You are on page 1of 23

สงครามครูเสด

สภาพของเหตุการณ์ โดยสรุป

 วันเวลา
ระหว่าง พ.ศ. 1639-1834
 กลุ่ม/บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ผูน้ บั ถือศาสนาคริ สต์และอิสลาม
เพิม่ เติมเสริมความรู้

 ถ้ าเราอยากรู้ คริสต์ ศักราชก็ให้ เอา 543 ไปลบออก

พ.ศ. 1639-1834 = ค.ศ. 1096 -1291


สาเหตุของเหตุการณ์ ทสี่ ำคัญ

 เป็ นเรื่ องขัดแย้งทางด้านศาสนา แต่สงครามครู เสดยัง


มีเบื้องหลังอีกหลายประการดังนี้
 การขยายตัวของจักรพรรดิอิสลาม
 จักรพรรดิแห่งโรมันตะวันออก
 สันตะปาปา
เหตุการณ์ เกิดอะไรขึน้ บ้ าง
 การทำสงครามครู เสดมี 8 ครั้ง
 การรบครั้งที่ 4 มีจุดมุ่งหมายมิได้ต่อสู้กบั พวกนอกศาสนา แต่
เป็ นการนำศาสนามาบังหน้าเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวเพราะขุนนาง
ที่ยกทัพไปแทนที่จะโจมตีกรุ งเยรู ซาเลม แต่กลับปล้นกรุ งคอนส
แตนติโนเปิ ล จนได้รับความเสี ยหาย และทำให้คริ สต์ศาสนิกชน
คลายความศรัทธาต่อผูท้ ำสงครามครู เสด
เพิ่มเติมเสริ มความรู ้
กินเวลา 200 ปี
 ครั้งที่ 1 ระหว่างปี 1095 - 1101
 ครั้งที่ 2 ระหว่างปี 1147 - 1149
 ครั้งที่ 3 ระหว่างปี 1188 - 1192
 ครั้งที่ 4 ระหว่างปี 1201 - 1204
 ครั้งที่ 5 ระหว่างปี 1217 - 1221
 ครั้งที่ 6 ระหว่างปี 1228 - 1229
 ครั้งที่ 7 ระหว่างปี 1248 - 1254
 ครั้งที่ 8 ระหว่างปี 1270
ผลสรุ ปของเหตุการณ์ เกิดอะไรขึน้ บ้ าง
 การทำสงครามครู เสดไม่ประสบผลสำเร็ จ เนื่องจาก
 ชาวตะวันตกไม่มีแม่ทพ ั ที่มีอ ำนาจบังคับบัญชาสู งสุ ด
 ขาดการลำเลียงอาวุธ
 ขาดการลำเลียงอาหาร
 ตลอดจนขัดแย้งกันเอง
จึงไม่สามารถรวมกำลังยึดครองกรุ งเยรู ซาเลมได้อย่างถาวร
เกิดหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์

 โบสถ์
 เซนต์ โซเฟี ย
เพิม่ เติมเสริมความรู้
เพิม่ เติมเสริมความรู้

ในช่วงแรกทัพครู เสดมีชยั ตีได้เมืองต่างๆ ตามทาง


จนกระทัง่ ได้ อันติอ๊อก (Antioch) เมืองหลวงของ
ซีเรี ย แต่กส็ ูญเสี ยกำลังพลไปมาก เหลือม้าศึกเพียง
แค่ 2,000 ตัวเท่านั้น ครั้นแล้วจึงมุ่งตรงไปยังนคร
เยรู ซาเลม ซึ่งขณะนั้นตกอยูใ่ นการครอบครอง
ของอียปิ ต์ ทัพครู เสดตีเยรู ซาเลมได้ในเดือน
กรกฎาคมปี 1099 จับมุสลิมและยิวฆ่าเสี ยราว
70,000 คน จากนั้นพวกครู เสดจึงตั้ง กอดเฟรย์
แห่ ง บุยอินยอง ผู้นำทัพเบลเยียม ขึ้นเป็ นกษัตริ ย ์
ปกครองเยรู ซาเลม ส่ วนเหล่านักรบครู เสดก็แยก
ย้ายกันเดินทางกลับภูมิล ำเนาของตน
เพิม่ เติมเสริมความรู้
เพิม่ เติมเสริมความรู้

สิ่ งที่น่าสนใจประการหนึ่ง ก็คือ ความแตกต่างระหว่าง


นักรบฝ่ ายคริ สเตียนกับนักรบมุสลิม โดยนักรบ
จากยุโรปมักมีร่างกายใหญ่โตบึกบึน แต่งกายออกศึกในชุด
หุม้ เกราะอันหนักอึ้ง แม้กระทัง่ ม้าศึกก็มีเกราะหุม้ กำบัง
อาวุธที่ใช้กเ็ ป็ น ดาบและโล่ที่มีน้ำหนัก
ส่ วนทางฝ่ ายมุสลิมจะมีรูปร่ างเล็กกว่า สวมเสื้ อ
หนังและใช้ดาบซาระเซนรู ปโค้งดัง่ เคียวและ คมกริ บ
นักรบมุสลิมจะรบอย่างคล่องแคล่วปราดเปรี ยว ในขณะที่
นักรบครู เสดอุย้ อ้ายเทอะทะ แต่มีอาวุธที่หนักหน่วงกว่า
และมีอุปกรณ์ป้องกันตนเหนือกว่า
เพิม่ เติมเสริมความรู้
เพิม่ เติมเสริมความรู้
ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ภายหลัง
 ด้ านการเมือง
 ส่ งผลกระทบต่อยุโรป คือ ระบบฟิ วดัลถูกทำลายลง
 มีผลให้หน่วยปกครองที่เรี ยกว่า แมเนอร์สลายลง
 เจ้าขุนนางได้สูญเสี ยกำลังคนและกำลังทรัพย์ไปในการรบ
 นอกจากนี้ ทาสที่ติดดินที่ไปรบและรอดชีวติ กลับมาได้รับ
อิสระ สามารถประกอบอาชีพได้โดยเสรี
 ทำให้อ ำนาจของเจ้าขุนนางลดลง
 สถานบันกษัตริ ยจ์ ึงเริ่ มมีอ ำนาจขึ้นมาแทน
เพิม่ เติมเสริมความรู้

ที่มา : ETV ติวเข้มสังคมศึกษาโดย อ.วราภรณ ตันติวิวฒั น สถาบันกวดวิชา Pinnacle


ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ภายหลัง
 ด้ านเศรษฐกิจ
 การค้าเริ่ มฟื้ นตัวขึ้น มีการสร้างถนนและสะพาน การค้าทาง
ทะเล - ทางบกเจริ ญขึ้น
 มีการตั้งศูนย์การค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเหนือและ
ทะเลบอลติก
 มีการผลิตเหรี ยญกษาปณ์
 ความรุ่ งเรื องทางการค้าทำให้บรรดาพ่อค้ามัง่ คัง่ ร่ำรวย มีอ ำนาจ
ในทางเศรษฐกิจและสังคม
 ซึ่งสามารถขยายอำนาจของตนสู่ การเมืองการปกครองในระยะ
ต่อมา
ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ภายหลัง
 ด้ านสั งคม

 ความเจริ ญด้านการค้าทำให้สถาบันสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว
 เกิดชุมชนเมืองขึ้น
 การที่ชาวยุโรปยุคกลางได้เดินทางออกมาจากแมเนอร์ท ำให้เห็นคนและ
วัฒนธรรมที่ต่างกันไป เช่นพบชาวเอเชียที่แต่งกายด้วยผ้าฝ้ าย มัสลิน แพร
ไหม ที่ตดั เย็บ อย่างประณี ตใช้เครื่ องหอมชโลมกาย ตกแต่งร่ างกายด้วย
อัญมณี ต่างๆ รับประทานอาหารปรุ งด้วยเครื่ องเทศ ทำให้โลกทัศน์ของชาว
ยุโรปกว้างขวางขึ้น
 วรรณคดีในยุคนี้ แต่งโดยภาษาถิ่น มีเรื่ องง่ายๆ หรื อโคลงกลอนที่สะท้อน
ชีวติ ประจำวันที่อาจเป็ นเรื่ องรัก เสี ยดสี สงั คม และบางครั้ งเป็ นเรื่ องหยาบ
โลน
สังฆนายกเออร์บนั ที่ 2 นำทัพครู เสดในช่วงแรก

เพิม่ เติมเสริมความรู้

รู้ไหมว่าทำไมจึงชื่อสงครามครู เสด ?

เพราะสังฆนายกเออร์บนั ได้ก ำหนดให้ทุกคนที่ไปรบ ติด


เครื่ องหมายกางเขนไว้ที่ตวั
กองทัพนี้จึงได้ชื่อว่า ครู เสด (Crusade) คือ มาจากคำว่ า
Cross ทีห่ มายถึงไม้ กางเขนนั่นเอง

สังฆนายกเออร์บนั ที่ 2 (Urban II)


ทบทวนความรู้ กนั หน่ อย

ขอให้ โชคดีทุกคน
คำถามทบทวน
สงครามครู เสด
• 1.ความขัดแย้ งระหว่ างศาสนา...............กับ
ศาสนา...............เป็ นเหตุให้ เกิดสงครามครู เสด ระหว่ าง
ค.ศ.....................ถึง ค.ศ. ..............
• 2.สงครามครู เสดเกิดขึน้ ในสมัยใด(ประวัตศิ าสตร์ หรือ ก่ อน
ประวัตศิ าสตร์ ) และช่ วงใด (สมัยโบราณ หรือ สมัยกลาง หรือ สมัยฟื้ นฟู
วิทยาการ หรือ สมัยใหม่ หรือ สมัยปัจจุบัน)
• 3. สงครามครู เสดสิ้นสุ ดลงตรงกับสมัยใดในประวัตศิ าสตร์ ไทย
นำเสนอโดย
ครู ขณิ ฐภรณ์ พรหมปลูก
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรี ยนบุญวาทย์วทิ ยาลัย ลำปาง

Krutick_ka@yaho.com

You might also like