You are on page 1of 4

ความขัดแย ้งทางศาสนาและการขาดแคลนทรัพยากร

ตัวชวี้ ด ั ชว่ งชน ั้


วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 (ส 4.2 ม. 4–6/4)
จุดประสงค์การเรียนรู ้
1. อธิบายสาเหตุของความขัดแย ้งทางศาสนาและการขาดแคลนทรัพยากรได ้ (K)
2. ตระหนักและเห็นความสำคัญของความขัดแย ้งทางศาสนาและการขาดแคลนทรัพยากร (A)
3. อภิปรายเกีย ่ วกับความขัดแย ้งทางศาสนาและการขาดแคลนทรัพยากรได ้ (P)
ความขัดแย ้งทางศาสนา
ความขัดแย ้งทางศาสนาเป็ นความขัดแย ้งทีเ่ กิดขึน ้ ง่ายและรุนแรง เนือ ่ งจากผู ้นับถือ
ศาสนาแบบยึดมัน ่ ถือมัน ่ จะเห็นว่าศาสนาหรือลัทธิทต ี่ นนับถือดีกว่าของผู ้อืน ่ ละไม่ยอมรับคนต่าง
ศาสนาต่างลัทธิ ทัง้ นีเ้ พราะคนเหล่านัน ้ มีพน ื้ ฐานความเชอ ื่ ต่างกันและตีความศาสนาไปตามความ
เชอ ื่ ของตน และวางรูปแบบการดำรงชวี ต ิ แตกต่างกันออกไปตามทีต ่ นเชอ ื่ ถือ ซงึ่ ความยึดมัน ่ ถือ
มัน่ นีเ้ องทำให ้เกิดความขัดแย ้งกันขึน ้ มา สว่ นใหญ่ความขัดแย ้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง
และพร ้อมจะสละชวี ต ิ เพือ่ ความยึดมัน ่ ของตน ดังทีป ่ รากฏเป็ นสงครามทางศาสนาหรือสงครามครู
เสดระหว่างชาวคริสตเตียนกับชาวอิสลามในสมัยโบราณ เป็ นต ้น ทัง้ นีค ้ วามขัดแย ้งทางศาสนา
เกิดขึน ้ ได ้ทัง้ ในศาสนาต่างศาสนาและศาสนาเดียวกัน ความขัดแย ้งทางศาสนาทีส ่ ำคัญมีดงั นี้
1. ความขัดแย ้งระหว่างศาสนา ตัวอย่างเชน ่ ความขัดแย ้งทางศาสนาในประเทศ
อินเดีย เป็ นความขัดแย ้งระหว่างชาวฮน ิ ดูกบ ั ชาวมุสลิมจนแยกเป็ นประเทศปากีสถานใน ค.ศ.
1947 ซงึ่ เดิมปากีสถานรวมเป็ นดินแดนเดียวกับอินเดียและอยูภ ่ ายใต ้การปกครองอังกฤษ และ
ก่อนทีอ ่ น
ิ เดียจะได ้รับเอกราช ชาวมุสลิมในอินเดียก็รว่ มกันเรียกร ้องทีจ ่ ะแยกประเทศเนือ ่ งจาก
ความแตกต่างระหว่างชาวฮน ิ ดูกบ ั ชาวมุสลิม ไม่วา่ จะเป็ นความแตกต่างทางการเมืองทีผ ่ ู ้นับถือ
ศาสนาอิสลามหรือชาวมุสลิมทีม ่ จ ี ำนวนน ้อยกว่าผู ้ทีน ่ ับถือศาสนาฮน ิ ดู ทำให ้ชาวมุสลิมเป็ นชนกลุม ่
น ้อยของประเทศทีไ่ ด ้รับสท ิ ธิทางการเมืองน ้อย หรือความแตกต่างทางศาสนาทีช ่ าวมุสลิมนับถือ
พระเจ ้าองค์เดียว สว่ นชาวฮน ิ ดูนับถือพระเจ ้าหลายองค์ รวมทัง้ ความแตกต่างทางสงั คมทีช ่ าว
มุสลิมเชอ ื่ ว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน แต่สงั คมชาวฮน ิ ดูมรี ะบบวรรณะ เป็ นต ้น จากเหตุผลดัง
กล่าวปั ญหาระหว่างชาวมุสลิมและชาวฮน ิ ดูกเ็ พิม
่ มากขึน ้ จนถึงขัน ้ ปะทะกันอย่างรุนแรง ในทีส ่ ด

อังกฤษจึงให ้เอกราชกับอินเดียและปากีสถานเมือ ่ วันที่ 14 สงิ หาคม ค.ศ. 1947 แต่ภายหลังจากมี
การจัดตัง้ เป็ นประเทศแล ้ว ความสม ั พันธ์ระหว่างอินเดียกับปากีสถานก็ไม่ราบรืน ่ นัก ไม่วา่ จะเป็ น
ปั ญหาพรมแดน ปั ญหาแคว ้นแคชเมียร์ และการแข่งขันการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เพือ ่
ข่มขูฝ ่ ่ ายตรงกันข ้าม นอกจากนีค ้ วามขัดแย ้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวฮน ิ ดูในอินเดียก็ยงั คง
ดำเนินเรือ ่ ยมาจนถึงปั จจุบน ั
2. ความขัดแย ้งภายในศาสนาเดียวกัน ตัวอย่างเชน ่
1) ความขัดแย ้งระหว่างชาวมุสลิมในประเทศปากีสถาน ทีน ่ ำไปสูก ่ ารแยกเป็ น
ประเทศปากีสถานกับบังกลาเทศเมือ ่ ค.ศ. 1971 โดยมีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการทีห ่ นึง่ มา
จากสภาพทางภูมศ ิ าสตร์ทแ ี่ ยกปากีสถานออกเป็ น 2 สว่ น คือ ปากีสถานตะวันตกและปากีสถาน
ตะวันออก โดยมีอน ิ เดียคัน ่ กลาง สว่ นอีกประการหนึง่ ทีส ่ ำคัญ คือ ความไม่พอใจในความไม่เท่า
เทียมกัน เนือ ่ งจากประชากรในปากีสถานตะวันออกสว่ นใหญ่มากกว่าครึง่ หนึง่ ของประชากร
ทัง้ หมดของประเทศปากีสถาน แต่รัฐบาลกลับให ้ความสนใจในการพัฒนาปากีสถานตะวันตกมาก
กว่า ชาวปากีสถานตะวันออกจึงพยายามทีจ ่ ะแยกตัวออกมา รัฐบาลปากีสถานจึงสง่ กองทหารเข ้า
ปราบปราม ทำให ้ชาวปากีสถานตะวันออกหลบหนีไปอาศย ั อยูใ่ นอินเดีย โดยทีร่ ัฐบาลปากีสถาน
กล่าวโจมตีอน ิ เดียว่าให ้การสนับสนุนแก่ชาวปากีสถานตะวันออก อย่างไรก็ตาม ในทีส ่ ด
ุ ปากีสถาน
ตะวันออกก็สามารถแยกประเทศได ้สำเร็จและจัดตัง้ ประเทศใหม่ในชอ ื่ ว่า บังกลาเทศ
2) ความขัดแย ้งระหว่างอิรักและอิหร่าน มีสาเหตุสำคัญ ได ้แก่
- ปั ญหาเรือ ่ งเขตแดน ได ้แก่ การแย่งชงิ สท ิ ธิเหนือร่องน้ำอัล-อาหรับซงึ่ เป็ น
เขดแดนตอนใต ้ระหว่างอิรัก-อิหร่าน และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ เป็ นทีต ่ งั ้ ท่าเรือทีใ่ หญ่
ทีส ุ และสถานีสง่ น้ำมันทีส
่ ด ่ ำคัญ รวมทัง้ เป็ นแหล่งน้ำมันของอิหร่านด ้วย
- ปั ญหาชนกลุม ่ น ้อยชาวเคิรด ์  ซงึ่ เป็ นชนกลุม่ น ้อยชาวเขาในอิรัก อิหร่าน และ
ซเี รีย ทีไ่ ด ้พยายามเรียกร ้องการปกครองตนเองมาเป็ นเวลายาวนาน โดยเฉพาะในอิรักทีม ่ ช
ี าว
เคิรด ์ อาศย ั อยูจ ่ ำนวนมาก ทีม ่ ค ี วามแตกต่างจากอิรักทัง้ เชอ ื้ ชาติและศาสนาแม ้จะเป็ นมุสลิม
เหมือนกันแต่กน ็ ับถือกันคนละนิกาย โดยชาวอิรักนับถือนิกายชอ ี ะห์ สว่ นชาวเคิรด ์ นับถือนิกาย
สุหนี่ ทัง้ นีช้ าวเคิรด ์ มักใชวิ้ ธกี ารก่อจราจลและการต่อสูด้ ้วยกำลังอาวุธโดยได ้รับการสนับสนุนจาก
อิหร่าน ซงึ่ ทางอิรักก็ใชกำลั ้ งเข ้าปราบปรามอย่างรุนแรง
- ความขัดแย ้งระหว่างผู ้นำประเทศ ภายหลังทีอ ่ หิ ร่านโค่นล ้มสถาบันกษั ตริยแ ์ ละ
เปลีย ่ นการปกครองเป็ นสาธารณรัฐอิสลาม ทีม ่ อี ยาโตลลาห์ โคไมนี เป็ นผู ้นำประเทศอิหร่าน และ
นำหลักศาสนาอิสลามมาใชในการปกครองประเทศ ้ หลายประเทศในตะวันออกกลางเกรงว่า
อิหร่านจะเผยแพร่แนวคิดรัฐอิสลามไปยังประเทศของตนและอาจสง่ ผลต่อความมัน ่ คงทางการ
เมือง ทำให ้อิรักทีม ่ พี รมแดนติดกับอิหร่านและมีความขัดแย ้งกันมานานแล ้วยิง่ ทวีความรุนแรง
มากขึน ้ โดยโคไมนีพยายามเรียกร ้องให ้ชาวมุสลิมนิกายชอ ี ะห์ทม ี่ จี ำนวนร ้อยละ 65 ของชาวอิรัก
ทำการโค่นล ้มรัฐบาลประธานารธิบดีซด ั ดัม อุสเซน ซงึ่ เป็ นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่ ทีพ ่ ยายามจะ
ขยายอำนาจเข ้ามาในอิหร่าน จากความขัดแย ้งของทัง้ สองประเทศสง่ ผลให ้เกิดการปะทะกันตาม
พรมแดนและทวีความรุนแรงมากขึน ้ กลายเป็ นสงครามยืดเยือ ้ เนือ ่ งจากอิรักได ้รับการสนับสนุน
อาวุธจากสหรัฐอเมริกา สว่ นอิหร่านได ้รับความชว่ ยเหลือจากรัสเซย ี จนกระทัง่ องค์การ
สหประชาชาติและประเทศทีเ่ ป็ นกลางพยายามเจรจาและยุตส ิ งครามใน ค.ศ. 1988
วิกฤตการณ์ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมของไทย และของโลก
วิกฤตการณ์ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมของโลก
1. ปั ญหาวิกฤตด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมของ
โลก                 ปั ญหาวิกฤตการณ์ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมของโลกในปั จจุบน ั  แบ่งได ้เป็
น 3 ปั ญหาใหญ่ ๆ ดังนี ้                1.1 ปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติลดความอุดมสมบูรณ์ ทัง้ ในด ้านปริมาณ
และ
คุณภาพ ได ้แก่ ดิน น้ำ ป่ าไม ้ สต ั ว์ป่า และแร่ธาตุตา่ ง ๆ           1.2 ปั ญหาการเกิดมลภาวะหรือมลพิษต่าง
 ๆ ของ
สงิ่ แวดล ้อม เชน ่  น้ำเน่าเสย ี  อากาศเป็ นพิษ มลพิษของเสย ี ง และมลพิษจากขยะมูลฝอย เป็ นต ้น            
 1.3 ปั ญหาทีเ่ กิดจากการทำลายระบบนิเวศทาง
ธรรมชาติ เชน ่  ฝนทิง้ ชว่ ง ภัยจากความแห ้งแล ้ง อุทกภัย วาตภัย และภาวะโลกร ้อนมีอณ ุ หภูมส ิ งู  เป็ นต ้น
2. สาเหตุทท ี่ ำให ้โลกเกิดวิกฤตด ้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล ้อม                 สาเหตุพน ื้ ฐานของปั ญหาวิกฤติการณ์ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมขอ
งโลกในปั จจุบน ั  คือ                
 2.1 การเพิม ่ ของจำนวนประชากรโลก                 ในปั จจุบน ั  ประชากรโลกมีประมาณ 6,314 ล ้านคน (พ.
ศ. 2546) จึงเป็ นสาเหตุโดยตรงทำให ้เกิดการสูญเสยในทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ี
รวดเร็ว และเกิดมลพิษของสงิ่ แวดล ้อมต่าง ๆ ตามมา สรุปได ้ดังนี ้                 (1) อัตราการเพิม ่ ของประช
ากร ประเทศทีพ ่ ัฒนาแล่วมีอต ั ราการเพิม ่ ของประชากรค่อนข ้างต่ำเฉลีย ่ ร ้อยละ 0.1 ต่อปี สว่ นประเทศที่
กำลังพัฒนามีอต ั ราการเพิม ่ ของประชากรอยูใ่ นเกณฑ์สงู เฉลีย ่ ร ้อน
ละ 1.5 ต่อปี                 (2) การเพิม ่ ของจำนวนประชากรในชนบท ทำให ้ผู ้คนในชนบทอพยพเข ้ามาหางา
นทำในเมืองเกิดการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่าง
รวดเร็ว และยิง่ มีการนำเทคโนโลยีมาใชในการผลิ ้ ตภาคอุตสาหกรรมมากขึน ้ ก็ยงิ่ สง่ ผลให ้เกิดปั ญหามลพิ
ษของสงิ่ แวดล ้อมต่าง ๆ ตามมา                 
 (3) การเพิม ่ ของจำนวนประชากรสง่ ผลให ้เกิดการแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติเพือ ้
่ นำมาใชประโยชน์ สนอง
ความต ้องการของประชาชนมากยิง่
ขึน ้  มีการบุกรุกพืน ้ ทีป
่ ่ าไม ้เพือ ่ นำมาใชเป็ ้ นพืน
้ ทีเ่ กษตรกรรม เชน ่  พืน้ ทีป
่ ่ าลุม
่ แม่น้ำอะเมซอน (Amazon) 
ในทวีปอเมริกาใต ้ ซงึ่ ทำให ้ทัว่ โลกหวัน ่ วิตกว่าจะเป็ นการสูญเสย ี พืน้ ทีป
่ อดของโลก
2.2 ผลกระทบจากการใชวิทยาการและ ้
เทคโนโลยี ในปั จจุบน ั  มีการนำเทคโนโลยีทท ี่ น ้
ั สมัยมาใชในการผลิ ตด ้านต่าง ๆ อย่างกว ้างขวางทัง้ ในภ
าคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการ แต่ถ ้านำเทคโนโลยีไปใชอย่ ้ างไม่เหมาะสม อาจสง่ ผลกระทบ
ทำให ้เกิดการสูญเสย ี ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมได ้ดัง
เชน ่  (1) การสำรวจ ขุดเจาะ หรือขนสง่ น้ำทันดิบจากแหล่งขุดเจาะในทะเลโดยทางเรือบรรทุกน้ำทัน อาจ
เกิดอุบต ั เิ หตุทำให ้น้ำมันรั่วไหลมีคราบน้ำมันปนเปื้ อนบริเวณพืน ้ ผิวน้ำ เป็ นอันตรายต่อสงิ่ มีชวี ต
ิ ในทะเล
และทำให ้ระบบนิเวศของท ้องทะเลต ้องเสย ี ความสมดุลไป
(2) การสร ้างเขือ ่ นและอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ทำให ้สูญเสย ี พืน้ ทีป ่ ่ าไม ้จำนวนมาก
(3) การตัง้ โรงงานอุตสาหกรรมอย่างหนาแน่น ทำให ้เกิดมลพิษทาง
อากาศ เสย ี ง และแหล่งน้ำตามธรรมชาติ เป็ นต ้น 3. สรุปวิกฤตการณ์ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวด
ล ้อมของโลก                
3.1 วิกฤตการด ้านทรัพยากรธรรมชาติของโลก มีดงั นี้
(1)   การตัดไม ้ทำลาย
ป่ า และการสูญเสย ี พืน
้ ทีป
่ ่ าไม ้ (2)   ความเสอ ื่ มโทรมของดิน และการชะล ้างพังทลายของดิน (3)   การข
าดแคลนทรัพยากรน้ำจืด3.2 วิกฤตการณ์ด ้านสงิ่ แวดล ้อมของ
โลก (1)   การเปลีย ่ นแปลงของสภาพภูมอ ิ ากาศ (ภาวะโลกร ้อน และชน ั ้ โอโซนถูกทำลาย) (2)   มลพิษท
างอากาศ(3)   หมอกควัน และฝนกรด (4)   ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green house
effect) (5)   ปรากฏการณ์เอลนิโญ (El Nino) (6)   การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
(7)   การเพิม ่ ขึน
้ ของขยะเทคโนโลยี
การอนุรักษ์ ทรัพยากรทางธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมในภูมภ ิ าคต่างๆของโลก
(1) ปลูกต ้นไม ้เพือ ่ ทดแทนของเดิมทีถ ่ ก
ู ทำลายไป
(2) อนุรักษ์ ป่าไม ้ไว ้ไม่ให ้บุกรุกไปสร ้างบ ้านเรือนจนกินเนือ ้ ทีป่ ่ ามาก
(3) ควบคุมดูแลการใชน้ำ ้ ไฟ อย่างประหยัด

You might also like