You are on page 1of 15

ผูวาราชการรามัญ ๗ เมือง
บรรพชนตนตระกูลของชาวรามัญในจังหวัดราชบุ รี กาญจนบุรี
อ.โสภณ นิ ไชยโยค

มอญที่อพยพเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหั วแหงกรุงสยาม
โดยเฉพาะในสมัยแผนดินพระเจากรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ได เขามาอาศัยตั้งถิ่นฐานบานเรือน
ทํามาหากินอยู ในประเทศสยามหลายแหงหลายตําบลหลายอําเภอและหลายจังหวัด มอญเหลานี้ตระหนักดีวา
พระมหากษัตริยเจาแหงสยามประเทศนั้นเปนพระบรมโพธิสมภารแหลงสุดทายของพวกเขาไมมีที่ อื่นใดอีกดวย
เพราะพวกเขาไดหมดสิ้ นแล วซึ่งแผนดิ นถิ่นอาศัย สิ้นแลวซึ่งพระเจาเหนือหัวของพวกเขาเองมาเปนเวลากวา
๒๐๐ ปแลวเพราะฉะนั้ นมอญที่เขามาอยูในประเทศสยามนี้จึงได เทิดทู นองคพระมหากษัตราธิราชเจาของไทย
ใหทรงเปนองคพระมหากษั ตริยของพวกตนดวยความจงรักภักดีอยางสู งสุดดวยใจจริง เราคงจะเคยไดยิ นไดฟง
พฤติกรรมของชาวมอญในประเทศไทยในแหงหนใดก็ ตาม นอกจากมอญจะทําตนใหเป นประโยชนต อ
สังคมไทยโดยการประพฤติตนใหชอบตามกฎหมายบ านเมือง ประกอบการอาชีพที่สุจริตแลว เราก็
อาจจะเคยได ยิ นวามีมอญจํานวนไมใชนอย ไดมีโอกาสอาสาเขารับราชการสนองพระเดชพระคุณในหนาที่ตางๆ
กัน บางพวกก็รับราชการเปนนายทหารเปนแม ทัพนายกอง เปนกรมอาทมาต เปนกรมดั้ งทอง เปนกรม
ดาบสองมือ เปนผูวาราชการเมืองทั้งสวนกลางและหั วเมือง มีปรากฏในประวัติศาสตรของไทยโดยเฉพาะใน
ตอนตนของกรุงรัตนโกสินทรตลอดมา ในโอกาสนี้จะกลาวถึงเกี ยรติประวัติของมอญกลุมหนึ่งซึ่งเคยไดรับ
ราชการสนองพระเดชพระคุ ณมีความดีความชอบ และมีเกี ยรติคุ ณอันพึงยกยองสรรเสริญ เปนเกี ยรติที่
ลูกหลานและทายาทพึงจะภาคภูมิใจและยึ ดถือเปนฉบับที่ควรเอาอยางตลอดไป มอญกลุมนี้เปนกลุมชาว
มอญโพธาราม ที่มีนิวาสน สถานอยูบริเวณบานคงคาราม ตําบลคลองตาคต อําเภอโพธาราม จังหวั ดราชบุรี และ
อีกหลายตําบลในอําเภอโพธาราม อําเภอบ านโปง และหลายๆ หมูบานในอําเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี อําเภอ
ทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ไดอพยพมาจากบานเกิ ดเมืองนอนเดิมของตนที่เปนประเทศพมา ปจจุบั นนี้แลวก็
ไดมาตั้งถิ่นฐานบานเรือนทํามาหากินอยูในบริเวณสถานที่ดังกลาวแลว ตอมาก็ไดอาสาเขารับราชการสนองพระ
เดชพระคุ ณโดยไดเป นผูวาราชการหัวเมืองตาง ๆ จํานวน ๗ หัวเมือง โดยขึ้นกับเมืองกาญจนบุรี ทั้ งนี้เพื่อมี
หนาที่เปนขาหลวงตางพระเนตรพระกรรณ เนื่องจากหั วเมืองตาง ๆ เหลานี้เปนเมืองหนาดานเปนทางผานของ
อริราชศัตรูอยูเปนนิตย ส วนหนาที่โดยละเอียดและปลีกยอย ตลอดจนความเปนอยูของบรรดาทานผูวาราชการ
เหลานี้ และชาวเมืองคนมอญที่อาศัยอยูด วยจะมีเรื่องราวเปนอยางไรบางนั้น ผูเขียนจะได กลาวต อไปเปนลําดับ
ดังนี้
ในปพุทธศักราช ๒๓๐๓ (ป มะโรง จุลศักราช ๑๑๒๒) พระเจาอลองพญากษัตริยพม าไดยกกองทัพมาตี
เมืองหงสาวดี พะสิม เมาะตะมะ เมาะลําเลิง ของมอญได และไดเกณฑใหพวกมอญเมืองเมาะตะมะ เมาะลํา
เลิงใหยกทัพมาตีไทย สมัยพระเจาเอกทั ศน และได ยกทั พมาลอมกรุงศรีอยุธยาตั้งแตเดือน ๕ จนถึ งเดือน ๖


ขึ้น ๑ ค่ํา พระเจาอลองพญาทรงบัญชาการรับและจุดป นใหญด วยตนเอง เผอิญปนแตกถูกพระองคบาดเจ็บ
สาหัสประชวรหนักในวั นนั้ น เดือน ๖ ขึ้ น ๒ ค่ํา พมาก็เลิกทัพขึ้นไปทางเหนือทางดานแมละเมา ยั งไมทันพน
แดนเมืองตาก พระเจาอลองพญาก็สิ้นพระชนมในกลางทาง (หนังสือไทยรบพมา) ของสมเด็จกรมพระยาดํารง
ราชานุภาพ

พระเจามังลอกราชโอรสองคใหญขึ้นครองราชยสมบัติตอจากพระเจาอลองพญา พวกพมามอญ
แข็งเมืองกอการกบฏ อาทิ เจาเมืองพุกาม เมืองหงสาวดี เมืองเมาะตะมะ เมืองเมาะลําเลิง สมิงทอมาซึ่งไดรับ
การชวยเหลือจากพระเจาเชี ยงใหม รวมสมัครพรรคพวกเขายึดเมืองเมาะตะมะ เมาะลําเลิงไดตั้งตนเปนกษัตริย
ปกครองเมืองเมาะตะมะแต ในที่สุดก็ถูกพระเจามังลอกปราบปรามสําเร็ จ ทําให หัวหนามอญในเมืองเมาะตะมะ
เมืองเมาะลําเลิ ง และพรรคพวกประมาณ ๑,๐๐๐ คนไดอพยพหนีภั ยจากพมาเขามาทางดานเจดียสามองค เพื่อ
มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระเจากรุงสยามในป พ.ศ. ๒๓๐๓ (ประวัติมอญเขากรุ งสยามของ ก.ศ.ร. กุหลาบ)


พระยากาญจนบุรีจึงมีใบบอกมายังกรุงศรี อยุธยา พระเจ าอยูหั วเอกทัศนโปรดให จัดครัวมอญเหลานี้ตั้งบานเรือน
อยูชายแดนไทยตั้งแตบานทาขนุน ทองผาภูมิ ไทรโยค ทาตะกั่ ว ลุมสุม เมืองสิงห และทากระดาน และให
คอยดูแลสอดสองลาดตระเวนชายแดนไทย และรายงานความเคลื่อนไหวของพมารายงานมายังกรุ งศรีอยุธยา
จนกระทั่งปพุ ทธศักราช ๒๓๑๐ พระจามั งระกษัตริ ยพม ายกทัพมาตี กรุ งศรีอยุธยาได ในวั นอังคารเดือน
๕ ขึ้น ๙ ค่ํา ป กุน พวกมอญชายแดนเจ็ ดหั วเมืองที่เปนชาวบานและกรมการเมืองบางสวนก็ หลบลี้หนีภัยพมาเขา
มาอาศัยอยูกับพวกมอญเดิมสมัยกรุงศรีอยุ ธยา บริเวณบ านโพธาราม บานบางเลา บานนครชุมน แขวงเมือง
ราชบุรี
และในเดือน ๑๒ ปชวด ระยะเวลา ๗ เดือน พระเจ าตากสินก็กูเอกราชได และเห็นความสําคัญของ
มอญอพยพในปพุทธศักราช ๒๓๐๓ ที่อยู ตามชายแดนเมืองกาญจนบุ รี จึงตั้งใหเป นเมืองดานขึ้ นทั้ง ๗ ดาน
และตั้งใหหั วหนามอญทั้ง ๗ คน ซึ่งเปนญาติกันทั้ง ๗ คน เปนนายด าน ผูเขียนเป นคนในตระกู ลเจาเมืองไทร
โยค ทราบวานายดานทานแรกของเมืองไทรโยคนี้ เปนขุนนางมอญมาแตเมืองเมาะลําเลิง มีชื่อวาสมิงพะตะเบิ ด
ซึ่งเปนตําแหน งขุนนางมอญ สวนนายดานเมืองทาขนุนนั้ นตระกูลหลักคงคาไดเขียนไวในงานพระราชทาน
เพลิงศพขุนอาโภคคดี มีชื่อว าพญาทาขนุนเฒา สวนเมืองอื่นๆ นั้นไดชื่ อแนนอนเฉพาะสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่ ๕
เทานั้น
ในปพุทธศักราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกปราบดาภิเษกขึ้นเปนปฐมกษัตริย
แหงราชวงศ จั กรีและในปมะเส็ง พุทธศักราช ๒๓๒๘ พระเจาประดุงไดยกกองทัพเขามาตีไทยถึงเกาทัพ ชาว
ดาน ๗ เมือง มีบทบาทสําคัญในการเปนกองเสบียง และชวยรบในสงครามเกาทัพด วย โดยที่อยูใต บังคับบัญชา
ของพระยากาญจนบุรีสวนหนึ่งและพระยามหาโยธา(เจง คชเสนี) อี กสวนหนึ่ง เพราะพวกมอญเหลานี้มีความ
ชํานาญภูมิประเทศแถบนี้ เป นอยางดี
กรมพระราชวั งบวรมหาสุรสิงหนาททรงยกกองทั พไปตั้งรับพมาที่ทุงลาดหญา แขวงเมืองกาญจนบุรี
และทรงให พระยามหาโยธา (เจง ) คุมกองทัพมอญจํานวนพล ๓,๐๐๐ คน ยกออกไปขัดตาทัพอยูที่ ดาน
กรามชาง และในจํานวนนี้ มีนายดานและกองมอญ ๗ ด านนี้รวมรบอยูดวย


จนเสร็จสิ้นสงครามเกาทัพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงปูนบําเหน็ จความดีความชอบ
แกขาราชการทหารทั้งปวง และโปรดใหยก ๗ ดานขึ้นเปนเมือง เพื่อใหชื่อเสียงปรากฏไปยังพมาวาสยาม
ประเทศมีเมืองตามชายแดนเพื่อปองกันขาศึกมากขึ้นและให นายดานทั้ ง ๗ เปนเจาเมื องมีตําแหนงเปน “พระ”
ดังนี้
ทาขนุน มีตําแหนง พระทาขนุน
ทองผาภูมิ มีตําแหนง พระทองผาภูมิ
ไทรโยค มีตําแหนง พระไทรโยค
ทาตะกั่ ว มีตําแหนง พระทาตะกั่ว
ลุมสุม มีตําแหนง พระลุมสุม
สิงค มีตําแหนง พระสิงค
ทากระดาน มีตําแหนง พระทากระดาน
และตั้งกรมการเมืองเชนเดี ยวกับเมืองตาง ๆ ของไทยทั่วไป ผิดแต วากรมการเมืองและชาวเมืองในบังคับลวนแต
เปนชาวมอญทั้งสิ้น และที่ นาสังเกตมีตําแหนงเพิ่มอีก ๑ ตําแหนง ซึ่งไทยไมมี แต ๗ เมืองนี้มีคือตําแหนงจักกาย
เพราะเปนตําแหนงกรมการเมืองของฝายเมืองมอญมาแตอดีตครั้งยังมี ประเทศรามัญ
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุ ทธเลิศหลานภาลัย ผูเขียนไมแนใจวาเจาเมืองมอญทั้ง ๗ เมืองนี้ไดเลื่ อนยศ
เปนพระยาหรื อไม หรือเลื่อนยศเฉพาะบางเมือง เพราะในจดหมายเหตุ กรุงรัตนโกสินทร สมัยรัชกาลที่ ๒ ฉบับ
ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิ เษก เลม ๑๐ พ.ศ. ๒๕๓๙ ทองตราเจ าพระยาอัครมหาเสนาบดีถึงพระยา
ราชบุรี พระยากาญจนบุรี เรื่ องรามัญในกองพระยารัตนจั กรหลบหนี การทัพ ๕ คน ใหบอกดานทาง แลแตงคน
ออกสกัดจับตั ว จ.ศ. ๑๑๘๓


(๑) หนังสือเจ าพระยาอัครมหาเสนาบดีถึงพระยาราชบุรี พระยากาญจนบุรี ดวยทรงพระกรุณาตรัส
เหนือเกลา ฯ สั่งวา พระยามหาโยธากราบทูลพระกรุณาวารามัญในกองพระยารัตนจั กร จัดลองเรือลงมาถึงปาก
แพรก มะจุ นายหมวดหายไปคนหนึ่ง ครั้ นขึ้นไปดูอายมะจุซึ่งลองแพลงมาถึงยางเกาะก็ทิ้งแพเสีย หายไปอี ก
มะถอ ๑ มะรอย ๑ มะจับ ๑ รวม ๓ หญิง ๑ รวม ๔คน เขากันเปน ๕ คนก็หาไดบอกแกพระยาราชบุรีพระยา
กาญจนบุรีให รูไม แลมอญเหลานี้ก็ตั้งขัดตาทัพอยู ณ แกงไผ เขาใจอยูวา อายหาญหักคายหนีไปทางชองเขา
หนีบ ชองเขารวก เห็ นวามอญเหลานี้จะหนีไปทางชองเขาหนีบ จะทําแพลองลง ลงไปทางแมน้ํ าทองชาตรี ให
พระยาราชบุรี พระยากาญจนบุรี แตคนขึ้นไปใหพระยาทาตะกั่ว พระยาไทรโยค พระยาทองผาภูมิ พวกดานทาง
ทุกแหง ทุ กตําบล ใหออกกาวสกัดจับเอาตั วรามัญซึ่งหนี ไปให จงได แลวจําลองใหมั่ นคง สงเขาไป ณ กรุงฯ
โดยเร็ว หนังสื อมา ณ วั น ๗ แรม ๑๐ ค่ํา เดื อน ๖ ป มะเส็ ง ตรีนิศก
วัน ๗ แรม ๑๐ ค่ํา เดือน ๖ ป มะเส็ง ตรีนิศก * เพลาค่ําจหมื่นไชยพรรับตราไป เรือยาว ๙ วา พลพาย
๑๔ พาย
(๒) หนังสือเจ าพระยาอัครมหาเสนาบดี มาถึงพระยาราชบุรีดวยทรงพระกรุณาตรัสเหนือเกลาสั่งวา
รามัญไมออกไปขัดตาทัพอยู ณ แกงไผ ล องแพลงมาถึงยางเกาะแล วหนีไป เปนชายหญิง ๕ คน ไดมีตราออกมา


ใหพระยาราชบุรี กรรมการ ติดตามแจงอยู แลว แลทุกวันนี้รามัญไดพาบุตรภรรยาไปเที่ยวทํามาหากินทุกแหง
ทุกตําบล ที่เปนคนดีมี ภาคภู มิไมมีหนี้สิน และเลนเบี้ ยกิ นเหลา ก็พาบุ ตรภรรยากลับมาบานเรือน ที่เปนหนี้สินเขา
ติดคางอยูก็ พากันหลบหนีไป จะเอาใชราชการก็มิได ไดมีตราแตงให ขาหลวงไปขั บไลทุกหัวเมืองครั้งหนึ่งแลว
ก็ยังไม กลับเขามา แลรามัญใหมซึ่งไปตั้งบ านเรือนอยู ณ คลองบางสองรอย โพธาราม บางเลาลครชุม ในบรรดา
แขวงเมืองราชบุรีจะไวใจหาไดไม จะหนีไปเหมือนอายหาญหักคาย แลรามัญหนีครั้งนี้นั้น ใหพระยาราชบุรี
แตงกรมการกํ ากับดวยสมิงอาทมาต กวาดไลครอบครัวรามัญใหม ชาย หญิง ใหเขาไปตั้งบานเรือน ทํามาหากิน
ณ กรุงฯ ใหสิ้ นเชิงอยาใหหลงเหลือแตคนหนึ่งได แลอย าใหสมิงอาทมาต กรมการ ลงเอาพัสดุ ทอง เงิน แก
รามัญใหม เป นคาสินบน และคาทุเลาแตเฟองหนึ่งขึ้นไปไดเปนอั นขาดทีเดียว ถาขั บไลไดเขาไป ณ กรุงฯ เป น
รามัญกองใดมากนอยเทาใด ใหมีบาญชีบอกเขาไปใหแจ ง หนังสือมา ณ วั น ๓ แรม ๑๓ ค่ํา เดือน ๖ จุลศักราช
๑๑๘๓ ปมะเส็ ง ตรีนิ ศก *
๑๒
และจดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ บอกพระยาพิ ไชยภักดี เมืองกาญจนบุรี ตอบรับทอง
ตราเรื่องให พระยาไทรโยค แตงคนออกไปลาดตระเวนจับพมาทางเมื องทวาย วัน ๔ ฯ ๙ ค่ํา ปมะเมีย จ.ศ.
๑๑๘๔


ขาพเจา พระยาไชยภักดีศรี มหัยสวรรค พระยากาญจนบุรี หลวงกาญจนบุรี ยกระบัตร กรมการ ขอ
บอกมายังทานออกพันนายเวน ขอใหกราบเรียน ฯพณฯ หัวเจาทานลูกขุน ณ ศาลา ใหทราบดวยอยู ณ วั นเดือน
เกา แรมเกาค่ํา ปมะเมีย จัตวาศก เพลาเชา หมื่นวิสูตรภักดี ถือตราราชสีหโปรดเกลาโปรดกระหม อมออกมาถึง
ฯ ขา ฯ กรมการวาพระยารัตนจักร ไปจับอายพมาไดสองคนให การวาเจ าอังวะใหมองษาเปนเจาเมืองเมาะตะมะ
ใหตะแคงมองมูกับมหาอุตนากลับไปเมืองอังวะ มหาอุตนาใหคนรั กษาดานสามตําบลเปนคนเจ็ดร อยหาสิบคน
ทรงพระราชดํ าริวา ณ เดือนสิบ เดือนสิบเบ็ดนี้เปนต นระดูศก จะไว ใจหาได ไม ให ฯขาฯ กรมการมีหนังสือไป
ถึงพระยาไทรโยค พระยาทองผาภูมิ พระทาตะกั่ วใหจัดหลวงขุนหมื่ นกรมการแลไพรใหได หาสิบหกสิบ
สรรพไปเครื่องศัสตราวุธไปลาดตระเวนจั บพมาทางเมืองทวายใหจงได แตพระยาไทรโยคนั้นอยาใหไปเลย นั้น
ฯขาฯ กรมการไดทราบเกลาทราบกระหม อม ในทองตราซึ่งโปรดออกมาทุกประการแลว ขาพเจากรมการคัด
สําเนาทองตราใหขุนศรี วันคี รีกับไพรสามคน ถือหนังสือไปถึงพระยาไทรโยค พระยาทองผาภูมิ พระทาตะกั่ว
แต ณ เดือนเก า แรมเกาค่ํา เพลาบายตามท องตราซึ่งโปรดมา ถาผูถือหนังสือกลับมา พระยาไทรโยค พระยา
ทองผาภูมิ พระทาตะกั่ว บอกจํานวนคนนายไพร เครื่องศาสตราวุธมากนอยเทาใด ยกไปจากแมน้ํ านอยวั นใด
ขาพเจากรมการจะบอกใหมาครั้งหลัง ควรมิควรแลวแตจะโปรด ฯขาฯ บอกมา ณ วันพุธ เดือนเกา แรมสิบ
สองค่ํา ปมะเมีย จัตวาศก*
๑๑
และจดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ เรื่องบอกพระยาพิไชยภั กดี เมืองกาญจนบุรี
เรื่อง แตงขุนหมื่นกรมการออกลาดตระเวนชายแดน วั น ๗ ฯ ๕ ป มะแม จ.ศ.๑๑๘๕


ขาพเจาพระยาไชยภั กดีศรีมหัยสวรรค พระยากาญจนบุรี กรมการ ขอบอกมายังทานออกพันนายเวน
ขอไดกราบเรี ยนแต ฯพณ ฯ หัวเจาทานลูกขุน ณ ศาลาใหทราบ ดวยมี ตราพระราชสีหโปรดเกลาโปรด
กระหมอมออกมาวา พระยาไทรโยคกรมการออกไปจับพมาทางเมืองทวาย ไปถึงปลายคลองน้ํากระมองสวย


พบอายพมาไดรบพุงกัน กองพระยาไทรโยคตายหนึ่งคน หายไปเจ็ ดคน พากันแตกกลับมานั้น ทรงพระกรุณา
ตรัสเหนือเกล าเหนือกระหม อมสั่งวา พระยาสิงหจักรยกไปจับพมาหาระวังรักษาตัวไม ทําใหเสี ยทีแกอายพมา
นั้นผิดอยู ใหพระยามหาโยธาคิดอานจัดแจงออกไปจับพมาอีกและหนาดานเมืองกาญจนบุรี ศรีสวัสดิ์ เมืองไทร
โยค ทองผาภูมิ ทาตะกั่ วนั้น อยาใหขาพเจ าพระยาไทรโยค พระยาทองผาภูมิ กรมการ ไวใจแกราชการ ให กําชับ
กําชาผูไปลาดตระเวนรักษาการใหระมั ดระวังตั ว จงสามารถอยาใหอ ายพมามาจับเอาผูคนไปได นั้น ขาพเจา
กรมการไดทราบเกลาทราบกระหมอมในทองตราซึ่งไดโปรดออกมาแลว ขาพเจาได แตงให หมื่นราช หมื่นรอง
แพง นายไพร รอยสิบคน ปนคาบศิลาสามสิบเบ็ดบอกยกขึ้นไปลาดตระเวนใหถึงแมน้ําเมืองอีก ไดยกไปจาก
เมืองกาญจนบุ รี แต ณ วันเดื อนหา ขึ้นหกค่ํา ถาแลผูไปราชการกลับมาไดราชการประการใด ขาพเจาจะบอกเข า
มาครั้งหลัง
อนึ่ง พระยาไทรโยคกรมการบอกลงมาถึงขาพเจากรมการ วาพระยาไทรโยค จัดใหนายไพรสิบสามคน
ออกไปสืบดูที่ รบกันทางหนึ่ ง พระยาไทรโยคจัดใหนายไพรสิบสองคน กองพระยามหาโยธานายไพรสี่สิบคน
ไปกาวสกั ด ดู ใหถึงปลายคลองโปกะทะปลายที่บอแมน้ํ าเราะลําหมูลึงทางหนึ่ง พระยาไทรโยคจั ดใหขุนหมื่น
นายไพรสามสิ บเบ็ดคน ปนคาบศิลาสิบหาบอกออกไปตามทางหลวงแมน้ําเราะให ถึงเขาสูงแดนตอแดน ไดยก
ไปแต ณ วันเดื อนสี่ แรมสิบค่ํา ยังหากลับมาไม ถากลับมาไดราชการประการใด ข าพเจาจะบอกเขามาครั้งหลัง
แลขาวคงฉาง ณ เมืองกาญจนบุรีมีอยูเกาสิบหกเกี ยน แลใหขาวคานาจัดซื้อ ขาพเจ าแตงใหกรมการกํากับ
ขาหลวงเสนา ออกไปประเมินนาของราษฎรยังหาเสร็จถาไดจํานวนนาขาว คานาจั ดซื้อ มากนอยเทาใด
ขาพเจาจะบอกเขามาใหทราบ ขาพเจาบอกมา ณ วันเสาร เดือน ๕ ขึ้นสิบเอ็ดค่ํา ปมะแม เบญจศก ฯ
จากจดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทรทั้ง ๓ ฉบับ จะเรียกวา พระยาไทรโยค พระยาทองผาภูมิ พระยาทา
ตะกั่ ว หลักฐานที่สําคัญอีกชิ้นหนึ่งที่ตระกู ลของผูเขียนเก็ บไว คือผานุงที่เปนผาสมปก และผาปูม ผาสมปกนั้น
ขุนนางชั้นพระยาถึงนุง สวนผาปูมนั้น ขุ นนางชั้นคุ ณพระนุง ดังนั้ นอาจเปนไปไดว าผาสมปกนั้นเปนผานุง
ของพระยาไทรโยค สวนผาปูมนั้นเปนผานุงของพระนิ โครธาภิโยค ซึ่งเปนบรรพบุรุษตนตระกุ ลของผูเขียนทั้ง
๒ ทาน เปนไปไดหรือไม วาเจาเมืองดานทั้ ง ๓ เมืองนั้นไดเลื่อนยศเป นพระยา เพราะอาจเปนดานสําคัญ
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล าเจาอยู หัวนั้ น ไดมีการแบงหัวเมืองตาง ๆ ภายในประเทศ
ใหขึ้นกับกรมตาง ๆ ถึง ๓ กรม คือกรมมหาไทย กรมพระกลาโหมและกรมทาหั วเมืองที่ขึ้นกับกรมมหาดไทย
ไดแกเมืองกรุ งเกา อางทอง พรหม อินทร ไชยนาท พยุหคีรี บรรพตพิไสย พิษณุโลก ศรีสําโรง พิ ไชย อุตร
ดิษฐ ตาก ลพบุรี สระบุรี วิเชียร เพชรบูรณ หลวงพระบาง นครจําปาศักดิ์ มุกดาหาร พาลุกาดลภูมิ อุบล
พิบูลมังสาหาร ตระการ พื ชผล มหาชลาลัย กาฬสินธุ สหัสขันธ กมลาสัย ภูวดลสอาง สวางแดนดิน ยโสธร
นครพนม ขอนแก น หนองคาย ภูเวียง วานรนิวาส สิงขรภูมิ กันทราลักษ อุทุมพรพิไสย ฉะเชิงเทรา พนม
สารคาม พระตะบอง นครเสียงมราฐ เป นตน หั วเมืองที่ขึ้นกับกรมพระกลาโหมได แกเมือง นครเขื่อนขันธ
ปทุมธานี ราชบุรี สมิงขบุรี ลุมสุม ทาตะกั่ว ทาขนุน ทากระดาน ไทรโยค ทองผาภูมิ เพชรบุรี
ประจวบคีรีขั นธ กําเนิดนพคุณ ประทิว ทาแซะ หลังสวน กาญจนดิฐ พัทลุง ประเหลียน สงขลา ยะหริ่ง ระ
แงะ กลันตัน ตรังกานู ไทร สตุล ภูเก็ต พังงา ตะกั่ วทุ ง ตะกั่ วปา ระนอง กระ เปนตน หั วเมื องที่ขึ้นกับ


กรมทาไดแก เมืองนนทบุรี นครไชยศรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ ชลบุรี บางลมุง ระยอง
จันทรบุรี แกลง ตราด ประจันตคีรีเขตต เปนตน

เมืองสมิงสิงหบุรี ๑ เมืองลุมสุม ๑ เมืองทาตะกั่ ว ๑ เมืองไทรโยค ๑ เมื องทาขนุน ๑ เมืองทองผาภูมิ ๑
เมืองทากระดาน ๑ ทั้งเจ็ ดหั วเมืองเหลานี้ แตเดิมก็ไม เปนเมืองเปนแตที่ตั้ งคายที่ดานตั้งอยูเทานั้น แต
พระบาทสมเด็ จพระเจ าแผนดินแต กอน ทรงพระราชดําริวาจะใหมีเกียรติศัพทดังออกไปขางเมืองพมาวา มีหั ว
เมืองแนนหนาหลายชั้น จึงโปรดตั้งใหเป นหัวเมืองขึ้น มี กรมการอยูรักษาทุก ๆ เมือง


บริเวณหัวเมืองชายแดนทางดานตะวันตกของประเทศซึ่งติดตอกับประเทศพมาโดยเฉพาะเมือง
กาญจนบุรีและราชบุรีนั้น เปนบริเวณที่พวกมอญมักจะอพยพเขามาอาศัยพึ่งพระบรมโพธิสมภารในยามที่ไดรับ
ความเดือดรอนจากพมาอยูเนือง ๆ ฝายรัฐบาลไดจัดใหคนพวกนี้อยูรวมกันเปนเปนหมูเหลาตามเมืองหนาดาน
ตําบลตาง ๆ ที่เปนเมืองหนาศึกกับพมาเรี ยกรวมกั นวา รามัญ ๗ เมือง ขึ้นตอเมืองกาญจนบุรี รามัญทั้ง ๗ เมือง
นี้ไดแกเมืองสิ งห (หรือสมิงขะบุรี) เมืองลุ มสุม เมืองไทรโยค เมืองทองผาภูมิ เมืองทาตะกั่ ว เมื องทาขนุน และ
เมืองทากระดาน เมืองเหลานี้ตั้งอยูในแควลําน้ํานอย ยกเวนเมืองทากระดานเทานั้นที่ ตั้งอยูบนแควใหญลําน้ํา
เมืองกาญจนบุ รีใตเมืองศรีสวัสดิ์ลงมา
อนึ่งทรงพระราชดําริวา ผูสําเร็จราชการเมื องตาง ๆ ทั้งเจ็ดหัวเมืองเหลานี้ไมมีชื่อตั้งไมสมควร ฉะนั้น
ณ วั นจันทร เดือน ๘ แรม ๑๐ ค่ํา ปมะเมีย สัมฤทธิศก (พ.ศ.๒๔๐๑) จึงโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทาน
ชื่อเปนภาษาสันสกฤตแกผูสําเร็จราชการเมื องเหลานี้เสียใหม
ชื่อของผูสําเร็ จราชการหัวเมื องมอญทั้ง ๗ ที่ไดรับพระราชทานเปลี่ยนใหมมีดังนี้
เมืองสิงขบุรี พระสุรินทรศักดา พระสมิงสิงขบุรี ผูวาราชการเมือง แปลงวา พระสมิงสิงหบุรินทร
เมืองลุมซุม พระนรินทรเดชะ พระลุมซุม ผูวาราชการเมื อง แปลงวาพระนิพนธ ภูมิบดี
เมืองทาตะกั่ ว พระณรงคเดชะผูวาราชการเมือง แปลงวาพระชินดิ ฐบดี
เมืองทาขนุน พระพรหมภักดี ผูวาราชการเมือง แปลงวา พระปนัศติฐบดี
เมืองทากระดาน พระทากระดาน ผูวาราชการเมือง แปลงวาพระผลกติฐบดี
เมืองไทรโยค พระไทรโยค ผูวาราชการเมื อง แปลงวาพระนิโครธาภิโยค
เมืองทองผาภูมิ พระทองผาภูมิ ผูวาราชการเมือง แปลงว าพระเสลภูมิบดี
แลวพระราชทานเสื้อเขมขาบคนละตัว ๆ เปนของขวัญ หัวเมืองทั้งเจ็ดนั้น ขึ้นแกเมื องกาญจนบุรี
ทั้งสิ้น แตผูสําเร็จราชการการกรมการเมืองแยกยายกันมาตั้งอยูในแขวงเมืองราชบุรีบาง

ในหนังสือจดหมายเหตุระยะทางเสด็จประพาสไทรโยคครั้งที่ ๓ ในรัชกาลที่ ๕ เมื่อปชวด สัมฤทธิศก
พ.ศ. ๒๔๓๑ พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาศรีเสาวภางค


ไดทรงบันทึกเรื่องการพระราชทานชื่อแก ผูวาราชการเมื องทั้ง ๗ เชนเดียวกันกับที่ไดกลาวมาในข างบน
แตชื่อของผูวาราชการบางคนผิดเพี้ยนไปจากที่ไดพระราชทานไวเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๔ บางเล็กนอย ดังทานผูอาน
อาจจะสังเกตไดจากบั นทึกของพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาศรีเสาวภางคดั งตอไปนี้





แผนที่รามัญ ๗ หัวมือง

“รามัญทั้ง ๗ เมือง มีเจาเมืองหรือผูวาราชการเมืองเปนผู ปกครองดูแล และยังมี หลวงปลัดยกระบัตร
หลวงพลกรมการ ขุนหมื่นไพรเมืองละมาก ๆ ซึ่งลวนแตเปนคนมอญดวยกันทั้งหมด เจาเมืองมี ยศเปน “พระ”
เรียกตามชื่อเมื องนั้น ๆ เชน พระไทรโยค พระทาขนุน เปนตน ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระ
จอมเกลาเจาอยูหั วไดพระราชทานชื่อผูวาราชการเมืองทั้ง ๗ เปนตําแหนงยศดังนี้
พระเมืองสิงห เปน พระสมิงสิงหบุรินทร
พระลุมสุม เปน พระนินนภูมิบดี
พระทาตะกั่ว เปน พระชินดิ ษฐบดี
พระไทรโยค เปน พระนิโครธาภิ โยค
พระทองผาภูมิ เปน พระเสลภูมาธิการ
พระทาขนุน เปน พระปนนสดิ ษฐบดี
พระทากระดาน เปน พระผลกะดิ ฐบดี
บริเวณที่เป นที่ ตั้งเมืองทั้ง ๗ นั้น ไมสูมีผูคนอาศัยอยูมากนัก เนื่องจากวาพื้นที่เป นปาทึบและภู เขาสูง
ซึ่งไมสามารถทํานาทําไรให ไดผลเพียงพอที่จะยังชี พอยูได บรรดาชาวเมืองจึงพากันไปตั้งบานเรือนอยูที่
นครชุมน บานบางเลา บานโพธาราม แขวงเมืองราชบุรีเปนสวนใหญ แมวาเจาเมืองกรมการจะไมได ตั้ง
บานเรือนอยู ในเขตแขวงเมื องนั้น ๆ แตก็ มีบานเรือนของขุนหมื่นนายดานตั้งอยู เปนระยะ ๆ และผู วาราชการ
กรมการก็ได ไปตรวจตราอยูเสมอเพราะเป นชองดานทางไปมากับเมืองนอกพระราชอาณาเขตได หลายชองทาง


หลายตําบล บางเมืองก็มีคนไทยบาง กะเหรี่ยงบาง มอญบาง เขาไปตั้งบานทําไรตัดไมอยูเปนระยะ และถามี
บานเรือนมากก็จะมี กรมการเมืองออกไปกํ ากับอยูด วย เชน แขวงไทรโยค เปนตน


รามัญ ๗ เมือง มีอาชีพเกี่ยวกั บการตัดไม เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเปนปาและเขากลาวคือเมื องไทร
โยคนั้นมีปาไมสักขนาดเล็กใหญที่สุดประมาณ ๗ กํา ชาวเมืองจะตัดผู กแพลองมาขายแถบกาญจนบุรี ราชบุรี
เสมอ แขวงเมื องทาตะกั่ วเมื องลุมสุมจะมีการตัดเสาไมเต็งรังและตัดไมไผปาลองแพลงมาขาย แขวงเมืองสิงห
ตัดไมฝาง ไมรวกใหญขนาดทํารั้วโปะปลา ซึ่งชาวเมืองสมุทรสงครามมารับเปนสินคาไป และยั งมีไมเสาเล็ก ๆ
บาง นอกจากนี้ก็มีการหาของปา ทําน้ํามันยาง ทําไต เปนตน บางแหงมีการทําไร บางแตก็เพียงพอใชใน
ครอบครัวเทานั้น
๑๐
สวนพวกมอญที่เขามาอยูแถบบานแขวงเมืองราชบุรีนั้นมีอาชีพในการทํานา
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๐ ครั้งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหั วเสด็จประพาสไทรโยค ครั้งที่ ๒ ได
ทรงพระบรมราชาธิบายวา
๑๑
เมืองกาญจนบุรีนี้ แตเดิมเมื่ อกรุงเกาขึ้นกรมมหาดไทย ภายหลังมาจึงไดยกมาขึ้น
กลาโหม เมืองมีอาณาเขตทางตะวั นออกเขตแดนเมืองราชบุรีใหม ทางพระแทนดงรั งเพียงห วยขานางตอแขวง
สุพรรณที่เขาหลอกลวง ขางเหนือคือเมืองศรีสวัสดิ์และเมืองอุทัยธานี ขางใตตอแขวงเมืองราชบุรีคนละฝงกัน
กับคลองสํารอง...มีเมืองศรีสวัสดิ์เปนเมืองใหญ มีละวากะเหรี่ ยงและมี ขาสอูดอีกพวกหนึ่ง พู ดภาษาหนึ่ง
ตางหากประพฤติตัวเหมือนกระเหรี่ ยงแต ไมโพกผา เมื องขึ้นที่เปนมอญ ๗ เมือง แตเจาเมืองไมไดอยูมีแต กอง
ดานขึ้นไปลาดตระเวน ตั วเจาเมืองกรมการลงไปอยูที่โพธารามแขวงเมืองราชบุรี คื อ เมืองสิงคลบุรี เรียกวา
เมืองสิงห เมืองลุมสุม เมืองทาตะกั่ ว เมืองไทรโยค เมื องทาขนุน เมื องทองผาภูมิ ที่เมืองทองผาภูมินี้เป นดาน
ชั้นนอก เมือง ๖ เมืองนี้เปนเมืองอยูในลําแมน้ํานอย เมืองทากระดานอยูในแควใหญ อีกเมืองหนึ่งเปน ๗ เมือง
กระเหรี่ ยงนั้นมีเปนกองตั้งอยูเปนตําบล ๆ ที่วังกะตําบล ๑ นาสวนตําบล ๑ ที่อื่น ๆ อีกหลายตําบล ในที่นาสวน
นั้นมีจีนเขยสู อยูมาก จี นเขยสูเหลานี้สักข อมือเสียสวนปละ ๖ บาท คนเลขคงเมืองกาญจนบุรีอยู ใน ๓๕๐ เศษ มี
กองสวยผึ้งสวนเงินขึ้นพระยาสุรเสนา ๑๐๐ เศษ สวยน้ํารั กขึ้นกรมพระกลาโหมเล็กน อย ละวาขาสอูดเมืองศรี
สวัสดิ์ประมาณ ๑๒๐๐ คน มอญ ๗ เมืองอยูใน ๓๕๐ เศษ สวยทอง ๗ กอง คนอยูใน ๗๐ เศษ สวยวังหนามี
บานเล็กนอย คนพลเมืองพระยากาญจนบุรี เขาประมาณว าสักหมื่นเศษ ในเมืองกาญจนบุรี นี้แตกอนเปนเมือง
หนาศึกดวยเขตแดนขางตะวั นตกนั้ นตอกันกับเขตแดนเมื องมริดทวาย พมายกเขาตีอยูเสมอ เมืองราชบุรีเมือง
กาญจนบุรีนี้ แตเดิมไมมีคนอยูขางฝงตะวั นตกเลย ด วยพมามักมาลาดตระเวนทีละ ๒๐ คน ๓๐ คน ถาไทยพลัด
มาขางฝายตะวั นตกนอยคนพมาก็จับไป ถาพมานอยไทยก็จับมา แต เป นดังนี้จนตลอดเมืองมะริดเมื องทวายเสี ย
แกอังกฤษ จึงไดขาดขาศึกแกกันและกั น ไทยจึงไดขามมาอยูฝ งตะวันตกได...อนึ่งเราไดผลัดไว แต กอนวาสืบ
เรื่องฝาง ทาที่ฝางลงนั้นมักจะลงทางหนองบังทามะขามมากกวาที่อื่ น เปนลูกคาไปรับซื้อกันที่นั่น ที่ทาบานอื่น
และเมืองศรีสวัสดิ์และหัวเมื องมอญ ๗ เมือง มีพวกมอญ ละวา ขาสอูดตัดฝางบรรทุกแพลงมาขายเมือง
กาญจนบุรีบาง ลองลงไปขายถึงเมืองราชบุรีบาง ราคาฝาง ๓ ดุนหนักหาบ ๑ เปนฝางขนาดใหญราคา ๑๖ ตําลึง
ฝาง ๔ ดุนหนั กหาบ ๑ เป นอยางกลาง ราคา ๙ ตําลึง ฝาง ๕ ดุน ๖ ดุ นหนักหาบหนึ่ง รอยดุนเป นราคา ๖ ตําลึง
ยังฝางยอมดุนเล็กนอยไมได นับเปนดุ นขาย ขายกั นหาบละบาท ราคานี้เปนราคากลาง ป ๑ ฝางออกเมือง


กาญจนบุรีใหญเล็กประมาณสองแสนดุนเศษเสมอเปนธรรมดา ถาเวลาราคาฝางแพงก็ออกมากขึ้ น ถาถูกก็ออก
นอยลง...๖
โดยทั่วไปแลวอาชีพที่ราษฎรรามัญ ๗ เมืองทํานั้นเปนการทําเพื่อยังชีพไปวันหนึ่ง ๆ เทานั้น เนื่องจาก
ภูมิประเทศกั นดารและอัตคั ดมาก ราษฎรสวนใหญจัดอยูในขั้ นที่ขัดสน ดวยเหตุนี้จึ งปรากฏวารัฐบาลไมเคย
เก็บภาษีอากรจากคนพื้ นนี้เลย
๑๒
อีกประการหนึ่งการทํ าทะเบียนจํานวนคนก็ไมสูจะแน นอนเพราะมีการอพยพ
กลับไปพมาบ าง อพยพจากพมาเขามาเพิ่มบางครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ หลังจากที่มีการแกไขการปกครองเปน
แบบมณฑล เทศาภิบาลแลวพระยาวรเดชศักดาวุธ ขาเหลวงเทศาภิบาลมณฑลราชบุรีไดเสนอให เก็บเงินคา
ราชการจากราษฎรชาวมอญ ชาวกะเหรี่ ยงที่ประกอบอาชีพอยูตามชายพระราชอาณาเขตเพื่อให เป นการเสมอ
ภาคกับราษฎรทั่ว ๆ ไป แต ใหเก็บคนละ ๓ บาทตอป เนื่ องจากคนพวกนี้ยากจน ที่ทางทํามาหากินก็ ฝดเคือง
และกันดารจึงไมสามารถจะเก็บตามอัตราปละ ๖ บาทเทากับคนทั่วไปได
๑๓
หลังจากที่เสนอเรื่องนี้เขาที่ประชุม
เทศาภิบาลใน พ.ศ. ๒๔๔๓ (ร.ศ. ๑๑๙) พร อมทั้งพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ าอยูหั วที่
ทรงแนะใหมี การกําหนดอัตราการเก็บโดยการแบงเขตตําบลตามความขัดสนมากนอยแทนการกํ าหนดตามเชื้อ
ชาติแลว ปรากฏวาคนมอญในรามัญ ๗ เมื องไดรับการลดเงินสวยลง คงเสียคนหนึ่งปละ ๒ บาท ทั้งนี้ได
ยกเวนคนที่ เพิ่ งอพยพเขามาอยูในป แรก ต อเมืองถึงปที่สองจึงใหเสี ยเท ากับคนที่อยูเดิ ม
๑๔
การเก็บเงินคาราชการจากราษฎรในรามัญ ๗ เมืองในอัตราดังกลาวไดเปนไปอยางเรี ยบรอยและ
เหมาะสม ดังปรากฏในรายงานของพระยาวรเดชศักดาวุ ธ หลังจากที่ไดไปตรวจราชการเมืองกาญจนบุรีวา
“เงินคาราชการที่เก็บแกคนกะเหรี่ ยง มอญ ลาว ซึ่งอยูปลายพระราชอาณาเขตในที่กั นดาร โปรดเกลาฯ ใหเก็บ
แตเพี ยงคนละกึ่งตําลึงนั้นเป นการสมควรแกภูมินิ เทษที่ข าพระพุทธเจาไดไปเห็นในเวลานี้ ถาตอไป
ผลประโยชนมีความเจริญขึ้ นจึงคิดเก็บให มาขึ้นตามสมัย...”
๑๕
คนมอญในรามัญ ๗ เมืองมีฐานะเป นไพร หลวง (สวย) กลาวคือมีหนาที่ตองสงสวยทองแกรัฐบาลทุกป
เมืองถึงเทศกาลแลงราว ๆ เดือนธันวาคม-มกราคม จะโปรดเกลา ฯ ใหเจาเมืองกรมการเกณฑ ไพรหลวงรามัญ
๗ เมืองออกไปรอนทองที่คลองปลอกคลองพลู ใหรอนไดทองขุนหมื่นไพรคนละ ๓ สลึง บุตรหมื่นทนายทาส
คนละ ๑ สลึง ๑ เฟอง
๑๖
และให เจาเมืองกรมการเก็บรวบรวมทองสวยนําขึ้นทูลเกล า ฯ ถวาย
หน าที่ สํ าคัญอี กประการหนึ่ งคื อต องลาดตระเวนรักษาด านอยู เป นประจํ า ทั้งฤดู ฝนและฤดู แล ง
โดยเฉพาะในสมัยรัชการที่ ๒ และ ๓ แห งกรุ งรัตนโกสิ นทร เพื่ อไม ให พม าเล็ ดลอดเข ามาสื บข าวความ
เคลื่อนไหวของฝายไทย ขณะเดียวกันเนื่องจากเปนเมืองหนาดานชั้นนอกตอแดนเมืองเมาะลําเลิงก็ต องหมั่ นสื บ
ฟ งข าวราชการในประเทศพม าดวย ในบางครั้งเมื่ อมี คนในพระราชอาณาจักรหลบหนี ออกจากพระราชอาณา
เขต เช นพวกมอญ บรรดาเจ าเมื องรามัญทั้ง ๗ จะได รับคํ าสั่ งให กํ าชับนายด านทางทุ กแห งตํ าบลให กวดขัน
บริ เวณปลายด านเป นพิ เศษ และออกสกัดจับผู ที่ หลบหนี เพื่ อส งกลับไปกรุ งเทพฯ โดยเร็ ว คนมอญที่ หนี
ออกไปสวนมากมักเปนพวกที่อพยพเขามาอยูในแขวงเมืองราชบุรีในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุ ทธ
เลิ ศหลานภาลัยถึ งกับมี รับสั่ งให อพยพมอญใหม ที่ เขามาตั้งบานเรื อนอยู ที่ คลองบางสรอย โพธาราม บางเลา
นครชุม แขวงเมืองราชบุรี เขาไปตั้งบานเรือนอยูในกรุงเทพฯ ดวยเกรงวาจะหลบหนีไปอีก
๑๗
ในชั้นหลังต อมา

๑๐
ก็ ยังมี การหลบหนี อยู บ าง เช นในสมัยรัชกาลที่ ๔ มี พวกมอญโรงเรื อหลบหนี ไป ๑๒ ครอบครัว ออกไปทาง
เมืองอุทัยธานีและเมืองตากในราว พ.ศ. ๒๓๙๖
๑๘
และขณะเดียวกันก็มี พวกมอญลาวที่ หนี ไปอยู เมาะลํ าเลิ ง และ
ทวาย ลักลอบเขามาชักชวนญาติ พี่ นองแถบเมื องราชบุ รี กาญจนบุ รี ใหอพยพหนี ไปดวย
๑๙
เรื่ องการหลบหนี
ออกนอกพระราชอาณาเขตนี้ได กลายเป นเรื่ องใหญ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่ อมี มอญตํ าบลบางเลา แขวงเมื อง
ราชบุ รี อพยพหนี ไป ๖ ครอบครั ว และกํ าลั งขายบ านเ รื อนไร นาเ ตรี ยมการอพยพอี ก ๗ ครอบครั ว
พระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกลาเจ าอยู หัวโปรดให พระยามนตรี สุ ริ ยวงศแทนสมุ หกลาโหมออกไประงับเหตุ
แหงความเดือดรอนอันทําใหพวกมอญตองอพยพทิ้งบานเรื อนไป และกํ าชับพวกด านทางใหป องกันใหเขมแข็ ง
ขึ้น
๒๐
นอกจากงานดั งกลาวแลว รามัญทั้ง ๗ เมืองก็อาจจะมีงานอื่นๆที่เปนการจร ซึ่งแลวแตวาจะไดรับคําสั่ง
มาเปนคราว ๆ ไป เปนตนว าเกณฑให ตัดไมเพื่อใชทําดามพระแสงหอก
๒๑
ทําพลับพลาที่ประทับเวลาเสด็จพระ
ราชดําเนินไปประพาสแควนอยไทรโยค
๒๒
และในระยะหลังที่ไทยมี การติดตอกับหัวเมืองพมาตอนลางที่เปน
ของอังกฤษแลว ก็มีการไปมาคาขายติดตอกับเมาะตะมะ เมาะลําเลิง รางกุง เปนตน ครั้นเมื่อมีราชการที่จะ
ออกไปยังเมืองเหลานั้น ก็ ไดอาศัยพวกรามัญ ๗ เมือง คอยรับสงจัดที่ พักและนําทางพวกอาทมาตเขาไปถึง
ปลายดานอยู เสมอ ๆ
๒๓

สวนในยามสงครามนั้น รามัญทั้ง ๗ เมือง ก็ถูกเกณฑเขากองทัพด วย โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณเมือง
เหลานี้เปนเส นทางที่ยกทั พไปมาของพมา และฝายไทยเวลายกทัพไปรบก็อาศัยการเดินเรือในลําน้ํ าแควนอยไป
ขึ้นบกที่ไทรโยค และไดอาศัยพวกรามัญ ๗ เมือง ในการทําทาง จัดตั้ งกองเสบียงอาหารและที่พั กเปนระยะไป
บรรดานายดานนายกองไดรั บพระราชทานเบี้ยหวั ดคนหนึ่งปละ ๖-๒๐ บาท สวนเจาเมืองไดปละ ๔๐
บาทเปนอยางสูง
๒๔
ทั้งเจาเมือง กรมการ นายดานนายกอง จะตองไปถือน้ําพระพิพั ฒนสัจจาปละ ๒ ครั้ง ใน
เทศกาลตรุษและสารทเชนเดียวกับขาราชการทั่วไป โดยเขาไปทําพิธี รวมกับพระยากาญจนบุรีและกรมการ ณ
วัดอารามในเมื องนั้น การกระทําสัตยานุสัจจบายหนาไปยั งกรุงเทพฯ
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ พระครูสุวรรณวรรัตน เจาอาวาสวั ดแปนทองโสภาราม แขวงสาม
วาตะวันตก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ๗ มีนาคม ๒๕๔๒ หนาที่ ๑๖๕ ไดสรุปหนาที่ ของชาว
รามัญ ๗ หัวเมืองนี้ มีหนาที่ดังนี้
๑. ลาดตระเวนรักษาดานเป นประจําฤดูเพื่ อปองกันพมาเขามาสืบขาวจากทางไทย
๒. สืบขาวความเคลื่อนไหวของพมา และคอยสกัดจับผู คนที่หนีเขาและออกในราชอาณาเขต
๓. ทําทางเดิน และจัดตั้งกองเสบียงในยามศึกสงคราม
๔. ตัดไมเพื่อทําพระแสง หอก พลับพลาที่ประทับเวลาเสด็จหั วเมือง
๕. เกณฑคนรามัญเขารวมขบวนแหในพระราชพิธี สําคัญ
๖. เกณฑคนไปรอนทองที่คลองปล็อก และคลองพลู เพื่อสงสวยทองคําใหกษัตริย ไทยทุกป
๗. ทําหนาที่อื่ น ๆ ตามรับสั่ง


๑๑



หนาที่อื่น ๆ เทาที่ผูเขียนทราบ เชน
๑. เผาอิฐสรางพระปฐมเจดีย สมัยรัชกาลที่ ๔ (สมุดไทยดําบานผูเขียน)
๒. ตัดไม จากปาเมืองไทรโยค ลุมสุม ทาตะกั่ ว สรางพระเมรุมาศของพระเจาอยูหั วและพระบรม
วงศานุ วงศ (คําบอกเลาของ ศาสตราจารย เกียรติคุ ณนายแพทยสุเอ็ ด คชเสนี)
ครั้นเมื่อเริ่มจั ดการปกครองตามระเบียบใหมตั้งแต พ.ศ. ๒๔๓๘ (ร.ศ.๑๑๔) เปนตนมาไดยกเลิกรามัญ
๗ หัวเมือง โดยยุบไปสังกั ดขึ้นแก เมืองกาญจนบุรี ฐานะของเมืองเหลานั้นจึงมี การเปลี่ยนแปลงไปคือ
เมืองทองผาภูมิ (เดิมเรี ยกวาทองผาภูมิ) ยุ บลงเปนหมูบ านอยูในเขตกิ่ งอําเภอสังขละบุรี(ตอมาเป นอําเภอ
สังขละบุรี) ปจจุบันเป นอําเภอทองผาภูมิ
เมืองทาขนุน(สั งขละบุรี) ยุ บลงเปนกิ่งอําเภอสังขละบุรี ขึ้นตออําเภอวั งกะ ซึ่งตั้งใหมอยูหางจากท าขนุน
ขึ้นไป ตั้งที่วาการริมน้ําสามสบ ตอมาอําเภอวังกะและกิ่งอําเภอสังขละบุรีไดถูกเปลี่ยนฐานสลับกันหลายครั้ง
และตอมากิ่งอํ าเภอสังขละบุ รีตั้งอยูที่ตําบลวังกะ เดิมขึ้นต ออําเภอทองผาภูมิและเปลี่ยนชื่อเปนอําเภอสังขละบุรี
สวนกิ่งอําเภอสังขละบุรีเดิมตั้งอยูที่ตําบลทาขนุน เปลี่ยนเปนอําเภอทองผาภูมิ ตั้งแต พ.ศ.๒๔๙๒ เปนตนมา
เมืองไทรโยค ยุบลงเปนกิ่งอํ าเภอวังกะ ใน พ.ศ.๒๔๙๒ ต อมาไดโอนขึ้ นกับอําเภอเมื องกาญจนบุรี ได
ยายที่ทําการหลายครั้ง ปจจุ บันนี้ตั้งที่ทําการอยูที่ตําบลวั งโพธิ์ และได ยกขึ้นเป นอําเภอไทรโยค เมื่ อวันที่ ๑๗
กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๖
เมืองทาตะกั่ ว ยุบลงเปนหมู บานอยูในตําบลทาเสา อําเภอไทรโยค
เมืองลุมสุม ยุบลงเปนหมูบ านในตําบลลุ มสุม อําเภอไทรโยค
เมืองสิงห ยุบลงเปนหมูบานอยูในตําบลสิงห อําเภอไทรโยค
เมืองทากระดาน ยุบลงเปนหมูบาน ในอําเภอศรีสวัสดิ์
ในปจจุบั นนี้ทายาทผูสืบตระกูลของทานผูว าราชการหัวเมื องมอญทั้ง ๗ เมือง ไดอาศัยตั้งถิ่นฐาน
บานเรือนอยู ในบริเวณอําเภอโพธาราม อ. บานโปง ในตํ าบลตาง ๆ ทั้งสองฝงแมน้ําแมกลอง โดยเฉพาะตําบล
คลองตาคต (บางเลาเดิมคือ บานคงคา) นอกจากนั้นก็มี กระจายอยูเปนอันมากในบริเวณตําบลตาง ๆ ของอําเภอ
บานโปง และแมตําบลสวนลาง ๆ ของอําเภอทามะกาซึ่งอยูติดตอกับส วนบนของอําเภอบานโปงก็ มีเชื้อสายวาน
เครือของทานเจาเมืองทั้ง ๗ อยูเหมือนกัน สําหรับบรรดาทายาทผูสืบสกุลของทานเหลานี้จะทราบไดโดยงาย
โดยการสังเกตนามสกุลซึ่งมีอยูมากมายหลายนามสกุลด วยกัน ผูเขี ยนต องขอออกตัวไวเสียกอนวาอาจจะมีขาด
ตกบกพรองไปบางไมมากก็ นอย ตัวอยางนามสกุลที่สืบเชื้อสายมาจากเจาเมืองมอญทั้ง ๗ เมืองแห งจังหวั ด
กาญจนบุรีเทาที่สามารถจะรวบรวมไดมีดังนี้

พระสมิงสิงหบุรินทร เมืองสิงขบุรี ไดแก นามสกุล สิงคิบุรินทร ธํารงโชติ ปลัดสิงห
พระนิพนธภูมิ บดี เมืองลุมสุม ไดแกนามสกุล นินบดี นิ ลบดี นินทบดี หลวงบรรเทา พระบรรเทา

๑๒
พระชินดิ ฐบดี เมืองทาตะกั่ ว ไดแกนามสกุล ปนยารชุน ชินอักษร ชิ นบดี ชินหงษา มัญญหงส ทากั่ว
อักษร จาเมือง หลวงพันเทา นิลบดี (สายหลวงพันเทาทุกขราษฎรจุย)

พระปนนสติฐบดี เมืองทาขนุน ได แก นามสกุล หลักคงคา กุลอาจยุทธ ยศศักดิ์ พลเภรีย
พระผลกติฐบดี เมืองทากระดาน ไดแกนามสกุล พลบดี ตุลานนท พลดี
พระนิโครธาภิ โยค เมืองไทรโยค ไดแกนามสกุล นิไชยโยค นิโครธา นิไทรโยค นิ โกรธา
พระไทรโยค มะมม หลวงสงคราม หลวงพล หลวงปลัด ศรีสงคราม
พระเสลภูมิบดี เมืองทองผาภูมิ ได แกนามสกุล เสลานนท เสลาคุณ
นอกจากนี้ทานผูใดเปนลูกหลานมอญลุมน้ําแมกลอง มี คําขึ้นตนสกุลวา จางวาง จั กกาย หมื่น ขุ น
หลวง ยกกระบัตร นําหนาลวนแลวแตเป นสกุลของคณะกรมการเมืองทั้ง ๗ นี้ทั้งสิ้น
ณ บัดนี้ เรื่องราวตาง ๆ ในอดีตกาลก็ไดผานพนไปแลว สิ่งที่ทานผูนําชาวมอญทั้งหลายรวบรวมทั้ งทาน
ที่มีเรื่องราวปรากฏดังที่ผูเขียนไดบรรยายมาขางตน ได ทิ้งไวเบื้องหลังของทาน ก็คื อเกียรติประวั ติอันควรแก
การยกยองสรรเสริญ จะเปนเรื่องที่ เลาขานกันในบรรดาอนุชนรุนหลั ง ตลอดจนทายาทสืบสายสกุลของทาน
ตาง ๆ เหลานี้ ไปอีกนานแสนนาน สิ่งที่ท านเหลือไวดูต างหนาก็คงจะไมมีอะไรมากนอกจากพระเจดียทรง
รามัญรายรอบภายในกําแพงแกวพระอุโบสถวัดคงคารามตัวแทนเจาเมืองมอญทั้ง ๗ และอนุสาวรียบรรจุอัฐิของ
ทานเรียงรายกั นอยูภายนอกกําแพงแก วพระอุโบสถของวัดคงคาราม อันเปนวั ดที่ท านเหลานี้ไดช วยกันกอราง
สรางกันขึ้นมา และเปนสถานที่ที่ทานได เคยทําบุญสมาทานศีล ตลอดจนเป นแหลงสุดทายที่พวกทานหลับตา
ลงอยางสงบเปนวาระสุดทาย ดวยความหวังวาลูกหลานของทานภายหนาคงจะไมละทิ้งแนวปฏิบัติ และลัทธิ
ธรรมเนียมประเพณีอยางที่ท านไดเคยกระทํามาในอดีตกาล
ผูเขียนขอขอบคุณหอสมุดแหงชาติ หองสมุดโรงเรียนสตรีวิทยา ศาสตราจารยเกี ยรติคุณนายแพทย
สุเอ็ด คชเสนี อดีตนายกสมาคมไทยรามั ญ และอาจารยสุภรณ โอเจริญ เปนอยางสูงมาในโอกาสนี้ดวย














๑๓



เอกสารอางอิง
๑. ไทยรบพมา พระนิพนธสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ ฉบับพิมพครั้งที่ ๖ สํานักพิมพคลังวิ ทยา
พ.ศ. ๒๕๑๔ หนา ๓๔๖
๒. บรรณานุสรณ งานพระราชทานเพลิงศพ ขุนอาโภคคดี ณ เมรุ วัดคงคาราม จ. ราชบุรี ประวัติมอญเขา
กรุงสยาม ของ ก.ศ.ร. กุหลาบ พ.ศ. ๒๕๒๕ หน า ๘
๓. จดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ (ควรเป นรัชกาลที่ ๒) ทองตราเจาพระยาอัครมหาเสนาบดีถึง
พระยาราชบุรี พระยากาญจนบุรี เรื่องรามัญในกองพระรัตนจักรหลบหนีการทัพ ๕ คน ใหบอก
ดานทางและแตงคนออกกาวสกัดจับตั ว จ.ศ. ๑๑๘๓ ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม
๑๐ พ.ศ. ๒๕๓๙ หนา ๑๙๒
๔. จดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ บอกพระพิไชยภั กดีเมื องกาญจนบุรี ตอบรับทองตรา เรื่องให
พระยาไทรโยค แตงคนออกไปลาดตระเวนจับพมาทางเมืองทวายวัน ๔ ฯ ๙ ค่ํา ปมะเมีย จ.ศ.
๑๒
๑๑๘๔ ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๑๐ พ.ศ. ๒๕๓๙ หนา ๑๙๗
๕. จดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ เรื่องบอกพระยาพิไชยภักดี เมืองกาญจนบุรี เรื่องแตงขุนหมื่ น
๑๑
ออกลาดตระเวนชายแดนวั น ๗ ฯ ๕ ปมะแม จ.ศ. ๑๑๘๕ ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก
เลม ๑๐ พ.ศ. ๒๕๓๙ หนา ๑๙๙
๖. พระราชพงศาวดารกรุงรั ตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ ฉบับเจาพระยาทิพากรวงศ “สําหรับพระพิ พิธสาลี ”
ไมปรากฏชื่อโรงพิมพ พ.ศ. ๒๔๗๗ หนา ๓๙๗
๗. ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ (พิมพ ในงานพระราชทานเพลิงศพพระมหาโพธิวงศาจารย อินทโชตเถระ)
โรงพิมพดํารงธรรม ธนบุรี พ.ศ. ๒๕๑๑
๘. พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาศรีเสาวภางค จดหมายเหตุระยะทางเสด็จประพาสในรัชกาลที่ ๔ เด็จ
ประพาสไทรโยคครั้งที่ ๒ ป ชวด สัมฤทธิศก พ.ศ. ๒๔๓๑ (พิมพ ในงานถวายพระเพลิงพระ
บรมศพสมเด็จพระศรีพัชริ นทราบรมราชินีนารถ) โรงพิมพโสภณพิ พรรฒนากร กรุงเทพฯ
พ.ศ. ๒๔๖๓ หนา ๒๙-๓๐
๙. เรื่องเดียวกั น, หนา ๓๐
๑๐. เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๘
๑๑. พระราชนิ พนธเสด็จประพาสไทรโยค ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหั ว โรงพิมพคุรุสภา
กรุงเทพ ฯ พ.ศ.๒๕๐๔ หน า ๗๙-๘๒ เอกสารอางอิงตอไปนี้ (ตั้งแต หมายเลข ๑๒ จนถึงหมายเลข
๒๔) เปนเอกสารอางอิงที่ไดจากสุภรณ โอเจริญ ในวิ ทยานิพนธเพื่ อปริญญาอักษรศาสตร

๑๔
มหาบัณฑิ ต แผนกวิชาประวั ติศาสตรบัณฑิ ตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิ อทยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๖
เรื่องชาวมอญในประเทศ : วิเคราะหฐานะและบทบาทในสังคมไทยตั้งแตสมัยอยุธยาตอนกลางถึ ง
สมัยรัตนโกสินทรตอนตน
๑๒. สมุดราชบุรี หนา ๗๖
๑๓. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, แฟม ค. ๑๓.๒/๒๓ หนั งสือพระยาศรี สหเทพกราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๕ เรื่อง
การเก็บเงินส วยพวกมอญและเกรี่ ยงในมณฑลราชบุรีและเพชรบุรี ลงวั นที่ ๒๔ สิงหาคม ร.ศ.๑๑๙
(พ.ศ.๒๔๔๓)
๑๔. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ,แฟม ค. ๑๓.๒/๒๓ หนั งสือสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพเสนาบดี
มหาดไทย กราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๕ เรื่องการเก็บเงินสวย ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ร.ศ.๑๑๙
๑๕. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, แฟม ม.๒.๑๔/๕๔ รายงานพระยาเดชศักดาวุธ ขาหลวงเทศาภิบาลมณฑล
ราชบุรี ตรวจราชการเมืองกาญจนบุรี ลงวั นที่ ๒๔ มี นาคม ร.ศ. ๑๑๙
๑๖. กองจดหมายเหตุ, ใบบอกกระทรวงกลาโหม รัชกาลที่ ๔, เลม ๑๗ หนา ๙๙
๑๗. หอสมุดแหงชาติ,เอกสารตัวเขียนสมุ ดไทดํา รัชกาลที่ ๒ เลขที่ ๓ จ.ศ. ๑๑๘๓
๑๘. หอสมุดแหงชาติ, เอกสารตัวเขียนสมุดไทดํา รัชกาลที่ ๔ เลขที่ ๔๗ จ.ศ. ๑๒๑๕
๑๙. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, ใบบอกกระทรวงกลาโหม รัชกาลที่ ๔ เลม ๕ เลขที่ ๖๗ จ.ศ. ๑๒๑๕,หนา
๑๘๕-๑๘๘
๒๐. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, แฟม ม.๕.๑ ก./ ๓๑ เรื่องพวกรามัญแขวงเมืองราชบุรีหนีออกไปนอกพระราช
อาณาเขต ร.ศ. ๑๐๙-๑๑๐ (พ.ศ. ๒๔๓๔)
๒๑. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, ใบบอกกระทรวงกลาโหม รัชกาลที่ ๔ และ ๕ เลขที่ ๗๒ จ.ศ. ๑๒๑๕ หนา
๑๙๙
๒๒. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, แฟม ม. ๒.๑๒ ก./๓ ใบบอกเมืองกาญจนบุรีเรื่องไดเกณฑผูวาราชการรามัญ
๗ เมือง ไปรับราชการทําพลับพลารับเสด็จพระราชดําเนินตามระยะทางถึงไทรโยค ลงวันที่ ๖
กันยายน ร.ศ. ๑๐๙
๒๓. กองจดหมายเหตุ แหงชาติ, ใบบอกกระทรวงกลาโหม รัชกาลที่ ๔ เลม ๓๓ จ.ศ. ๑๒๒๙ หนา ๒๓๗-
๒๓๘
๒๔. สมุดราชบุรี, เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๓








๑๕

You might also like