระราชทรัพย์ไว้
ใช้ในราชการแผ่นดินเมื่อจาเป็น
0
เรียกกันว่า เงินถุงแดง นามาใช้
คราวจาเป็น เช่น
F-

ใ[ F.)
ตอนเหตุกำรณ์ ร.ศ. 112
↳ ร 5
.
อึ
สำ
ค้
ด้
งนp__า_วป
ป pgsมq@โอ
°

ไf อด้านศิลปกรรม และวรรณกรรมโครงการ
ใดๆ
gTาl
เกิด ศิลปะพระรำชนิยมไทย
ออกงาน
ก ↳น
•_

• ผสมจีน มีการสร้างเรือสาเภาขึ้น

• แต่งเสภาขุนช้างขุนแผน,
สังข์ศิลป์ชัย, โครงปราบดาภิเษก
กวีที่สาคัญ คือ

* .
. •
สมเด็จกรมพระปรมำนุชิตชิโนรส *
-
_
ตุ๋
ฬื
รำ
การทานุบารุงพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
• การที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างบูรณะพระอารามขึ้น
มากมายทั้งในพระนครและหัวเมือง
*


← •นำศิลปะจีนผสมผสำนกับศิลปะไทย เพื่อความสวยงาม


คงทนถาวร รวมทั้งเขียนภำพจิตรกรรมตกแต่งฝำผนังและสร้ำง
พระพุทธรูปประดิษฐำนประจำอำรำมไว้ทุกแห่ง
• เมื่อครั้งยังดารงพระยศพระเจ้าลูกยาเธอ ทรงยกทัพไปที่
กาญจนบุรีและเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพ สมเด็จพระบรมชนก
นาถจึงพระราชทานนามว่า วัดรำชโอรสำรำม
.
3.
รี่
. 3

วัดราชโอรสาราม
ฒ้
วื่

วัดยานนาวา (เดิมชื่อวัดคอกกระบือ)
:O
พระบาทสมเด็จพระจุ
O ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ห
่ ว
ั ร 5
-
.
.


.

บิดา : พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
มารดา : สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินนี าถ
พระราชสมภพเมื่อ 20 กันยายน 2396
มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
0
เจ้ำฟ้ำจุฬำลงกรณ์ พระ ยมหาราช

เพื่อให้ไทยเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ
และรอดพ้ น จากภั ย จั ก รวรรดิ นิ ย มที่ ก าลั ง คุ ก คาม
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่ในขณะนั้น รัชกาล
-0
ที่ 5 ทรงพัฒนำและปรับปรุงบ้ำนเมืองทุกด้ำน
ดังต่อไปนี้ ns
ปิ
ด้านการปกครอง ✓



ฮื
สิ
ฮิ๋
นา การด้แพทย
านการแพทย์และสาธารณสุข
¥ .

- มีการจัดตั้งnet
สภำอุณำโลมแดง (สภำกำชำดไทย)
- noe
- โรงพยำบำลวังหลัง (ศิริรำชพยำบำล)
- โรงเรียนผดุงครรภ์และพยาบาล
.
-
ด้านกฎหมายและการศาล


- แยกอานาจตุลำกำรออกจากฝ่ำยบริหำร
- ยกเลิกการไต่สวนคดีความ แบบจำรีตนครบำล
=
เช่น ตอกเล็บ บีบขมับ เป็นต้น
-

- จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมำย และประกาศใช้ประมวล
กฎหมายอาญาฉบับแรกของไทย

*
* ด้านสังคม

* " """

eI0#
ทรงยกเลิกระบบไพร่และระบบทำส ให้ประชาชนมี
-

อิสระในการดาเนินชีวิต ยกเลิกประเพณีที่ล้ำสมัย และรับ


เอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา
ce
ด้านสาธารณู ปโภค

0 00-0m -
-
_

_
กอ
ด้านเศรษฐกิจ .
0

.


.

ผลจากการทาสนธิสัญญำเบำว์ริ่ง ในสมัยรัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 5


.

จึงให้ออกใช้ธนบัตรและมีการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนที่แน่นอนเป็น
ครั้งแรก
- ทรงอนุญำตให้ธนำคำรพำณิชย์ของต่ำงประเทศเข้ำมำตั้ง

#
สำขำ และสนับสนุนให้คนไทยตั้งธนาคารพาณิชย์ขึ้น
- ด้ า นการคลั ง มี ก ารจั ด ท างบประมำณแผ่ น ดิ น เป็ น ครั้ ง แรก
และปรับปรุงระบบจัดเก็บ ภาษีอากรให้มีประสิทธิภาพขึ้น
ฬั๋
ด้านการศึกษา-

• มีการจัดตั้งโรงเรียนหลวง ทั้งในกรุงเทพฯ และตามหัว


เมืองต่างๆ และทรงส่งพระราชโอรสไปศึกษาต่อต่างประเทศ


เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ
ด้านศาสนา
ให้ ตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ จัดตั้ง
สถานศึกษาสาหรับพระสงฆ์ คือ มหำมกุฏรำชวิทยำลัย และ
มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย และให้มีกำรทำสังคำยนำ
พระไตรปิฎก
ฬิ
ด้านการทหาร

/
ทรงปรับปรุง หน่วยงำนทหำรและอำวุธยุทธภัณฑ์
ให้ทันสมัย ตั้งกรมยุทธนำธิกำร ต่อมาคือกระทรวงกลำโหม
ตั้งโรงเรียนนายร้อยทหารบก โรงเรียนนายเรือ และ
*
ตรำพระรำชบัญญัติเกณฑ์ทหำรขึ้นใช้เป็นครั้งแรก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

บิดา คือ รัชกำลที่ 5


มารดา คือ พระศรีพัชรินทราบรมราชินนี าถ
พระนามเดิม คือ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
พระราชสมภพ เมื่อ 1 มกราคม 2423
สวรรคต เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2468
เมื่อพระชนมายุ 12 พรรษำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ไปศึกษำต่อที่ประเทศ
o
-
อังกฤษ

เป็นครั้งแรกในประเทศไทย
040
พระองค์ทรงมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศให้ก้าวขึ้นสู่ความเจริญ
ทั ด เที ย บกั บ อารยประเทศ ไม่ ว่ าจะเป็ น พระราชกรณี กิ จทางด้ า น

.→

การศึกษา วรรณกรรม นาฏศิลป์ รวมถึงการ ก่อตั้งกำรลูกเสือ ขึ้น
พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว "
• ตรา พรก. คานาหน้านาม และ พรบ. นามสกุล
• ←
_
• ตรำ พรบ.ออมสิน จัดตั้งคลังออมสิน ต่อมาคือ ธนาคารออมสิน

= *
• จัดตั้งสหกรณ์แห่งแรก ที่จังหวัดพิษณุโลก (สหกรณ์วัดจันทร์ไม่
จำกัดสินไช้) *
.

• สถาปนา โรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือนให้เป็น “จุฬำลงกรณ์


.

มหำวิทยลัย” งง
หุ้
รื
พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รศ 130
กฎ
.

ทรงเป็นผู้ริเริ่มสิ่งสาคัญมากมาย เช่น โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง


ธงไตรรงค์ ใช้คานาหน้านามสตรีและเด็ก และรวมถึงการสร้างเมือง


ดุสิตธำนี เพื่อนปูพ้นื ฐานระบบประชาธิปไตยให้มั่นคง พระองค์จึงมี
พระราชสมญานามว่า พระมหำธีรรำชเจ้ำ
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กระมพระยาวชรญาณวโรรส

0
บิดา คือ รัชกำลที่ 4
มารดา คือ เจ้าจอมมารดาแพ อขวา าน
ประสูติ เมื่อ 12 เมษายน 2403
พระนามเดิม : พระองค์เจ้ำมนุษยนำคมำนพ
สิ้นพระชนม์ เมื่อ 2 สิงหาคม 2464

ทรงเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ด้านศาสนา →
กอง
ได้รับการยกย่องว่าเป็น ดวงประทีปแก้ว เพราะมีความรู้ใน
*=

ด้
ฐุ่มื
ผลงานด้านศาสนา
• ตั้งมหามกุฏราชวิทยาลัย
2 ,
+ . 5.
• วางระเบียบการปกครองของคณะสงฆ์
• ทรงวางหลักสูตรนักธรรมที่เป็นพื้นฐานของสงฆ์

*•
• ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ เช่น นวโกวำท

ปชช .
ณ๊
รี
ผลงานด้านการศึกษา

%
• จัดตั้งโรงเรียนในหัวเมือง
• ชักชวนให้ราษฎรเห็นประโยชน์ของการศึกษา
• ให้ความสาคัญกับการสอนศิลธรรม จริยธรรม

• รอบรู้ภาษาต่างๆ คือ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต


ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส
• ทรงพระรำชนิพนธ์หนังสือหลักสูตรนั⇐ กธรรมชั้นตรี โท
เอก หลักสูตรบำลีไวยกรณ์ รวมพระราชนิพนธ์ท้งั ที่เป็น

ภาษาไทย ภาษาบาลี มีจานวนกว่า 200 เรื่อง
7
บิดา คือ หม่อมเจ้าชอุ่ม (กรมหมื่นเทวานุรักษ์)
มารดา คือ หม่อมนก


.Cญหล_ไโง,อ
0
เกิดวันที่ 12 มิถุนายน 2362⇐ร ""
ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ → ←
31 กรกฎาคม
"
2410
ว กรง สยาม
"

# ☒
เก่ ง ภำษำอั ง กฤษ เนื่ อ งจากได้ ศึ ก ษาจากพวก
.

มิชชันนารี
• เข้ารับราชการในสมัยรัชกาลทีอ
่ 4 และได้เลื่อนยศเป็น
• หม่อมราโชทัย
หั
ผลงานที่สาคัญ


% ¥
• เป็นล่ำมหลวง ประจาคณะทูตไทย เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรี
กับประเทศอังกฤษ ในสมัยรัชกาลที่ 4
• แต่ง นิรำศลอนดอน โดยขายลิขสิทธิ์ให้ หมอบรัดเลย์ ถือเป็นการ
ซื้อขายลิขสิทธ์ครั้งแรกของไทย

_
• เป็นหัวหน้าคณะทูต ไปเจริญสัมพันธไมตรี กับพระนำงวิคตอร์เรีย
• เป็น อธิบดีพิพากษาศาลต่างประเทศของไทย


สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท
-


=
• พระนามเดิม 1 พระองค์เจ้ำนวม


• เป็นโอรสองค์ที่ 49 ในรัชกำลที่ 2
กับเจ้าจอมมารดาปราง
(ราชนิกุลบางช้าง)
• ประสูติเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2351
เป็นพระอนุชำ ในพระบำทสมเด็จ
พระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
• สิ้นพระชนม์เมื่อ 16 สิงหาคม 2414
• พระชนมายุ 63 ชันษา
ผลงานสาคัญ
• มีความรูด้ ้านอักษรศาสตร์ ภาษาไทย ขอม มคธ
วรรณคดี โบราณคดี และพระราชประเพณี
• เข้ำรับรำชกำรกรมหมอ ในสมัยรัชกำลที่ 3
(โดยศึกษาวิชาการแพทย์จากมิชชันนาราวอเมริกัน)

*
*
• ศึกษาความรู้เรื่องสมุนไพรจากครอบครัวฝ่ายมารดา

±
• ศึกษาวิชาแพทย์ตะวันตกจาก หมอบรัดเลย์
- ริเริ่มกำรฝ่ำตัด และปลูกฝี ป้องกันไข้ทรพิษ เมื่อ
พ.ศ. 2381
ฐึ๋
ผลงานสาคัญ

• แต่งตารายาสมุนไพร จานวน 166 ชนิด


• ทรงจารึกคาประพันธ์ไว้บนแผ่นหินบรรยายถึงการบาบัดรักษาโรคและ
การออกกาลังกายในท่าต่างๆ ที่เรียกว่า ฤำษีดัดตน ทีม่ ีเรียงรายใน

* วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือ วัดโพธิ์


*

อื่
ผลงานสาคัญ

• พระองค์ทรงได้รับการถวายพระเกียรติจาก
สถาบันการแพทย์ของยุโรป
เป็นสมำชิกสถำบันกำรแพทย์แห่งนิวยอร์ก
• ชาวต่างชาติขนานพระนามพระองค์ว่า


00
**
ปริ๊นซ์ด๊อกเตอร์
* *
ในโอกาสครบรอบ 200 ปีแห่งวันประสูติ องค์การศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้ประกาศยก
ย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสาคัญของโลก ด้ำนปรำชญ์และกวี
_

คนที่ 18 ของประเทศไทย

โคลงสุภาษิตจินดามณี
.
อ →
*0 )
#eำารปกค_iอ
0


ขวา ง

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ

เป็นพระโอรส ในรัชกำลที0 ่ 4 กับเจ้าจอมมารดาชุ่ม


มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ำดิศวรกุมำร
ประสูติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405
สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2486

±
*
*
เป็นคนไทยคนแรก
“ที่ได้รับกำรประกำศยกย่องจำกยูเนสโก”
มื
ด้านการศึกษา

=
• เปลี่ยน โรงเรียนทหำรมหำดเล็ก เป็น โรงเรียนสวนกุหลำบ สาหรับพลเรือน
- -

• ขยายการศึกษา โดยให้ โรงเรียนวัดมหรรณพำรำม เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรก


• เปลีย่ นโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือน เป็น จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
ด้านสาธารณสุข
• ดูแลงานด้านการแพทย์ต่อจาก พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์
#
• ก่อตั้ง โอสถศำลำ เพื่อผลิตยาแจกจ่ายราษฎรที่อยู่หา่ งไกล ปัจจุบันคือ
ลงสถำนีอนำมัย

¥
• ทรงจัดตั้ง ปำสตุรสภำ เป็นสถานที่ปอ้ งกันโรคพิษสุนัขบ้า เปลี่ยนชื่อเป็น
-

c-
สถำนปำสเตอร์ ปัจจุบันคือ สถำนเสำวภำ
ด้านศิลปวัฒนธรรม


ทรงนิพนธ์งาน ด้ำนประวัติศำสตร์ โบรำณคดี และศิลปวัฒนธรรม
ไว้เป็นจานวนมาก ทรง ใช้วิธสี มัยใหม่ในการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ และ *

② ⇐
โบราณคดี จนได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดำทำงโบรำณคดีและประวัติศำสตร์

ทรงดารงตาแหน่ง เสนำบดีกระทรวงมหำดไทยคนแรก เป็นเวลานาน


ถึง 23 ปีตดิ ต่อกัน มีบทบาทสาคัญในการวางรากฐานระบบการบริหารราชการ
แผ่นดินส่วนภูมิภาคแนวใหม่ โดยยกเลิกการปกครองที่เรียกว่า ระบบกินเมือง
อึ๋
นาย างให แ ง ก งสยาม #
-2g
.

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ำจิตรเจริญ
เป็นพระราชโอรสใน รัชกำลที0 ่ 4 กับ
หม่อมเจ้าหญิงพรรณราย ประสูติเมื่อ 28
เมษายน พ.ศ. 2406 และทรง
สิน้ พระชนม์เมื่อ 10 มีนาคม 2490 และ
ยูเนสโกได้ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคล

ำne
สาคัญของโลกอีกด้วย

• ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงออกแบบงานต่างๆ เช่น พระโกศพระบรมศพ


-0
ของรัชกำลที่ 5 ได้เลื่อนยศเป็น เจ้ำฟ้ำกรมพระยำนริศรำนุวัตวิ งศ์
ในสมัยรัชกาลที่ 7
ช่
ห่
รุ
ญ่
ผลงานสาคัญ

%
ด้านวรรณกรรม ด้านจิตรกรรม
• โคลงเรื่องรำมเกียรติ์ • ภาพเขียนสีน้ามัน ประกอบพระ
• โคลงภาพพระราชพงศาวดาร รำชพงศำวดำรสมัยอยุธยำ
• จดหมายโต้ตอบกับ กรมพระยำ • ภาพประกอบเรื่องธรรมาธรรมะ
ดำรงรำชำนุภำพ สงคราม

¥



เพลงพระราชนิพนธ์
เพลงสรรเสริญพระบำรมี
เพลงเขมรไทรโยค
เพลงตับแม่ศรีทรงเครื่อง
.

• เพลงตับขอมดาดิน
ผลงานสาคัญ
ด้านสถาปัตยกรรม
• ออกแบบอุโบสถ วัดเบญจมบพิตร
• ออกแบบอาคารเรียนมัธยม วัดเบญจมบพิตร
• ออกแบบ ตรำกระทรวงต่ำงๆ
• ออกแบบ อนุสำวรีย์ทหำรอำสำสงครำมโลกครั้งที่ 1
• พระบรมรูปหล่อพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้ำจุฬ่ำโลกมหำรำช
ศิ๋
-
บิดา สมเด็จเจ้าพระยามหาประยูรวงศ์
มารดา ท่านผู้หญิงจันทร์
เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2351
ถึงแก่พิราลัย เมื่อ พ.ศ.2425
• สมัยรัชกำลที✗ ่ 2 บิดาซึ่งขณะนั้นเป็นพระยาพระคลัง
นาไปถวายตัวเป็นมหำดเล็ก และทางานด้านพระคลัง
และกรมท่าอยู่กับบิดา

• สมัยรัชกำลที่ t
3 รับราชการมีความดีมาก ได้เลื่อน
บรรดาศักดิ์มาตามลาดับ จนเป็นจมื่นไวยวรนาถใน พ.ศ.
2384 และเป็นพระยำศรีสุริยวงศ์ ในตอนปลายรัชกาล

• สมัยรัชกำลที่ 4 ได้เลื่อนขึ้นเป็น เจ้ำพระยำพระศรีสุ


ริยวงศ์ ว่าที่สมุt
หกลาโหม

เจ้าพระยาพระศรีสุริยวงศ์ทรง เป็น 1 ใน 5 ที่รัชกาลที่ 4

~
ทรงแต่งตั้งให้เป็น ที่ปรึกษำข้อสัญญำกับเซอร์จอห์น เบำว์ริง
ทาให้การทาสนธิสัญญาลุ ใน ล่วงได้ด้วยดี "" นาม

ตรง าม


☐ ฐ
ณู
ข้
ด้
เมื่อรัชกำลที่ 4 เสด็จสวรรคต
• รัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชย์ แต่ยังทรงพระเยาว์


• จึงมีการเชิญเจ้าพระยาพระศรีสุริยวงศ์ข้นึ
เป็นผู้สำเร็จรำชกำรแผ่นดิน
*
- .

เกิดที่จังหวัด ระนอง
เมื่อวันพุธ เดือน 5 ปีมะเส็ง พ.ศ. 2400
เป็นบุตรชายคนสุดท้องของ
พระยารัตนเศรษฐี (คอซูเกี้ยน) จีนฮกเกี้ยน
(ได้เลื่อนฐานะจากพ่อค้าเป็นขุนนาง)
ด้านการปกครอง
กุศโลบายหลักในการปกครอง คือ หลักพ่อปกครองลูก
ทานองเดียวกับที่ใช้ในสมัยสุโขทัย


ด้านการส่งเสริมอาชีพราษฎร
อาจเป็นเพราะพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ เกิดในตระกูลพ่อค้า
*
0
ท่านจึงมีโลกทัศน์ต่างจากขุนนางอื่นๆ คือ มีอุปนิสัยบำรุงกำรค้ำ
ด้านการคมนาคม #

พระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ ให้ความสาคัญเป็น
••←
ที่สุด โดยเฉพาะ กำรสร้ ำ งถนน

ด้านสาธารณสุข
_
พระยารัษฎานุประดิษฐ์ รณรงค์เรื่องควำมสะอำด
บังคับให้ราษฎร ดูแลบ้านเรือนให้สะอาดเรียบร้อย
• •
ด้านการรักษาความสงบและปราบปรามโจรผู ร
้ า
้ ย
ได้สร้างความคิดใหม่ข้นึ ในหมู่ราษฎร กล่าวคือ รำษฎรทุก
คนต้องถือว่ำตนมีหน้ำที่ช่วยเหลือเพื่อนบ้ำน และเจ้ำหน้ำที่
ในกำรปรำบปรำมโจรผู้ร้ำย ⇐


ด้านการศึกษา

¥
ให้ ใ ช้ วั ด เป็ น โรงเรี ย น จั ด หาครู ไ ปสอน บางครั้ ง ก็ นิ ม นต์
พระสงฆ์ไปสอน นอกจากนี้ยัง ได้คัดเลือกบุตรหลำนข้ำรำชกำร
ผู้มีสกุลในจังหวัดต่ำงๆไปเรียนภำษำอังกฤษที่ปีนัง
ชิ
ณื่

บาทหลวงปาลเลอกัวซ์ บวชเป็น
บาทหลวงที่กรุงปำรีส หลังจากบวชแล้วได้มา
เผยแผ่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยใน พ.ศ.
2381
ได้บรรพชาเป็นอธิการแห่งวัดคอนเซ็ปชัญ มีสมณศักดิ์
ว่า สังฆรำชแห่งมัลโลว์ ทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยของสังฆราช
กูเวร์ซี แล้วย้ายไปอยู่ที่วัดอัสสัมชัญ ท่านได้เรียน
ภาษาไทยและภาษาบาลี มีความรู้ในภาษาทั้งสองเป็นอย่าง
ดีจนสามารถแต่งหนังสือได้หลายเล่ม

ปฏิบัติหน้าที่มชิ ชันนารีในประเทศไทยใน
รัชสมัย รัชกำลที่ 3 ถึงสมัย รัชกำลที่ 4
มีสมณศักดิ์เป็นประมุขมิสซังสยามตะวันออก

*
ท่านได้นา วิทยำกำรกำรถ่ำยรูป เข้ามาใน
ประเทศไทย
→ .
.

นอกจากนีท้ า่ นยังจัดทา
พจนำนุกรมสี่ภำษำเล่มแรกของไทย ชื่อ
สัพะ พะจะนะ พำสำ ไท โดยมีสี่ภาษา คือ
• ภำษำไทย
• ภำษำอังกฤษ
• ภำษำฝรั่งเศส
• ภำษำละติน
เป็นผู้นาพระราชสาส์น
จากรัชกำลที่ 4 ไปถวายสมเด็จ
-0000
พระสั น ตะปำปำปิ อ ส
ุ ที ่ 9-

ขณะพานักอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสได้ตีพิมพ์หนังสือขึ้น 3 เล่ม คือ


* • เล่ำเรื่องกรุงสยำม (Description du Royaume Thai ou Siam)
¥8
• สัพะ พะจะนะ พำสำ ไท (พจนานุกรมสี่ภาษา)
•⇐ =
ไวยำกรณ์ ภำษำไทย (Grammatica linguoe Thai )
ฮื๋
พระยากัลยาณไมตรี (ดร.ฟรานซซิส บี แซร์)

เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเป็นบุตร


e
เขยของวู ดโรว์ วิลสัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เดินทางมายัง
ประเทศสยาม ในฐานะเอกอัครราชทูตสหรัฐประจาสยาม เมื่อ พ.ศ. 2468
แล้วกลับสหรัฐ อเมริกาใน พ.ศ. 2475
น ตรง าม
วง นนาค
ดร.แซร์มีบทบาทสาคัญใน
.

ctnnnnnonn
การ ปลดเปลื้องสนธิสัญญำเบำว์ริง
ทีไ่ ทยทาไว้กับประเทศอังกฤษในสมัย
รัชกาลที่ 4 และสนธิสัญญาลักษณะ
เดียวกันที่ฝ่ายไทยเสียเปรียบมากใน
เรื่องที่คนในบังคับต่างชาติไม่ต้องขึ้น
ศาลไทย

จากคุณความดีที่มีตอ่ ประเทศไทย
จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
พระยำกัลยำณไมตรี เมื่อ พ.ศ. 2470
ที่
ช่
ข้
บุ
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี

มีนามเดิมว่า คอร์รำโด เฟโรจี


เป็นผู้มีบทบาทในการวางรากฐาน
การศึกษาศิลปะในประเทศไทยโดยการ
ก่อตั้ง มหำวิทยำลัยศิลปำกร ขึ้น


เดินทางเข้ามาประเทศไทยในสมัยรัชกำลที่ 6 เนื่องจากเป็น
ช่วงที่อารยธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในประเทศมากขึ้นกว่า
ในช่วงที่ผ่านมา มีกำรจ้ำงชำวต่ำงประเทศที่เชี่ยวชำญในด้ำน
ต่ำงๆเข้ำมำรับรำชกำรเป็นจำนวนมำก
ไทยขอให้รัฐบาลอิตาลีส่งช่ำงศิลปะ เพื่อเข้ามา
ทางานในกรมศิลปากรรัฐบาลอิตาลีจงึ เลือก เฟโรจี
ให้เข้ามาปฏิบัตงิ านในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2466
โดยเข้ำรับรำชกำรในตำแหน่งช่ำงปั้น กรมศิลปากร
สังกัดกระทรวงวัง



หลังจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 นายคอร์ราโด เฟโรจี เป็นชาว
อิตาลีซึ่งเป็นประเทศคู่สงครามกับญี่ป่นุ ถูกควบคุมตัวเนื่องจากเป็นคนของ



ชาติฝ่ายตรงข้ามกับญี่ปุ่น แต่ หลวงวิจิตรวำทกำร พยายามติดต่อขอร้อง
*
ให้ช่วยผ่อนปรนการควบคุมตัวในที่สุดคาขอร้องก็ได้รับการพิจารณา นาย
คอร์ราโด เฟโรจี ก็ได้รับการปล่อยตัว จึงเป็นเหตุให้แปลงสัญชำติและ
เปลี่ยนชื่อเป็นไทยคือ ศิลป์ พีระศรี
อ่
ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี มีความสามารถด้านงานประติมำกรรมเป็นที่
ยอมรับในวงการศิลปะ จึงได้รับมอบหมายจากหน่วยงานราชการของไทยให้
ออกแบบและปั้นรูปปั้นและพระบรมรูปหลายแห่งที่สาคัญ เช่น

พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จ อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม)


พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
¥
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

E
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
-
#
/
พระศรีศากยะทศพลญาณ
ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์

พระบรมราชานุสาสวรีย์
:
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ดอนเจดีย์
e. _
พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบรมราชานุสาวรีย์
พระเจ้าตากสินมหาราช พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชกรณียกิจที่สาคัญ
-มูลนิธิชัยพัฒนา
-มูลนิธิโครงการหลวง
-โครงการส่วนพระองค์สวน
จิตรลดา
-โครงการหลวงอ่างขาง
-โครงการปลูกป่าถาวร
-โครงการแก้มลิง
-โครงการฝนหลวง
-โครงการสารานุกรมไทย
สาหรับเยาวชน
-โครงการแกล้งดิน
-กังหันชัยพัฒนา
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระราชกรณียกิจที่สาคัญ
1. โครงการที่มีสาขาขยายกว้างขวางไปทั่วประเทศ คือ
โครงกำรส่งเสริมศิลปำชีพ ซึ่งในภายหลังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้กอ่ ตั้งเป็น "มูลนิธสิ ่งเสริมศิลปำชีพพิเศษในพระบรมำชินูปถัมภ์”
ยังอนุรักษ์และส่งเสริมงานศิลปะพื้นบ้านที่มีความงดงามหลายสาขา เช่น
การปั้น การทอ การจักสาน เป็นต้น
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
พระราชกรณียกิจที่สาคัญ
• หน่วยแพทย์เคลื่อนที่
• แพทย์ทางวิทยุ
• โครงการรักษาโรคเฉพาะทาง
• โครงการสาธารณสุข พอ.สว.
• ทุนอุดหนุนการวิจัย
• โครงการเฉพาะกิจพัฒนาดอยตุง
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
พระราชกรณียกิจที่สาคัญ
-การสร้างโรงเรียนและทุนการศึกษา
-พระกรณียกิจเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน
-การส่งเสริมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
- การสอนภาษาฝรั่งเศส
-ด้านการกีฬา
-ด้านศิลปวัฒนธรรม โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และมรดกของโลก
ด้านสังคมสงเคราะห์
- ทุนการกุศลสมเด็จย่า
- มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ
- มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- ออทิสติก
- มูลนิธิช่วยการสาธารณสุขชุมชน
- มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
(มูลนิธิ พอ.สว.)
พระอัจฉริยภาพด้านพระนิพนธ์
- พระนิพนธ์เกี่ยวกับพระราชวงศ์
- พระนิพนธ์แปล
- สารคดีท่องเที่ยว
- บทความทางวิชาการ

You might also like