You are on page 1of 30

จามเทวีวงศ์

พระนางจามเทวี เป็ นสตรีซงึ่ ปรากฏพระนามในเอกสารต่างๆ


ซึง่ ระบุวา่ ทรงเป็ นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญชัย
อันเป็ นอาณาจักรโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบน ั
ตานานต่างๆ ทีก ่ ล่าวถึงพระองค์ระบุศกั ราชไว้ไม่ตรงกัน
ปรากฏบันทึกและการสอบศักราชโดยบุคคลต่างๆ เช่น[5]
หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ ระบุวา่ ทรงครองราชย์เมือ ่ พ.ศ. 1205
อยูใ่ นราชสมบัติ 7 ปี
มานิต วัลลิโภดม สอบค้นว่าประสูตเิ มือ ่ พ.ศ. 1166 ครองราชย์ พ.ศ.
1205 ครองราชย์อยู่ 17 ปี สิน ้ พระชนม์ พ.ศ. 1258 รวมพระชันษาได้ 92 ปี
ตานานพระนางจามเทวีฉบับแปลและเรียบเรียงโดย นายสุทธวารี
สุวรรณภาชน์ ระบุวา่ ประสูตเิ มือ ่ พ.ศ. 1176 ครองราชย์ พ.ศ. 1202
สละราชสมบัติ พ.ศ. 1231 และสวรรคต พ.ศ. 1274
.................
เนื้อเรือ่ งย่อ
พระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญไชย
ชาติกาเนิดของพระนางจามเทวี
มีทม ี่ าจากเอกสารทางประวัตศ ิ าสตร์ทแี่ ตกต่างกัน ทัง้ จากตานาน
พงศาวดารและหลักฐานอืน ่ ในตานานจามเทวีวงศ์
กล่าวว่าพระนางเป็ นธิดาของกษัตริย์แห่งกรุงละโว้
ได้เดินทางพร้อมพระสงฆ์ผท ู้ รงพระไตรปิ ฏกและช่างผูม ้ ีฝีมือหลากหลายประเ
ภท 500 คน จากเมืองละโว้ สูน ่ ครหริภุญไชย (อ้างอิงจาก จามเทวีวงศ์
ตานานมูลศาสนา และมูลศาสนา
สานวนล้านนา)อีกสานวนหนึ่งซึง่ เป็ นมุขปาฐะ สานวนพื้นบ้าน กล่าวว่า
พระนางจามเทวีนน ้ ั ทรงมีชาติกาเนิดเป็ นชาวหริภุญไชยมาแต่เดิม
โดยเป็ นบุตรีของคหบดีผห ู้ นึ่ง นามว่า อินตา ส่วนมารดาไม่ทราบชือ ่
ทัง้ สองเป็ นชาวเมงคบุตร อาศัยอยูใ่ นพื้นทีท ่ ป
ี่ จั จุบนั เป็ นหมูบ ่ า้ นหนองดู่
อ.ป่ าซาง จ.ลาพูน
ได้มีการบันทึกตามพระชาตาพระนางจามเทวีเมือ ่ แรกประสูตไิ ว้วา่ ตรงกับวัน
พฤหัสบดี ขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๕ ปี มะโรง พ.ศ. ๑๑๗๖ เวลาจวนจะค่า

ต่อ มาเมือ่ อายุได้ ๑๓ ปี


พระฤๅษี ได้จดั ส่งพระนางไปตามลาน้าปิ งพร้อมกับมีวานร จานวน ๓๕ ตัว
ติดตามไปด้วย เมือ ่ พระนางไปถึงท่าฉนวนหน้าวัด เชิงท่าตลาด ลพบุรี
อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
นาวายนต์ก็ลอยวนไม่เคลือ ่ นทีไ่ ปทางใดจนกว่าทัง้ รุง่ แจ้ง
ประชาพลเมืองได้เห็นต่างโจษขานกันอึงคนึง
บ้างก็เข้าไปพยายามดึงนาวาเข้าฝั่ง แต่ก็ไม่เป็ นผลสาเร็จ
จึงได้รบ ั แจ้งแก่เสนาบดี
และก็ได้รบ ั ทราบถึงพระเนตรพระกรรณของพระเจ้าอยูห ่ วั ดัง กล่าว
กษัตริย์ทง้ ั สองแห่งกรุงละโว้ ก็ทรงตื้นตันด้วยความเวทนาในธิดายิง่ นัก
เสด็จมารับเอาไปเป็ นบุตรธิดาอยูไ่ ด้ ๓ วัน ก็จดั ให้มีงานฉลอง
และเจิมพระขวัญพระราชธิดา แต่งตัง้ ให้เป็ นพระเอกราชธิดา แห่งนครละโว้
และให้ปุโรหิตจารึกพระนามลงในแผ่นสุพรรณบัตรว่า“ เจ้าหญิงจามเทวี
ศรีสุรยิ ะวงศ์ บรมราชขัตยิ ะนารี รัตนกัญญาละวะบุรี ราเมศวร ” เป็ น
ราชทายาทแห่งนครละโว้ ในวาระดิถีอาทิตยวาร ขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปี มะเมีย
พุทธศักราช ๑๑๙๐
เมือ่ สิน
้ ประกระแสพระราชดารัสก็ได้ยน ิ เสียงถวายพระพรพระธิดากันเซ็งแซ่
พระนางจามเทวีมีพระราชดารัสตอบว่า ข้าฯ
ขอกล่าวต่อสิง่ ศักดิส์ ท ิ ธิอน ั พิทกั ษ์ รกั ษากรุงละโว้วา่ ข้าฯ
จะเป็ นมิตรทีด ่ ต
ี อ่ ท่านทัง้ หลาย
จะขอปกปักษ์ พท ิ กั ษ์ รกั ษาอาณาจักรละโว้ดว้ ยชีวต ิ
จะปฏิบตั ท ิ ุกท่างทีจ่ ะหาความสุขให้ท่วั พระราชอาณาจักรแห่งนี้
เมือ ่ กระแสพระราชดารัสจบลง
เสียงปี่ พากษ์ มโหรีก็บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี
ชาวประชาก็ถวายพระพร ขอให้เจ้าหญิงจงทรงพระเจริญ ๆ ๆ
แล้วข้าวตอกดอกไม้ของหอมก็ถูกโปรยทั่วบริเวณ
พระพิรุณก็โปรยปรายความชุม ่ เย็นจากฟากฟ้ าเป็ นละอองทั่วกรุงละโว้
เป็ นทีอ ่ ศั จรรย์อย่างยิง่

เมือ
่ พระนางจามเทวี อายุได้ ๒๐ ปี ในวันพฤหัสบดี ข้างขึน้ เดือน ๖
พุทธศักราช ๑๑๙๖ ขาวกรุงละโว้ (ลพบุรี) ก็ มีประราชพิธีสาคัญคือ
พระราชพิธีหมัน้ ระหว่างเจ้าชายรามราชกับเจ้าหญิงจามเทวี
ในวันรับหมัน
้ ก็มีมหรสพสมโภชน์เอิกเกริก
่ งบรรณาการกันอย่างมโหฬารอีกครัง้ หนึ่ง
บรรดาเจ้าเมืองทัง้ หลายก็สง่ เครือ

อัน ความงามของเจ้าหญิงเลือ ่ งลือไปทุกแคว้น


จนกระทั่งเจ้าชายผูเ้ ป็ นพระราชโอรสพระเจ้ากรุงโกสัมภี (พม่า) เกิด
ลุม
่ หลงไม่เป็ นอันกินอันนอน
จนพระราชบิดาต้องแต่งเครือ ่ งบรรณาการให้อามาตย์เชิญพระราชสาสน์มาสูข ่
อพระ ราชธิดาพระเจ้ากรุงละโว้ ในปี ๑๑๙๖ ขณะนัน ้ เจ้าหญิงทรงรับหมัน
้ แล้ว
จึงได้ปฏิเสธการรับหมัน ้
ฝ่ ายทางกรุงโกสัมภีหาว่าละโว้บา่ ยเบีย่ งก็แค้นอยูใ่ นใจ

ขณะนัน
้ พระนางเป็ นมเหสีของเจ้าประเทศราชเมืองรามัญ
และทรงพระครรภ์ได้ 3 เดือน
ในการเสด็จมาครัง้ นัน
้ พระนางได้นาเอาพระมหาเถระทรงไตรปิ ฎก
พร้อมทัง้ ข้าทาสบริวาร ช้างม้าวัวควาย จาพวกละ 500 มาด้วย
โดยลงเรือมาตามลาน้าแม่ปิง ใช้เวลา 7 เดือน จึงมาถึง
ฤาษี วาสุเทพและสุกกทัตฤาษี พร้อมทัง้ ชาวเมืองทัง้ ปวง
ได้อญ ั เชิญพระนางให้ขนึ้ ครองเมือง โดยให้ชือ
่ เมืองนัน
้ ว่า หริภุญไชย
ตัง้ แต่นน
้ ั สืบมา

เมือ ่ พระนางมาถึงเมืองหริภุญไชยได้ 7 วัน ก็ประสูตพ ิ ระโอรสฝาแฝด


ให้ชือ ่ ว่า มหายศ และอนันตยศ หรืออินทวร เมือ ่ มหายศกุมารอายุได้ 7 ปี
ก็ได้อภิเษกในราชสมบัติ ในระหว่างที่ พระนางจามเทวีครองราชย์นี้
เมืองหริภุญไชยมีสงครามทีน ่ บ
ั ว่าเป็ นศึกหนักและยาวนานก็คอื
การทาสงครามกับพญามิลกั ขะ หรือขุนหลวงวิลงั คะ หัวหน้าชนเเผ่าลัวะ
ซึง่ เป็ นกลุม
่ ชนพื้นเมือง อาศัยอยูบ่ ริเวณเชิงดอยสุเทพ
พระนางจามเทวีได้ใช้อุบายต่างๆ ในการทาศึกแต่ละครัง้
พญามิลกั ขะจึงไม่สามารถเอาชนะได้ และยอมแพ้ไป
ภายหลังพระนางก็ได้อภิเษกโอรสทัง้ 2 กับพระธิดาฝาแฝดของพญามิลกั ขราช

ต่อ
มาพระนางได้ขอให้สุพรหมฤาษี และพรานเขลางค์สร้างเมืองให้แก่อนันตยศ
โดยให้ชือ ่ เมืองว่า เขลางคนคร
เมือ่ พระนางเสด็จไปทรงเยีย่ มตามคาทูลเชิญของอนันตยศ
พระนางจึงได้อภิเษกอนันตยศขึน ้ ครองเมือง
พระนางจามเทวีประทับอยูท ่ เี่ มืองเขลางคนคร 6 เดือน
จึงเสด็จกลับเมืองหริภุญไชย จากนัน ้ อีก 2 เดือนต่อมาพระนางก็สน
ิ้ พระชนม์
เชือ
่ กันว่าได้มีการบรรจุอฐั ข
ิ องพระนางไว้ในเจดีย์สุวรรณจังโกฏหรือรัตน
เจดีย์ ภายในวัดจามเทวี ลาพูน
………………………………….
พระนางจามเทวี เอกกษัตริยาแห่งแผ่นดินหริภุญชัย

อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี ตัง้ อยูต


่ าบลในเมือง บริเวณสวนสาธารณะ
หนองดอก ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ ๑ กิโลเมตร

พระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญไชย
ชาติกาเนิดของพระนางจามเทวี
มีทม
ี่ าจากเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ทแ
ี่ ตกต่างกัน ทัง้ จากตานาน
พงศาวดารและหลักฐานอืน ่ ในตานานจามเทวีวงศ์
กล่าวว่าพระนางเป็ นธิดาของกษัตริย์แห่งกรุงละโว้
ได้เดินทางพร้อมพระสงฆ์ผท ู้ รงพระไตรปิ ฏกและช่างผูม ้ ีฝีมือหลากหลายประเ
ภท 500 คน จากเมืองละโว้ สูน ่ ครหริภุญไชย (อ้างอิงจาก จามเทวีวงศ์
ตานานมูลศาสนา และมูลศาสนา สานวนล้านนา)
อีกสานวนหนึ่งซึง่ เป็ นมุขปาฐะ สานวนพื้นบ้าน กล่าวว่า
พระนางจามเทวีนน ้ ั ทรงมีชาติกาเนิดเป็ นชาวหริภุญไชยมาแต่เดิม
โดยเป็ นบุตรีของคหบดีผห ู้ นึ่ง นามว่า อินตา ส่วนมารดาไม่ทราบชือ ่
ทัง้ สองเป็ นชาวเมงคบุตร อาศัยอยูใ่ นพื้นทีท ่ ปี่ จั จุบน ั เป็ นหมูบ ่ า้ นหนองดู่
อ.ป่ าซาง จ.ลาพูน พระนางจามเทวีตอนกาเนิดเป็ นเด็กหญิง “วี”
ทีท
่ า่ นพระฤๅษี สุเทพได้บน ั ทึกไว้ในสุพรรณบัตร
เราสุเทพฤๅษี แห่งอุจฉุ ตบรรพต (เขาไร่ออ ้ ยหรือดอยสุเทพ) ณ ระมิงค์นคร
ขอจารึกกาเนิดของกุมารีนามว่า “วี” มาให้มวล นิกรทัง้ หลายได้รแ ู ้ จ้งดังนี้
กุมารน้อยนี้ พญาปักษี พามาจากบุรพนคร เราจึงช่วยชิงเอาไว้ ณ
สุวรรณบรรพต (ดอยคา) ใกล้อาศรมแห่งปู่ ย่าผูบ ้ รรพบุรุษ
พญาปักษี ได้ปล่อยกุมารีตกลงมาท่ามกลางต้นปทุมสระหลวง
เราจึงได้สกั การะอธิษฐาน กุมารีนี้ จึงลอยขึน ้ บน “วี”
วันนี้ก็เป็ นวันพระจันทร์เต็มดวง
ได้มีการบันทึกตามพระชาตาพระนางจามเทวีเมือ ่ แรกประสูตไิ ว้วา่ ตรงกับวัน
พฤหัสบดี ขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๕ ปี มะโรง พ.ศ. ๑๑๗๖ เวลาจวนจะค่า

ดวงชะตาเจ้าแม่แปลกประหลาด
ตามเกณฑ์ดวงชะตาเจ้าแม่จามเทวีแปลกประหลาด
จึงได้ให้นกั พยากรณ์ ลองผูกดวงดู ตามทัศนของ
พระฤๅษี กล่าวว่า เกณฑ์เลขชะตาเจ็ดตัว วันกาเนิดก็ ๕ ตัว เดือนก็ ๕ ปี ก็ ๕
ยังขึน้ ๑๕ ค่าอีกด้วย กุมารนี้ประมาณชันษาได้ ๓ เดือนแล้ว
ด้วยเหตุฉะนี้เราจึงกระทาพิธีมงคลนามตามกาเนิดเพือ ่ เป็ นสิรม
ิ งคล
เราได้ทราบด้วยญาณว่า “กุมารีนี้เป็ นบุตรตรีของชาวบ้านหนองดู่ ในบุรพนคร
(ต่อมาเปลีย่ นเป็ นหริภุญชัย) เราจึงมอบให้
กากะวานรและบริวารเลี้ยงกุมารีน้อยนี้ ณ สุวรรณบรรพต
และได้สอนศิลปวิทยาให้จวนจบชนมายุได้ ๑๓ ปี
เป็ นเวลาทีก่ ุมารีนี้จกั ได้มาช่วยอุปถัมภ์การาบ อริราชศัตรู ณ แคว้นเขมรัฐ
อันกุมารีนี้ยงั จักเป็ นคูเ่ สน่ หาของเจ้าชาย เขมรัฐ
ซึง่ เดินหลงทางพนาเวศน์ ไปยังเราเมือ ่ ๔ ปี โน้น
จึงได้ทาพิธีประกอบนายายนต์ให้กุมารี พร้อมทัง้ กากะวานร และบริวารรวม
๓๕ ตัว เดินทางโดยลาน้าระมิงค์ถงึ กรุงละโว้ฯ
ตามตานานกล่าวว่า พระนางจามเทวี เกิดทีบ ่ า้ นหนองดู่
ไปโตดังทีล่ ะโว้ (ลพบุรี) ได้มาครองเมืองลาพูนตามคาเชิญของพระฤๅษี
จึงได้เป็ นกษัตริย์องค์แรกของเมืองลาพูน พระนางจามเทวี
เป็ นบุตรีของท่านเศรษฐี นามว่า อินตา มารดาชือ ่ ว่า... เป็ นชาวเม็ง (มอญ)
ราษฎรบ้านหนองดู่ อาเภอซาง จังหวัดลาพูน
พราะนางจามเทวีเกิดเวลาจวนจะค่า วันพฤหัสบดี เดือน ๕ ปี มะโรง
ตรงกับวันขึน ้ ๑๕ ค่า พุทธศักราช ๑๑๗๖ ในระหว่างอายุได้ประมาณ ๓ เดือน
กาลังนอนเบาะ
ได้มีนกใหญ่ตวั หนึ่งบินเข้ามาจวบเอาพระนางจามเทวีขณะทีพ ่ อ
่ แม่ไปธุระ
นกใหญ่บน ิ เข้าจวบขึน ้ บนท้องฟ้ า
พระนางจามเทวีได้รว่ งหล่นลงมายังกลางสระบัวหลวง
ร่างของพระนางก็คา้ งอยูบ ่ นกองบัวเป็ นทีน ่ ่ าอัศจรรย์
พระฤๅษี เกิดไปพบเข้าจึงนึกในใจว่า ทารกนี้มีเหตุการณ์ อย่างประหลาด
ชะลอยจักไมใช่ทารกธรรมดาสามัญ เห็นทีจะมีบุญญาธิการสูงส่ง
จึงได้สตั ย์อธิษฐานว่า ผิวา่ ทารกหญิงคนนี้ ประกอบด้วยบุญญาธิการ
จะได้เป็ นใหญ่ในเบื้องหน้าแล้วไซร้ ขอให้ “วี”
ของเรานี้รองรับร่างของทารกไว้ได้โดยมิตอ ้ งร่วงหล่นเถิด
และก็น่าอัศจรรย์ยงิ่ นักเมือ ่ เราเอา “วี” (วี แปลว่า พัด)
ยืน่ ไปช้อนร่างทารกน้อยวัย ๓ เดือน ก็สามารถอยูบ ่ น “วี” อย่างอัศจรรย์
จึงเลยให้นามทารกนี้วา่ “หญิงวี”
ต่อมาเมือ ่ อายุได้ ๑๓ ปี
พระฤๅษี ได้จดั ส่งพระนางไปตามลาน้าปิ งพร้อมกับมีวานร จานวน ๓๕ ตัว
ติดตามไปด้วย เมือ ่ พระนางไปถึงท่าฉนวนหน้าวัด เชิงท่าตลาด ลพบุรี
อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
นาวายนต์ก็ลอยวนไม่เคลือ ่ นทีไ่ ปทางใดจนกว่าทัง้ รุง่ แจ้ง
ประชาพลเมืองได้เห็นต่างโจษขานกันอึงคนึง
บ้างก็เข้าไปพยายามดึงนาวาเข้าฝั่ง แต่ก็ไม่เป็ นผลสาเร็จ
จึงได้รบ ั แจ้งแก่เสนาบดี
และก็ได้รบ ั ทราบถึงพระเนตรพระกรรณของพระเจ้าอยูห ่ วั ดังกล่าว
กษัตริย์ทง้ ั สองแห่งกรุงละโว้ ก็ทรงตื้นตันด้วยความเวทนาในธิดายิง่ นัก
เสด็จมารับเอาไปเป็ นบุตรธิดาอยูไ่ ด้ ๓ วัน ก็จดั ให้มีงานฉลอง
และเจิมพระขวัญพระราชธิดา แต่งตัง้ ให้เป็ นพระเอกราชธิดา แห่งนครละโว้
และให้ปุโรหิตจารึกพระนามลงในแผ่นสุพรรณบัตรว่า“ เจ้าหญิงจามเทวี
ศรีสุรยิ ะวงศ์ บรมราชขัตยิ ะนารี รัตนกัญญาละวะบุรี ราเมศวร ”
เป็ นราชทายาทแห่งนครละโว้ ในวาระดิถีอาทิตยวาร ขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๓
ปี มะเมีย พุทธศักราช ๑๑๙๐
เมือ ่ สิน
้ ประกระแสพระราชดารัสก็ได้ยน ิ เสียงถวายพระพรพระธิดากันเซ็งแซ่
พระนางจามเทวีมีพระราชดารัสตอบว่า ข้าฯ
ขอกล่าวต่อสิง่ ศักดิส์ ท ิ ธิอน ั พิทกั ษ์ รกั ษากรุงละโว้วา่ ข้าฯ
จะเป็ นมิตรทีด ่ ต
ี อ่ ท่านทัง้ หลาย
จะขอปกปักษ์ พท ิ กั ษ์ รกั ษาอาณาจักรละโว้ดว้ ยชีวต ิ
จะปฏิบตั ท ิ ุกท่างทีจ่ ะหาความสุขให้ท่วั พระราชอาณาจักรแห่งนี้
เมือ่ กระแสพระราชดารัสจบลง
เสียงปี่ พากษ์ มโหรีก็บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี
ชาวประชาก็ถวายพระพร ขอให้เจ้าหญิงจงทรงพระเจริญ ๆ ๆ
แล้วข้าวตอกดอกไม้ของหอมก็ถูกโปรยทั่วบริเวณ
พระพิรุณก็โปรยปรายความชุม ่ เย็นจากฟากฟ้ าเป็ นละอองทั่วกรุงละโว้
เป็ นทีอ ่ ศั จรรย์อย่างยิง่
เมือ ่ พระนางจามเทวี อายุได้ ๒๐ ปี ในวันพฤหัสบดี ข้างขึน ้ เดือน ๖
พุทธศักราช ๑๑๙๖ ขาวกรุงละโว้ (ลพบุรี) ก็มีประราชพิธีสาคัญคือ
พระราชพิธีหมัน ้ ระหว่างเจ้าชายรามราชกับเจ้าหญิงจามเทวี
ในวันรับหมัน ้ ก็มีมหรสพสมโภชน์เอิกเกริก
บรรดาเจ้าเมืองทัง้ หลายก็สง่ เครือ ่ งบรรณาการกันอย่างมโหฬารอีกครัง้ หนึ่ง
อันความงามของเจ้าหญิงเลือ ่ งลือไปทุกแคว้น
จนกระทั่งเจ้าชายผูเ้ ป็ นพระราชโอรสพระเจ้ากรุงโกสัมภี (พม่า)
เกิดลุม ่ หลงไม่เป็ นอันกินอันนอน
จนพระราชบิดาต้องแต่งเครือ ่ งบรรณาการให้อามาตย์เชิญพระราชสาสน์มาสูข ่
อพระราชธิดาพระเจ้ากรุงละโว้ ในปี ๑๑๙๖ ขณะนัน ้ เจ้าหญิงทรงรับหมัน
้ แล้ว
จึงได้ปฏิเสธการรับหมัน ้
ฝ่ ายทางกรุงโกสัมภีหาว่าละโว้บา่ ยเบีย่ งก็แค้นอยูใ่ นใจ

อนุสาวรีย์พระนางจามเทวีดา้ นข้าง

พระนางจามเทวีไปสูร่ าชสานักละโว้
เมือ ่ พระนางจามเทวีเจริญพระชนมายุได้ ๑๓ พรรษา ใกล้จะรุน ่ สาว
ได้สาเร็จซึ่งวิชาการทัง้ หลายเป็ นการบริบูรณ์ แล้ว
ท่านสุเทวฤๅษี จงึ ได้ผูกดวงและตรวจสอบชะตา
ทราบว่ากุมารีผเู้ ป็ นบุตรบุญธรรมของท่านจะมีวาสนาเป็ นถึงจอมกษัตริย์
ปกครองบ้านเมืองอันใหญ่โตซึง่ จะรุง่ เรืองไปในภายภาคหน้า
จึงตกลงใจว่าจะต้องส่งเด็กหญิงไปสูร่ าชสานักเพือ ่ รับการอภิเษกขึน ้ เป็ นเชื้อพร
ะวงศ์ให้สมควรแก่การทีจ่ ะได้เป็ นใหญ่ตอ ่ ไป
และทีเ่ หมาะสมในสายตาท่านฤๅษี คอ ื ราชสานักแห่งกรุงละโว้
ซึง่ เป็ นราชสานักทีเ่ จริญรุง่ เรืองทีส
่ ุดแห่งหนึ่งในสุวรรณภูมเิ วลานัน

ท่านสุเทวฤๅษี จงึ ได้เนรมิตแพขึน ้ ส่งกุมารีน้อยล่องไปตามน้าจากเมืองเหนือ
โดยพญากากะวานรและบริวารจานวนหนึ่งโดยสารแพไปด้วย
อีกทัง้ ยังฝากหนังสือไปฉบับหนึ่งเพือ ่ กราบทูลพระเจ้ากรุงลวปุระว่ากุมารีน้อย
นี้จะไปช่วยละโว้ประหารศัตรู
เด็กหญิงและวานรทัง้ หลายล่องตามลาน้าไปเป็ นเวลานานหลายเดือนจึงเข้าสูเ่ ข
ตกรุงลวปุระ ประชาชนชาวละโว้สองฝั่งลาน้าได้โจษขานถึงแพเล็กๆ
นี้ดว้ ยความประหลาดใจครัน ้ ถึงท่าน้าหน้าวัดชัยมงคล
แพเนรมิตก็มไิ ด้ลอ ่ งตามน้าต่อไปกลับลอยวนเวียนอยูบ ่ ริเวณนัน ้
ชาวบ้านเห็นเหตุเป็ นอัศจรรย์และต่างพากันชืน ่ ชมเด็กหญิงซึ่งมีผวิ พรรณผุดผ่
องน่ ารักน่ าเอ็นดูอย่างยิง่ ความทราบถึงบรรดาขุนนาง จึงได้ไปตรวจดูทฝ ี่ ่ งั น้า
เห็นความจริงประจักษ์ แก่ตาจึงรีบกลับเข้าพระราชวังกราบบังคมทูล
พระเจ้าจักวัติ ผูค ้ รองกรุงลวปุระให้ทรงทราบทันที
เจ้าแผ่นดินกรุงลวปุระได้เสด็จไปยังท่าน้าหน้าวัดชัยมงคลพร้อมด้วยมเหสีในทั
นทีนน ้ ั เมือ่ ได้ทอดพระเนตรเห็นความเป็ นไปทัง้ หมด
พระองค์ทรงมีรบ ั สั่งให้ทหารทีต ่ ามเสด็จชะลอแพเนรมิตเข้าสูฝ ่ ่ งั
แต่เหตุการณ์ อน ั ไม่มีใครคาดคิดก็บงั เกิดขึน ้ อีกครัง้ หนึ่ง
กาลังของเหล่าทหารแห่งกรุงลวปุระไม่อาจชักลากแพเข้าสูท ่ า่ น้าได้
ไม่วา่ กษัตริย์จะมีพระบัญชาให้เพิม ่ จานวนทหารมากขึน ้ สักเท่าใดก็ตาม
การณ์ อน ั เป็ นไปโดยอัศจรรย์ดงั นี้
ทาให้เจ้าแผ่นดินทรงประจักษ์ แจ้งแก่พระปรีชาญาณว่า
กุมารีแรกรุน ่ ในท่ามกลางฝูงวานรบนแพนี้คงจะเป็ นผูม ้ ีบุญญาธิการมากมาย
และแพนัน ้ ก็คงจะเป็ นแพวิเศษทีส ่ ามัญชนจะไปแตะต้องมิได้
พระองค์จงึ เสด็จจากทีป ่ ระทับพร้อมด้วยพระมเหสีและทรงยึดเชือกทีผ ่ ก ู แพนัน ้
ไว้ดว้ ยพระหัตถ์ของทัง้ สองพระองค์
และแล้วเหตุอศั จรรย์ก็บงั เกิดขึน ้ อีกเป็ นคารบสาม
พระเจ้ากรุงลวปุระและพระมเหสีเพียงแต่ทรงชักเชือกนัน ้ ด้วยแรงเฉพาะสองพ
ระองค์ แพวิเศษก็ลอยเข้าสูท ่ า่ น้าได้โดยง่าย
และดูราวกับเทพยดาฟ้ าดินจะทรงอานวยพรให้แก่ประพฤติเหตุอน ั อัศจรรย์นี้
เพราะเมือ ่ แพวิเศษลอยเข้าเทียบท่าน้า ได้มีฝนโปรยปรายเป็ นละอองบางเบา
ยังความสดชืน ่ แก่ทุกคนในทีน ่ น้ั
ประชาชนทัง้ สองฝั่งลาน้าได้เห็นต่างก็พากันชืน ่ ชมพระบารมีของทัง้ สองพระอ
งค์ และสรรเสริญบุญญานุภาพของกุมารีน้อยไปทั่วทัง้ พระนคร
พระเจ้ากรุงละโว้และพระมเหสีได้รบ ั กุมารีน้อยไว้ดว้ ยความเสน่ หาอย่างยิง่
พระมเหสีนน ้ ั ถึงกับเสด็จเข้าไปสวมกอดและจุมพิตกุมารีตง้ ั แต่แรกขึน ้ สูฝ ่ ่ งั
พระเจ้ากรุงละโว้ผเู้ ต็มไปด้วยความปิ ติในพระหฤทัยได้ทรงน้ากุมารีผน ู้ ่ ารักขึน ้
ประทับบนราชรถ
และต่างพากันเสด็จเข้าสูร่ าชสานักกรุงลวปุระท่ามกลางประชาชนทีม ่ าเฝ้ าชมพ
ระบารมีสองข้างทางด้วยความชืน ่ ชมยินดีโดยทั่วหน้า

พระรูปพระนางจามเทวี
พระธิดาแห่งกรุงลวปุระ
ในราชสานักกรุงละโว้
กุมารีได้รบ ั การผลัดเปลีย่ นฉลองพระองค์ให้งดงามสมพระเกียรติ
ครัน ้ แล้วได้เสด็จสูท ่ อ
้ งพระโรงอันเป็ นทีป ่ ระชุมเหล่ามุขมนตรีเสนาอามาตย์ทง้ ั
หลาย กษัตริย์และพระมเหสีก็เสด็จออกประทับบนพระบัลลังก์
มีพระราชดารัสให้พระราชครูพยากรณ์ ดวงชะตาของเด็กหญิง
พระราชครูได้คานวณกาลชะตาโดยละเอียดแล้วถวายคาพยากรณ์ วา่
“ขอเดชะ กุมารีน้อยผูน ้ ี้เป็ นผูท ้ รงไว้ซงึ่ บุญญานุภาพและพระบารมีอน ั ยิง่ ใหญ่
ต่อไปภายหน้าจักได้เป็ นถึงจักรพรรดินีครองแว่นแค้น
ปรากฏพระเกียรติยศเกริกไกรไปทั่ว
แม้วา่ พระราชาและเจ้าชายพระองค์ใดได้เสกสมรสด้วยก็จกั เป็ นผูถ ้ งึ พร้อมด้ว
ยรัตนะทัง้ ๗ ประการอย่างแน่ นอน”
พระเจ้ากรุงละโว้ทรงทราบดังนัน ้ ก็ทรงเปี่ ยมด้วยความโสมนัสอย่างยิง่
เพราะได้ประจักษ์ แก่พระปรีชาญาณว่าเทพยดาฟ้ าดินได้ประทานกุมารีผน ู้ ี้แด่
พระองค์และกรุงลวปุระ
ทัง้ พระองค์เองและพระมเหสียงั มิได้ทรงมีพระโอรสธิดา
จึงทรงมีพระราชโองการให้จดั พระราชพิธีอภิเษกกุมารีวีขน ึ้ ดารงพระยศเป็ นพ
ระธิดาแห่งกรุงละโว้และได้ทรงเฉลิมพระนามใหม่ประกาศไว้ในพระสุพรรณ
บัฏว่า เจ้าหญิงจามเทวี ศรีสุรยิ วงศ์ บรมราชขัตติยนารี รัตนกัญญา
ลวะปุรีราเมศวร
ตานานว่า วันประกอบพิธีอภิเษกนัน ้ เป็ นวันที่ ๓
ภายหลังพระนางจามเทวีเสด็จเข้าสูร่ าชสานักลวปุระ
ตรงกับวารดิถีอาทิตยวารขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปี มะเมีย พุทธศักราช ๑๑๙๐
เวลานัน ้ ทรงมีพระชนมายุได้ ๑๔ พรรษา
เจ้าหญิงพระองค์แรกแห่งนครลวปุระทรงถวายสัตย์ปฏิญาณเป็ นปฐมว่า
“ข้าฯ ขอกล่าวต่อสิง่ ศักดิส์ ท ิ ธิอ์ นั พิทกั ษ์ รกั ษากรุงละโว้วา่ ข้าฯ
จะเป็ นมิตรทีด ่ ต
ี อ่ ท่านทัง้ หลาย
จะขอปกปักษ์ พท ิ กั ษ์ รกั ษาอาณาจักรละโว้ดว้ ยชีวต ิ
จะปฏิบตั ท ิ ุกทางทีจ่ ะยังความสุขให้ท่วั พระราชอาณาจักรแห่งนี้ ”
สิน
้ พระราชดารัส
ปวงเสนาอามาตย์และพสกนิกรทัง้ หลายต่างพากันแซ่ซอ ้ งถวายพระพรพระธิด
าพระองค์ใหม่
ทัง้ ราชสานักและบ้านเมืองกระหึม ่ ด้วยเสียงมโหรีปี่พาทย์ทบ ี่ รรเลงเพลงสรรเส
ริญ
มีการบังเกิดพระพิรุณโปรยปรายเป็ นละอองชุม ่ เย็นไปทั่วเมืองละโว้เป็ นกาลอัศ
จรรย์อีกครัง้ หนึ่ง
ภายหลังพระราชพิธีอภิเษก
พระเจ้ากรุงละโว้ได้พระราชทานพระธิดาในพระเจ้าทศราชแห่งกรุงรัตนปุระ
๒ พระองค์ คือ เจ้าหญิงปทุมวดี และ เจ้าหญิงเกษวดี
ให้เป็ นพระพีเ่ ลี้ยงคอยถวายการดูแลพระธิดาพระองค์ใหม่
รวมทัง้ เป็ นผูถ
้ วายการสอนวิชาศิลปะศาสตร์แขนงต่างๆ
เพิม
่ เติมแก่พระธิดาน้อยด้วย

สงครามชิงเจ้าหญิงจามเทวี
เจ้าหญิงจามเทวีได้เสด็จประทับในราชสานักกรุงลวปุระ
และเจริญพระชันษาขึน ้ โดยเป็ นทีร่ กั ใคร่เสน่ หาของพระราชา พระมเหสี
พระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนเสนาอามาตย์และประชาชนชาวละโว้ทง้ ั หมด
เวลาได้ลว่ งเลยจนพระองค์ทรงเจริญพระชนมายุได้ ๒๐ พรรษา
ปรากฏว่าทรงมีพระสิรโิ ฉมงดงามเป็ นทีเ่ ลือ ่ งลือไปยังทุกอาณาจักรอันใกล้เคียง
พระปรีชาญาณและบุญญานุภาพแห่งพระองค์นน ้ ั ก็แผ่ไพศาล
เป็ นทีห ่ มายปองของเจ้าครองนครต่างๆ
ความงดงามในพระรูปแห่งพระองค์หญิงจามเทวีนน ้ั
เป็ นทีเ่ ล่าลือกันว่าไม่มีหญิงใดจะทัดเทียมทัง้ สิน ้
ดังมีบรรยายไว้ในตานานต่างๆ ว่า
“ดวงพระพักตร์เป็ นรูปไข่
พระเนตรดาซึง้ เป็ นแวววาวและต้องผูใ้ ดแล้วยังผูน ้ น ้ ั ให้งงงวยไปด้วยพิษเสน่ ห
า พระขนงโก่งเรียวยาวประดุจคันธนูขณะน้าวสาย
พระนาสิกโด่งคมสันรับกับพระพักตร์ ริมพระโอษฐ์แดงระเรือ ่ ดุจชาดป้ าย
พระทนต์เรียบขาวสะอาดเป็ นเงางามดุจไข่มุก
ขณะยุรยาตรพระวรกายอันอ่อนไหวให้ชวนพิศ
เวลาก้าวพระบาทนัน ้ ประดุจพระนางหงส์เมือ ่ เยื้องย่างกราย
พระวรกายหอมดังกลิน ่ ดอกบัวหลวง หาสตรีใดเทียบมิได้”
พระเจ้ากรุงละโว้ทรงพระดาริวา่ พระธิดาของพระองค์ทรงมีพระชันษาสมควร
ทีจ่ ะเสกสมรสแล้ว จึงได้ทรงกาหนดให้เจ้าหญิงจามเทวีทรงหมัน ้ หมายกับ
เจ้าชายรามราช แห่งนครรามบุรี ซึ่งอยูใ่ กล้กรุงลวปุระ
ตามตานานเจ้าชายรามราชนัน ้ ทรงเป็ นพระญาติของพระเจ้ากรุงละโว้
และทรงมีพระจริยาวัตรดีงามเหมาะสมกับเจ้าหญิงจามเทวีอยู่
วันทีป ่ ระกอบพระราชพิธีหมัน ้ ตรงกับวันพฤหัสบดี ข้างขึน ้ เดือน ๖
พุทธศักราช ๑๑๙๖ เจ้าผูค ้ รองนครทัง้ หลายต่าง
พากันส่งเครือ ่ งราชบรรณาการมาถวายเป็ นเกียรติแก่พระราชพิธีดงั กล่าวอย่าง
มโหฬาร ภายหลังเสร็จสิน ้ พระราชพิธีแล้ว
ก็มีมหรสพสมโภชกันอย่างเอิกเกริกในกรุงละโว้
เป็ นทีร่ น
ื่ เริงสนุกสนานแก่ไพร่บา้ นพลเมืองทั่วไปโดยถ้วนหน้า
แต่แล้ว เรือ ่ งยุง่ ยากก็เกิดขึน ้ ในปี นัน ้ เอง
เมือ่ เจ้าชายแห่งนครโกสัมพีได้สง่ พระราชสาส์นพร้อมเครือ ่ งราชบรรณาการม
ากมายมาถวายพระเจ้ากรุงลวปุระ
พร้อมทัง้ แจ้งความประสงค์จะขอเจ้าหญิงจามเทวีไปเป็ นพระชายาเพือ ่ เป็ นเกีย
รติแก่นครโกสัมพี ซึ่งเป็ นนครใหญ่เหมาะสมด้วยศักดิศ ์ รีแห่งพระนาง
พระเจ้ากรุงละโว้ได้ทรงตอบสสาส์นนัน ้ ไปตามความเป็ นจริงว่าทรงหมัน ้ เจ้าห
ญิงจามเทวีไว้กบ ั เจ้าชายรามราชแล้ว
การณ์ กลับกลายเป็ นว่าเจ้าชายแห่งโกสัมพีทรงลุแก่โทสะ
ทรงมีพระดาริวา่ กรุงละโว้คงไม่ประสงค์จะมีสม ั พันธไมตรีกบ ั กรุงโกสัมพีเสียแ
ล้ว จึงทรงรวบรวมกองทัพโดยความช่วยเหลือของพระญาติ พระวงศ์
และพระราชาแห่งกลิงครัฐทีเ่ ป็ นพันธมิตร
ทาให้กองทัพของพระองค์เป็ นกองทัพใหญ่มีกษัตริย์เป็ นผูน ้ าทัพทัง้ สิน

ในราวเดือนอ้าย ปลายปี พ.ศ. ๑๑๙๖
กองทัพนี้ได้ยกเข้าโจมตีนครรามบุรีเป็ นอันดับแรก
อาจเป็ นเพราะความแค้นหรือนครนัน ้ อยูใ่ นเส้นทางการเดินทัพก่อนจะถึงละโว้
ก็เป็ นได้
แน่ นอน
กองทัพทีร่ กั ษานครรามบุรีนน ้ ั ไม่มีความหวังทีจ่ ะต้านทานข้าศึกทีย่ กพลมามาก
มายขนาดนัน ้ ได้
เจ้าชายรามราชต้องทรงนากองทหารเท่าทีม ่ ีตง้ ั รับข้าศึกไว้เพือ ่ ประวิงเวลา
และส่งสาส์นขอความช่วยเหลือจากกรุงลวปุระอย่างเร่งด่วนทีส ่ ุด
ทางละโว้เมือ ่ ทราบข่าวก็จดั ประชุมกันโดยทันที
บรรดาแม่ทพ ั นายกองได้ถวายความเห็นแก่พระเจ้ากรุงละโว้วา่
ไม่น่าจะทาศึกกับกองทัพโกสัมพีเพราะว่าเป็ นกองทัพขนาดใหญ่มาก
เสนาบดีตา่ งๆ ก็กราบบังคมทูลว่า
เห็นทีคราวนี้จะต้องรับไมตรีจากเจ้าชายแห่งโกสัมพีเสียแล้ว
แต่ในท่ามกลางความอกสั่นขวัญแขวนของทุกคนในทีป ่ ระชุม
เจ้าหญิงจามเทวีซงึ่ ประทับอยูใ่ นทีน ่ น ้ ั ด้วยได้ทรงมีพระดารัสว่า
“น่ าจะต้องเข้าร่วมสงคราม”
ทุกคนในทีน ่ น ้ ั ล้วนตกตะลึงพรึงเพริด แม้แต่พระบิดาและพระมารดา
เจ้าหญิงผูท ้ รงพระสิรโิ ฉมแห่งลวปุระตรัสต่อไปอย่างเด็ดเดีย่ วว่า
พระองค์จะทรงนาทัพเอง เวลานัน ้ พระมเหสีจงึ รีบทัดทานว่า
เป็ นหญิงจะนาทัพไปออกศึกได้อย่างไร พระธิดาก็ตรัสตอบว่า
“หากว่าหม่อมฉันไม่ออกศึกเสียเอง
กรุงลวปุระซึ่งเป็ นเมืองใหญ่ก็จะเป็ นทีค ่ รหาต่อไปได้
อีกทัง้ เหล่าประเทศราชจักต้องแข็งข้อเพราะเห็นว่าละโว้ออ ่ นแอ ปัญหาต่างๆ
จะบังเกิดตามมาอีกมากมายนัก และทีส ่ าคัญยิง่ คือ
กองทัพของโกสัมพีทยี่ กมาครัง้ นี้เป็ นทัพกษัตริย์
เจ้าชายแห่งละโว้จะทาศึกก็ไม่มี
จึงสมควรทีพ ่ ระบิดาเจ้าจะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลูกหญิงของพร
ะองค์ออกกระทาศึกจะเป็ นการเหมาะสมแก่พระเกียรติยศของบรรดากษัตริย์ที่
ทรงนาทัพมานัน ้ ด้วย”
ด้วยจานนต่อเหตุผลนัน ้
และพระเจ้ากรุงละโว้ทรงระลึกได้วา่ เมือ ่ แรกรับพระธิดาองค์นี้เข้าวัง
ทราบความทีท ่ า่ นสุเทวฤๅษี ฝากมาว่าพระธิดาพระองค์นี้จะมาช่วยบาราบอริรา
ชศัตรู และจากเหตุการณ์ ทลี่ ว่ งมาแล้วก็แสดงว่า
พระธิดานี้ทรงมีบุญญาธิการแก่กล้านัก เห็นทีศตั รูจะทาอันตรายมิได้เป็ นแน่
พระเจ้ากรุงละโว้และพระมเหสีทรงอนุญาตให้พระธิดาทรงจัดทัพจากกรุงลวปุ
ระไปช่วยเจ้าชายรามราชและโปรดฯ
ให้นิมนต์สมเด็จพระสังฆราชเจ้าและพระสงฆ์ผท ู้ รงสมณศักดิเ์ ข้ามายังพระอา
ราหลวงโดยพร้อมกันเพือ ่ ประกอบพิธีถวายพระพรชัยเจ้าหญิงจามเทวีเสียก่อน
จากนัน ้ เจ้าหญิงจามเทวีทรงมีรบ ั สั่งให้ขน ุ ศึกทัง้ หลายเตรียมทัพทันที
ทรงให้พระพีเ่ ลี้ยงทัง้ สองช่วยกันจัดทัพหน้าเป็ นชาย ๒๐๐๐ คน หญิง ๕๐๐ คน
รวมกับพญากากะวานรและบริวารทัง้ ๓๕ ตัวทีต ่ ด ิ ตามมาจากระมิงค์นคร
เมือ่ การจัดทัพสาเร็จเสร็จสิน ้
พระนางจามเทวีเสด็จประทับเบื้องหน้าทวยทหารทัง้ ปวง ตรัสว่า
“เพือ ่ ปิ ตุภูมิ เราจะขอทาหน้าทีแ ่ ละยอมสละชีวต ิ ก่อนท่านทัง้ หลาย
แต่ถา้ ผูใ้ ดไม่เต็มใจไปราชการด้วยครัง้ นี้เราจะไม่เอาโทษ จะปลดปล่อยทันที”
บรรดาทหารได้ยน ิ รับสั่งเช่นนัน
้ ก็พากันโห่รอ้ งถวายพระพรกันเซ็งแซ่
ทุกคนถวายสัตย์ปฏิญาณว่า
จะขอตายเพือ ่ พระนางและผืนแผ่นดินละโว้โดยไม่มีใครคิดจะหนีจากการสูร้ บเ
ลย กองทัพของเจ้าหญิงจามเทวีนี้แม้จะมีไพร่พลไม่สูม ้ าก
แต่ไม่นานต่อมาก็ได้กาลังสมทบจากกองทัพนครต่างๆ
ทีม
่ ีสม ั พันธไมตรีกบ ั กรุงละโว้มาแต่เดิม
ตามตานานว่ากองทัพจากพันธมิตรทีม ่ าช่วยกรุงละโว้ครัง้ นี้มาจากกรุงรัตนปุร
ะทัพหนึ่ง เมืองชากังราวทัพหนึ่ง และเมืองอัตตะปื ออีกทัพหนึ่ง
ล้วนแต่กษัตริย์และพระราชวงศ์องค์สาคัญทรงนาทัพมาเองทัง้ สิน ้
ครัง้ ท้องฟ้ าแจ่มใส เห็นเป็ นศุภมิตรอันดีแล้ว
พระเจ้ากรุงละโว้จงึ พระราชทานพระแสงอาญาสิทธิแ ์ ก่พระธิดาของพระองค์เจ้
าหญิงจามเทวีทรงนาไพร่พลเดินทางออกจากละโว้ทน ั ที
เมือ ่ เดินทัพไปถึงเขตนครเขือ่ นขัณฑ์
จึงส่งม้าเร็วเชิญพระอักษรไปกราบทูลพระคูห ่ มัน ้ ว่าพระนางกาลังนาทัพไปช่ว
ยแล้ว ขอให้ทรงทิง้ เมืองเสีย
อพยพชาวเมืองออกไปแล้วแกล้งทาเป็ นล่าถอยทัพไปเรือ ่ ยๆ
ไปทางเทือกเขาสุวรรณบรรพต
ซึง่ เจ้าชายรามราชก็ทรงทาตามแผนการนัน ้ ทุกอย่าง
ดังนัน ้ เมือ ่ ทหารรามบุรีชุดสุดท้ายทิง้ พระนครไปแล้วฝ่ ายโกสัมพีเข้ายึดเมืองไ
ด้ จึงพบกับเมืองร้างทีไ่ ม่มีคนอยูอ ่ าศัย
เมือ ่ เห็นว่ากองทัพและประชาชนชาวรามบุรีกาลังมุง่ หน้าไปทางเทือกเขาสุวรร
ณบรรพต จึงรีบเร่งติดตามไปทันที
ส่วนพระธิดาแห่งกรุงลวปุระก็ทรงนากองทัพทัง้ หมดไปตัง้ ค่ายรอทีเ่ ขาสุวรรณ
บรรพตเรียบร้อยแล้ว และทรงแบ่งกองทัพทัง้ หมอออกเป็ น ๓
ส่วนโอบล้อมเทือกเขา เมือ ่ กองทัพฝ่ ายรามบุรีลา่ ถอยมาถึง
กองทัพฝ่ ายโกสัมพีได้ตามติดเพือ ่ ไล่ขยี้อย่างเมามันจนกระทั่งเข้ามาตกในวงล้
อมฝ่ ายละโว้
ด้วยเหตุนน ้ ั ทัพหน้าของโกสัมพีทง้ ั หมดจึงถูกโจมตียอ ่ ยยับภายในเวลาอันรวดเ
ร็ว รี้พลมากมายต้องสูญเสียไปในสมรภูมน ิ ี้
ในทีส ่ ุดทัพหลวงของทัง้ สองฝ่ ายก็เข้าหา้ หั่นกัน
กองทัพละโว้และพันธมิตรสามารถยันทัพฝ่ ายโกสัมพีได้อย่างเหนียวแน่ น
และได้รบ ั ความเสียหายมากมายด้วยกันทัง้ สองฝ่ าย
พระนางจามเทวีจงึ ได้สง่ พระราชสาส์นถวายเจ้าชายโกสัมพีวา่
“ข้าแต่เจ้าพี่ สงครามครัง้ นี้เหตุเกิดจากเรือ ่ งส่วนตัวระหว่างเจ้าพีก ่ บั หม่อมฉัน
มิควรทีจ่ ะให้ชีวต ิ ทวยราษฏร์ทง้ ั หลายต้องมาล้มตาย
จะเป็ นทีค ่ รหาแก่หมูเ่ ทพยาดาและมนุษย์ทง้ ั หลายเปล่าๆ
ขอเชิญเจ้าพีแ ่ ต่ทหารมาทาการสูร้ บกันตัวต่อตัว
ให้เป็ นขวัญตาแก่ไพร่ฟ้าเข้าแผ่นดินเถิด”
จอมทัพแห่งโกสัมพีเมือ ่ ประจักษ์ ความจริงจากราชสาส์นนัน ้ ว่าหญิงทีต ่ นหลงรั
กกลายเป็ นผูน ้ าทัพฝ่ ายตรงข้ามทีจ่ ะต้องมาประหัตประหารกัน
ก็ทรงวิตกไปหลายประการ
พระองค์ไม่คาดคิดเลยว่าจะต้องมาสัประยุทธ์กบ ั เจ้าหญิงโฉมงามทีพ ่ ระองค์หม
ายปอง
และยังเป็ นเจ้าหญิงพระองค์เดียวกับทีว่ างแผนการอันชาญฉลาดทีท ่ าให้กองทั
พของพระองค์ตอ ้ งประสบความพินาศย่อยยับถึงเพียงนี้
อีกทัง้ พระองค์ยงั เคยทรงทราบมาว่า
เจ้าหญิงทรงเป็ นศิษย์พระฤๅษี คาถาอาคมก็คงจะเชีย่ วชาญ
มิฉะนัน ้ ไหนเลยจะมาเป็ นแม่ทพ ั
สถานการณ์ เช่นนี้ก็ทาให้พระองค์ไม่อาจตัดสินพระทัยอย่างไรได้
ต่อจากนัน ้ อีก ๒ วัน
กองทัพทัง้ สองจึงหยุดการสูร้ บในรูปแบบของการระดมกาลังทหารทัง้ หมด
แล้วเปลีย่ นเป็ นจัดขุนศึกของแต่ละฝ่ ายออกสูร้ บกันตัวต่อตัวแทน
ล่วงไปได้ ๖ วันในการทาสงครามนี้
บรรดากษัตริย์และทวยทหารทัง้ สองฝ่ ายต้องเอาชีวต ิ ไปทิง้ เป็ นอันมาก
โดยเฉพาะทีไ่ ด้รบ ั ความเสียหายหนักทีส ่ ุดคือ กองทัพฝ่ ายโกสัมพี
เพราะเสียขุนศึกทีเ่ ป็ นเจ้านายประเทศพันธมิตรไป ๒ พระองค์
ในขณะทีข ่ น ุ ศึกพันธมิตรของละโว้สน ิ้ พระชนม์ไปเพียงพระองค์เดียวเท่านัน ้
ลุวนั ที่ ๗ ก็ถงึ เวลาทีท ่ ง้ ั สองต้องเผชิญหน้ากัน เพือ ่ ผลแพ้ชนะทีเ่ ด็ดขาด
ท่ามกลางสายตาของทหารหาญทัง้ หลาย เจ้าชายแห่งโกสัมพีถงึ แก่ทรงตกตะลึง
เมือ
่ เจ้าหญิงจามเทวีผท ู้ รงพระสิรโิ ฉมงดงามยิง่ กว่าสตรีใดทีพ ่ ระองค์ทรงเคยท
อดพระเนตรมาก่อนปรากฏพระองค์ในชุดขุนศึกฝ่ ายละโว้อน ั งดงามวิจต ิ รแพร
วพราย
พร้อมด้วยพระแสงอาญาสิทธิเ์ ลอค่าทีไ่ ด้รบ ั พระราชทานมาจากพระบิดา
เจ้าหญิงผูเ้ ลอโฉมทอดพระเนตรเห็นอีกฝ่ ายตกตะลึงอยูเ่ ช่นนัน ้ จึงตรัส
“เจ้าพีจ่ ะมัวยืนเหม่ออยูด ่ ว้ ยเหตุอน ั ใดเล่า
หม่อมฉันขอเชิญเจ้าพีม ่ าประลองฝี มือกัน
อย่าให้ทหารทัง้ หลายต้องพลอยยากลาบากด้วยเราต่อไปอีกเลย”
เจ้าชายแห่งโกสัมพีได้สดับเช่นนัน ้ พระสติจงึ กลับคืนมา
ทรงมีรบ ั สั่งย้อมถามทันทีวา่
“การศึกครัง้ นี้ใยพระนางต้องทาพระวรกายมาให้เปรอะเปื้ อนโลหิตอันมิบงั ควร
สาหรับสตรีเพศ หรือละโว้นน ้ ั จะสิน ้ แล้วซึง่ ชายชาตรี”
“อันละโว้จะสิน ้ ชายชาตรีนน ้ ั หามิได้” เจ้าหญิงทรงมีพระดารัสตอบ “
แต่หม่อมฉันเป็ นราชธิดาแห่งเสด็จพ่อ เสด็จแม่ เป็ นเอกธิดาภายใต้เศวตฉัตร
อันบุรุษมีใจสตรีก็มีใจ ผิวา่ หม่อมฉันพลาดพลัง้ เจ้าพีก ่ ็เอาชีวต ิ หม่อมฉันไปเถิด
หากเจ้าพีพ ่ ลาดพลัง้ ก็ขอได้โปรดอภัยให้แก่หม่อมฉัน”
เจ้าชายโกสัมพีทรงเห็นความหาญกล้าของพระนางเช่นนัน ้
ก็ยงั ไม่ทรงตัดสินพระทัยจะประลองฝี มือกันโดยทันที
และเนื่องจากเห็นว่าเวลาใกล้เทีย่ งวันด้วย
จึงทรงมีรบ ั สั่งว่าขอเชิญน้องหญิงและไพล่พลพักเหนื่อยกันก่อนเถิด
พอบ่ายอ่อนเราจึงค่อยมาสูก ้ น ้ ั พระนางก็ทรงเห็นชอบด้วย
และแล้ว เมือ ่ เวลาทีจ่ ะต้องสูร้ บกันจริงๆ มาถึง
เจ้าชายแห่งโกสัมพีจงึ ได้ทรงประจักษ์ แก่พระองค์เองอีกคารบหนึ่งว่า
เจ้าหญิงแห่งลวปุระทีพ ่ ระองค์หมายปองนี้ไม่เพียงแต่จะทรงมีพระสิรโิ ฉมงดงา
มและทรงพระปรีชาเยีย่ มยอดในการวางแผนการรบเท่านัน ้
พระนางเธอยังทรงมีวช ิ าเพลงดาบทีเ่ หนือกว่าพระองค์อีกด้วย
ในทีส ่ ุดหลังจากการดวลดาบกันตัวต่อคัว
เจ้าชายทรงเพลีย่ งพลา้ ถูกนางจามเทวีฟน ั พระกรได้รบ ั บาดเจ็บ
ผลแพ้ชนะก็ปรากฏแก่ตาเหล่าทหารทัง้ หลาย
และด้วยเหตุนน ้ ั เองทหารฝ่ ายโกสัมพีทง้ ั ปวงเกิดแตกตืน ่ พากัน ้ ถอยทัพ
ทหารละโว้ก็ตด ิ ตามตีซา้
ยังความเสียหายย่อยยับแก่กองทัพผูร้ ุกรานเป็ นอันมาก
เจ้าชายแห่งโกสัมพีทรงอับอายและเสียพระทัยเกินกว่าจะทรงยอมรับความพ่าย
แพ้ครัง้ นี้ ได้ปลงพระชนม์พระองค์เองเสียในทีร่ บ
กองทัพโกสัมพีทเี่ หลือก็เสียขวัญแตกพ่ายถูกจับเป็ นเชลยจานวนมาก
ชัยชนะในการสงครามนี้นามาซึง่ ความชืน ่ ชมยินดีแก่พระเจ้าแผ่นดินและพระ
มเหสี ตลอดจนบรรดาเสนาอามาตย์ ทหารและประชาชนชาวละโว้เป็ นอันมาก
เมือ ่ พระธิดาแห่งกรุงลวปุระทรงนากองทัพกลับถึงพระนครจึงได้มีการเฉลิมฉล
องอย่างยิง่ ใหญ่ ตามตานานว่าอยูใ่ นช่วงสามเดือน ปี พุทธศักราช ๑๑๙๖
แต่เจ้าหญิงจามเทวีนน ้ ั มิได้ทรงปิ ติยน ิ ดีในชัยชนะทีท ่ รงได้รบ ั เลย
แม้จะทรงได้รบ ั การสรรเสริญจากราชสานักรวมทัง้ ประชาชน
ตลอดจนกษัตริย์ผค ู้ รองนครทีเ่ ป็ นพันธมิตรตลอดไปจนถึงประเทศราชและอา
ณาจักรอืน ่ ๆ ทีอ ่ ยูห
่ า่ งไกลออกไป จนชือ ่ เสียงของพระนางขจรขจายไปทั่ว
พระนางยังทรงระลึกถึงภาพอันสยดสยองของเหล่ากษัตริย์และทหารทัง้ สองฝ่ า
ยทีต ่ อ
้ งล้มตายเพราะพระนางเป็ นต้นเหตุ
จึงทรงมีรบ ั สั่งให้สร้างศาลาเป็ นจานวนเท่ากับกษัตริย์ทส ี่ น ิ้ พระชนม์ในครัง้ นี้
ทรงสร้างวัดขึน ้ ในพื้นทีอ ่ น
ั เป็ นสมรภูมริ บนัน ้ ด้วยวัดหนึ่งและเปลีย่ นชือ ่ สุวรร
ณบรรพตเสียใหม่วา่ “วังเจ้า”
เพราะเหตุทก ี่ ษัตริย์และเจ้านายทัง้ หลายมาสิน ้ พระชนม์ทน ี่ ี่จานวนมากนั่นเอง
ส่วนพระศพของเจ้าชายแห่งโกสัมพีนน ้ั
พระนางได้ทรงนาปรอทจากสุวรรณบรรพตมากรอกพระศพ
ทาการตกแต่งให้สมพระเกียรติกอ ่ นทีจ่ ะตัง้ พระศพบาเพ็ญกุศลไว้ระยะหนึ่งแล้
วจึงถวายพระเพลิงร่วมกับกษัตริย์และเจ้านายพระองค์อืน ่
หลังจากนัน ้ ทรงจัดให้มีพธิ ีสงฆ์เพือ ่ บาเพ็ญกุศลแก่ดวงพระวิญญาณและทหาร
ทีเ่ สียชีวต ิ อีกครัง้
พระอัฐก ิ ็โปรดฯให้อญ ั เชิญกลับไปยังโกสัมพีและนครทีม ่ าช่วยโกสัมพีรบ
ภายหลังพิธีการต่างๆ เสร็จสิน ้
พระเจ้ากรุงละโว้จงึ ทรงจัดพระราชพิธีสยุมพรพระธิดาของพระองค์กบ ั เจ้าชาย
รามราช โดยจัดอย่างยิง่ ใหญ่ครบครันตามราชประเพณีโบราณทุกประการ
ตานานว่าวันประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสนัน ้ ตรงกับวันข้างขึน ้ เดือน ๖
ปี ขาล หรือพุทธศักราช ๑๑๙๘
จากนัน ้ องค์ขตั ติยนารีแห่งละโว้เสด็จไปเมืองรามบุรีกบ ั พระสวามีเพือ ่ ปรับปรุง
สภาพภายในเมืองเสียใหม่พร้อมทัง้ วางแผนราชการงานเมืองให้เป็ นปึ กแผ่น
จะเห็นว่าเจ้าหญิงจามเทวีได้ทรงแสดงให้เห็นพระปรีชาญาณอันเหมาะสมแก่ก
ารทีจ่ ะต้องทรงเป็ นจอมกษัตริย์ตอ ่ ไปในกาลข้างหน้าตัง้ แต่ยงั ดารงพระยศเป็ น
พระธิดาแห่งเจ้ากรุงละโว้เท่านัน ้
ตานานพื้นเมืองบางฉบับว่า ภายหลังราชพิธีอภิเษกสมรสแล้ว
พระเจ้ากรุงลวปุระทรงมอบเวนราชสมบัตใิ ห้เจ้าชายรามราชขึน ้ ครองนครลวปุ
ระต่อไป แต่ขอ ้ นี้ตานานอืน ่ ไม่มี
สุเทวฤๅษี สร้างนครหริภุญไชย
ณ ดินแดนทางภาคเหนือซึง่ เป็ นถิน ่ ประสูตข ิ องเจ้าหญิงจามเทวีนน ้ั
เดิมเป็ นทีต ่ ง้ ั ของเมืองมิคสังคร
ซึง่ ท่านสุเทวฤๅษี ได้สร้างไว้ให้โอรสธิดาของท่าน
ซึง่ บังเกิดจากนางเนื้ อทีไ่ ด้มาดูดกินน้ามูตรของท่านฤๅษี ทม ี่ ีอสุจปิ นอยูเ่ ข้าไป
รวมกับผูบ ้ งั เกิดอย่างอัศจรรย์ในรอยเท้าสัตว์ ๓ ชนิด คือ ช้าง แรด และวัว
หรือ โคลานซึง่ ท่านฤๅษี ไปพบเข้าภายหลังลงจากดอยสุเทพ
เจ้าผูค ้ รองมิคสังครองค์แรกนี้มีพระนามว่า กุนรฤษี
โดยมีพระชายาเป็ นพีน ่ ้องกันคือ มิคป ุ ปัตติ
ทัง้ สองพระองค์ได้ครองนครโดยตัง้ อยูใ่ นโอวาทของพระสุเทวฤๅษี ได้ ๗๗ ปี
มีโอรส ๓ พระองค์ คือ เจ้ากุนริกนาสหรือกุนริสค ิ นาส เจ้ากุนริกทังษะ
และเจ้ากุนริกโรส พระธิดาอีก ๑ องค์ ชือ ่ เจ้าปทุมาเทวี
ท่านสุเทวฤๅษี จงึ ได้สร้างเมืองให้พระโอรสทัง้ ๓ ปกครององค์ละเมือง
เมือ ่ พระเจ้ากุนรฤษี สวรรคต เจ้ากุนริกนาสจึงเสด็จกลับไปครองเมืองมิคสังคร
แล้วกลับไปครองเมืองรันนปุระทีท ่ า่ นฤๅษี สร่างไง้ให้แต่เดิมอีก
บางตานานก็วา่ ท่านฤๅษี เนรมิตเมืองใหม่ให้อีกเมืองหนึ่งให้เจ้ากุนริกนาสละจา
กเมืองมิคสังครไปปกครอง ชือ ่ รมยนคร
เพราะท่านฤๅษี เกิดเห็นว่าเมืองมิคสังครเป็ นทีไ่ ม่สมควร
รมยนครแห่งนี้ตอ ่ มาได้ประสบภัยพิบตั ิ
เนื่องจากเจ้าครองนครเป็ นผูป ้ ราศจากทศพิธราชธรรม
ไม่เอาใจใส่ในความเดือดร้อนของอาณาประชาราษฎร์ คือ
เกิดมีคดีลูกตบตีมารดาของตน เมือ ่ มารดาเข้าร้องทุกข์ตอ ่ เจ้าครองนคร
กลับได้รบ ั กาตัดสินว่าการใดๆ ทีล่ ูกกระทาไปเป็ นการถูกต้องแล้ว
ซา้ ลงโทษให้ไล่ผเู้ ป็ นแม่นน ้ ั ไปจากเมืองอีกด้วย
หญิงนัน ้ จึงได้รอ้ งไห้วงิ วอนต่อสิง่ ศักดิส์ ท ิ ธิ ์ ยังผลให้เทวะทัง้ หลายพิโรธ
บันดาลให้เกิดอาเพศและภยันตรายต่างๆ
ผูค
้ นในเมืองนัน ้ ได้รบ ั ความเดือดร้อน
จนในทีส ่ ุดบรรดาผูม ้ ีศลี ธรรมได้พากันอพยพไปเสียจากเมือง
เทวดาทัง้ หลายจึงบันดาลให้มหาอุทกท่วมนครนัน ้ ล่มจมไปหมดสิน ้
กล่าวกันว่าทีท ่ เี่ คยเป็ นเมืองรมยนครนัน ้ มีชือ ่ ปรากฏภายหลังว่า หนองมอญ
ท่านสุเทวฤๅษี เฝ้ ามองความเป็ นไปต่างๆ ด้วยความสลดใจ
และเห็นว่าบรรดาผูม ้ ีศลี ธรรมจากนครเหล่านัน ้ ยังคงพากันเร่รอ ่ นอยู่
จึงได้เชิญฤๅษี พีน ่ ้องของท่านคือ ท่านสุกทันตฤๅษี ทลี่ ะโว้
ท่านสุพรหมฤๅษี ทส ี่ ุภบรรพต รวมทัง้ เหล่าฤๅษี ผม ู้ ีตบะแก่กล้าอืน ่ ๆ
มาประชุมกันและช่วยกันสร้างเมืองขึน ้ มาใหม่
โดยให้นกหัสดีลงิ ก์นาหอยสังข์ขนาดใหญ่จากมหาสมุทรมาเป็ นแบบ
แล้วใช้ไม้ขด ี แผ่นดินเป็ นวงไปตามสัณฐานของเปลือกหอยสังข์นน ้ั
วงขอบปากหอยก็เกิดเป็ นคูน้าคันดินขึน ้
พระดาบสทัง้ สองจึงประกาศไล่รุกขเทวดาทัง้ หลายภายในเขตเมืองใหม่ให้ออก
ไปอยูท ่ อ
ี ่ ืน

ยังแต่รุกขเทวดาอนาถาองค์หนึ่งทุพพลภาพไม่สามารถจะย้ายไปจากทีน ่ ่น
ั ได้
จึงขออาศัยอยูท ่ เี่ ดิมต่อไปจนกว่าจะจุติ
ท่านฤๅษี ทง้ ั สองก็อนุญาตและสถานทีซ ่ งึ่ รุกขเทวดาเฒ่านัน้ อาศัยเป็ นเนินดินพู
นสูงกว่าทีอ ่ ืน
่ นครนี้จงึ มีชือ ่ เรียกต่อมาว่า ลาพูน
ในตานานระบุวา่ เวลาสร้างเมืองนัน ้ ตรงกับวันอาทิตย์ขน ึ้ ๘ ค่า เดือน ๓ ปี ขาล
พ.ศ. ๑๑๙๘ ใช้เวลาสร้าง ๒ ปี
สัณฐานนครเมือ ่ แรกสร้างมีปริมณฑลโดยรอบได้ ๒๒๕๐ วา หรือ ๑๒๗
เส้นกับ ๑๐ วา
พระฤๅษี ทง้ ั สองได้ประกอบสัมภาระสาหรับนครแห่งใหม่พร้อมด้วยป้ อมปราก
าร ประตูเมือง หอรบทัง้ ปวง อีกทัง้ พระราชนิเวศน์มณเฑียรสถาน
อุทยานหลวงและสถานทีต ่ า่ งๆ ทัง้ ท้องพระคลังครบถ้วน
เมือ ่ สาเร็จแล้วท่านฤๅษี ทง้ ั สองได้ปรึกษากันว่าเมืองใหม่แห่งนี้งดงามนัก
ใครหนอทีจ่ ะสมควรมาครองราชย์สมบัตใิ นเมืองนี้
ท่านสุกทันตฤๅษี จงึ แนะว่า “สมเด็จพระเจ้ากรุงละโว้ทรงมีราชธิดาคือ
พระนางจามเทวี
เป็ นผูม ้ ีสติปญ ั ญาสามารถฉลาดรอบรูส้ รรพกิจขัตติยราชประเพณี
มีมารยาทและพระอัธยาศัยเสงีย่ มงามพร้อมมีน้าพระทัยโอบอ้อมอ่อนน้อมตัง้ อ
ยูใ่ นศีลสัตย์ยุตธิ รรม สมควรจะเป็ นเจ้าเป็ นใหญ่ปกครองพสกนิกรในนครนี้ได้
ควรเราไปทูลขอราชบุตรีนี้จากพระเจ้ากรุงละโว้มาปกครองนครนี้เถิด”
ท่านสุเทวฤๅษี เห็นชอบด้วย จึงได้แต่งทูตผูห ้ นึ่ง
ซือ ่ นายควิยะเชิญศุภอักษรและเครือ ่ งราชบรรณาการและบริวารอีก ๕๐๐ คน
รวมทัง้ ท่านสุกทันตฤๅษี ลงเรืองล่องไปตามแม่น้าปิ งไปยังกรุงละโว้
กราบบังคมทูลขอเจ้าหญิงจามเทวีไปเสวยราชย์เป็ นปฐมกษัตริย์แห่งเมืองทีส ่ ร้
างขึน ้ ใหม่โดยไม่ชา้

พระยาคชสารของพระนางจามเทวี มีชือ ่ ว่า ผูก


้ ่างาเขียว
โดยเจ้าอหันตยศทรงประทับด้านหน้า เจ้าอนันตยศ ประทับตรงกลาง
และควาญช้าง นั่งด้านหลัง
ได้เตรียมพร้อมออกศึกรบกับขุนหลวงวิลงั คะและในทีส ่ ุดขุนหลวงวิลงั คะก็ถูก
พระเเสงดาบฟันจนพระกรขาดตกจากหลังช้าง

พระนางจามเทวีเสด็จไปหริภุญไชย
เมือ
่ คณะท่านสุกทันตฤๅษี และนายควิยะถึงเมืองละโว้
พระบิดาของเจ้าหญิงจามเทวีได้จดั ให้ทง้ ั หมดพานักอยูท
่ างทิศตะวันออกของเ
มือง วันต่อมาทัง้ หมดจึงได้เข้าเฝ้ า ณ พระราชวังแห่งลวปุระ
ท่านสุกทันตฤๅษี ได้ถวายพระพรว่า
“ในวันนี้ตท ู ง้ ั หลายชือ ่ ดังนี้น้อมนามายังบรรณาการของฝากอันท่านสุเทวฤๅษี ม
าถวายมหาราชเจ้า และท่านสุเทวฤๅษี ตนนี้เป็ นสหายด้วยเราแท้จริง
เธอชวนเราไปช่วยสร้างพระนครอันหนึ่งหนน้าขุนโพ้น
พระนครอันนัน ้ ก็สาเร็จบริบูรณ์ เรียบร้อยทุกประการแล้ว
บัดนี้สุเทวฤๅษี มีความปรารถนาอยากจะใคร่ได้เชื้อชาติทา้ วพระยาทีอ ่ ืน
่ ทีป
่ ระก
อบไปด้วยศีลและปัญญา
ทรงตัง้ อยูใ่ นทศพิธราชธรรมไปเสวยราชสมบัตใิ นพระนครทีน ่ น
้ั
อามาตย์จงึ ได้แนะนาว่า เชื้อชาติทา้ วพระยาผูด ้ หี าไม่มีในทีแ
่ ห่งอืน

แต่รข ู ้ า่ วว่าพระราชธิดาของมหาราชเจ้าพระองค์หนึ่ง
ทรงพระนามว่านางจามเทวี
ถ้าเราได้พระนางมาเสวยราชสมบัตเิ ป็ นนางพระยาในพระนครนี้จะสมควรยิง่
นัก
เหตุดงั นี้ ท่านสุเทวฤๅษี จงึ ได้ให้นายควิยะพร้อมด้วยบริวารมีประมาณ ๕๐๐
คน น้อมนามายังเครือ ่ งบรรณาการของฝากกับด้วยตัวเรา
ให้นาทูลถวายมหาราชเจ้า
เพือ่ ให้เราทูลขอพระนางจามเทวีราชธิดาของพระองค์ไปเสวยราชสมบัตเิ ป็ นน
างพระยาในนครนัน ้ ด้วย ขอมหาราชเจ้าได้ทรงพระเมตตา
โปรดประทานพระอนุญาตให้พระนางได้ไปเสวยราชสมบัตใิ นพระนครนัน ้ ด้ว
ย”
พระเจ้ากรุงละโว้เมือ ่ ทรงสดับข่าวอันเป็ นมหามงคลเช่นนัน ้
จึงทรงมีพระดารัสตอบว่า
“ข้าแต่เจ้าฤๅษี เราจะตอบในบัดเดีย๋ วนี้ยงั ไม่ได้ จะต้องไต่ถามลูกเขาดูเสียก่อน
เหตุวา่ ข่าวสาส์นอันพระสุเทวะให้มาถึงเรานัน ้ ยากนักหนา ถ้าหากเราให้เขาไป
เขาพอใจไปก็ดอ ี ยู่ ถ้าเขาไม่พอใจจะไป
เราจะบังคับให้เขาไปนัน ้ เป็ นไปไม่ได้”
จากนัน ้ จึงทรงมีรบ ั สั่งให้อามาตย์นาข้อความทีท ่ า่ นสุกทันตฤๅษี กราบทูลนัน ้ ไป
ทูลเจ้าหญิงจามเทวี เมือ ่ พระนางสดับแล้ว ก็ทรงเข้าพระทัยได้ดีทุกอย่าง
จึงได้กราบทูลพระบิดาว่า
“ข้าแต่พระบิดาเจ้า หม่อมฉันขอกราบทูลใต้เบื้องบาทพระบิดาเป็ นเจ้า
เมือ
่ พระบิดาทรงมีพระประสงค์จะให้หม่อมฉันไปเสวยราชสมบัตใิ นพระนคร
หนขุนน้าโพ้น
หม่อมฉันขอรับพระราชทานไปตามพระประสงค์พระบิดาทุกประการ
ถ้าหากว่าพระบิดาไม่พอพระทัยในการไปเช่นนัน ้
หม่อมฉันก็ไม่สามารถจะล่วงพระอาญาพระบิดาไปได้”
พระเจ้ากรุงละโว้ทรงสดับเช่นนัน ้ แล้ว จึงทรงมีพระดารัสแก่พระธิดาว่า
“ข่าวสารอันเจ้าฤๅษี ผป ู้ ระกอบไปด้วยฤทธานุภาพให้มาถึงเรา ๒
พ่อลูกนี้เป็ นอันประเสริฐยิง่ นัก
บัดนี้พอ ่ จักให้เจ้าไปเสวยราชสมบัตเิ ป็ นนางพระยาหนขุนน้าตามคาพ่อเจ้าฤๅษี
ขอมานัน ้ แท้จริง”
พระนางจึงทรงได้รบ ั พระราชทานพระราชนุญาตทีจ่ ะเสด็จออกจากละโว้
แม้วา่ ขณะนัน ้ พระนางจะทรงพระครรภ์ได้ ๓ เดือนแล้ว
ตานานมูลศาสนากล่าวว่าส่วนพระสวามีนน ้ั
พระเจ้ากรุงละโว้ก็ทรงตัง้ ให้เป็ นทีอ ่ ุปราชครองเมืองรามบุรี
และเพราะว่าเวลานัน ้ เจ้าหญิงจามเทวีทรงพระครรภ์อยู่
พระเจ้ากรุงละโว้จงึ ทรงมีพระราชโองการให้เจ้าชายรามราชเข้าเฝ้ า
ว่าการทีท ่ า่ นสุเทวฤๅษี สง่ ทูตมาขอเจ้าหญิงจามเทวีไปเป็ นนางพระยา
พ่อก็มีความปรารถนาอยากจะให้ไปนี้แหละ เจ้าจงอยูเ่ ป็ นอุปราชากับพ่อ
หากมีความพอใจในหญิงใดพ่อจะจัดให้ตามความประสงค์ทุกประการ
เจ้าชายรามราชจึงกราบทูลว่าขุนน้าโพ้นไกลนักหนาทีเดียว
ผิวา่ ตามใจของพระองค์แล้วพระองค์ก็ไม่อยากจะให้พระนางจากไป
จึงแม้เช่นนัน ้ พระองค์ก็เห็นดีในพระประสงค์พระเจ้ากรุงละโว้ทุกอย่าง
ทูลแล้วเสด็จกลับวัง และแก่เจ้าหญิงจามเทวีวา่
“น้องรัก
บัดนี้พระราชบิดาเราพระองค์มีพระประสงค์จะให้น้องไปเป็ นนางพระยาในพร
ะนครขุนน้าโพ้น พระองค์ตรัสดังนี้ พระน้องเจ้าจงไปเป็ นนางพระยา
เสวยราชสมบัตใิ ห้ชอบในทศพิธราชธรรมเถิด
ความสวัสดีจงมีแก่พระน้องนางเทอญ”
เจ้าหญิงจามเทวีก็กราบไหว้พระสวามี แล้วทูลตอบว่า
“สาธุ ข้าแต่พระองค์ผม ู้ ีบุญ
หม่อมฉันจักได้อาลาพระบาทพลัดพรากไปไกลครัง้ นี้
ขอพระราชสามีเป็ นเจ้าแห่งหม่อมฉันนี้จงได้อยูเ่ ป็ นอุปราชากับด้วยพระราชบิ
ดาของหม่อมฉัน ตามจารีตประเพณีอน ั เป็ นคลองแห่งอุปราชาอันดีมาแต่กอ ่ น
ให้เหมือนดังเมือ ่ เราทัง้ สองยังอยูพ
่ ร้อมเพรียงกันนัน ้ ทุกประการเทอญ”
แต่ในจามเทวีวงศ์กล่าวว่าเจ้าชายรามราชออกบวชเสียในขณะนัน ้
เจ้าหญิงจามเทวีจงึ ทรงอยูใ่ นฐานะไร้พระสวามี
ทางลาพูนจึงได้สง่ สาส์นมาทูลขอดังกล่าว
ตานานพื้นบ้านว่าเจ้าหญิงจามเทวีทรงรับทีจ่ ะครองเมืองลาพูนเพราะว่าเมืองลา
พูนเวลานัน ้ ราษฎรเดือดร้อนด้วยขาดผูน ้ า
และพระนางก็ระลึกถึงพระคุณท่านสุเทวฤๅษี ทีเ่ คยชุบเลี้ยงมาแต่กอ ่ น
และด้วยเหตุนน ้ ั จึงมีพระราชโองการอภิเษกเจ้าหญิงจามเทวีขน ้ึ เป็ นกษัตริย์
โดยเฉลิมพระนามใหม่ดงั ปรากฏไว้ในพระสุพรรณบัฏว่า พระนางเจ้าจามเทวี
บรมราชนารีศรีสุรยิ วงศ์ องค์บดินทร์ ปิ่ นธานีหริภุญไชย
จากนัน ้ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ ข้าราชบริพารตามเสด็จจานวนมาก
รวมทัง้ พระสงฆ์ พราหมณ์ ผูเ้ ชีย่ วชาญในศิลปวิทยาต่างๆ
ตามคากราบบังคมทูลของพระนางจามเทวีสาหรับทีจ่ ะไปสร้างบ้านเมืองแห่งใ
หม่นน ้ ั ให้บริบูรณ์ ยงิ่ ขึน้ หมูค่ นทัง้ หลายทีพ ่ ระนางจามเทวีทูลขอนัน ้
และได้รบ ั พระราชทานอย่างครบถ้วนนัน ้ ได้แก่
๑. พระมหาเถระทีท ่ รงปิ ฎก ๕๐๐ รูป
๒. หมูป ่ ะขาวทัง้ หลายทีต ่ ง้ ั อยูใ่ นเบญจศีล ๕๐๐ คน
๓. บัณฑิต ๕๐๐ คน
๔. หมูช ่ า่ งแกะสลัก ๕๐๐ คน
๕. ช่างแก้วแหวน ๕๐๐ คน
๖. พ่อเลี้ยง ๕๐๐ คน
๗. แม่เลี้ยง ๕๐๐ คน
๘. หมูห ่ มอโหรา ๕๐๐ คน
๙. หมอยา ๕๐๐ คน
๑๐. ช่างเงิน ๕๐๐ คน
๑๑. ช่างทอง ๕๐๐ คน
๑๒. ช่างเหล็ก ๕๐๐ คน
๑๓. ช่างเขียน ๕๐๐ คน
๑๔. หมูช ่ า่ งทัง้ หลายต่างๆ ๕๐๐ คน (คือช่างโยธา) ๕๐๐ คน
บรรดาพสกนิกรไพร่ฟ้าชาวละโว้ทท ี่ ราบข่าวและพากันมารอฟังข้อตกลงอยูภ ่ า
ยนอกพระราชวังอย่างล้นหลามต่างก็อนุโมทนาในการตัดสินพระทัยของพระน
าง
แม้จะมีความอาลัยรักในเจ้าหญิงผูท ้ รงบุญญานุภาพของพวกเขาเหลือทีจ่ ะพรร
ณนาได้ เวลาต่อมาพระนางจามเทวีก็กราบบังคมทูลลาพระเจ้ากรุงละโว้
พระมเหสี พระสวามี และพระญาติพระวงศ์ ต่างก็โศกากันแสงสั่งซึง่ กันและกัน
ครัน้ คลายความเศร้าแล้ว
จึงเสด็จพร้อมด้วยพระพีเ่ ลี้ยงทัง้ สองพระองค์นาผูค ้ นและทรัพย์สมบัตท ิ ง้ ั หมดอ
อกจากนครลวปุระท่ามกลางความอาลัยรักของประชาชนทีม ่ าเฝ้ าส่งเสด็จจากพ
ระนครไปครัง้ นี้จะเป็ นการจากไปชั่วนิรน ั ดร์
จะไม่มีชาวละโว้คนใดได้เห็นเจ้าหญิงผูง้ ดงามของเขาอีก
ตามตานานว่า
พระนางจามเทวีและข้าราชบริพารทัง้ หมดได้เดินทางโดยกระบวนเรือขึน ้ ไปต
ามลาน้ามุง่ สูด ิ แดนล้านนา และสิง่ สาคัญ ๒ สิง่ ซึง่ พระนางได้นาไปด้วย คือ
่ น
พระแก้วขาว ซึง่ ว่ากันว่าเป็ นองค์เดียวกับทีป ่ ระดิษฐาน ณ วัดเชียงมั่น
จ.เชียงใหม่เวลานี้องค์หนึ่ง กับ พระรอดหลวง ซึง่ ประดิษฐานทีว่ ดั มหาวัน
จ.ลาพูนอีกองค์หนึ่ง บางตานานว่าระหว่างทีย่ งั มิได้เสด็จถึงนครลาพูนนัน ้
พระนางได้ทรงศีลและฉลองพระองค์ขาวโดยตลอด
จากเรือ ่ งในตานาน เส้นทางทีเ่ สด็จโดยชลมารคนัน ้ เกินระยะเวลายาวนานกว่า
๗ เดือน โดยได้หยุดพัก ณ ตาบลต่างๆ ตายรายทาง ได้แก่
· เมืองบางประบาง ว่ากันว่าจะเป็ นปากบางหมืน ่ หาญ
ใกล้ปากน้าพุทราเวลานี้
· เมืองคันธิกะ ว่ากันว่าจะเป็ นนครสวรรค์
· เมืองบุราณะ ยังไม่แน่ ใจว่าเป็ นเมืองอะไรในปัจจุบน ั
· เมืองเทพบุรี ปัจจุบน ั คือ บ้านโดน
· เมืองบางพล ปัจจุบน ั อยูใ่ น จ.กาแพงเพชร
· เมืองรากเสียด คือ เกาะรากเสียดเวลานี้
· หาดแห่งหนึ่ง เกิดน้ารั่วเข้าเรือพระทีน ่ ่ งั จึงเรียกกันต่อมาว่า
หาดเชียงเรือ
· ตาบลหนึ่ง
พระนางจามเทวีทรงมีรบ ั สั่งให้พระพีเ่ ลี้ยงและข้าราชบริพารนาสิง่ ของทัง้ หลาย
อันเปี ยกชุม ้ ตาก จึงเรียกสถานทีน
่ น้าขึน ่ ี้ตอ
่ มาว่า บ้านตาก
· ตาบลหนึ่ง เป็ นทีร่ วมน้าแม่วงั ต่อกับแม่ระมิงค์
รี้พลทัง้ หลายพากันง่วงเหงาอยู่ พระนางเองก็ดเู หงาๆ ไป จึงได้เรียกต่อมาว่า
จามเหงา หรือ ยามเหงา ครัน ้ ต่อมาจึงเพี้ยนเป็ นสามเงาในทุกวันนี้
ตานานว่าพระนางโปรดให้สร้างวัดขึน ้ แห่งหนึ่ง
ประดิษฐานพระพุทธรูปและพระสาวกให้คนทัง้ หลายสักการบูชาสรณาคมน์
ทีน่ น ้ ั จึงได้ชือ ่ เวลาต่อมาว่า พุทธสมาคม
· ตาบลหนึ่ง มีแก่งน้ามีหน้าผาชะโงกเงือ ้ มลงปรกแม่น้า
ทีน ่ ่น ั นางกานัลคนหนึ่งเสียชีวต ิ
พระนางจามเทวีจงึ พระราชทานเพลิงศพและฝั่งอัฐไิ ว้
ต่อมาพระนางเสด็จลงสรง ทรงเสีย่ งสัตยาธิฐานว่า
“ข้าน้อยจักนาพระศาสนาและราชประเพณีไปประดิษฐานยังแว่นแคว้นลาพูนใ
นครัง้ นี้ หากเจริญรุง่ เรืองดังมโนรถอันมุง่ หมาย
ขอเทพยดาจงดลบันดาลให้มีน้าไหลหลั่งลงมาจากเงือ ้ มผานี้ให้ขา้ น้อยได้สรงส
รีระในกาลบัดนี้เถิด พอสิน ้ คาอธิษฐาน
ก็บงั เกิดเหตุอศั จรรย์มีอุทกธาราโปรยปรายหลั่งไหลตกลงมาจากเงือ ้ มผานัน
้ ให้
พระนางได้สรงสนานเป็ นทีส ่ าราญพระหฤทัย
สถานทีน ่ น้ ั จึงได้ปรากฏชือ ่ ต่อมาว่า ผาอาบนาง
ยังมีน้าตกโปรยจากผาลงมาในลาน้าจนถึงทุกวันนี้
· ตาบลหนึ่ง ปรากฏว่ามีผาตัง้ ขวางทางน้าอยู่
ไม่เห็นช่องทีเ่ รือจะผ่านไปได้
พระนางจามเทวีจงึ ทรงมีรบ ั สั่งให้คนไปสารวจพบช่องทางน้าเลี้ยวพันหน้าผานั้
นอยูอ ่ ีกด้านหนึ่ง จึงเคลือ ่ นกระบวนเรือไปถึงบริเวณหน้าผา ณ ทีน ่ ่น

พระนางโปรดฯ ให้ช่างเขียนทารูปช้างแปรหน้าคืนไว้
สถานทีน ่ น้ ั จึงมีนามปรากฏต่อมาว่า ผาแต้มบ้าง ผาม่านบ้าง
เพราะเหตุวา่ รูปทรงของหน้าผาเหมือนผ้าม่านขึงขวางลาน้าไว้
· เมืองร้างแห่งหนึ่ง ทีน ่ ี่พระนางจามเทวีทรงให้หยุดกระบวนเรือพักแรม
ปรากฏว่ามีเต่าจานวนมากมายมารบกวนคน สถานทีน ่ น ้ ั จึงเรียกว่า ดอยเต่า
· ตาบลหนึ่ง มีชือ ่ ว่า บ้านโทรคาม เป็ นรมณี ยสถานอันพอพระทัยนัก
พระนางโปรดฯ ให้พกั แรมอยู่ ณ ทีน ่ ี้ และทรงสร้างพระสถูปขึน ้ พระองค์หนึ่ง
ประทานพระนามว่า วิปะสิทธิเจดีย์
เมือ ่ สร้างเสร็จได้มีพธิ ีฉลองและกระทาการสักการบูชาเป็ นอันมาก
· ท่าเชียงทอง มีชาวบ้านหญิงชายพากันออกมาคอยรับเสด็จจานวนมาก
พระนางจึงทรงมีรบ ั สั่งให้พระนางกานัลผูห ้ นึ่งถามคนทัง้ หลายนัน ้ ว่า
“ดูกร ชาวพ่อชาวแม่ทง้ ั หลาย แต่นี้ถงึ เมืองลาพูน
ยังประมาณมากน้อยเท่าไร”คนเหล่านัน ้ ตอบว่า “ข้าแต่มหาราชเทวีเป็ นเจ้า
แต่นี้ถงึ เมืองลาพูนนัน ้ ข้าทัง้ หลายได้ยน ิ มาว่าหนึ่งโยชน์ แล”
ด้วยเหตุดงั กล่าว สถานทีน ่ ี้จงึ ได้ชือ่ ต่อมาว่า เมืองฮอด
และได้มีการหยุดประทับแรมกันเป็ นครัง้ สุดท้ายทีท ่ า่ เชียงทองนัน ้ เอง
พระนางจามเทวีทรงมีพระดาริวา่ แม้จะใกล้ชานเมืองลาพูนแล้ว
แต่ก็ควรจะหยุดพักกระบวนเรือและตัง้ เวียงเล็กขึน ้ บริเวณนอกเมืองเสียก่อน
ไม่ควรรีบร้อนเข้าไปในเมือง
จากนัน ้ ทรงปรึกษากับข้าราชบริพารทัง้ หลายเพือ ่ กาหนดสถานทีต ่ ง้ ั ค่ายประทับ
แรม โหราจารย์ได้ถวายความเห็นให้ทรงเสีย่ งธนูดต ู ามประเพณีทม ี่ ีมาแต่กอ ่ น
จึงโปรดฯ ให้กระทาดังนัน ้
ปรากฏว่านายขมังธนูน้าวคันศรส่งลูกธนูไปทางทิศเหนือด้วยกาลังแรง
ลูกธนูไปตกอยู่ ณ สถานทีแ ่ ห่งหนึ่งเป็ นชัยภูมอ ิ น
ั เหมาะสม
พระสงฆ์ทง้ ั หลายจึงเจริญพระพรว่าพระนางควรจะหยั่งรากพระศาสนาลง ณ
ทีน
่ น ้ ั เป็ นเบื้องแรก พระนางจึงโปรดฯ ให้กอ ่ พระอารามขึน ้
พร้อมด้วยพระมหาเจดีย์ยงั จุดทีล่ ูกธนูตก และยังโปรดฯ
ให้หล่อพระพุทธรูปเท่าพระองค์บรรจุพระบรมธาตุประดิษฐานไว้ในพระอารา
มตามทีบ ่ รรดาพระเถระทัง้ ๕๐๐ ได้ถวายพระพร
พระมหาเจดีย์นน ้ ั ปัจจุบน ั อยูใ่ นวัดละโว้
ส่วนพระพุทธรูปนัน ้ ต่อมาก็มีปาฏิหาริย์ศกั ดิส์ ท ิ ธิใ์ นการรักษาโรคภัยไข้เจ็บคน
ทัง้ หลายจึงเรียกว่า “พระยา” มาจนทุกวันนี้
นอกจากพระพุทธรูปซึง่ พระนางโปรดฯ
ให้สร้างเท่าพระองค์สาหรับประดิษฐานพระบรมสารีรก ิ ธาตุนน ้ ั แล้ว
บรรดาเสนามหาอามาตย์ทต ี่ ามเสด็จ เป็ นต้นว่าพระยาแขนเหล็ก
และพระยาบ่เพกก็โดยเสด็จพระราชกุศลสร้างพระพุทธรูปด้วยคนละองค์สองอ
งค์ พระพุทธรูปทัง้ หลายจึงเกิดขึน ้ เป็ นครัง้ แรกในเมืองเหนือตัง้ แต่นน ้ั
จากนัน ้ พระนางจามเทวีจงึ ทรงสถาปนาเวียงเล็กขึน ้
ประกอบด้วยพระราชนิเวศน์เรือนหลวงสาหรับเสด็จประทับรวมทัง้ ทีพ ่ กั คณะผู้
ติดตามทัง้ หมด
พระนางและปวงเสนาประชาราษฏร์ทต ี่ ามเสด็จต่างอาศัยอยูใ่ นเวียงเล็กนัน ้ ด้ว
ยความสุขสบาย สถานทีด ่ งั กล่าวจึงได้ชือ
่ ว่า รมย์คาม
และคนทัง้ หลายเรียกกัน ้ สืบมาว่า บ้านระมัก
จากนัน ้ ท่านสุกทันตฤๅษี และนายควิยะได้เดินทางล่วงหน้าต่อไปยังเมืองลาพูนเ
พือ ่ แจ้งข่าวการเสด็จมาถึง
ท่านสุเทวฤๅษี รวมทัง้ ไพร่บา้ นพลเมืองทัง้ หลายพอทราบข่าวก็พากันตกแต่งพลั
บพลารับเสด็จไว้ทางทิศตะวันออก
ซึง่ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเคยเสด็จประทับตรัสพุทธพยากรณ์ มาแต่ก่
อน และสองข้างถนนทีจ่ ะเสด็จพระดาเนินด้วยราชวัตรฉัตรธงบุปผชาติตา่ งๆ
จากนัน ้ ท่านสุเทวฤๅษี จงึ นาชาวเมืองเชิญเครือ ่ งบูชาสักการะอย่างเต็มอัตราไปเ
ฝ้ าเตรียมรับเสด็จตัง้ แต่ชานเมืองด้วยความปิ ติอย่างยิง่
ไม่ชา้ กระบวนเสด็จของพระนางจามเทวีก็มาถึงโดยสถลมารค
พระนางเมือ ่ ทอดพระเนตรเห็นท่านสุเทวฤๅษี ซงึ่ เปรียบเสมือนบิดาก็ตน ื้ ตันพร
ะทัยเสด็จออกจากราชยานมากราบ
พระฤๅษี ทง้ ั สองได้กราบบังคมทูลขอให้พระนางสละเพศนักพรตกลับเป็ นกษัต
ริย์และขอให้ทรงเสวยราชย์ยงั พระนครแห่งนี้
จากนัน ้ จึงแห่แหนพระนางไปยังพลับพลา ทีน ่ ่น
ั ได้มีพระราชพิธีราชาภิเษก
ท่านสุเทวฤๅษี กราบบังคมทูลเชิญพระนางเสด็จขึน ้ ประทับบนกองสุวรรณอาสน์
เพือ ่ ทรงสรงน้าพระมูรธาภิเษกทและวันทีเ่ สด็จขึน ้ เสวยสิรริ าชสมบัตน ิ น ้ ั ตรงกับ
วันขึน ้ ๒ ค่า เดือน ๗ ปี มะเมีย พุทธศักราช ๑๒๐๒ พระชนมายุได้ ๒๖ พรรษา
ปรากฏพระนามเมือ ่ ทรงรับการราชาภิเษกในพระสุพรรณบัฏว่า
พระนางเจ้าจามเทวี บรมราชนารีศรีสุรยิ วงศ์ องค์บดินทร์ ปิ่ นธานีหริภุญไชย
เมือ ้ ครองราชย์แล้ว ๗ วัน พระครรภ์ได้ครบทศมาส
่ ขึน
พระนางจามเทวีจงึ ทรงมีประสูตก ิ าลพระโอรส ๒ พระองค์ในวันเพ็ญเดือน ๓
ราชกุมารทัง้ คูท ่ รงศิรลิ กั ษณ์ งามละม้ายกัน เป็ นทีป ่ ิ ติยน
ิ ดีไปทัง้ พระนคร
พระนางได้พระราชทานนามพระเชษฐาว่า พระมหันตยศ และพระอนุชาว่า
พระอนันตยศ

นครหริภุญไชยในปฐมรัชกาล
พระนางจามเทวี
ทรงสถาปนาความรุง่ เรืองแก่นครหริภุญไชยของพระนางมากขึน ้ ไปอีก
จนเป็ นนครในอุดมคติทม ี่ นุษย์ทง้ ั หลายใฝ่ ฝันอย่างแท้จริง
โดยตานานนัน ้ กล่าวว่าอาณาประชาราษฎร์เป็ นสุขสมบูรณ์ ดว้ ยทรัพย์สมบัตโิ ด
ยถ้วนหน้า เฉพาะบ้านใหญ่นน ้ ั มีจานวนถึง ๔๐๐๐ บ้าน
บ้านน้อยอีกเป็ นอันมาก มีไร่นาเรือกสวนบริบูรณ์
และพสกนิกรต่างมีใจศรัทธาสร้างวัดขึน ้ เป็ นจานวนถึง ๒๐๐๐ แห่ง
สาหรับถวายพระสงฆ์ผท ู้ รงพระไตรปิ ฎกมาจากละโว้ ๕๐๐ รูป
แยกย้ายผลัดเปลีย่ นกันสั่งสอนเผยแผ่พระศาสนา วัดทัง้ ๒๐๐๐
แห่งนัน
้ ต่อมาก็มีภกิ ษุ จาพรรษาเต็มพระอารามทุกแห่ง ยิง่ ไปกว่านัน ้
พระนางยังโปรดฯ ให้เฟ้ นหาบัณฑิตทีช ่ านาญการสวดพระธรรมอีก ๕๐๐
คนสาหรับช่วยสวดพระธรรมในวัดทัง้ ๒๐๐๐ แห่งนัน ้ ด้วย
บรรดาผูค ้ นซึ่งตามเสด็จพระนางจามเทวีมาแต่กรุงละโว้นน ้ ั พระนางก็โปรดฯ
ให้ไปตัง้ บ้านเรือนอยูก ่ นั ทางทิศตะวันออกของพระนคร
ชาวมิคสังครเดิมอยูท ่ ศ
ิ ตะวันตก พวกทีร่ อดตายมาจากรมยนครอยูท ่ ศ
ิ ใต้
และตระกูลทีเ่ กิดจากรอยเท้าสัตว์นน ้ ั ก็อยูภ ่ ายในเมือง
ต่อมาพระนางมีพระดาริวา่ เวลานี้พระโอรสทัง้ ๒ ก็ยงั เยาว์พระชันษาอยู่
ถ้ามีขา้ ศึกมาเบียดเบียนจะเป็ นการลาบาก จึงโปรดฯ
ให้มีพระราชพิธีพลีกรรมสังเวยเทพยดาผูร้ กั ษาพระนคร
ขอประทานช้างมงคลตัวประเสริฐสาหรับใช้ในการสงคราม
เทวะทัง้ หลายจึงดลใจช้างเชือกหนึ่ง
ซึง่ ประกอบด้วยคชลักษณ์ อน ั บริบูรณ์ ทุกประการ คือมีกายขาวประดุจเงินเลียง
และงาสีเขียว
พลัดออกจากโขลงทีใ่ กล้ตน ี ดอยอ่างสรงแล้วมุง่ ลงใต้มายังนครหริภุญไชย
เวลานัน ้ ก็เกิดเหตุอศั จรรย์ มีฝนตกตลอด ๗ วัน ๗ คืน เมือ ่ มาถึงพระนคร
พระนางจามเทวีทรงพอพระทัยยิง่ นัก
ทรงมีพระราชโองการให้เสนาอามาตย์ทง้ ั หลายจัดเครือ ่ งบูชาข้าวตอกดอกไม้แ
ละดุรยิ ดนตรีแห่ไปรับมายังโรงช้างทางทิศตะวันออก
ประดับด้วยแก้วแหวนเงินทองอันงดงามเลอค่า
จากนัน ้ ทรงสถาปนาเป็ นพระคชาธารคูพ ่ ระบารมี และโปรดฯ
ให้มีมหรสพสมโภชในเมืองถึง ๓ วัน ๓ คืน
ช้างนี้ คนรุน ่ หลังต่างพากันเรียกว่า ช้างภูก ่ ่างาเขียว กล่าวกันว่ามีอานุภาพยิง่
คือเวลาใกล้เทีย่ งหากใครไปยืนเบื้องหน้าช้างก็จะเกิดมีอน ั เป็ นไปต่างๆ
ถ้าไม่บวงสรวงด้วยข้าวตอกดอกไม้เสียแล้วก็อาจถึงแก่ชีวต ิ เลยทีเดียว
ในตานานพื้นเมืองกล่าวว่า
พระนางจามเทวีไม่เพียงแต่ทรงเอาพระทัยใส่ในการศาสนา
จนเมืองหริภุญไชยเป็ นประดุจพุทธนครเท่านัน ้
ในด้านยุทธศาสตร์การป้ องกันพระนครพระนางก็โปรดฯ
ให้สร้างด่านไว้ทช ี่ ายแดนทีเ่ วียงนอกและเวียงสามเสี้ยว
ปัจจุบน ั ก็คอ ื บริเวณหมูบ ่ า้ นกอกและทุง่ สามเสี้ยว เขต อ.สันป่ าตอง จ.เชียงใหม่
นอกจากนี้ก็โปรดฯ ให้จดั การซ้อมรบเพือ ่ ทดสอบความพลั่งพร้อมของกาลังพล
โดยทรงออกอุบายให้ดา่ นทีเ่ วียงนอกและเวียงสามเสี้ยวแกล้งตัง้ ตัวเป็ นกบฏแล
ะทรงมีรบ ั สั่งให้จดั ทัพไปปราบปรากฏว่าฝ่ ายพระนครชนะศึก
แต่แม้วา่ จะเป็ นการซ้อมรบแต่ตา่ งฝ่ ายก็ไม่รก ู้ นั เป็ นเหตุให้เกิดการสูญเสียชีวต ิ
มากมาย
พระนางจึงทรงอุปถัมภ์เลี้ยงดูครอบครัวของทหารทีต ่ ายในการสูร้ บครัง้ นี้ให้เป็
นสุขต่อไป
ผูท
้ รี่ อดชีวต ิ ก็พระราชทานบาเหน็จความดีความชอบตามควรแก่ฐานะ
พระนางจามเทวี
ได้ทรงปกครองเมืองหริภุญไชยต่อมาด้วยทศพิธราชธรรมแท้จริง
พระนางทรงสั่งสอนบรรดาเสนาข้าราชสานัก
ตลอดจนพสกนิกรทัง้ หลายตัง้ อยูใ่ นธรรมเสมอ
นครหริภุญไชยจึงเป็ นทีส
่ งบสุขน่ าปิ ติยน
ิ ดีราวกับเมืองสวรรค์ในโลกมนุษย์

สงครามขุนวิลงั คะ
ด้วยพระนางจามเทวีทรงเป็ นจอมกษัตริย์ผท ู้ รงปกครองนครหริภุญไชยทีร่ งุ่ เรื
อง ทัง้ พระนางเองก็ทรงมีพระรูปเลอโฉม พระปรีชาญาณหลักแหลม
เป็ นทีส ่ รรเสริญแก่บรรดาประเทศใหญ่น้อยทั่วไป
บรรดาเจ้าครองนครหลายองค์จงึ ใคร่จะได้พระนางไปเป็ นพระมเหสี
แต่ผท ู้ แ ี่ สดงความปรารถนานัน ้ ก่อนคนอืน ่ ก็คอื ขุนวิลงั คะ ผูน
้ าชาวลัวะ
ซึง่ ส่งทูตพร้อมเครือ ่ งบรรณาการถึง ๕๐๐ สาแหรก
มาถวายสาส์นทูลเชิญพระนางเสด็จไปเป็ นพระมเหสีแห่งระมิงค์นคร
ซึง่ บางตานานว่าตกในราวๆ ต้นปี พ.ศ. ๑๒๒๖
เมือ ่ พระนางทรงมีรบ ั สั่งให้เข้าเฝ้ า ทูตลัวะก็กราบบังคมทูลอย่างวางอานาจว่า
“ข้าแต่มหาราชเทวีเป็ นเจ้า
ขุนแห่งข้าพเจ้ามีนามว่าวิลงั คราชอยูท ่ ศิ ดอยละวะโพ้น
เป็ นใหญ่กว่าลัวะทัง้ หลาย
ใช้ให้ขา้ พเจ้าทัง้ หลายนาเครือ ่ งบรรณาการมาถวายพระนางบัดนี้
โดยเหตุทข ี่ น
ุ วิลงั คราชมีความรักใคร่ในพระเทวีเป็ นเจ้า
จักเชิญพระแม่เจ้าไปเป็ นอัครมเหสี”
พระนางจามเทวีทรงพิโรธมาก
เพราะการกระทาเช่นนี้ถือเป็ นการหมิน ่ พระเดชานุภาพ
และเป็ นการแสดงอานาจคุกคามพระนางอย่างแท้จริง
แต่ยงั ทรงตรัสถามอย่างพระทัยเย็นว่า “ดูกรท่านอามาตย์
เรายังไม่เคยได้เห็นขุนผูน ้ น
้ ั แม้สกั หนเดียวเลย
ขุนผูน ้ น ้ ั หน้าตาเป็ นอย่างใดเล่า”
ทูตลัวะทูลตอบว่า
“ขุนแห่งข้าพเจ้านัน ้ รูปร่างหน้าตาก็เหมือนดังตัวข้าพเจ้านี้แหละ”
พระนางจึงทรงมีรบ ั สั่งว่า “ผิวา่ ขุนแห่งท่านมีหน้าตาเหมือนดังท่านแล้ว
อย่าว่าแต่มาเป็ นผัวเราเลย แม้แต่มือเราก็ไม่จกั ให้ถูกต้อง
ท่านจงรีบไปเสียให้พน ้ จากเรือนเราเดีย๋ วนี้ ”
แล้วทรงขับไล่ทูตลัวะออกไปเสียจากพระนคร
ทูตลัวะผูน ้ ารีบนาผูค ้ นกลับไปเมืองระมิงค์
ด้วยความวิตกว่าตนรับเชิญสาส์นเจ้าเหนือหัวมาครัง้ นี้หวังว่าจะได้รบ ั ความดีค
วามชอบ แต่ตอ ้ งกลับกลายเป็ นผูน ้ าข่าวร้ายไปสูเ่ จ้านครลัวะแทนเสียแล้ว
ขุนวิลงั คะได้ทราบเช่นนัน ้ ก็บงั เกิดความโกรธอย่างรุนแรงสั่งเตรียมยกทัพบุกเ
ข้าทาลายนครหริภุญไชยให้พน ิ าศทันที
เพราะถึงเมืองของพระนางจามเทวีจะเจริญรุง่ เรืองและมั่นคงด้วยปราการหอร
บต่างๆ พร้อมสรรพเพียงใดก็ยงั เป็ นเมืองเล็กอยู่
แต่เมือ ่ ความโกรธผ่อนคลายลงบ้างและเพราะเห็นว่าเป็ นเมืองพระพุทธศาสนา
จะเข้าตีเสียเลยก็ไม่เหมาะสม จึงส่งสาส์นเกลี้ยกล่อมอีกครัง้ หนึ่ง
ก็ได้รบ ั คาตอบว่า
พระนางยังไม่ตดั สินพระทัยเสด็จไปยังระมิงค์นครเพราะพระนางเพิง่ มีพระปร
ะสูตก ิ าลพระโอรส
พระวรกายยังไม่บริสุทธิพ ์ อจะทรงรับการอภิเษกเป็ นพระมเหสีแห่งชาวลัวะได้
ขอให้รอไปก่อน
ขณะเดียวกันภายในเมืองหริภุญไชยพระนางจามเทวีก็โปรดฯ
ให้ส่งั สมเสบียงและอาวุธยุทโธปกรณ์ ไว้อย่างเต็มที่
รวมทัง้ เตรียมกาลังทหารให้พร้อมรบทีส ่ ุด
ทางฝ่ ายขุนวิลงั คะได้รบ ั คาตอบเช่นนัน ้ ก็เบาใจและรัง้ รออยูอ ่ ย่างนัน ้
บางตานานว่าหลงกลรอต่อไปเป็ นเวลานานถึง ๗ ปี ทีเดียว
ในทีส ่ ุดขุนวิลงั คะก็ตาสว่างว่าตนเสียรู ้
จึงนาทัพเข้าล้อมเมืองด้วยทหารจานวนถึง ๘๐๐๐๐ คน
พระนางจามเทวีก็ทรงมีพระราชโองการให้พระโอรสทัง้ สองซึง่ เจริญพระชมมา
ยุได้ ๗ พรรษาแล้วขึน ้ ประทับเหนือช้างภูก ่ ่างาเขียวนาทัพออกศึก
โดยพระมหันตยศประทับคอช้าง พระอนันตยศประทับกลางช้าง
กองทัพของหริภุญไชยมีจานวนเพียง ๓๐๐๐ คน
แต่เมือ ่ กองทัพของทัง้ สองฝ่ ายประจันหน้ากัน
พลรบชาวลัวะก็ให้บงั เกิดอาการหน้ามืดตามัวหมดกาลัง
เพราะเผชิญหน้ากับช้างภูก ่ ่างาเขียวในเวลาเทีย่ งวันพอดี
จนในทีส ่ ุดไม่มีผใู้ ดทนได้ก็พากันแตกทัพอลหม่านโดยไม่ทน ั ได้สูร้ บทิง้ อาวุธแ
ละสิง่ ของไว้เป็ นอันมาก
พระนางจามเทวีจงึ ทรงมีรบ ั สั่งให้ชาวพระนครพรากับออกไปรวบรวมสิง่ ของเ
หล่านัน ้ ไปเป็ นของตนเองเสีย ทาเลทีท ่ หารลัวะทิง้ ของไว้นน ้ ั จึงมีชือ่ ว่า ลัวะวาง
ในกาลต่อมา
หลังจากนัน ้ พระนางจามเทวีจงึ เสด็จไปยังระมิงค์นครในฐานะผูช ้ นะศึก
เพือ
่ ทรงช่วยเหลือบารุงขวัญประชาชนให้กลับเป็ นปกติสุขอีกครัง้
จากนัน ้ จึงพระราชทานเอกราชให้แก่ชาวระมิงค์นครมิให้ตอ ้ งตกเป็ นเมืองขึน ้ ข
องหริภุญไชยเป็ นการแสดงพระกรุณา
โดยจารึกไว้ในพระสุพรรณบัฎเมือ ่ วันขึน ้ ๒ ค่า เดือน ๘ ปี จอ พ.ศ. ๑๒๓๐
ในตานานจามเทวีวงศ์มีขยายความเรือ ่ งเกีย่ วกับลัวะต่อไปอีกคือ
ภายหลังการสงครามขุนวิลงั คะ พระมหันตยศและพระอนันตยศ
ก็ทรงได้พระธิดาขุนวิลงั คะเป็ นชายาด้วย
ดังนัน ้ พระนางจามเทวีจงั ทรงมีพระสุณิสาลาดับแรกเป็ นเจ้าหญิงชาวลัวะ
่ งเผชิญพวกลัวะนี้ ตานานพื้นเมืองอีกฝ่ ายหนึ่งกล่าวไว้พส
เรือ ิ ดารออกไป คือ
หลวงมิลงั คะ (ไม่ใช่ขน ุ วิลงั คะ)
ผูน
้ าเผ่าลัวะเกิดหลงใหลพระสิรโิ ฉมแห่งพระนางจามเทวีจนไม่เป็ นอันกินอันน
อน จึงได้แต่งทูตมาสูข ่ อ
แต่พระนางจามเทวีไม่ทรงสนพระทัยและไม่ให้คาตอบใดๆ ทัง้ สิน ้
เป็ นเหตุให้หลวงมิลงั คะยกไพร่พลมาประชิดเมือง พระนางจึงทรงพระดาริวา่
ถ้าจะรบกับหลวงมิลงั คะบ้านเมืองคงย่อยยับแน่ จึงออกอุบายแก่หลวงมิลงั คะว่า
หากหลวงมิลงั คะพุง่ เสน้า (ธนู)
จากดอยสุเทพมาตกกลางเมืองลาพูนพระนางก็จะทรงตกลงเป็ นพระมเหสี
หลวงมิลงั คะจึงดีใจถือธนูขน ึ้ ดอยสุเทพ
บริกรรมคาถาอาคมแล้วพุง่ เสน้าจากดอยสุเทพเพียงครัง้ แรกก็มาตกทีน ่ อกเมือ
งทางทิศตะวันตก ห่างกาแพงเมืองไปเพียงไม่กีว่ าเท่านัน ้
สถานทีเ่ สน้าตกนี้เรียกกันว่า หนองเสน้า เวลาต่อมา
พระนางจามเทวีทรงเห็นเช่นนัน ้ ก็หวั่นพระทัยนัก
ทรงเกรงว่าหากให้มีการพุง่ เสน้าเป็ นครัง้ ที่ ๒ และ ๓ คงจะมาตกกลางเมืองแน่
จึงทรงออกอุบายอีกครัง้ หนึ่ง
ให้ขา้ ราชบริพารนาซิน ่ ในมาตัดเย็บเป็ นหมวกส่งไปให้หลวงมิลงั คะสวม
ข้างหลวงมิลงั คะนัน ้ พอได้รบ ั ของฝากจากพระนางก็ดใี จเป็ นทีส ่ ุด
รีบสวมหมวกนัน ้ แล้วลองพุง่ เสน้าเป็ นครัง้ ที่ ๒ และ ๓
ปรากฏว่าเสน้ากลับลอยไปตกห่างจากตัวเมืองยิง่ กว่าเดิมหลายเท่า
จึงได้พบว่าเสียรูแ ้ ละถูกทาลายคาถาอาคมเสียแล้ว
เลยหมดกาลังใจทีจ่ ะพุง่ เสน้าต่อไป
พระนางจามเทวีจงึ มิได้เป็ นราชินีของชาวลัวะด้วยเหตุดงั กล่าว
แต่ตอ ่ มาชาวลัวะกับชาวลาพูนก็ยงั ได้มีสม ั พันธ์ตอ
่ กันบ้างในรุน่ หลังจากนัน

สร้างพุทธปราการและกาเนิดเขลางค์นคร
ในตานานมูลศาสนาและจามเทวีวงศ์กล่าวว่า
ในลาดับต่อมาพระนางจามเทวีทรงอภิเษกพระมหันตยศซึง่ มีพระชนม์มายุ ๗
พรรษาขึน ้ เป็ นกษัตริย์ครองหริภุญไชยแทนพระนาง
และมีการมหรสพสมโภชเป็ นเวลา ๗ วัน ๗ คืน
ต่อมาก็อภิเษกพระอนันตยศขึน ้ เป็ นพระอุปราช
รวมเวลาทีพ ่ ระนางทรงเสวยราชย์ในกรุงหริภุญไชยได้ ๗ ปี
เมือ
่ พระมหันตยศได้เสวยราชย์แล้ว
ทรงดาเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทแห่งพระมารดาทุกประการ
นครหริภุญไชยจึงยิง่ เจริญรุง่ เรือง พสกนิกรดารงอยูด
่ ว้ ยความสุข
ในเมืองไม่มีโจรผูร้ า้ ย มีแต่ความสงบร่มเย็นในพระศาสนา
เมือ่ ถึงเวลานี้
พระนางจามเทวีก็เสด็จประทับอยูใ่ นพระราชสานักแห่งพระนางด้วยความสุขอ
ย่างบริบูรณ์ แล้ว เช้าวันหนึ่งพระนางตืน ่ บรรทมขึน ้ มา
เป็ นเวลาทีอ ่ ากาศแจ่มใสน่ าสบายอย่างยิง่ พระนางยังทรงประทับอยู่ ณ
ทีไ่ สยาสน์
ระลึกถึงห้วงเวลาทัง้ หลายทีผ ่ า่ นมาแล้วบังเกิดความปิ ติในพระหฤทัยว่าสิง่ ใดที่
พระนางปรารถนาไว้เวลานี้พระนางก็ถงึ พร้อมด้วยสิง่ นัน ้ แล้วทัง้ หมด
ทรงมีพระดาริวา่ กัลยาณกรรมอันพระนางได้ทามาแล้วในกาลก่อน
พระนางจึงได้มาสาเร็จในชาตินี้ กรรมอันเป็ นกุศล
ควรทีพ ่ ระนางคิดทาไว้ในอนาคตก่อนทีจ่ ะชราภาธ ด้วยพระดาริเช่นนัน ้ เอง
พระนางก็ทรงสรงน้า
ฉลองพระองค์แล้วนาข้าราชบริพารออกสารวจรอบพระนคร เห็นสถานทีต ่ า่ งๆ
ทีเ่ หมาะสมพระนางก็โปรดฯ ให้สร้างพระอารามแห่งใหม่ขน ึ้ ๔ มุมเมืองนัน ้
ได้แก่
๑. วัดอรัญญิกกรัมมการาม ทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ของพระนคร
ทรงสร้างวิหารและพระพุทธรูป แล้วถวายให้เป็ นทีอ ่ ยูแ
่ ห่งสงฆ์
มีพระสังฆเถระเป็ นประธาน
๒. วัดอาพัทธาราม ทางทิศเหนือของพระนคร มีวห ิ ารหลังหนึ่ง
สาหรับพระสงฆ์ผม ู้ าแต่ลงั การาม
๓. วัดมหาวนาราม ทางทิศตะวันตกของพระนคร สร้างพระวิหาร
พระพุทธรูป และกุฏส ิ าหรับให้พระสงฆ์จาพรรษา
๔. วัดมหารัดาราม ทางทิศใต้ของพระนคร สร้างพระวิหาร
พระพุทธรูปอย่างงดงาม ให้พระสงฆ์จาพรรษาและเลี้ยงดูดว้ ยข้าวด้วยน้า
อาณาประชาราษฏร์ตา่ งพากันอนุโมทนาและโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยการสร้
างวัดเพิม ่ เติม อีกเช่นกัน เมือ ่ ถึงเทศกาลต่างๆ
ก็พากันหอบลูกจูงหลานเข้าวัดฟังเทศน์ ฟงั ธรรม
ไม่เว้นแม้แต่เสนามหาอามาตย์
หริภุญไชยจึงเท่ากับเป็ นพระพุทธนครอันรุง่ เรืองยิง่ นัก
นอกจากนี้ยงั ปรากฏภายหลังว่า พระเดชานุภาพแห่งพระนางแผ่ขน ึ้ ไปถึงทีใ่ ด
ณ ทีน ่ น้ ั จะมีวดั ทีไ่ ด้ทรงสร้างหรือเกีย่ วข้องเป็ นประจักษ์ พยานอยู่ ตัวอย่างเช่น
วัดพระธาตุดอยคา และวัดพระธาตุดอยน้อย ใน จ. เชียงใหม่เวลานี้ เป็ นต้น
ส่วนพระอนันตยศนัน ้ เมือ
่ ทรงเป็ นอุปราชแล้วก็หามีความพอพระทัยไม่
ด้วยทรงมีพระดาริวา่ พระเชษฐาธิราชประสูตม ิ าพร้อมกัน
พระเชษฐาธิราชได้เสวยราชสมบัตแ ิ ล้วพระองค์ก็น่าจะได้ครองเมืองบ้าง
จึงกราบทูลพระนางจามเทวีตามพระดารินน ้ ั พระนางเมือ ่ สดับแล้ว
จึงพระราชทานพระราโชวาทว่า
“ลูกรักของแม่ ถ้อยคาทีเ่ จ้ากล่าวกับแม่นี้ แม่ก็เห็นสมควรอยู่ แต่ถงึ กระนัน ้ ก็ดี
พวกเราได้มาอยูเ่ มืองหริภุญไชยนี้ก็ดว้ ยเหตุทา่ นสุเทวฤๅษี
หากเจ้ามีความปรารถนาดังนัน ้
แม่จะให้เจ้าไปกราบเรียนท่านสุเทวฤๅษี ดูกอ ่ น”
แล้วพระนางจึงโปรดฯ ให้หาบัณฑิตผูฉ ้ ลาดด้วยโวหารมาคนหนึ่ง
ให้โดยเสด็จพระโอรสไปช่วยกราบเรียนท่านสุเทวฤๅษี ทพ ี่ านัก ท่านสุเทวฤๅษี
เมือ ่ ทราบเรือ ่ งแล้วจึงถวายคาแนะนาแก่พระอนันตยศให้ไปไหว้ฤๅษี พุทธชฏิล
ทีด่ อยโชติบรรพต ไปหาพรานเขลางค์ทีด ่ อยลุทธบรรพต
และไปกราบท่านสุพรหมฤๅษี ทีด ่ อยเขางามริมแม่น้าวังกะนที
เพือ ่ ขอให้ชว่ ยสร้างพระนครแห่งใหม่
พระอนันตยศทรงดาเนินการตามนัน ้ ทุกอย่าง
จึงได้ทา่ นสุพรหมฤๅษี และพรานเขลางค์ไปช่วยกันสร้างเมือง
ท่านสุพรหมฤๅษี ได้ตรวจดูทาเลอันเหมาะสมแล้วจึงใช้อานาจเนรมิตเมืองใหญ่
้ แห่งหนึ่ง แล้วเอาชือ
ขึน ่ พรานเขลางค์มาตัง้
พระนครแห่งใหม่จงึ ปรากฏชือ ่ มาจนทุกวันนี้วา่ เขลางค์นคร
ครัน ้ แล้วท่านสุพรหมฤๅษี ก็ถวายการราชาภิเษกพระเจ้าอนันตยศขึน ้ เสวยราช
สมบัตใิ นพระนครแห่งใหม่
พระเจ้าอนันตยศทรงระลึกถึงพระมารดา
จึงส่งอามาตย์ผห ู้ นึ่งอัญเชิญพระราชสาส์นและเครือ ่ งราชบรรณาการไปถวายพ
ระนางจามเทวีเพือ ่ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จมาประทับยังเขลางค์นครแห่งนี้
พระนางเมือ ่ ทรงทราบความเช่นนัน ้ ก็ทรงมีความปิ ติในพระหฤทัยมาก
จึงได้เสด็จพระราชดาเนินจากหริภุญไชยนครมาถึงเขลางค์นคร
เมือ ่ เสด็จเข้าสูต ่ วั ตัวเมือง
ได้ทอดพระเนตรเห็นบ้านเมืองบริบูรณ์ ดว้ ยโภคสมบัตก ิ ็พอพระทัยมาก
และโปรดฯ ให้จดั พระราชพิธีราชาภิเษก
พระเจ้าอนันตยศอย่างเป็ นทางการขึน ้ อีกครัง้ หนึ่ง จากนัน ้ ให้มีมหรสพสมโภช
๗ วัน ๗ คืน
และได้เสด็จไปนมัสการท่านสุพรหมฤๅษี ซงึ่ ได้เดินทางกลับไปดอยเขางามก่อ
นหน้านัน ้ แล้วด้วย เมือ ่ เสด็จกลับเขลางค์นคร พระเจ้าอนันตยศโปรดฯ
ให้สร้างปราสาทก่อด้วยไม้ออ ้ สาหรับถวายอภิเษกพระมารดาเป็ นพิธีใหญ่
แล้วถวายราชสมบัตพ ิ ระตาหนักทีป ่ ระทับ
พระนางจามเทวีได้เสด็จอยูใ่ นเขลางค์นครนี้ ๖ เดือน
แต่ในจามเทวีวงศ์วา่ ต้องทรงอยูถ ่ งึ ๖ ปี
เหตุทจี่ ะต้องทรงอยูถ ่ งึ ๖ ปี
ก็เนื่องจากภายหลังพระราชพิธีอภิเษกทีพ ่ ระเจ้าอนันตยศจัดถวาย
และมีมหรสพสมโภชต่อมาอีก ๗ วัน พอถึงวันที่ ๘
พระเจ้าอนันตยศก็ปรารถนาจะได้พระนางไว้เสด็จประทับสิรม ิ งคลในเมืองให
ม่ของพระองค์ตลอดไป จึงกราบทูลพระมารดาว่า
“ข้าแต่พระมารดาเจ้า
ขอพระมารดาเจ้าจงอยูใ่ นพระนครนี้กบ ั ข้าพระบาทจนถึงกาหนดพระชนมายุเ
ถิด ข้าพระบาทไม่อาจจะว่างเว้นพระมารดาเจ้าให้นานนักได้
ก็อีกประการหนึ่งครัน ้ เมือ่ พระมารดาเจ้าอยูใ่ นพระนครนี้
บุญภาคส่วนการจาแนกแจกบุญกุศลก็จะบังเกิดมีแก่ขา้ พระบาทเหลือล้น
ขอพระมารดาเจ้าได้ทรงพระกรุณาโปรดทรงรับการเชื้อเชิญเสด็จของข้าพระบ
าทเพือ ่ อนุเคราะห์แก่ขา้ พระบาทเถิด”
พระนางจามเทวีได้สดับดังนัน ้ ก็ทรงมีพระดาริวา่
พระโอรสทัง้ สองพระองค์นี้พระองค์ทรงเสน่ หาเหมือนกัน
จะทรงรักองค์ใดองค์หนึ่งมากกว่าแม้เท่าปลายผมก็หามิได้
แต่พระเจ้าอนันตยศนี้เพิง่ จะครองราชย์ได้ไม่นาน
จะสามารถหรือไม่สามารถปฏิบตั ภ ิ ารกิจอันสาคัญให้สาเร็จเรียบร้อยหรือก็ยงั ไ
ม่ทราบ ดังนัน ้
จึงสมควรทีพ ่ ระนางจะประทับทีเ่ ขลางค์นครเพือ ่ ทรงช่วยเหลือพระโอรสบริหา
รราชการไปสักระยะหนึ่งก่อน
จึงทรงรับสั่งว่า “ลูกรัก ถ้าลูกปรารถนาอย่างนี้ แม่จะอยูใ่ นพระนครนี้กบ ั ลูก ๓
ปี แล้วแม่จงึ จะกลับไปอยูก ่ บ
ั พีช ่ ายของลูกทีห ่ ริภุญไชยภายหลัง”
พระเจ้าอนันตยศก็พอพระทัย
ถวายราชสมบัตแ ิ ด่พระมารดาแล้วกราบทูลว่าพระองค์จกั ไปเทีย่ วเล่นภายนอก
พระนคร
แล้วจึงทรงนาข้าราชบริพารจานวนหนึ่งไปประพาสในป่ าอันรืน ่ รมย์นอกเมือง
จากนัน ้ เสด็จไปหาท่านสุพรหมฤๅษี แจ้งให้ทราบถึงสิง่ ทีก ่ ระทาทุกอย่าง
ท่านสุพรหมฤๅษี จงึ เนรมิตเมืองใหม่อีกแห่งหนึ่งถวายพระเจ้าอนันตยศ
เมืองใหม่ทส ี่ ร้างขึน้ ในเนินอันย้อยมาตามแนวเขลางค์นคร
มีปราสาทราชมณเฑียรและบ้านเรือนพร้อมสรรพ ชือ ่ ว่า “อาลัมพางค์นคร”
ต่อมาพระเจ้าอนันตยศก็เสด็จประทับในอาลัมพางค์นครนัน ้ ให้พระมารดาเสด็
จประทับในเขลางค์นครแทน
จากนัน ้ พระองค์ก็เสด็จไปเยีย่ มพระนางในเขลางค์นครนัน ้ ไต่ถามสารทุกข์ตา่ ง
ๆ และถวายการรับใช้ทุกวันบ้าง สองสามวันหรือห้าวันบ้าง
พระนางจามเทวีจงึ เท่ากับทรงบริหารราชกิจในการสร้างเขลางค์นครให้เจริญรุ่
งเรืองด้วยพระองค์เองเช่นเดียวกับทีพ ่ ระนางทรงสร้างหริภุญไชยมาก่อน
ครัน
้ พอได้ ๓ ปี พระนางก็มีรบ ั สั่งจะลาพระเจ้าอนันตยศกลับหริภุญไชย
พระเจ้าอนันตยศก็กราบทูลอ้อนวอนว่า
“ข้าแต่พระมารดาเจ้า เมือ ่ พระมารดาเจ้าอยูใ่ นพระนครนี้
จิตของข้าพระบาทก็เป็ นสุข
ครัน้ เมือ ่ พระมารดาเจ้าเสด็จไปแล้วความสุขอะไรจะบังเกิดมีแก่ขา้ พระบาท
เพราะเหตุนน ้ ั ขอพระมารดาเจ้าอย่าได้ละทิง้ ข้าพระบาทเลย
ถ้าพระมารดาละทิง้ ข้าพระบาทไปเสียแล้วชีวต ิ ของข้าพระบาทก็จะตัง้ อยูไ่ ม่ได้
นานเป็ นแน่ ”
พระนางฟังแล้วก็พระทัยอ่อน จึงทรงมีรบ ั สั่งตอบว่า “เอาเถิดลูกรัก
ถ้าลูกปรารถนาอย่างนี้แม่จะอยูก ่ บ
ั ลูกอีกสามปี
แต่จากนี้ไปลูกจงอยูใ่ นเขลางค์นคร แม่จะไปอยูใ่ นอาลัมพางค์นคร
ถ้าความประสงค์ของแม่ไม่เป็ นทีช ่ อบใจของลูก แม่จะกลับหริภุญไชย”
พระโอรสจาต้องยอมรับเงือ่ นไขนัน ้
พระนางจามเทวีจงึ เสด็จไปประทับทีอ ่ าลัมพางค์นครแทน
เหตุทท ี่ รงเปลีย่ นทีป
่ ระทับดังกล่าวก็เพราะทรงมีพระดาริวา่ หากทรงอยูใ่ นเขลา
งค์นครต่อไป ความเป็ นกษัตริย์ของพระโอรสก็จะไม่ปรากฏแก่คนทัง้ หลาย
และยังจะมีผค ู้ รหานินทาพระนางเสียด้วย
พระเจ้าอนันตยศจึงต้องว่าราชการต่อไปในเขลางค์นคร
และเสด็จไปเฝ้ าพระมารดาทีอ ่ าลัมพางค์นครเป็ นระยะๆ แทน
เมือ
่ เวลาผ่านไปอีกสามปี พระนางจามเทวีจะเสด็จกลับหริภุญไชย
พระโอรสก็ออ ้ นวอนพระนางอีก
แต่คราวนี้พระนางไม่ทรงตามพระทัยพระโอรสของพระนางแล้ว
ประจวบด้วยเวลานัน ้ พระนางเกิดประชวร
จึงต้องเสด็จกลับไปรักษาพระองค์ทห ี่ ริภุญไชย ซึง่ พระโอรสก็ตอ ้ งจายอม
แต่ในตานานพื้นเมืองกลับกล่าวถึงเรือ ่ งนี้ ไปอีกอย่างหนึ่ง ต่างกับจามเทวีวงศ์
และตานานมูลศาสนาดังทีก ่ ล่าวมาแล้วอย่างสิน ้ เชิง
นั่นคือพระนางจามเทวีได้ครองสิรริ าชสมบัตบ ิ ริหารราชการแผ่นดินนครหริภุ
ญไชยไปถึงต้นเดือน ๘ ปี กุน พ.ศ. ๑๒๓๑
จึงทรงสละราชสมบัตพ ิ ระราชทานพระเจ้ามหันตยศขึน ้ ครองหริภุญไชยแทน
และในวันขึน ้ ๓ ค่า เดือน ๓ ปี เดียวกัน
ก็มีการราชาภิเษกพระเจ้าอนันตยศขึน ้ ครองเขลางค์นคร
เวลานัน ้ พระนางทรงมีพระชมมายุได้ ๕๕ พรรษาแล้ว
และก็มไิ ด้กล่าวถึงรายละเอียดการสร้างเขลางค์นคร
อีกทัง้ มิได้กล่าวถึงการทีพ ่ ระนางเสด็จประทับทัง้ ในเขลางค์นครและอาลัมพาง
ค์นครด้วย ตามตานานพื้นเมืองซึง่ จะเล่าต่อไปข้างหน้านี้
พระนางจามเทวีภายหลังสละราชบัลลังก์แล้วก็ยงั มิได้ตดั ขาดจากราชการงานเ
มืองในหริภุญไชยเสียทีเดียว
ยังเสด็จอยูใ่ นพระราชวังเพือ ่ ช่วยเหลือพระเจ้ามหันตยศในการสร้างและปกคร
องพระนครต่อไปอีกระยะหนึ่ง

วัดพระธาตุลาปางหลวง ตัง้ อยูใ่ นเขตตาบลลาปางหลวง อาเภอเกาะคา


จังหวัดลาปาง อยูห
่ า่ งจากตัวเมืองลาปางไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ประมาณ
๑๘ กิโลเมตร ตัววัดตัง้ อยูบ
่ นเนิน สูง มีการจัดวางผัง
และส่วนประกอบของวัดสมบูรณ์ แบบทีส ่ ุด มีสงิ่ ก่อสร้าง และสถาปัตยากรรม
ต่าง ๆ

You might also like