You are on page 1of 44

ศศบศ ๑๑๓ อารยธรรมตะวันตก

LASR 113 Western Civilization


20/02/2562 ชุด A

อาจารย์ชนิดา โสภี
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Hellenistic Civilization

• By the fourth century BC, Greece was poised to enter its most triumphant period:
the Hellenistic Age.

• The word "Hellenistic" literally means "Greek-like."

• Alexander and his Macedonians did more than control territory; they actively exported Greek
culture: politics, law, literature, philosophy, religion, and art.

• This was a new idea, exporting culture, and more than anything else this exporting of
culture would deeply influence all the civilizations and cultures that would come later:
the Romans, the Christians, and the Muslims.
o เริ่มต้นขึ้นเมื่อ Macedonia
พิชิต Greece
o ดินแดน Macedonia /
Macedon อยู่ทางภาคเหนือ
ของ Greece
o ราชอาณาจักรมาซิโดเนีย หรือ
มาซิโดเนีย หรือ มาซิดอน
(อังกฤษ: Kingdom of
Macedonia หรือ Macedon)
• Historical era Classical Antiquity
• Founded by Caranus 808 BC
• Vassal of Persia 512/511–493 BC
• Incorporated into the Persian Empire 492–479 BC
• Rise of Macedon 359–336 BC
• Founding of the Hellenic League 338 BC-337 BC
• Conquest of Persia 335–323 BC
• Partition of Babylon 323 BC
• Battle of Pydna 168 BC
o โดยส่วนใหญ่ Macedonia จะถูกรุกรานและเผชิญความแตกแยกภายในระหว่าง
กลุ่มชาวไร่ชาวนากับกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ในทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
o Macedonia เป็นเครื่องเชื่อมระหว่างชาวกรีกกับกลุ่มอนารยชนอื่นใน
ภาคเหนือของทวีปยุโรป
o ระบอบราชาธิปไตย โดยเหล่าแม่ทัพนายกองเป็นผู้เลือกตั้งกษัตริย์ กษัตริย์ทรงครองราชย์
โดยความร่วมมือของขุนนางและบรรดาผู้นำตระกูล
o แต่การเมืองไม่มีความมั่นคง เพราะมีการแย่งชิงราชบัลลังก์
o Macedonia
จึงยังไม่มีบทบาทในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
ในยุค Hellenic / Classic ของกรีก
ในรัชสมัยของพระเจ้า Philip II
วัฒนธรรมของเฮลเลนิกได้แทรกซึมแผ่ซ่านเข้าไปในพระราชสำนักมาเซโดเนีย บรรดาขุนนางรุ่นหนุ่ม
ผู้รับราชการในพระราชสำนักและในกองทัพหลวงมีฐานะดีพอที่จะใช้ชีวิตหรูหราแบบกรีซ
ระบอบอภิชนาธิปไตย { การปกครองโดยกลุ่มชนชั้นสูง } ของมาซิโดเนียจึงผูกพันอยู่กับราชวงศ์และ
แม่ทัพ
มาเซโดเนียต้องการแผ่ขยายอำนาจอาณาเขตเข้าไปในกรีซด้วยเหตุผลจากการที่
วัฒนธรรมกรีกเฮลเลนิกได้แผ่ขยายขึ้นไปสู่ภาคเหนือของกรีซมาก่อนหน้านี้แล้ว

Philip II of Macedon, Philip II of Macedonia

Ø the king of the kingdom of Macedon from 359 BC until his assassination in 336 BC.
Ø a member of the Argead dynasty of Macedonian
Ø the third son of King Amyntas III of Macedon
Ø the father of Alexander the Great and Philip III
กษัตริย์ที่สำคัญ

1. Philip II
359–336 BC
2. Alexander III
336–323 BC
Philip II of Macedon, Philip II of Macedonia
เหตุผลสำคัญที่ Macedonia สามารถเข้าไปยึดครองดินแดน Ancient Greece ได้

1) พระเจ้า Philip II เป็นกษัตริยท์ ี่ทรงพระปรีชาสามารถ


ทั้งทางการทูตและการทหาร

นโยบาย : เจรจาทางการทูตก่อนการรบ
กษัตริย์นักรบแห่งมาซิโดเนีย ได้ทำการรบเอาชนะนครรัฐต่างๆ ของ
กรีซโบราณได้หลายแห่ง ทั้ง ธีบส์ (Thebes) เอเธนส์ หรือสปาร์ตา
พระเจ้า Philip II พระองค์ได้ทำการยึดครองนครรัฐเอเธนส์
(ศูนย์กลางของกรีซโบราณในทุกด้าน)

ชาวกรีกในนครรัฐต่าง ต้องเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อชาวมาซีโดเนียใหม่

The Battle of Chaeronea แครอนีญา in 338


BC, near the city of Chaeronea in Boeotia, between
the Macedonians led by Philip II of Macedon and
an alliance of some of the Greek city-states led
by Athens and Thebes
หน่วยรบหลักของมาเซโดเนีย คือ กองทัพทหารม้า
ทหารม้า คือ ชนชั้นสูง
กองทัพทหารม้า คือ กองทัพหลวงเสมือนพระสหายของกษัตริย์เป็นกลุ่มเล็กทรงอำนาจ
(กลุ่ม Elite) ที่ได้รับอานิสงส์จากการแผ่ขยายอาณาเขตของพระเจ้าฟิลิปที่ 2
พระเจ้าฟิลิปที่ 2 ทรงพัฒนาการทหารตามแบบอย่างของอารยธรรมกรีก
ด้านการสงคราม หรือ การทหาร

หน่วยรบหลักเดิมของ Macedonia คือ กองทัพทหารม้า (ทหารม้า=ชนชั้นสูง) = กองทัพหลวง


- พัฒนาการทางทหารตามแบบอย่างของ Greece มาโดยตลอด

ปรับปรุงกองทัพโดยการพัฒนาเป็น
- กองทัพทหารราบ &กองทัพทหารม้า & จัดขบวนรบแบบ Phalanx
Ancient Macedonian army
ด้านการสงคราม หรือ การทหาร
§ พระองค์ได้ปรับปรุงยุทธวิธีการรบแบบใหม่ โดยใช้การผสมระหว่างกองทหารราบและกอง
ทหารม้าเข้าไว้ด้วยกัน
Ø โดยจัดตั้งกองทัพทหารราบของชาวเผ่าชาวเขาผสมผสานกับ
กองทัพทหารม้าของชนชั้นสูงแบบเดิมของมาซิโดเนีย
และจัดขบวนรบแบบฟาแลนซ์
โดยใช้หอกหรือทวนที่มีความยาว 14 ฟุตยาวกว่าหอกของกรีซทั่วไป
Ancient Macedonian army
ด้านการสงคราม หรือ การทหาร
Ø โดยการใช้กองทหารตั้งแถวหน้ากระดานเดินบุกขึ้นหน้า และใช้ทวนยาวนี้พุ่งทะลุแทงข้าศึก
ซึ่งเป็นรูปแบบการรบที่ใช้กันต่อมาอย่างยาวนานของกรีซโบราณ
Ø ทหารมาเซโดเนียกดดันและผลัดดันข้าศึกให้ถอยร่นไม่เป็นระบบ ไปรวมกันเป็นเป้าให้ทหาร
ม้า Macedonia (ประจำอยู่ด้านข้างของกองทหารราบ) โอบล้อมข้าศึกและแยกสลายกำลัง
จนสามารถบดขยี้ข้าศึกจนย่อยยับ

+++ นอกจากนี้ มีการประดิษฐ์หน้าไม้ที่มีอานุภาพยิงได้ระยะไกล และทะลวงเข้าถึงเกราะหรือโล่


ของข้าศึกได้อีกด้วย
+++ ต่อมา มีการจ้างทหารอาชีพ เพื่อเสริมกำลังทัพ
• พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งมาซิโดเนีย มีประสงค์ที่จะ
ทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ที่เสมือนเป็นคู่
สงครามกับชาวกรีกมาตลอด
• แต่ ป ระสงค์ ข องพระองค์ ไ ม่ ท ั น ได้ เ ริ ่ ม ขึ ้ น เมื ่ อ
พระองค์ ส ิ ้ น พระชนม์ ล งก่ อ นเมื ่ อ เดื อ นตุ ล าคม
336 ปีก่อนคริสตศักราช ขณะที่มีพระชนมายุได้
46 ปี จากการลอบสังหารด้วยมีดปักเข้าที่พระ
อุระของมือสังหารที่เดินตามหลังพระองค์ ขณะที่
พระองค์อยู่ในงานเฉลิมฉลองพิธีวิวาห์ของลูกสาว
ที่เมือง Vergina
• ไม่มีใครทราบถึงสาเหตุของการลอบสังหารครั้งนี้
เพราะมือสังหารได้ถูกสังหารโดยทหารองครักษ์
ลงก่อนจะไต่สวนเพิ่มเติม
ด้านการเมืองการปกครอง
o คติการเป็นผู้นำ (Hegemony)
the political, economic, or military predominance or control of one state over others

o คติสันติภาพร่วมกัน (Common Peace)

o คตินิยมสหพันธรัฐ (Federalism)
the mixed or compound mode of government, combining a general government
(the central or 'federal' government) with regional governments (provincial, state,
cantonal, territorial or other sub-unit governments) in a single political system

Ø มาซิโดเนียส่งเสริมกรีกทุกนครรัฐ (ยกเว้นสปาร์ตา) ให้รวมกันจัดตั้งสันนิบาตขนาดใหญ่เรียกว่า


“The League of Corinth” สันนิบาตแห่งโครินท์
The League of Corinth
o มีฐานะเสมือนจักรวรรดิกรีกอยู่ร่วมกันโดยมีสันติภาพร่วมกันโดยมีมาซิโดเนียเป็นผู้นำ

Offensive and defensive alliance of all the Greek states except Sparta,
organized in 337 BCE at Corinth under the leadership of
Philip II of Macedon.

หนึ่งใน Hellenic League in of ancient history


ด้านศิลปวิทยาการ

o ในอดีตเคยถูกมองว่าเป็นเพียงชนเผ่าที่เหมือนเป็นเผ่าป่าเถื่อน ไร้อารยธรรมทางเหนือของอาณาจักร
กรีกเท่านั้น
o ในรัชสมัยพระเจ้าฟิลิปที่ 2 ไม่ได้ทำลายสิ่งปลูกสร้างต่างๆ หรือทำลายอารยธรรมของชาวเอเธนส์เดิม
แต่พระองค์ได้พยายามเรียนรู้และผสมรวมกันกับอารยธรรมของมาซิโดเนีย
o พระองค์ได้ส่งเสริมนักปราชญ์ชาวเอเธนส์ด้วยการว่าจ้างให้ไปเผยแพร่ความรู้ที่มาซิโดเนีย และเป็น
อาจารย์สอนวิทยาการต่างๆ ให้แก่ชาวมาซิโดเนีย เช่น อริสโตเติล ซึ่ง อเล็กซานเดอร์เมื่อครั้งยัง
เยาว์วัยได้เป็นลูกศิษย์ของอริสโตเติลด้วยเช่นกัน
ผล
Macedonia
Ø เข้าแทรกแซงสงครามเช่น สงครามระหว่างนครรัฐของกรีก
ด้วยกันเอง สงครามระหว่างนครรัฐกรีกกับเปอร์เชีย
[ ทำการปลดปล่อยนครรัฐกรีกทีย่ ึดให้อยู่ใต้อำนาจเปอร์เซีย ]
Ø ค่อยๆ ยึดครองดินแดนกรีกโบราณ
ตั้งแต่ 346 BC-338 BC
Alexander III of Macedon (356 BC–323 BC),
commonly known as Alexander the Great

Reign : 336–323 BC
อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งมาซิโดเนีย หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อเล็กซานเดอร์มหาราช

o กษัตริยก์ รีกจากแคว้นมาซิโดเนีย
o ถือว่าเป็นผู้สร้างชื่อเสียงมากที่สุดของราชวงศ์อาร์กีด (Argead dynasty)

o ผู้สร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคโบราณ

o เกิดที่เมืองเพลลา Pella ตอนเหนือของมาซิโดเนีย เมื่อปีที่ 356 BC


o ได้รับการศึกษาตามแบบกรีกดั้งเดิมภายใต้การกำกับดูแลของอริสโตเติล

นักปรัชญากรีกผู้มีชื่อเสียง จึงทรงสนพระทัย Hellenic Civilization


Aristotle & Alexander:
the Temple of the Nymphs at Mieza
ศึกครั้งแรก
• เมื่ออเล็กซานเดอร์อายุได้ 16 ปี การร่ำเรียนกับอริสโตเติลได้ยุติลง
• พระเจ้าฟิลิปที่ 2 ได้ยกทัพไปทำสงครามกับ Byzantium และแต่งตั้งให้
อเล็กซานเดอร์รักษาราชการแทนในตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ

ระหว่างที่พระเจ้าฟิลิปที่ 2 ไม่อยู่
o กลุ่มคนเชื้อสาย Maedi [ The Maedi (Maidans / Maedans / Medi ]
ใน Thrace/Thracia ได้แข็งเมืองต่อต้านการปกครองของมาซิโดเนีย
• อเล็กซานเดอร์ได้ตอบโต้อย่างฉับพลัน บดขยี้พวกแมดี ศึกครั้งแรก
และขับไล่ออกไปจากเขตแดน แล้วผนวกเมืองนี้เข้ากับอาณาจักรกรีก ตั้งเมืองใหม่
ขึ้นให้ชื่อว่า Alexandropolis / Alexandroupolis
Alexander III

• อเล็กซานเดอร์ได้อ้างสิทธิ์ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วยการสนับสนุนของกองทัพมาซิโดเนียและขุนนางแห่งมาซิดอนเมื่ออายุได้ 20
ปีสืบทอดราชบัลลังก์ต่อจาก ฟิลิปที่ 2 แห่งมาซิโดเนีย เมื่อปีที่ 336 ก่อนคริสตกาลหลังจากที่พระบิดาถูกลอบสังหาร
สิ้นพระชนม์

• แม้วา่ ราชบัลลังก์และจักรวรรดิของอเล็กซานเดอร์จะอยู่ไม่นาน (336–323 BC) แต่ผลกระทบจากการพิชติ ดินแดนของ


พระองค์ได้ส่งผลสืบเนื่องต่อมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ

• อเล็กซานเดอร์ถือเป็นหนึ่งในบุรุษผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุคโบราณ มีชื่อเสียงเลื่องลือในความสามารถทางการรบ
ยุทธวิธี และการเผยแพร่อารยธรรมกรีกไปในดินแดนตะวันออก
Alexander III
• ในรัชสมัยพระเจ้าฟิลิปที่ 2 ทรงนำแว่นแคว้นกรีกโดยมากบนแผ่นดินใหญ่กรีซ
ให้มาอยู่ภายใต้การปกครองของมาซิโดเนีย โดยใช้ทั้งกลวิธีทางการทูตและทางทหาร
• เมื่อพระเจ้าฟิลิปที่ 2 สิ้นพระชนม์ อเล็กซานเดอร์จึงได้สืบทอดราชอาณาจักร
ที่เข้มแข็งและกองทัพที่เปี่ยมประสบการณ์ โดยเป็นที่ยอมรับในด้านการรบ
จากแว่นแคว้นกรีซ และได้เริ่มแผนการขยายอำนาจแผ่อาณาจักรตามที่บิดา
เคยริเริ่มไว้
• มีนโยบายที่แตกต่างจากพระราชบิดา คือ ส่วนใหญ่จะรบก่อน
แล้วค่อยเจรจาทางการทูต
Alexander III

• Alexander III ยกทัพรุกรานดินแดนเอเชียไมเนอร์ภายใต้การปกครองของอาณาจักร


เปอร์เซีย และกระทำการรณยุทธ์อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลาร่วมสิบปี

• เอาชนะชาวเปอร์เซียครั้งแล้วครั้งเล่า นำทัพข้ามซีเรีย (Syria), อียิปต์ (เมืองAlexandria)


เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และแบคเทรีย (Bactria) โดยทรงโค่นล้มกษัตริย์ดาริอุสที่ 3 แห่ง
เปอร์เซีย และพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียได้ทั้งหมด [สร้างเมืองตามที่เสด็จผ่านเป็นศูนย์กลาง
การเผยแพร่อารยธรรมของกรีก] (326 BC จักรวรรดิเปอร์เซียตกเป็นของมาซิโดเนีย)
Alexander III & ศึกกับเปอร์เซีย
ในต้นปี 333 ก่อนคริสตกาล อเล็กซานเดอร์ได้ยกทัพมายังที่บริเวณแม่น้ำกรานิคัส ที่อยู่ใกล้กับเมืองโบราณ
ทรอย เป็นสมรภูมิสู้รบแห่งแรกของอเล็กซานเดอร์แห่งมาเซโดเนียและพวกกรีกบนดินแดนของอาณาจักร
เปอร์เซีย
และฝ่ายกษัตริยด์ าริอสุ ที่ 3 ได้ยกทัพอันยิง่ ใหญ่ประมาณ 40,000 นายประกอบด้วยทหารม้า 18,000 นาย
และทหารราบ 22,000 นาย ออกไปตัง้ รับต่อสูป้ อ้ งกันที่บริเวณแม่น้ำ ซึ่งกองทัพของอเล็กซานเดอร์มีอาวุธที่
เป็นหอกยาวได้สู้รบกับกองทัพของเปอร์เซียที่มีทหารมากมาย แต่ไม่มีความสามารถที่จะเอาชนะกองทัพของ
อเล็กซานเดอร์ได้
Alexander III & ศึกกับเปอร์เซีย
• การรบที่อิสซุส และ กัวกาเมล่า Battle of Issus November 5, 333 BC & Gaugamela 331 BC
ณ อาณาจักรเปอร์เซีย เพื่อท้ารบกับกษัตริย์ Darius III (the Great) (380 – 330 BC)
• ทัพของทั้งคู่เผชิญหน้ากันที่ Gaugamela (ในตะวันออกกลาง หรือพื้นที่ส่วนมากของประเทศ
อิรักในปัจจุบัน)

Issus : Achaemenid Empire จักรวรรดิอะคีเมนิด

(modern-day Turkey)

Gaugamela (means "The Camel's House") :


northern Iraq
Alexander III & ศึกกับเปอร์เซีย
§ โดยที่ครั้งนั้นกองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชมีเพียง 20,000 คนเท่านั้น ขณะที่
กองทัพเปอร์เซียมีนับแสน แต่ด้วยความกล้าหาญของทหารมาซิโดเนียทุกคนกับการวาง
แผนการรบที่ชาญฉลาดของอเล็กซานเดอร์มหาราช ทำให้พระองค์ได้รับชัยชนะแม้จะ
สูญเสียเป็นจำนวนมากเช่นกัน
§ ในการรบครั้งนี้นับเป็นการรบที่มีชื่อของอเล็กซานเดอร์มหาราชที่สุด เนื่องจากพระองค์
ทรงควบบูซาเฟลัสบุกเดี่ยวฝ่ากองป้องกันของทหารเปอร์เซียขว้างหอกใส่กษัตริย์ Darius III
ทำให้กษัตริย์ Darius III ตกพระทัย และหลบหนีขึ้นเขาไปในที่สุด
Alexander III & ศึกกับเปอร์เซีย

§ ผลจากการรบครั้งนี้ทำให้อเล็กซานเดอร์มหาราชได้เข้าสู่นครเปอร์ซีโปลิส (Persepolis) ศูนย์กลางอาณาจักร


เปอร์เซีย และได้รับการเรียกขานว่าพระราชาแห่งเอเชีย
Øภาพโมเสคที่ค้นพบที่ซากเมืองปอมเปอีย์ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์รบบนหลังม้า
คู่ชีพที่ชื่อ Bucephalus or Bucephalas กับ กษัตริยD ์ arius
III แห่งเปอร์เซีย ณ สมรภูมิกัวกาเมล่าในศึกแห่งอิสซุส
Øรูปนี้ถ้าเป็นรูปเต็ม จะมีรูปกษัตริย์ดาไรอุสตกพระทัยจากหอกที่พุ่งใส่ อยู่บน
รถม้าอยู่ทางขวามือ โดยรูปนี้แสดงถึงความกล้าหาญของพระเจ้าอเล็กซาน
เดอร์ และความอ่อนแอของกษัตริย์ Darius III
Bucephalus or Bucephalas
meaning “ox-head.”

the horse of Alexander the Great


เสีย ณ Battle of the Hydaspes
326 BC
{ between Alexander the Great &
King Porus of the Paurava kingdom
on the banks of the river Jhelum (known
to the Greeks as Hydaspes) in the Punjab
region of the Indian subcontinent
(modern-day Punjab, Pakistan) }

You might also like