You are on page 1of 34

ก่อนเข้าสูเ่ นือ

้ หา
อาณาจ ักร

เปอร์เซย

เปอร์เซย
◦  เปอร์เซียเป็ นชนเผ่าอารยันสาขาหนึ่ง อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของภูขาซา กรอส (Sagros) เหนืออ่าวเปอร์เซียขึ้นไป
ประมาณ 400 ไมล์ ในระยะเดียวกันกับพวกมีดส์ชนเผ่าเดียวกันอีกสาขาหนึ่งตั้งถิ่นฐาน ตอนแรกอยูใ่ นความปกครองของพวกมีดส์

ประมาณ 50 ปี หลังจากที่อาณาจักรอัสซีเรี ยถึงกาลอวสาน ชนชาติเปอร์เซียกลุ่มหนึ่งเรี ยกตัวเองว่า “อันชัน” (Anshun) ได้ก่อตั้งอาณาจักเล็กๆขึ้น


มีปฐมกษัตริ ยท์ รงพระนามว่า “อาเคมีเนส” (Achaemenes) แห่งราชวงศ์อาเคเมนิค (Achaemenid) ทำการปกครอง เปอร์เซียนเป็ นชนเผ่าอารยัน ที่มี
ความเจริ ญมากกว่าอารยันสาขาอื่น เพราะมีศาสดาชื่อ “โซโรแอสเตอร์” สัง่ สอนศีลธรรมจรรยา และมีการจัดระเบียบการปกครองอย่างเรี ยบร้อย
มาตั้งแต่สมัยต้นๆ ประมาณ 555 ปี ก่อนคริ สตกาล กษัตริ ยเ์ ปอร์เซียพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า “พระเจ้าไซรัส” ได้รวบรวมชนชาติเปอร์เซียที่
กระจัดกระจายกันอยูเ่ ข้าเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทรงทำสงครามชนะพวกมีดส์และตั้งตนเป็ นกษัตริ ยป์ กครองอาณาจักรมีเดีย-เปอร์เซีย มีราชธานี
อยูท่ ี่เมือง ซีโปลิส (persepolis)
ี จาก พืน
ทำไมเปอร์เซย ้ ทีธ
่ รุ ก ัน
ดาร ถึงกลายเป็นอาณาจ ักรยิง่
ใหญ่แห่งหนึง่ ของโลกได้
ห ัวเรือ
่ ง

ล ักษณะ การทหาร เศรษฐกิจ


การเมืองการ
ปกครอง
ชาวเปอร์เซยี ขนสง่ น้ำ
ได้อย่างไร
ี มีกองท ัพ
ชาวเปอร์เซย
เป็นล้านจริงหรือไม่

ล ักษณะการเมืองการปกครองของเปอร์เซย
◦ จักรวรรดิเปอร์เซียสมัยพระเจ้าดาริ อุสมีอาณาเขตกว้างขวาง ประกอบด้วยชนต่างเชื้อชาติ ศาสนาและขนบธรรมเนียม
ประเพณี ทรงเป็ นกษัตริ ยพ์ ระองค์แรกที่สร้างเงินตราขึ้ นใช้แลกเปลี่ยนในดินแดนประเทศตะวันออก (บาบิโลเนีย อียปิ ต์
และเปอร์เซีย) เงินตราที่พระอค์โปรดให้สร้างขึ้นใช้ท ำด้วยทอง ตามหัวเมืองต่างๆ ทรงอนุญาตให้สร้างเงินตราขึ้นใช้เอง
ได้ โดยทรงกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนมาตรฐานไว้เป็ น 13 ต่อ 1 คือ ทองคำมีค่าเป็ นสิ บสามเท่าของเงินที่มีน ้ำหนักเท่ากัน
◦ ด้านการปกครอง การจัดการปกครองจักรวรรดิเปอร์เซียสมัยพระเจ้าดาริ อุส ทำให้เปอร์เซียได้รับการยกย่องว่าเปนชาติ
แรกที่ริเริ่ มระบบการปกครองส่ วนภูมิภาค ทรงสร้างถนนชั้นดีเชื่อมโยงทัว่ จักรวรรดิ การใช้มา้ เร็ วสื่ อสารและจัดให้มี
สถานที่พกั ม้าระหว่างราชสำนักกับหัวเมืองทุกแห่ง ทำให้เปอร์เซียได้รับการยกย่องว่าเป็ นชาติแรกที่ให้ก ำเนิดไปรษณี ย ์
การทหาร

◦ การทหารถือเป็ นสิ่ งสำคัญที่สุดในการก่อตั้งจักรวรรดิเปอร์เซีย


◦ เนื่องจากเปอร์เซียรวบรวมหลายชนชาติเข้าด้วยกัน เพราะฉะนั้น กองทัพของเปอร์เซียจึงมีความหลาก
หลายทางชาติพนั ธุ์ แต่ไม่ใช่ปัญหาในการจัดการระบบกองทัพ
◦ กองทัพเปอร์เซียในทุกยุคทุกสมัย จะมีก ำลังทหาร นับแสน นับล้านคน
◦ ในการทำสงครามแต่ละครั้งจักรวรรดิเปอร์เซียจะทุ่มเททุกอย่างในการทำสงครามเพื่อชัยชนะ
เศรษฐกิจ

◦ ดินแดนอาณาจักรเปอร์เซียในสมัยนั้นมีอาณาเขตกว้างขวาง ทำให้อาณาจักรเปอร์เซียในยุคนั้นมีความ
มัง่ คัง่ อันเนื่องจากทรัพยากรในดินแดนดังกล่าว อาณาจักรนี้มีความสำคัญในการเชื่อมต่อ การค้าจาก
อินเดีย ซึ่งเป็ นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์มีทรัพยากรที่ส ำคัญได้แก่
◦ ไหมทองคำ เพชรและมีสตั ว์ แปลกๆ โดยเส้นทางทะเลจากบริ เวณอ่าวเปอร์เซียสามารถแล่นเรื อข้ามทะเล
อาหรับไปยังทะเลแดง เดินทางไปจนถึงอียปิ ต์
◦ พ่อค้าชาวเปอร์เซียเดินทางไปยังทัว่ ดินแดน เช่น จีน ไทย มาเลเซีย อินเดีย แอฟริ กาตอนเหนือ
ในเมือ ่ อาณาจักรเปอร์เซย ี มีความหลาก
หลายทางชาติพน ั ธุเ์ ยอะพอสมควร และ
ให ้อิสระในการใชช้ วี ต ิ ในอาณาจักร
เพราะฉะนัน ้ จึงไม่แปลกทีด ่ ้านเศรษฐกิจ
จะเจริญรุง่ เรือง ไม่วา่ จะทีไ่ หนในโลกที่
รู ้จักในยุคโบราณจนถึงยุคกลางก็จะมี
พ่อค ้าเปอร์เซย ี แทบทุกที่ ทีเ่ ป็ นแหล่ง
ค ้าขาย
ศาสนา

◦ ศาสนาที่คนเปอร์เซียนับถือมากที่สุด คือ โซโลอัสเตอร์


◦ แต่จกั รวรรดิเปอร์เซียไม่ได้มีการบังคับให้คนในจักรวรรดินบั ถือศาสนาของตน ให้อิสระในการนับถือ
ศาสนา
บุคคลสำค ัญของอาณาจ ักรเปอร์เซย

พระเจ้าไซร ัสที่ 2 พระเจ้าดาริอส


ุ ิ
พระเจ้าเซอร์ซส
มหาราช ยอดน ักขยายดิน จอมล้างแค้น
ยอดน ัก แดน
นว ัตกรรม
พระเจ้าไซร ัสที่ 2 มหาราช
◦ พระเจ้าไซรัสที่ 2 หรื อพระเจ้าไซรัสมหาราช คือปฐมกษัตริ ยแ์ ห่งจักรวรรดิอาคีเมนิดของเปอร์เซี ย ขึ้นครอง
บัลลังก์ในปี 556 – 530 ก่อนคริ สตกาล พระองค์ได้ขยายดินแดนแถบตะวันออกจากการทำสงครามขยายดินแดน
มาอย่างยาวนาน และนี่คือเกร็ ดสาระน่ารู ้ของมหาราชแห่งเปอร์เซี ยที่หลายคนอาจไม่เคยรู ้มาก่อน
◦ กษัตริ ยไ์ ซรัสมหาราช ได้ขยายดินแดนของจักรวรรดิอาคีเมนิดจนมีอาณาเขตกว้างไกลจากเอเชียไมเนอร์ไปถึง
เอเชียกลาง ทำให้จกั รวรรดิอาคีเมนิดเป็ นจักรวรรดิที่ยิง่ ใหญ่ที่สุดในยุคนั้นโดยที่ไม่มีจกั รวรรดิใดเคยทำได้มา
ก่อน
◦ กษัตริ ยไ์ ซรัสมหาราชไม่ได้เป็ นเพียงแค่ผพู ้ ิชิตที่ยงิ่ ใหญ่เท่านั้น แต่ยงั เป็ นนักปกครองที่มีความสามารถในการ
ปกครองเหล่าบรรดาผูค้ นจากอาณาจักรต่าง ๆ ที่มีความเชื่อทางศาสนาแตกต่างกันให้เป็ นปึ กแผ่น ในสมัยที่
กษัตริ ยไ์ ซรัสยึดบาลิโลนได้ ชาวบาบิโลนได้เรี ยกพระองค์วา่ ‘ผูป้ ลดปล่อย’ โดยกษัตริ ยไ์ ซรัสมหาราชได้สัง่
กำชับให้ทหารของพระองค์หา้ มทำลายวิหารของชาวบาบิโลน และสัง่ ให้ช่วยบูรณะรู ปปั้ นเทพเจ้าของชาวบาบิ
โลนอีกด้วย ส่ วนชาวยิวก็ยกย่องกษัตริ ยไ์ ซรัสในฐานะกษัตริ ยท์ ี่สง่างามและมีความชอบธรรม นอกจากนี้
กษัตริ ยไ์ ซรัสยังได้ประกาศปลดปล่อยความเป็ นทาส และชูความเท่าเทียมกันของมนุษย์ โดยพระองค์ได้ตรา
จารึ กทรงกระบอกที่ถูกเรี ยกว่า ‘กระบอกพระเจ้าไซรัส’ (Cyrus Cylinder) ซึ่ งกล่าวได้วา่ นี่คือประกาศสิ ทธิ
มนุษยชนฉบับแรก ๆ ของโลกอีกด้วย
ตอนทีพ
่ ช ิ เมืองบาร์บโิ ลน พระองค์ได้
ิ ต
ปลดปล่อยพวกฮบ ิ รูกล ับบ้านเกิด
“กระบอกไซรัส” ตัวอย่ างของความยิง่ ใหญ่ ของ ไซรัสที่ 2

◦ พระราชโองการแห่งไซรัส” (Edict of Cyrus) ◦ ไซรัสที่ 2 ผูป้ กครองดินแดนที่กินอาณาเขตกว่า


หรื อที่มกั รู้จกั กันในชื่อ “กระบอกไซรัส” 5 ล้านตารางกิโลเมตร ผ่านการทำสงครามอันดุ
(Cyrus Cylinder) ตามรู ปทรงของจารึ กที่ท ำ เดือดอย่างยาวนาน แต่ชาห์ปาห์ลาวีทรงเลือกที่
ขึ้นจากดินเหนียวทรงกระบอก มักถูกยกย่อง จะเน้นย้ำเกียรติคุณของไซรัสมหาราชในฐานะ
ให้เป็ นกฎหมาย หรื อคำประกาศที่รับรองสิ ทธิ ของกษัตริ ยผ์ เู้ มตตา และเปี่ ยมด้วยความรัก
มนุษยชนฉบับแรกๆ ของโลก ด้วยถูกสร้างขึ้น พร้อมย้ำว่าไซรัสคือผูถ้ ืออำนาจปกครองยุค
ตั้งแต่ราวศตวรรตที่ 6 ก่อนคริ สต์กาล โบราณที่รับรองสิ ทธิเสรี ภาพในการแสดงความ
อู ถั่น เลขาธิการสหประชาติในขณะนั้นเป็ นตัวแทนรับมอบ พร้อมออกแถลงการณ์ยกย่องไซรัสว่า คิดเห็นของประชาชนเป็ นคนแรก
“ไซรั สทรงแสดงถึงพระอัจฉริ ยภาพ ด้ วยการให้ เกียรติต่ออารยธรรมต่ างๆ และประชาชนทุกหมู่
เหล่ าซึ่ งพระองค์ ได้ ‘หลอมรวม’ ไว้ ใต้ ร่มพระบารมี…”
พระเจ้าดาริอส

◦ ดาริ อุสมหาราช (550 ก่อนคริ สตศักราช - 486 ก่อนคริ สตศักราช)
เป็ นกษัตริ ยเ์ ปอร์เซียองค์ที่ 4 ของอาณาจักรอาชาเมนนิด เขา
ปกครองอาณาจักรอย่างรุ่ งเรื องเมื่อดินแดนรวมถึงเอเชียตะวันตก
ส่ วนใหญ่คอเคซัสตลอดจนบางส่ วนของคาบสมุทรบอลข่าน
บริ เวณชายฝั่งทะเลดำคอเคซัสเหนือและเอเชียกลาง ภายใต้การ
ปกครองของ Darius ราชอาณาจักรขยายไปถึงลุ่มแม่น ้ำสิ นธุทาง
ตะวันออกสุ ดและบางส่ วนของแอฟริ กาเหนือและตะวันออก
เฉียงเหนือรวมทั้งอียปิ ต์ลิเบียและซูดาน
ความสำเร็จทีโ่ ดดเด่น
Darius ขยายอาณาจักรเปอร์เซียจาก Sakas เหนือSogdianaไปยัง Kush และจาก Sind ไปยัง Sardis นอกจากนี้เขายังปรับปรุ งและขยาย
รู ปแบบการปกครองแบบ satrapy ของเปอร์เซียโดยแบ่งอาณาจักรของเขาออกเป็ น 20 ชิ้นและมอบอำนาจให้แต่ละส่ วน (โดยทัว่ ไป
เป็ นญาติ) เพื่อปกครองพวกเขาและวางมาตรการรักษาความปลอดภัยเพิ่มเติมเพื่อลดการก่อจลาจล
Darius ย้ายเมืองหลวงของเปอร์เซียจาก Pasagardae ไปยังPersepolisซึ่งเขาได้สร้างพระราชวังและคลังสมบัติที่ซ่ ึงความมัง่ คัง่ มหาศาล
ของอาณาจักรเปอร์เซียจะถูกเก็บไว้อย่างปลอดภัยเป็ นเวลา 200 ปี โดย Alexander the Great จะปล้นได้ใน 330 BCE เขาสร้าง
Royal Road of the Achaemenidsจาก Susa ไปยัง Sardis โดยเชื่อมต่อกับ satrapies ที่อยูไ่ กลออกไปและสร้างสถานีทางที่มีเจ้าหน้าที่
เพื่อให้ไม่มีใครต้องนัง่ รถเกินหนึ่งวันเพื่อส่ งไปรษณี ย ์

นอกจากนี้ Darius:
•สร้างคลองสุ เอซรุ่ นแรกจากแม่น้ำไนล์ไปยังทะเลแดง
•มีชื่อเสี ยงในด้านนวัตกรรมในการควบคุมน้ำรวมถึงคลองชลประทานและบ่อน้ำที่เรี ยกว่า qanats ทัว่ ทั้งอาณาจักรของเขา
•เป็ นที่รู้จกั กันว่าเป็ นกฎหมายที่มอบให้เมื่อทำหน้าที่เป็ นกษัตริ ยแ์ ห่งอียปิ ต์ในช่วงระยะเวลาดึก

พระเจ้าเซอร์ซส
◦ พระเจ้าเซอร์ซีส (Xerxes the Great) บางคนก็เรี ยกว่าพระเจ้าเซอร์ซีสม
หาราช เกิดในช่วงปี 519 ก่อนคริ สตกาลโดยเป็ นพระราชโอรสใน
จักรพรรดิดาไรอัสมหาราชกับพระนางอตอสซ่า ซึ่งตามบทบัญญัติของ
อาณาจักรเปอร์เซียกษัตริ ยจ์ ำเป็ นจะต้องเป็ นผูเ้ ลือกตัวแทนของตัวเองเอา
ไว้ก่อนในยามที่รู้ดีวา่ จะต้องออกไปทำศึกสงครามและยังไม่รูอนาคตว่า
จะมีชีวิตรอดกลับมาได้หรื อไม่ ในช่วงเวลาดังกล่าวจักรพรรดิ์ดาไรอัส
ก็ได้ท ำการจัดเตรี ยมหลุมฝังศพของตัวเองเอาไว้ดว้ ยเช่นเดียวกันซึ่งห่าง
ออกไปจากพระราชวังของพระองค์ประมาณ 5 กิโลเมตร ก่อนที่จะได้มี
การแต่งตั้งลูกชายของเข้าอย่างพระเจ้าเซอร์ซีสขึ้นมาเป็ นตัวแทนของ
พระองค์ จากนั้นพระองค์จะออกไปทำสงครามกับพวกกรี กที่ทุ่ง
มาราธอนและไม่สามารถเอาชีวิตรอดกลับมาได้
ความสำเร็จของ พระเจ้าเซอร์ซส

◦ เซอร์เซส​ตอ้ ง​รับมือ​กบั ​ผล​พวง​จาก​ความ​พา่ ย​แพ้​ของ​ดาระยาศ บิดา​ของ​ท่าน ณ ที่​ ◦ เหมือง​ของ​รัฐ​ที่​ภูเขา​ลอรี ​อมั ​เป็ น​สถาน​ที่​ที่​มี​การ​คน้ ​พบ​แร่ ​เงิน​มาก​มาย และ​เทอมิสโท
ราบ​มาราธอน.* ด้วย​เหตุ​น้ ี เซอร์เซส​จึง​ใช้​ปี​แรก​แห่ง​การ​ครอง​ราชย์​ของ​ท่าน​เพื่อ​ คลีส์ นัก​การ​เมือง​ชาว​เอเธนส์​ผ​เู ้ ด่น​ดงั ​ก​ช็ กั จูง​สภา​ให้​ใช้​ก ำไร​ท้ งั ​หมด​จาก​เหมือง​เพื่อ​
ปราบ​กบฏ​ใน​จกั รวรรดิ​และ​ยงั “เข้มแข็ง​ข้ ึน​ดว้ ย​ความ​มงั่ คัง่ ​ของ​ท่าน.” สร้าง​กอง​เรื อ​รบ​ที่​มี​เรื อ ทรี รีม 200 ลำ. หลัง​จาก​ที่​มี​ความ​ลงั เล​อยู​บ่ า้ ง​ใน​ตอน​แรก รัฐ​
สปาร์ตา​ก​เ็ ป็ น​ผ​นู ้ ำ​สหพันธ์​กรี ก ซึ่ ง​ประกอบ​ดว้ ย​นครรัฐ​กรี ก​ประมาณ 30 นครรัฐ.
◦ อย่าง​ไร​ก​ด็ ี เซอร์เซส​ยงั ​คิด​ที่​จะ​พิชิต​กรี ซ​ให้​ได้ เนื่อง​จาก​ถูก​ปลุก​เร้า​โดย​ขา้ ราช
◦ ขณะ​เดียว​กนั เซอร์เซส​เคลื่อน​ก ำลัง​พล​พิฆาต​เข้า​สู่ ​ยโุ รป แต่​นนั่ ​ไม่​ใช่​เรื่ อง​ง่าย​แน่ ๆ.
สำนัก​ที่​ทะเยอทะยาน. ดัง​น้ นั เริ่ ม​ต้ งั ​แต่​ปี 484 ก.ส.ศ. ท่าน​ใช้​เวลา​สาม​ปี​รวบ​รวม​
มี​การ​จดั ​หา​อาหาร​จาก​เมือง​ต่าง ๆ ที่​อยู​ต่ าม​ทาง ซึ่ ง​มี​มูลค่า​เป็ น​ทอง 400 ตะลันต์​ต่อ​
กองทัพ​ที่​มี​รายงาน​วา่ ​เป็ น​กองทัพ​ที่​ใหญ่​ที่​สุด​เท่า​ที่​เคย​กรี ธา​ทพั ​บน​พ้ืน​แผ่นดิน​
วัน​สำหรับ​ท้ งั ​กองทัพ​ที่​จะ​กิน​ได้​เพียง​ม้ือ​เดียว. หลาย​เดือน​ก่อน ผู​ส้ ่ ง​สาร​ถูก​ส่ง​ไป​ล่วง​
โลก โดย​รวบ​รวม​จาก​บรรดา​เขต​แดน​ของ​เจ้าเมือง​และ​รัฐ​ต่าง ๆ ภาย​ใต้​การ​
หน้า​เพื่อ​จดั ​หา​ขา้ ว, ปศุสตั ว์, และ​สตั ว์​ปีก​สำหรับ​โต๊ะ​อาหาร​ของ​กษัตริ ย.์ มี​เพียง​เซอร์
ควบคุม​ของ​เปอร์เซี ย. ตาม​ที่​เฮโรโดทุส นัก​ประวัติศาสตร์​ชาว​กรี ก​กล่าว​ไว้ กอง​
เซส​เท่า​น้ นั ​ที่​ได้​พกั ​ใน​เต็นท์; นอก​น้ นั ​ตอ้ ง​นอน​กลางแจ้ง​ท้ งั ​กองทัพ.
กำลัง​ท้งั ​ภาคพื้น​ดิน​และ​ภาคพื้น​น ้ำ​ของ​เซอร์เซส​รวม​กนั ​แล้ว​มี​นกั ​รบ​มาก​จน​เหลือ
เชื่อ​ถึง 2,641,610 คน.* ◦ ตอน​แรก​กองทัพ​อนั ​ใหญ่​โต​น้ ี​ตอ้ ง​ขา้ ม​ช่องแคบ​เฮลเลสพอนต์ (ปั จจุบนั ​น้ ี​ชื่อ ดาร์ดา
เนลส์) ซึ่ ง​เป็ น​ช่องแคบ​ที่​อยู​ร่ ะหว่าง​ทวีป​เอเชีย​กบั ​ยโุ รป. หลัง​จาก​สะพาน​ที่​ท ำ​ดว้ ย​
◦ ใน​เวลา​เดียว​กนั ​น้ นั ชาว​กรี ก​ก​เ็ ริ่ ม​เตรี ยม​ตวั ​ใน​วิธี​ของ​ตน​เอง. แม้​วา่ ​จะ​เป็ น​นกั ​เดิน​ เรื อ​ค่​หู นึ่ง​พงั ​ลง​ใน​ช่วง​ที่​เกิด​พายุ เซอร์เซส ซึ่ ง​โกรธ​แค้น​เป็ น​อย่าง​ยงิ่ ถึง​กบั ​สงั่ ​ให้​
ทะเล แต่​พวก​เขา​ก​ข็ าด​ก ำลัง​รบ​ทาง​ทะเล. แต่​ตอน​น้ ี ชาว​เอเธนส์​ตอบ​โต้​การ​ เฆี่ยน​น้ำ​ใน​ช่องแคบ​เฮลเลสพอนต์ 300 ที, นาบ​ดว้ ย​เหล็ก​ร้อน, และ​ล่าม​โซ่​ตรวน.
คุกคาม​จาก​การ​โจมตี​อย่าง​ดุเดือด​ของ​ชาว​เปอร์เซีย​และ​ท ำ​ตาม​ค ำ​แนะ​น ำ​จาก​คน​ ท่าน​ยงั ​ได้​สงั่ ​ให้​ตดั ​หวั ​วิศวกร​ดว้ ย. เมื่อ​สร้าง​สะพาน​ขา้ ม​ช่องแคบ​เฮลเลสพอนต์​ค่​ทู ี่​
ทรง​เมือง​เดลฟี ​ที่​แนะ​ให้​พวก​เขา​ป้องกัน​ตวั ​เอง​ดว้ ย “กำแพง​ไม้” ชาว​เอเธนส์​จึง​ สอง​เสร็ จ ต้อง​ใช้​เวลา​ท้ งั ​สปั ดาห์​กว่า​ที่​กองทัพ​จะ​ขา้ ม​พน้ ​ไป​ได้.
เริ่ ม​สร้าง​กอง​เรื อ​รบ​ข้ ึน.
สถาปัตยกรรม

ระบบ เมืองหลวง พระราชว ัง


ชลประทาน
ระบบชลประทาน เรียกว่า คาน ัต
เมืองหลวง ในพาซาการ์ด ศล ิ ปะและ
สถาปัตยกรรมได้ร ับว ัฒนธรรมจาก อ ัสซเี รีย
อียป ี ไมเนอร์ ในสม ัยพระเจ้าไซ
ิ ต์ และเอเชย
ร ัส
พระราชว ัง เพอเซโพลิส หรือ พระราชว ังร้อย
เสา ในสม ัยพระเจ้าดาริอส

วิศวะกรรม

สะพานเรือ ขุดคลอง การสร้าง


ถนนหิน
สะพานเรือ
ขุดคลอง คลองดาริอส
ุ ต้นแบบของคลองสุ
เอซ
ถนนหิน
จุดจบของอาณาจ ักรเปอร์เซยี จุดเริม
่ ต้น
ของจ ักรวรรดิของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์
มหาราช
อาณาจักรของพระเจ ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
่ ด
แต่ก็ย ังไม่ใชจ ้ิ สุด
ุ สน

สรุปอาณาจ ักรเปอร์เซย
◦ เป็ น 1 ในอาณาจักรทีย
่ งิ่ ใหญ่ทส
ี่ ด ี
ุ ของโลกในยุคโบราณ ในทวีปเอเชย
◦ เป็ นอาณาจักรทีม
่ อ
ี ารยธรรมเก่าแก่และมีอารยธรรมทีส่ ง่ ผลต่อปั จจุบน ่
ั หลายอย่างเชน
ระบบชลประทาน การสร ้างถนน สท ิ ธิมนุษย์ชน รูปแบบการปกครอง
◦ มีกษั ตริยย
์ งิ่ ใหญ่หลายองค์
◦ ทุม
่ เทในการสร ้างสรรค์สถาปั ตยกรรมทีย
่ งิ่ ใหญ่ในยุคนัน
้ รวมถึงระบบชลประทานทีท
่ ัน
สมัย
◦ ยอมรับเรือ
่ งความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากชาติอน
ื่ ๆทีเ่ ข ้ามาในอาณาจักร
◦ ให ้อิสระในการนับถือศาสนา
◦ ร่ำรวยในการค ้าขายและเศรษฐกิจ
◦ ยุทธวิธก
ี ารรบทีท
่ ันสมัย

You might also like