You are on page 1of 4

ใครแต่ง: รัชกาลที่2 ใครแต่ง: พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ชื่อเรื่อง: กาพย์เห่ชมเครื่องคาว ชื่อเรื่อง: เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม


ลักษณะคำประพันธ์:โคลงผสมกาพย์ ลักษณะคำประพันธ์ กลอนเสภา
พศ.ที่แต่ง: พ.ศ. 2352 ถึง พ.ศ. 236 พศ.ที่แต่ง:
เนื้อหาโดยย่อ: เนื้อหาโดยย่อ:
บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน มีการจัดแบ่ง ในตอนที่ขุนแผนถูกจำคุกอยู่ที่เมืองหลวง ขณะนั้นนางวันทองซึ่งกำลัง
หมวดหมู่ของอาหารไว้เป็น 4 หมวด ได้แก่ เห่ชมเครื่องคาว ตั้งครรภ์ได้ถูกขุนช้างลักพาตัวมาอยู่ด้วย เมื่อครบสิบเดือนจึงได้ให้
เห่ชมผลไม้ เห่ชมเครื่องหวาน เห็นครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ กำเนิดบุตรชาย นางให้ชื่อลูกว่า พลายงาม ทีแรกขุนช้างคิดว่าพลาย
การพรรณนาเครื่องคาว เครื่องหวาน และผลไม้เป็นลีลา งามคือลูกของตัวเอง แต่เมื่อพลายงามยิ่งโตก็ยิ่งงาม หน้าตาละม้าย
ตามขนบของนิราศ ซึ่งนิยมใช้ชื่อของสถานที่ หรือของต้นไม้ คล้ายพ่อที่แท้จริงซึ่งก็คือขุนแผน จนกระทั่งวันหนึ่งขุนช้างรู้ว่าไม่ใช่ลูก
ดอกไม้ มาเป็น สื่อ อ้างอิง สร้างอารมณ์โศกในการ ของตน จึงลวงไปทำร้ายและเอาท่อนไม้ทับจะให้ตาย ขุนช้างทิ้งพลาย
พรรณนาคร่ำครวญเมื่อจากนาง ในกาพย์เห็นชมเครื่องคาว งามไว้ในป่าแต่พรายของขุนแผนช่วยไว้ได้ นางวันทองจึงพลายงาม
หวาน กวีก็ใช้ชื่อของอาหารมาเป็นสื่อในการแสดงอารมณ์ เดินทางไปอยู่กับย่าทองประศรีที่กาญจนบุรี พลายงามอยู่กับย่าจนโต
รัก โศก ยินดี ได้บวชเป็นเณรและเล่าเรียนวิชาความรู้เก่งกล้าทั้งเวทมนตร์ คาถา
และการสงคราม เมื่อมีโอกาสขุนแผนได้ให้จมื่นศรีนำพลายงามเข้า
ถวายตัวเป็นมหาดเล็ก
ใครแต่ง: นายนรินทร์ธิเบศร์ (อิน) ใครแต่ง: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร
ชื่อเรื่อง: นิราศนรินทร์ ชื่อเรื่อง: โคลงโลกนิติ
ลักษณะคำประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ ลักษณะคำประพันธ์ โคลงสี่สุภาพ
พศ.ที่แต่ง: พ.ศ. 2352 พศ.ที่แต่ง: พ.ศ. 2374
เนื้อหาโดยย่อ: เนื้อหาโดยย่อ:
นายนรินทร์ธิเบศร์แต่งโคลงนิราศนรินทร์ในคราวตามเสด็จกรม โคลงโลกนิติ เริ่มต้นโดยการเล่าถึงที่มาว่าพระบาทสมเด็จพระนั่ง
พระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ไปปราบพม่าที่ยกมาตีเมืองถลางและ เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความประสงค์ให้นำโคลงโลกนิติมาประพันธ์ใหม่
ชุมพร ในปีมะเส็ง พ.ศ. 2352 คราวเดียวกับที่พระยาตรัง กวีในสมัย เพื่อประโยชน์แก่ประชาชนก่อนจะเข้าสู่เรื่องราวคำสอนที่หลากหลาย
รัชกาลที่ 2 อีกคนหนึ่งเดินทางไปทัพและแต่งนิราศถลางไว้ ลักษณะคำสอนในโคลงโลกนิติมี 2 ลักษณะคือ สอนอย่างตรงไปตรง
นายนรินทร์ธิเบศร์มีผลงานไม่มากนัก มีเพียงโคลงนิราศนรินทร์ มา และสอนอย่างเปรียบเทียบ โดยเนื้อหาหลัก ๆ จะเกี่ยวกับคุณและ
และเพลงยาวแสดงความรักอีกบทหนึ่ง แต่ผลงานของนายนรินทร์ โทษจากการคบเพื่อนที่ดีและไม่ดี ลักษณะของคนพาล พิจารณาตน
โดยเฉพาะโคลงนิราศนรินทร์ได้รับการยกย่องมากว่าเป็นวรรณคดี และสังเกตคนรอบข้าง สอนให้ใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย สอนเรื่องการประ
ชั้นยอด เป็นงานประพันธ์ที่แสดงให้เห็นคุณค่าทางวรรณศิลป์อย่าง มานตน สอนให้เห็นคุณค่าของความดี
สูง และมีอิทธิพลต่อผู้แต่งนิราศในรุ่นต่อมา
ใครแต่ง: พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ชื่อเรื่อง: มัทนะพาธา
ลักษณะคำประพันธ์ บทละครพูดคำฉันท์
พศ.ที่แต่ง: พ.ศ. 2466
เนื้อหาโดยย่อ:
เทษณ์เทพบุตรหลงรักนางฟ้าชื่อมัทนา แต่นางไม่ได้รักตอบ เพราะอดีตชาติสุ
เทษณ์ได้เคยยกกองทัพไปทำลายบ้านเมืองของนางมัทนา และจับพระบิดา
ประหาร เมื่อนางมัทนาปฏิเสธความรัก สุเทษณ์จึงสาปให้เกิด เป็นดอกกุพชะ
กะ (ดอกกุหลาบ) ในคืนวันเพ็ญจึงจะเป็นคนได้ และเมื่อเกิด ความรักในบุรุษ
ใดจึงจะไม่กลายเป็นดอกกุพชะกะอีกแต่จะได้รับความทุกข ์ จากรัก นาง
มัทนาจึงมาเกิดเป็นต้นกุพชะกะ ฤาษีกาละทรรศินมาพบจึง นำไป ไว้ใน
อาศรม นางมัทนาจะอยู่ปรนนิบัติพระฤาษีเยี่ยงบิดาทุกคืนวันเพ็ญต่อมา ท้าว
ชัยเสนเสด็จประพาสป่ามาพบนางมัทนาจึงเกิดความรักได้ขอนางมัทนา ต่อ
พระฤาษี ทั้งสองได้อภิเษกสมรส นางจัณฑีมเหสีเอกเกิดความหึงหวง จึงให้
พระบิดายกทัพมาชิงเมือง ท้าวชัยเสนออกรบ ระหว่างนั้นนางจัณฑีทำ อุบายให้
ท้าวชัยเสนเข้าพระทัยผิดว่านางมัทนารักกับศุภางค์ทหารเอก จึงรับ สั่งให้นำ
ไปประหารชีวิต แต่พราหมณ์โสมทัตได้ปล่อยนางมัทนาไป นางมัทนามีความ
ทุกข์จากความรัก จึงทำพิธีขอพรต่อสุเทษณ์จอมเทพ สุเทษณ์ขอความรัก นาง
ไม่ยอมจึงสาปให้นางเป็นต้นกุหลาบตลอดไป ต่อมา ท้าวชันเสนทราบความ
จริงจึงออกติดตามพบแต่ต้นกุพชะกะจึงนำมาไว้ใน พระราชวัง

You might also like