You are on page 1of 22

สงครามครู

เสด
Crusades
สงครามครูเสด
สงครามครูเสด สงครามไม ้กางเขนหรืออิสลามเรียกกันว่า “ฟิ สะ
บิลลาห์” สงครามครูเสด เป็ นสงครามทีย ่ งิ่ ใหญ่แห่งมวลมนุษยชาติใน
ครัง้ อดีต เป็ นสงครามระหว่างศาสนา โดยสว่ นใหญ่หมายความถึง
สงครามครัง้ ใหญ่ระหว่างชาวมุสลิมและชาวคริสต์ ในชว่ งศตวรรษที่
11 ถึง 13  ดินแดนทีท ้ งชงิ พืน
่ ำการสูรบและแย่ ้ ทีก
่ น ่ ำคัญ
ั เป็ นสถานทีส
ของสามศาสนาได ้แก่ อิสลาม ยูได และ คริสต์ ซงึ่ ในปั จจุบน ั ก็คอื
บริเวณประเทศอิสราเอล ปาเลสไตน์ และเลบานอน

สงครามครูเสด มีความหมายว่า เป็ นการต่อสูเพื ้ อ่ ความถูกต ้องชอบธรรม เป็ น


ความถูกต ้องชอบธรรมตามหลักศรัทธาทางศาสนา เป็ นสงครามทีต ่ อ ้ อ
่ สูเพื ่ ความถูก
ต ้องตามพระประสงค์ของพระผู ้เป็ นเจ ้า ซงึ่ ชาวมุสลิมใชคำว่
้ า จิฮด ั
สงครามครูเสดในมุมมองศาสนาคริสต์ คือ สงครามไม ้กางเขน เดิม
มาจากคำว่า "ครอส" (Cross) และชาวคริสต์อ ้างว่าเดิมทีดน ิ แดน
ั ดิส
ศก ิ ธิ์ เยรูซาเล็ม (Jerusalem) นัน
์ ท ้ เป็ นของชาวคริสต์

แต่ถกู ชาวมุสลิมรุกรานแย่งชงิ ไป ฝ่ ายคริสต์จงึ มีการประกาศ


ความชอบธรรมในการทำสงคราม รวมทัง้ การยกหนีส ้ น ิ ให ้กับคนที่
เข ้าร่วมสงคราม ผู ้นำศาสนายังประกาศอีกว่า ผู ้ใดทีร่ ว่ มรบจะได ้
ขึน
้ สวรรค์

สงครามครูเสดในมุมมองศาสนาอิสลาม คือ การรุกรานของชาว


คริสต์ทก
ี่ ระทำต่อมุสลิม สาเหตุสงครามเกิดจากการทีช ่ าวคริสต์
ไม่พอใจชาวมุสลิมทีไ่ ม่ต ้อนรับพวกตนในการเข ้าไปแสวงบุญ
ทีเ่ ยรูซาเล็ม ต่างฝ่ ายต่างมีเหตุผลข ้ออ ้าง
เยรูซาเล็ม ในอดีตเป็ นพืน ้ ทีท
่ ต
ี่ งั ้ อยูก
่ ลาง 2 อาณาจักร ทีย ่ งิ่ ใหญ่
ซงึ่ คือ อียป ิ ต์และอัสซเี รีย ทำให ้เกิดการต่อสูขึ้ น ้ หลายครัง้ เพือ ่ จะยึด
ครองทีแ ่ ห่งนี ้ อียป
ิ ต์เข ้าไปรุกรานและยึดครองพืน ้ ทีน
่ ี้ ไม่นานอัส
ซเี รียก็เข ้ามายึดครอง

จึงทำให ้บุตรหลานแห่งอิสราเอลลุกฮอ ื ขึน


้ จับอาวุธต่อต ้านไม่
ยอมต่อการรุกราน เนือ ื่ ว่าเยรูซาเล็มนัน
่ งจากเชอ ้ เป็ นเมืองแห่งพันธะ
ั ญาทีพ
สญ ่ ระเจ ้าประทานมาให ้

แต่ตอ่ มาไม่นานอาณาจักรบาบิโลน ก็เข ้ามายึดครองทีแ่ ห่งนีแ้ ล ้วขับไล่


ชาวอิสราเอลจากนัน้ พระเจ ้าอเล็กซานเดอร์แห่งกรีซและมาซโิ ดเนียก็เข ้ามายึด
ครอง เปลีย
่ นสลับผลัดมือไปกับอียป ิ ต์
ต่อมาไม่นานอาณาจักรบาบิโลน ก็เข ้ามายึดครองทีแ ่ ห่งนีแ
้ ล ้วขับ
ไล่ชาวอิสราเอลจากนัน ้ พระเจ ้าอเล็กซานเดอร์แห่งกรีซและมาซ โิ ด
เนียก็เข ้ามายึดครอง เปลีย
่ นสลับผลัดมือไปกับอียปิ ต์

ทีส่ ำคัญทีส
่ ด
ุ คือการทีจ
่ ักรวรรดิโรมันเข ้ามายึดครอง เพราะยุค
นัน
้ เป็ นยุคแห่งการเกิดของ ศาสนาคริสต์

ชาวคริสเตียนในยุโรปจึงเกิดความไม่พอใจเพราะในเยรูซาเล็มไม่ได ้มีศาสนสถานที่
สำคัญแค่ศาสนาเดียว แต่ม ี 3 ศาสนา เรียกว่าศาสนาเอบราฮม ั หลักทัง้ สาม คือศาสนายู
ดาย ศาสนาคริสต์ ซงึ่ เป็ นทีท
่ พ
ี่ ระเยซูถก
ู ตรึงไม ้กางเขนและศาสนสถานทีส ่ ำคัญทีส
่ ด
ุ เป็ น
อันดับ 3 ของชาวมุสลิม คือ Al-aqsa Mosque ศาสนาอิสลาม 
สาเหตุหลักที่
ก่อ
ใหครู
้เกิด
สงคราม
เสด
 1. สงครามครูเสดเป็ นผลของความขัดแย ้งเป็ นเวลานาน ระ
หว่างคริสตจักรทางภาคตะวันตกกับทางภาคตะวันออก ต่าง
ฝ่ ายพยายามจะมีอำนาจเหนืออีกฝ่ ายโดยเสนอความเป็ น
ผู ้นำในการรบเพือ
่ ทวงดินแดนศก ั ดิส ิ ธิ์ และหยุดยัง้ การ
์ ท
แพร่ขยายของศาสนาอิสลามได ้อย่างรวดเร็วจนก่อให ้เกิด
ความหวาดกลัวในหมูช ่ าวคริสเตียนในยุโรป

   2. ความกระตือรือร ้นในการแสวงบุญของชาวคริสเตียนของ
นครเยรูซาเล็มมีมากกว่าทีเ่ คยเป็ นมา ขณะนัน
้ เยรูซาเล็มตกอยูภ
่ าย
ใต ้การปกครองของมุสลิม ผู ้แสวงบุญชาวคริสเตียนจึงมีความ
ต ้องการดินแดนเยรูซาเล็มเป็ นของตนเอง เพือ ่ ความสะดวกในการ
แสวงบุญมากยิง่ ขึน

 3. ชว่ งเวลาขณะนัน ้ เป็ นเวลาทีร่ ะส่ำระสายอยูท ่ ั่วในยุโรป พวก
เจ ้าเมืองต่าง ๆ ก็ตอ ้
่ สูทำสงครามซ งึ่ กันและกัน พระสน ั ตะปาปามี
ความเห็นว่า หากปล่อยให ้อยูใ่ นสภาพนี้ จะทำให ้ชาวคริสเตียนใน
ยุโรปอ่อนแอลง จึงมีการยุยงปลุกระดมให ้ประชาชนหันมาต่อสูกั้ บ
ชาวมุสลิมแทนกันเอง โดยอ ้างว่าจะได ้รับกุศลผลบุญ และทำ
สงครามเพือ ่ ชงิ เอานครอันศก ั ดิส ิ ธิ์ "เยรูซาเล็ม" กลับคืนมา
์ ท

  4. มุสลิมได ้กลายเป็ นมหาอำนาจทางการค ้าแถบชายฝั่ งทะเล


เมดิเตอร์เรเนียนตัง้ แต่ศตวรรษที่ 10 เป็ นต ้นมา การค ้าพาณิชย์ใน
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจึงตกอยูใ่ นความควบคุมของมุสลิมอย่าง
เต็มที่ ซงึ่ ชาวคริสเตียนในยุโรปจึงต ้องการทำสงครามกับมุสลิม
เพือ
่ หยุดยัง้ ความเจริญก ้าวหน ้าของมุสลิม
ั ตะปาปา เออร์แบนที่ 2 ประสงค์จะรวมคริสตจักรของกรีกมาไว ้ใต ้อิทธิพล
5. สน
ของตนเอง จึงได ้เรียกประชุมชาวคริสเตียนทีเ่ มืองเลอมองสใ์ นภาคตะวันออกเฉียงใต ้
ของฝรั่งเศส เมือ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1095 และรบเร ้าให ้ชาวคริสเตียนทำ
สงครามกับชาวมุสลิม ได ้สญ ั ญาว่าผู ้ทีเ่ ข ้าร่วมในการต่อสูจะได
้ ้รับการยกเว ้นจากบาป
ทีเ่ คยทำมาและผู ้ทีต่ ายในสงครามก็จะได ้ขึน ้ สวรรค์ 

“Of mighty soldier, oh man of war, you now have something to fight
for.
If you win it will be glorious. If you die fighting for Jerusalem, you
will win
a place in heaven.”

ภายในเวลาไม่นานก็รวบรวมคนได ้ถึง 150,000 คน สว่ นมากเป็ นชาวแฟรงค์ (Frank)


ครัง้ ที่1 เริ่มต้นปี ค.ศ.1095- 1101 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บนั ที่ 2 (Urban II) แห่งกรุง
โรม รวมกองทัพชาวคริสต์ไปยังกรุงเยรูซาเลม เมือ่ ปี 1099 กองทัพก็เดินทางถึงกำแพงเมือง
เข้าปิ ดล้อมเยรูซาเลมไว้ กองกำลังมุสลิมต่อสูด้ ว้ ยความเข้มแข็ง สุดท้ายนักรบครูเสดก็บกุ เข้าไป
ฆ่าล้างทุกคนและขับไล่พวกเติรก์ ให้ออกไปจากนครเยรูซาเล็มสำเร็จ 

จากนัน้ ได้แต่งตัง้ “กอดฟรียแ์ ห่งบูยง” ขึน้ เป็ นกษัตริยป์ กครองนครเยรูซาเล็ม ว่าอาณาจักร


ละตินแห่งนครเยรูซาเล็ม ซึ่งกอดฟรียป์ ฏิเสธแต่ภายหลังก็ถึงแก่กรรม และให้บอลด์วินซึ่งเป็ น
น้องชาย ขึน้ เป็ นกษัตริยป์ กครองแทน
ครัง้ ที2่ ค.ศ.1147 - 1149 หลังจากพวกเติรก์ ถูกขับไล่ออกมาก็ตอ้ งการกลับไปทวงคืนดิน
แดน ค.ศ.1120 ฝ่ ายเติรก์ ได้ผนู้ ำที่แข็งแกร่งนามว่า “อิมาดุดดีน ซังกี” ซึ่งตอนนัน้ พวก
คริสเตียนภายในนครเยรูซาเล็มเริ่มแตกความสามัคคี ทำให้ยึดนครเอเดสสาคืนได้ส ำเร็จเป็ น
เมืองแรก 

ในปี ค.ศ.1144 ชาวคริสเตียนหวัน่ เกรงว่าเติรก์ คงต้องไปยึดครองนครเยรูซาเล็ม เซนต์เบอร์


นาด (Bernard Clairvaux) บาทหลวงชาวฝรัง่ เศสที่ฉลาดในการพูด และเป็ นผูท้ ี่รวบรวมกำลัง
พลทหารไปต่อสู้ ได้จงู ใจกษัตริย์ 2 พระองค์ ซึ่งคือ พระเจ้าหลุยส์ที่7 แห่งฝรัง่ เศส และ
จักรพรรดิคอนลาดที่3 แห่งเยอรมันเข้าร่วมทับสงคราม
แต่ระหว่างทางต้องเสียพ่ายพลจำนวนมากเพราะไร้ความสามารถ จนพวก
เติรก์ สามารถยึดเมืองดามัสกัสได้ ซึ่งมีผนู้ ำแข็งแกร่งที่สามารถรวมชาว
มุสลิมในซีเรียมาที่ดามัสกัสได้ นามว่า นู ริดดีน

ทำให้กองทัพครูเสดต้านไม่ได้ พระเจ้าคอนลาดที่3 จึงยกทัพของพระองค์


กลับ จากนัน้ ไม่นานพระเจ้าหลุยส์ที่7ก็ยกทัพกลับยุโรปไปเช่นกัน
ครัง้ ที่ 3 ( พระเจ้าเฟรเดริกที่ 1 (เยอรมัน) ฟิลิปป์ ออกุสต์ (ฝรั่งเศส) และริชาร์ด
ไลออนอาร์ท (อังกฤษ) )     เกิดขึน้ เพราะคริสตจักรมีความต้องการที่จะขับไล่ซาลาดิน
ออกจากแผ่นดินศักดิส์ ิทธิ์  ริชาร์ดได้ทำสงครามนองเลือดกับซาลาดินหลายครัง้ แต่ทหาร
ของซาลาดินเข้มแข็งกว่า ดังนัน้ จึงทำสัญญาสงบศึกกันในปี ค.ศ.1192 

สัญญานีร้ ะบุว่าให้พวกคริสเตียนอาศัยอยู่ในเมืองต่างๆได้ เช่น เมืองอัครและสามารถไป


เยี่ยมแผ่นดินศักดิส์ ิทธิ์ได้ ผูค้ นนับล้านไร้ที่อยู่ บ้านเมืองถูกทำลาย หลังจากนัน้ ศอลาฮุดดีน
ได้ยกทหารกองเล็ก ไปตรวจตามเมืองชายฝัง่ ซ่อมแซมสถานที่ตา่ ง ๆ และได้กลับมาพักที่
ดามัสคัสพร้อมครอบครัว จนกระทัง่ ท่านได้ถึงแก่กรรม
ครัง้ ที่ 4 เป็ นจุดจบของคอนสแตนติโนเปิ้ โป๊ปได้หันเหเป้าหมายของสงครามครูเสดครัง้ นี้
ไปที่ศาสนาคริสต์ดว้ ยกันเอง โดยได้รบั ความช่วยเหลือจาก Venice แต่มขี อ้ แม้ว่าพวกครู
เสดต้องไปตีเมืองซาลาให้เป็ นการตอบแทน พวกครูเสดยอมรับข้อเสนอด้วยไม่ฟังคำห้าม
ปรามของสมเด็จพระสันตะปาปา  จึงประกาศขับไล่พวกครูเสดกลุม่ นีอ้ อกจากศาสนา

แต่พวกครู เสด กลุม่ นีส้ ามารถยึดคอนสแตนติโนเปิ้ ลได้ ใน ปี ค.ศ 1204 -1261 สงคราม
ครูเสดครัง้ นีน้ บั ว่าเป็ นไปอย่างผิดวัตถุประสงค์ เพราะเป็ นการยกทัพไปตีกบั ชาวคริสเตียน
ด้วยกันเองเพื่อแสวงหาอำนาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทางการค้าของพวกนายทุน
ครัง้ ที่ 5 ค.ศ. 1217-1221 สมเด็จพระสันตะปาปาโฮโนริอสุ ที่ 3 ทรงชักชวนและ
รวบรวมกองทัพครูเสดโดยการนำทัพของกษัตริยอ์ อสเตรีย กษัตริยแ์ ห่งฮังการีและพวก
ขุนางชาวฝรัง่ เศส โดยนำทัพไปตีพวกเติรก์ ในอียิปต์ จนสามารถยึดมืองท่าอามิเอตตาได้
และได้มงุ่ ไปตีกรุงไคโร เมืองหลางของอียิปต์ตอ่

แต่ก็ไม่สำเร็จ เพราะเสบียงร่อยหรอและมัวแต่แก่งแย่งสมบัตทิ ี่ยึดมาได้จากอามิเอตตา


สุดท้ายกองทับครูเสดก็ได้รบั ความพ่ายแพ้จนต้องทำสัญญาสงบศึกแปดปี
ครัง้ ที่ 6 ค.ศ.1228-1229 มีสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิส์ ิทธิ์
เป็ นผูน้ ำทัพแต่ยงั ไม่ทนั ได้ทำศึกก็เดินทางกลับเสียก่อน โดนอ้างว่ามีโรคระบาดเกิดขึน้
เนือ่ งด้วยตัวพระองค์นนั้ ไม่มพี ระทัยจะไปทำศึก ทำให้พระสันตะปาปาโมโหมาก สัง่ ให้
พระเจ้าฟรีดริชจึงต้องยกทัพไปตีเมืองเยรูซาเล็มอีกครัง้

แต่พระองค์นนั้ กลับไปทำสัญญาสงบศึก ซึ่งพวกเติรก์ ก็ยินยอมให้ชาวคริสต์เดินทางไป


แสวงบุญยังนครเยรูซาเล็มได้ ยิ่งไปกว่านัน้ พระเจ้าฟรีดริชยังประกาศตัวเป็ นพันธมิตร
กับผูน้ ำของเติรก์ ในตอนนัน้ ทำให้พระองค์ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ นกษัตริยป์ กครอง
นครเยรูซาเล็ม 
ครัง้ ที่7, 8, 9 นัน้ เปรียบเสมือนเป็ นสงครามครัง้ เดียวกันมีผนู้ ำทัพคือพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่ง
ฝรัง่ เศส จุดมุง่ หมายคือนำทัพไปตีอียิปต์เนือ่ งจากผูน้ ำเติรก์ ในตอนนัน้ พำนักอยู่ที่อียิปต์

ครัง้ ที7่ นัน้ พระองค์สามารถยึดเมืองอามิเอตตาได้ส ำเร็จ แต่ระหว่างทางกลับ โดนจับตัวไปเรียก


ค่าไถ่เป็ นเงินจำนวนมาก พระองค์จึงกลับมาทำสงครามครูเสด

ครัง้ ที่ 8 โชคไม่เข้าข้างเช่นเคย เกิดโลกระบาดขึน้ ในกองทัพครูเสด เป็ นเหตุให้พระเจ้าหลุยส์ที่9


สิ้นพระชนม์ ซึ่งส่วนหนึง่ เป็ นเพราะอำนาจของมามลุค ในอียิปต์ขยายตัวมากขึน้ นอกจากนัน้ ผล
ของสงครามก็น ำมาซึ่งการล่มสลายของที่มนั ่ ต่างๆ ริมฝัง่ ทะเลเมดิเตอเรเนียนไป
Western and eastern
interpretations of the Crusades
การตีความสงครามครูเสดในชาติ
ตะวันตก และตะวันออก
ในยุคกลาง นักรบครูเสด (The crusaders) ถูกยกย่อง Western
ว่า interpretation
เป็ นฮโี ร่ของชาวคริสเตียน

นักเขียนในอังกฤษ ในปี 1800 เชน ่ Sir Walter Scott


ได ้สร ้างผลงานโรแมนติก และแสดงถึงความกล ้า
หาญของนักรบครูเสด โดยให ้ความหมายสงครามครู
เสดว่า การร่วมตัวกันของนักรบ ขุนนางชน ั ้ สูงจากทัง้
สองฝ่ าย (christains & Muslins) ทีเ่ คารพซงึ่ กันและ
กัน

แต่ในยุคทีว่ ฒ
ั นธรรมได ้รับความนิยมและก ้าวหน ้า
นักเขียนในยุคศตวรรษที่ 20 พยายามชใี้ ห ้

เห็นว่าสงครามครูเสด คือ ‘การใชความ
รุนแรงของการล่าอาณานิคมของชนผิวขาว’
ซงึ่ ชาวคริสควรขอให ้ชาวมุสลิมให ้อภัยกับ
สงครามครัง้ นี้

ในยุคปั จจุบน
ั มีการความคิดเกิดขึน้ มากมาย
ว่าสงครามครูเสดคือการทีเ่ ลือกปฏิบต ั ต
ิ อ

ชาวมุสลิมอย่างรุนแรง แล ้วความจริงทีว่ า่
ชาวมุสลิมไม่ได ้เป็ นศาสนาหัวรุนแรงอย่างที่
เคยถูกอ ้างไว ้
Eastern
interpretation
นักเขียนชาวมุสลิมในยุคสมัยสงครามมองว่า
สงครามครูเสดไม่ได ้เป็ นสงครามทีส่ ำคัญ
สำหรับพวกเขา จนกระทัง้
ในปี 19000 เมือ
่ อาณาจักรอ ้อตโตมัน
ในประเทศตุรกีประสบความยากลำบาก

ทำให ้นักเขียนชาวมุสลิมเริม่ ตีแผ่สงครามครูเสด


ว่าเป็ น สงครามทีร่ น
ุ แรงของจักรวรรดิตะวันตก
หรือพวกล่าอาณานิคมตะวันตก
THANK
YOU

You might also like