You are on page 1of 2

หมายถึง

ถ้อยคาที่กล่าวสั่งสอน เช่น ตนเป็นทีพ่ ึ่งแห่งตน ความ


พยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น เป็นต้น

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๕)
แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
ที่มาของเรื่อง จุดมุ่งหมายในการแต่ง
ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอม โคลงสุ ภ าษิ ต โสฬสไตรยางค์ เป็ น บทพระราช เป็นการแนะนา ข้อเตือนใจ คติสอนใจ ถึง
เกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ ๔) และ สมเด็จพระเทพศิริน นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรละ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติมีความ
ทราบรมราชินี (พระนางเธอพระองค์เจ้าราเพยภมรา (เดิ ม เป็ น สุ ภ าษิ ต ภาษาอั ง กฤษจึ ง ได้ ท รงพระกรุ ณ า เจริญในชีวิต เป็นประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติตามและทาให้
ภิรมย์) ทรงมีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในพระราชสานักแปล บุคคลนั้นไม่เสียใจ ซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัวที่เกี่ยวข้องกับ
ฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ และประพันธ์เป็นโคลงภาษาไทย พระองค์ท่านได้ทรง คนทุกคน ทุกฐานะ ทุกอาชีพ ได้นาไปเป็นเครื่องโน้ม
ทรงพระราชสมภพ ปี พ.ศ. ๒๓๙๕ ตรวจแก้และทรงพระราชนิพนธ์โคลงบทนาด้วย) นาให้ประพฤติชอบอย่างผู้มีสติและมีความปลอดโปร่ง
เสวยราชย์ ปี พ.ศ. ๒๔๑๑ โคลงสุภาษิต รวม ๑๑ เรื่อง คือ ในชีวิต

ลักษณะการประพันธ์
นอกจากพระปรีชาสามารถในด้านการเมือง เรื่องที่ ๑ สุภาษิตบางปะอิน (พ.ศ. ๒๔๒๐)
การปกครองแล้ ว ด้ า นวรรณคดี แ ละการประพั น ธ์ เรื่องที่ ๒ โคลงกระทู้สุภาษิต (พ.ศ. ๒๔๒๐)
พระองค์ท่านก็ทรงพระปรีชาสามารถอย่างยิ่งอีกเช่นกัน เรื่องที่ ๓ สุภาษิตเบ็ดเตล็ด (พ.ศ. ๒๔๒๐)
บทพระราชนิพนธ์ในพระองค์มีทั้งบทร้องกรองและบท เรื่ อ งที่ ๔ สุ ภ าษิ ต สอนผู้ เ ป็ น ข้ า ราชการ (พ.ศ. บทร้อยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพ
ร้อยแก้ว มีเรื่องแปลมากขึ้น ความเรียงมีเพิ่มมากขึ้น ๒๔๒๒)
กว่ า สมั ย ก่ อ น มี นั ก เขี ย นเพิ่ ม มากขึ้ น มี ก ารพิ ม พ์ เรื่องที่ ๕ สุภาษิตโสฬสไตรยางค์ (พ.ศ. ๒๔๒๓)
หนังสือแจกในงานต่างๆ มากขึ้น มีการตั้งหอสมุดวชิ เรื่องที่ ๖ สุภาษิตนฤทุมนาการ (พ.ศ. ๒๔๒๓)
รญาณ เกิดวรรณคดีส โมสร และโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เรื่องที่ ๗ โคลงว่าด้วยความสุข (พ.ศ. ๒๔๓๑)
พระองค์ท่านเองก็ทรงเป็นกวีเอกผู้หนึ่งด้วย ทรงมีบท เรื่องที่ ๘ วชิรญาณสุภาษิต (พ.ศ. ๒๔๓๒)
พระราชนิพนธ์มากมายที่เป็นที่รู้จักอาทิ พระราชพิธีสิบ เรื่องที่ ๙ พระราชปรารถความสุขทุกข์
สองเดือน , ไกลบ้าน, เงาะป่า,ลิลิตนิทราชาคริต, โตลง (พ.ศ. ๒๔๓๖)
สุภาษิตต่างๆ,พระราชวิจารณ์ ฯลฯ เรื่องที่ ๑๐ สุภาษิตพิพิธธรรม
เสด็จสวรรคต (ไม่แน่ชัดว่าพระราชนิพนธ์เมื่อใด)
วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ เรื่องที่ ๑๑ สุภาษิตอิศปปกรณา
(ก่อน พ.ศ. ๒๔๔๗)

You might also like