You are on page 1of 37

สารบัญ ค�ำน�ำ

กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เป็นหน่วยงานรัฐที่จัดตั้งขึ้นตาม
พระราชบัญญัติ กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ พ.ศ 2558 มีวตั ถุประสงค์หลัก
The Motherland ในการจัดสรรเงินทุนเพื่อใช้ในการผลิตการพัฒนาและเผยแพร่สื่อที่มีคุณภาพ ทั้งนี้
1 6
“จากแผ่นดินแม่สู่แผ่นดินไทย” เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพฤติกรรมที่ดีของเด็กและเยาวชนส่งเสริมความสัมพันธ์
อันดี ในครอบครอบครัวและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการผลิตสื่อ
Thai-Viet Agriculturist ปลอดภัยและสร้างสรรค์
2 26
“เกษตรไทยสไตล์คนเวียด” โครงการสื่อสร้างสรรค์เพื่อวัฒนธรรมคนไทยเชื้อสายเวียดนาม อ.เมือง
จ.นครพนม ได้จดั ท�ำและเผยแพร่สอื่ สารคดีจำ� นวน 5 ตอน ในมิตทิ างประวัตศิ าสตร์
Spirit of Us การตั้งถิ่นฐาน ประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิตและการด�ำรงอยู่ของคนไทยเชื้อสาย
3 40
“จิตวิญญาณแห่งชุมชน” เวียดนามทั้ง 7 ชุมชน ผ่านช่องทางสื่อ Social Media ทั้ง Facebook และ Youtube
ในชื่อว่า ซินจ่าว-สวัสดีเวียดนามนครพนม และเพื่อเป็นการขยายผลจากสื่อสารคดี
Food and Culture ทางโครงการฯจึงได้จัดท�ำ E-book นี้ขึ้น
4 54
เอกลักษณ์ในอาหาร ทางโครงการหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า E-book ฉบับนีจ้ ะเป็นประโยชน์ดา้ นการศึกษา
ค้นคว้าและเป็นเครื่องมือส�ำหรับการสืบค้นข้อมูลของคนไทยเชื้อสายเวียดนามใน
The Story of Language จังหวัดนครพนมให้แก่บุคคลที่มีความสนใจในประเด็นดังกล่าวได้เป็นอย่างดี
5 62
"ภาษารากเหง้าวัฒนธรรม"
รุ่งฤดี พิพัฒนกิจ
หัวหน้าโครงการ
1 The Motherland
“จากแผ่นดินแม่
สู่แผ่นดินไทย”
ปัจจุบันคนไทยเชื้อสายเวียดนามมีการกระจายตัวตั้งถิ่นฐานอาศัย
อยู่ใน อ.เมือง จ.นครพนมนับรวมเป็นชุมชนใหญ่ได้ 7 ชุมชน
อันได้แก่ ชุมชนบ้านนาราชควาย ชุมชนบ้านโพนบก ชุมชนหนองแสง
ชุมชนวัดป่า (ชุมชนวัดศรีเทพ) ชุมชนบ้านดอนโมง และชุมชน
บ้านนาจอก บ้านต้นผึ้ง

โดยพวกเขามี ก ารอพยพเข้ า มาสู ่ ภ าคอี ส านของไทยอยู ่ ห ลาย


ระรอก ส่วนเหตุปัจจัยในการอพยพนั้นก็ ได้แก่ การเกิดภัยแล้ง
ภัยอดอยาก ภัยการเมือง ภัยศาสนา และภัยสงคราม เป็นต้น
นักวิชาการของไทยในช่วงสงครามเย็นแบ่งการอพยพเพื่อเรียก
กลุ่มคนเวียดนามย้ายถิ่นดังกล่าว ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
“กลุ่มญวนเก่า” และ “กลุ่มญวนใหม่”
อนุสรณ์สถานประธานโฮจิมินห์ บ้านนาจอก จ.นครนพม
6 7
The Motherland

ปี ค.ศ.1860 ประเทศเวียดนามเกิด
ปัญหาส�ำคัญอย่างหนึ่ง อันเนื่องมาจากการ
ลงนามในสนธิสญั ญาระหว่างราชวงศ์เหงียน
กับฝรั่งเศส ที่อนุญาตให้ฝรั่งเศสสามารถ
เผยแพร่ศาสนาคริสต์ได้ทวั่ ทุกพืน้ ที่ เป็นเหตุผล
ให้ชนชัน้ น�ำเก่าของเวียดนามไม่พอใจ มีการ
ลุกขึน้ มาโจมตีชาวคริสต์อย่างหนัก ชาวคริสต์
ส่วนหนึ่งจึงเดินเท้าหนีจากภาคกลางของ เส้นทางการอพยพของชาวเวียดนามมายังประเทศไทย
เวียดนามอย่างในจังหวัดเหง่อานและจังหวัด
ฮาติ่งห์ ในปัจจุบัน เข้าสู่พื้นที่ของจังหวัด
นครพนม
ปี ค.ศ. 1920 เมื่อฝรั่งเศสเข้ายึด
เวียดนามเป็นอาณานิคม คนเวียดนามที่ไม่ ถนนสาย 15 สร้างเพื่อเชื่อมต่อทางหลวงสายโฮจิมินห์ อ.เฮืองเค จ.ฮาติ่งห์
พอใจนโยบายการปกครองของฝรั่งเศสก็ได้
พากั น หนี อ พยพเข้ า ไปอยู ่ ใ นพื้ น ที่ ข อง
ประเทศลาวเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็มีบางส่วนที่ จึงกระเสือกกระสนเดินเท้าเข้าสู่ภาคอีสาน ครั้งที่ 2 ฝรั่งเศสจึงน�ำกองทัพมารุกราน
ได้อพยพข้ามแม่นำ�้ โขงเข้ามาอยู่ในตามแนว ของไทย เวียดนาม จนน�ำไปสู่ความสูญเสียครั้งยิ่ง
ตะเข็บภาคอีสานของประเทศไทย เช่นใน จุดยุทธศาสตร์สามแยกดงหลก จากตัวอย่างข้างต้น จึงอาจกล่าวได้วา่ ใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ของ
จังหวัดอุบลราชธานี หนองคาย สกลนคร กลุ่มผู้อพยพที่เรียกว่า “กลุ่มญวนเก่า” มวลมนุษยชาติที่รู้จักกันในชื่อว่า “สงคราม
อุดรธานี และนครพนม มีสาเหตุในการอพยพเข้าสูภ่ าคอีสานของไทย อินโดจีน”
ปี ค.ศ. 1945 เกิดภัยอดอยากจากการ โดยเฉพาะในจังหวัดนครพนมทั้งจากเรื่อง สงครามทีก่ นิ เวลานานถึง 8 ปี มีผคู้ น
เปลีย่ นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกของชาวบ้านให้ไปเป็น ของภัยทางการเมือง ภัยจากการศาสนา บาดเจ็บล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงมี
พื้นที่เพาะปลูกพืชยุทธปัจจัยให้แก่ทหารใน และภัยจากยุคล่าอาณานิคม ผู้อพยพหนีภัยสงครามเข้าสู่ประเทศไทย
กองทัพอาณานิคมทั้งของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 1946 ฝรัง่ เศสต้องการกลับมา ตามแนวตะเข็บแม่นำ�้ โขง ต่อมาภายหลังจึง
ท�ำให้มผี คู้ นล้มตายจากภัยความอดอยากใน มีอำ� นาจในภูมภิ าคอินโดจีนอีกครัง้ หลังจาก เรียกกลุม่ ผูอ้ พยพทีเ่ ข้าสูภ่ าคอีสานของไทย
ครัง้ นัน้ มากถึง 2 ล้านคน ผูค้ นทีย่ งั มีชวี ติ รอด สูญเสียอ�ำนาจไปให้แก่ญปี่ นุ่ ในช่วงสงครามโลก นับจากเหตุการณ์นั้นว่า “กลุ่มญวนใหม่”

8 9
The Motherland

“ผมเป็นคนไทยเชือ้ สายเวียดนามรุน่ ที่ 3 บรรพบุรษุ ปูย่ า่ ตายาย ได้อพยพ ข้ามแม่นำ�้ โขงมายังฝัง่ ไทย อพยพมาทีร่ มิ ฝัง่ โขงอาศัยทีน่ นั่ สักประมาณ 1 อาทิตย์
มาจากเวียดนามทางตอนเหนือ อ�ำเภออีเ๋ อียน จังหวัดนามดิง่ ประเทศเวียดนาม เดินเท้าลงไปทางใต้กับกลุ่มคนเวียดนามที่อพยพมาด้วยกันจนถึงพื้นที่อ�ำเภอ
อพยพมาด้วยภัยอดอยาก พืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวถูกเปลีย่ นให้ปลูกต้นปอซึ่งเป็น เรณูนคร พบว่ามีกลุม่ คนเวียดนามตัง้ ชุมชนเวียดนามอพยพ กลุม่ คนทีอ่ ยูต่ รงนัน้
พืชยุทธปัจจัยส�ำหรับกองทัพเพื่อน�ำไปทอเป็นกระสอบส�ำหรับใส่ถ่านหิน เรียกว่า “บ้านญวนเมืองเว” แล้วก็อพยพเข้ามาอยู่ที่อ�ำเภอเมืองนครพนม
บรรพบุรษุ ได้เล่าว่าอพยพจาก จ.นามดิง่ เข้ามาอยูท่ ป่ี ระเทศลาว ทีเ่ มืองท่าแขก ประมาณปี ค.ศ.1969
ในปี ค.ศ. 1940 อยูท่ นี่ นั่ ได้ประมาณ 3-4 ปี จากนัน้ ก็อพยพมาทีเ่ มืองไทยในวันที่ ยุคอาณานิคมแรกเริม่ เดิมทีฝรัง่ เศสก็ไม่คอ่ ยจะให้ความสนใจกับพืน้ ทีข่ อง
21 มีนาคม 1946 ในเหตุการณ์วนั ท่าแขกแตก คือการกลับมายึดลาวอีกครัง้ หนึง่ แคว้นที่เรียกว่าลาวมากนักเพราะว่าฝรั่งเศสอาจจะมองว่าพื้นที่ตรงนี้ ไม่มี
ของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1946 ท�ำให้ครอบครัวของปู่ย่าตายายต้องอพยพ ทรัพยากรมากมาย เช่นเดียวกับพื้นที่ชายฝั่งทะเล แต่จะอะไรก็ตามเมื่อมีการ
ค้นพบแร่ เช่น ดีบุก จ�ำนวนมากทีเ่ มืองท่าแขก มันท�ำให้รฐั บาลอาณานิคมเริม่
สนใจทีจ่ ะอพยพคนจากริมชายฝัง่ ทะเลในเวียดนามเข้ามาอยู่ในลาวมากยิ่งขึ้น
นอกนจากนัน้ ยังมีการก่อเกิดขึน้ ของเหมืองแร่ บองแหน๋ง และ โพนติว๋ ทีท่ า่ แขก
คนเวียดนามถูกอพยพเข้ามาท�ำหน้าที่เป็นข้าราชการของฝรั่งเศสท�ำให้พื้นที่
ชายแดนในฝัง่ ลาวเป็นพืน้ ทีส่ ะสมของคนเวียดนามมากยิง่ ขึน้ งานวิชาการหลายชิน้
ชี้ให้เห็นว่าในยุคนัน้ ในพืน้ ทีเ่ มืองลาวมีอตั ราส่วนของคนเวียดนามมากกว่าคนลาว
ด้วยซ�้ำ ดังนั้นคนที่เข้ามาก่อนเป็นปัจจัยที่ท�ำให้คนที่หนีภัยความอดอยากและ
หนีภัยแล้งเข้ามาในพื้นที่ของเมืองลาวมากยิ่งขึ้น ช่วงระยะเวลาการอพยพนั้น
ท�ำให้จัดอยู่ใน กลุ่มญวนใหม่”

อาจารย์สุริยา ค�ำหว่าน
อาจารย์สุริยา ค�ำหว่าน สาขาวิชาภาษาเวียดนาม สาขาวิชาภาษาเวียดนาม มหาวิทยาลัยนครพนม
มหาวิทยาลัยนครพนม

10 11
The Motherland

บิ่ง ฟามวัน ชายวัย 86 ปี ถือเป็น ลอยมาข้ามฟาก รอบตัวมีแต่ศพลอย แม่นำ�้


กลุม่ ญวนใหม่ทอี่ พยพมาสูจ่ งั หวัดนครพนม โขงเป็ น สี แ ดงไปหมดมี แ ต่ เ ลื อ ด พ่ อ แม่
จากเหตุการณ์ทเี่ รียกว่า วันท่าแขกแตก ในปี พีน่ อ้ งก็ไปคนละทิศละทางไม่รวู้ า่ ใครเป็นยังไง
ค.ศ.1946 เขาเล่ า ถึ ง ประสบการณ์ จ าก ตอนนั้ น มี ผู ้ ใ หญ่ พ าไปพั ก ที่ บ ้ า นนาจอก
สงครามในตอนนัน้ ว่า “เดินทางอพยพมากับ ได้ พั ก อาศั ย 2-3 คื น ก็ อ อกมาตามหา
ครอบครัวมาจาก จ.กว่างบิง่ มาในปี ค.ศ.1945 ครอบครัว หาหลายวันเจอพ่อแม่อยูค่ า่ ยพัก
เกิดภัยอดอยากและภัยน�ำ้ ท่วมควบคูก่ นั แม้แต่ บริ เ วณโรงเรี ย นเทศบาล 3 ในปั จ จุ บั น
รากไม้ก็ไม่มีกิน น้องชายต้องเสียชีวิตเป็น แม่โดนสะเก็ดลูกปืนเข้าที่หัวยังมารักษาตัว
ไข้ตายระหว่างเดินทาง รองเท้าไม่มีใส่ต้อง ที่โรงพยาบาลนครพนมไม่นานเท่าไหร่แม่
ใช้ เ สื้ อ พั น เท้ า แทนรองเท้ า เมื่ อ ถึ ง ลาว ก็ตาย”
มีคนให้ข้าวเหนียวกับมะขามสุกให้กินเป็น มีความเป็นไปได้ว่า “กลุ่มญวนเก่า”
อาหาร คนทีม่ าด้วยกันกินอิม่ เกินไปท้องไม่รบั เมื่อพวกเขาอพยพเข้าสู่พื้นที่ของจังหวัด
อิม่ ตายก็มี ตอนนัน้ จ�ำได้วา่ อายุ 13 ปี เดินทาง นครพนมแล้ ว ก็ ไ ปตั้ ง ชุ ม ชนอยู ่ ร ่ ว มกั น
มาตัง้ หลักทีท่ า่ แขก สปป.ลาวมีคนเวียดนาม ที่บ้านค�ำเกิ้มเป็นแห่งแรก ก่อนจะกระจัด
อยู่กันเยอะจ�ำได้ว่าท่าแขกแตกในวันที่ 21 กระจายแยกย้ายกันไปหลังเกิดโรคระบาด
มีนาคม 1946 วันนั้นแม่ไปขายของที่ตลาด ขึ้นที่บ้านค�ำเกิ้ม บางส่วนเลือกที่จะเดินเท้า
ติดกับแม่น�้ำโขง ส่วนลุงก็ช่วยงานทหารอยู่ ขึน้ ไปตามแนวสันเขาที่ชอื่ ว่าภูเขาทอง แล้ว
ริมแม่น�้ำโขง ลุงเห็นเครื่องบินยิงปืนสาด ก็ค่อยๆ สร้างบ้านแปงเมืองจนสามารถตั้ง
กระสุนลงตลาดคิดว่าแม่ต้องตายแล้วแน่ๆ เป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ชี อื่ เรียกกันในภาษาเวียดนาม
คนบนฝั่งกระโดดลงแม่น�้ำโขง ใครมีเรือก็ ว่า “บ้านใหม่” หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า
พายไม่มกี ว็ า่ ยน�ำ้ หนี เครือ่ งบินยังยิงไม่หยุด “บ้านนาจอก”
คนตายลอยเต็มแม่น�้ำโขงลุงก็เกาะขอนไม้
บิ่ง ฟามวัน

12 13
The Motherland

“ผมเกิดทีบ่ า้ นนาจอก บรรพบุรษุ รุน่ ปู่ ขึ้นมาอีก 5 หลัง เอาเตาสามขา หม้อข้าว


เป็ น ผู ้ อ พยพเดิ น ทางมาตั้ ง รกรากที่ บ ้ า น ท�ำทีว่ามีคนหุงหาอาหารกิน พอทางการมา
นาจอก ปู ่ ผ มเป็ น รุ ่ น แรกเป็ น 1 ใน 7 ตรวจถามว่าคนบ้านนี้ ไปไหน บอกว่าไป
ครอบครัวกลุ่มแรกที่มาตั้งหมู่บ้านก่อนที่จะ ท�ำนาอยู่บริเวณบ้านหนองบัว บ้านดงโชค
มาตั้ ง หมู ่ บ ้ า นนั้ น เดิ ม อยู ่ ที่ บ ้ า นค� ำ เกิ้ ม อดี ต ตรงนั้ น ยั ง ไม่ มี ห มู ่ บ ้ า นยั ง เป็ น ป่ า
เกิดโรคระบาด (อหิวาต์) เลยแยกย้ายกันหนี ทางการมาตรวจแล้วตัง้ ชือ่ เป็น “บ้านนาจอก”
ส่วนคนที่นับถือศาสนาคริสต์ย้ายไปอยู่บ้าน พ่อผมบอกว่าสมัยก่อนหมาจิ้งจอกเยอะ
หนองแสง 7 ครอบครัวพากันมาอยูท่ นี่ าจอก นอกจากนั้นยังมีหมูป่า มีเสือ ด้วยความที่ ภาพเก่าภูเขาทอง สอาด วงศ์ประเสริฐ
ตอนนั้ น กฎหมายการตั้ ง หมู ่ บ ้ า นต้ อ งมี หมาจิ้งจอกเยอะเลยยึดเอาเป็นชื่อ แต่คน
12 หลังคาเรือน เลยช่วยกันสร้างกระต๊อบ เวียดนามจะเรียกว่าบ้านใหม่ คนบ้ า นนาจอกส่ ว นมากจะอพยพ กรมทหารราบที่ 3 (ค่ายพระยอดเมืองขวาง)
มาจากภาคกลางของเวียดนาม จ.เหง่อาน มีรถถังจอดด้วยตอนนัน้ มีเรือ่ งการเคลือ่ นไหว
จ.ฮาติ่งห์ รองลงมา จ.กว่างบิ่ง ในปี 1946 ของคนกู ้ ช าติ แ ละโรงเรี ย นบ้ า นนาจอก
มีญวนใหม่อพยพมาเพิ่ม ตอนนั้นฝรั่งเศส (แรงประชาชน) มีการแอบเรียนภาษาเวียดนาม
กลับมามีอ�ำนาจอีกครั้ง บ้านผมตอนนั้น และมีเสียงออกมาว่าบ้านนาจอกเป็นโรงงาน
มีคนมาขออยูถ่ งึ 10 ครอบครัว คนสมัยก่อน ผลิตอาวุธช่วย ลาว เขมร กู้เอกราชเพราะ
สอนให้ลกู หลานรักชาติเกิดเมืองไทยต้องรัก ถ้าทั้ง 2 ประเทศสู้ไม่ได้เวียดนามก็ล�ำบาก
เมืองไทยเแต่เราเป็นคนเวียดนามก็ต้อง ทหารกองร้อยมาเพื่อปราบคนเวียดนาม
กู้ชาติ ในยุคกู้ชาติโฮจิมินห์ก็มาที่นี่แต่ไม่มี วันหนึ่งผมถูกเรียกให้ไปพบถูกกล่าวหาว่า
ใครรู้จักรู้เมื่อกู้เสร็จแล้ถึงรู้ว่าท่านเคยมา ผมเป็นคอมมิวนิสต์ รถถังที่เอามาไว้นี้ก็คือ
ที่บ้านนาจอก พ่อสอนผมว่าคนเราต้องมี เอาไว้ไถบ้านนาจอกให้เรียบ กองก�ำลังนี้
เสรีภาพต้องมีเอกลักษณ์ของตัวเอง ประเทศ อยู่ได้ 2-3 ปีไม่มีอะไรเกิดขึ้นก็ยกเลิกไป”
เวียดนามไม่มแี ผนที่ในโลก เป็นเพียงอ�ำเภอ
หนึ่งของฝรั่งเศส สอาด วงศ์ประเสริฐ อายุ 87 ปี
บ้านนาจอกเคยมีกองก�ำลังทหารมา ชาวบ้านนาจอก
ประจ� ำ การเฝ้ า ดู กองพั น ทหารราบที่ 3
การขยายตัวชุมชน

14 15
The Motherland

หลังสงครามอินโดจีนยุติลง รัฐบาล
ไทยและรั ฐ บาลเวี ย ดนามลงนามส่ ง คื น
ผู ้ อ พยพชาวเวี ย ดนามกลั บ คื น สู ่ แ ผ่ น ดิ น
มาตุภมู ิ วันที่ 4 มกราคม ค.ศ.1960 คือวันที่
เรือซึง่ เต็มไปด้วยชาวเวียดนามอพยพ เดินเรือ
ออกจากท่าเรือคลองเตยไปที่ท่าเรือไฮฟอง
เป็นเที่ยวแรก เมื่อเรือล�ำดังกล่าวถึงท่าเรือ
ไฮฟองท่านประธานาธิบดีโฮจิมนิ ห์กอ็ อกมา
ต้อนรับด้วยตัวเอง การส่งกลับชาวเวียดนาม
ครั้งนั้นเรียกกันว่า “เหวียดเกี่ยวโห่ยเฮือง”
แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการส่งกลับชาว
เวี ย ดนามอพยพก็ ต ้ อ งยุ ติ ล งในวั น ที่ 28
พิธีส่งชาวเวียดนามกลับสู่ภูมิล�ำเนาเดิม กรกฎาคม ค.ศ. 1964 เพราะเกิดสงครามขึน้
ทีป่ ระเทศเวียดนามอีกครัง้ โดยมีจำ� นวนการ
ส่งกลับคนเวียดนามอพยพทั้งสิ้น 75 เที่ยว
นับจ�ำนวนคนได้ 46,256 คน และนครพนม พิธีส่งชาวเวียดนามกลับสู่ภูมิล�ำเนาเดิมในปี 2506
ถือเป็นจังหวัดที่มีคนอพยพกลับมากที่สุด
15,815 คน สร้างไว้เป็นอนุสรณ์แก่ชาวนครพนม สร้างเมือ่
“สิ่ ง ที่ ร ะลึ ก ที่ เ รี ย กว่ า เหวี ย ดเกี่ ย ว พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ด้านบนหอนาฬิกา
อนุสรณ์ เพื่อระลึกถึงการด�ำรงอยู่ของคน จารึกไว้ดังนี้ “ชาวเวียดนามอนุสรณ์ คราว
เวียดนามทีเ่ กิดขึน้ ในหลายพืน้ ทีข่ องจังหวัด ย้ายกลับปิตุภูมิ Viet Kieu Luu Niem Dip
นครพนมก็ คื อ หอนาฬิ ก านครพนมเป็ น Hoi Hong 2503” ด้านในหอนาฬิกาเขียนว่า
สัญลักษณ์การอพยพกลับคืนสู่แผ่นดินเกิด “ชาวเวียดนามอนุสรณ์ Viet Kieu luu niem”
ชาวเวียดนามต้องการสร้างอนุสรณ์สถาน อาจารย์สุริยา ค�ำหว่าน
หอนาฬิกาปัจจุบัน แก่การเดินทางกลับอยู่ในพื้นที่หอกระจาย สาขาวิชาภาษาเวียดนาม
ข่ า วเก่ า เป็ น นาฬิ กาเวี ย ดนามอนุ ส รณ์ มหาวิทยาลัยนครพนม
16 17
The Motherland

นอกจากชาวเวียดนามจะสร้างหอนาฬิกาเพือ่ เป็นอนุสรณ์สถานก่อน สมาคมเหวียดเกีย่ วฮาติง่ ห์ คือสมาคม จะจั ด งานรื่ น เริ ง ให้ มี ร� ำ วงและงานมงคล
กลับแล้ว ยังสร้างซุม้ ประตูวดั โพธิศ์ รีซงึ่ ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ โขง และซุม้ ประตูวดั ที่ดูแลคนเวียดนามที่เกิดอยู่ในประเทศไทย งานแต่งงาน สมาคมจะจัดให้มรี ำ� วงเพือ่ ร�ำลึกถึง
ภูเขาทอง ทางเข้าบ้านนาจอกเพื่อเป็นอนุสรณ์เพื่อบันทึกความทรงจ�ำใน อาศัยอยูใ่ น จ.ฮาติง่ ห์ ทัง้ 8 อ�ำเภอ ปัจจุบนั นี้ ตอนที่พวกเราอาศัยอยู่ในประเทศไทย
เหตุการณ์นั้นอีกด้วย มีทงั้ หมด 50 ครอบครัว ผมเกิดในประเทศไทย ในปี 1960 ตามสั ญ ญาระหว่ า ง
คนเวียดนามผู้รักชาติที่กลับคืนสู่แผ่นดินมาตุภูมิ ในเหตุการณ์ที่ และกลับเวียดนาม กลับมาก็เจอสงครามกับ 2 ประเทศให้คนเวียดนามทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย
เรียกว่า “เหวียดเกีย่ วโห่ยเฮือง” ในระหว่าง ปี ค.ศ. 1960-1964 มีหลายคน อเมริกาเริ่มปี 1964 ช่วงสงครามลูกหลาน ได้กลับมาสู่มาตุภูมิ กลุ่มคนเหวียดเกี่ยวมี
หลายครอบครัวจ�ำนวนมาก ทีม่ ภี รรยาเป็นคนไทยหรือมีลกู ๆ เกิดทีเ่ มืองไทย กลับมาจากเมืองไทยก็สมัครเป็นทหารร่วมรบ การอยูด่ กี นิ ดีขนึ้ ส่วนมากเป็นคนทีม่ คี วามรู้
ปัจจุบันพวกเขายังได้พบปะรวมตัวกันเพื่อพูดคุย ท�ำกิจกรรมกลุ่มต่างๆ ต่อต้านกับอเมริกา ร่วมรบเพื่อปลดปล่อย หลายด้ า นเพื่ อ พั ฒ นาประเทศและสร้ า ง
ในนามสมาคมเหวียดเกี่ยวฮาติ่งห์อยู่เสมอ ประเทศ สมาคมจัดตั้งขึ้นมาเพื่อยกระดับ ครอบครัวตัวเอง ผมได้กลับมาเป็นเจ้าหน้าที่
ความสัมพันธ์อนั ดีงามของประเทศเวียดนาม ทหารเป็นข้าราชการของประเทศเวียดนาม
และประเทศไทย ในวันส�ำคัญของ 2 ประเทศ สมาคมเหวี ย ดเกี่ ย วฮาติ่ ง ห์ ไ ด้ ท� ำหน้ า ที่
มุมสูงเมืองฮาติ่งห์ คือวันพ่อ 5 ธันวา วันเฉลิมพระชนพรรษา ต้อนรับนักท่องเทีย่ วคนไทยทีม่ าเยีย่ มฮาติง่ ห์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ได้ ท� ำ ดี ที่ สุ ด แล้ ว ในฐานะคนเวี ย ดนาม
เราจัดตั้งให้เป็นวันชาติไทย ทางสมาคม คนหนึ่ง

เหวียน วัน ถิน่


นายกสมาคมเวียดนาม-ไทย
ของจังหวัดฮาติง่ ห์ ประเทศเวียดนาม

เหวียดเกี่ยว จ.ฮาติ่งห์
18 19
The Motherland

ที่บ้านเติ่นเกี่ยว อ.เฮืองเค จ.ฮาติ่งห์ ทุกข์ยากล�ำบาก มาไม่กเี่ ดือนก็เกิดสงคราม


คื อ หมู ่ บ ้ า นเหวี ย ตเกี่ ย วอพยพกลั บ คื น สู ่ กับอเมริกา ทุกๆ เดือนทางการจะเอาข้าวสาร
มาตุภูมิที่มีภรรยาเป็นคนไทย เริ่มแรกที่นี่ มาให้ “สะใภ้ลุงโฮจะได้ข้าวสาร 15 กิโล
อยู่รวมกัน 6 ครอบครัว พอลูกหลานมี ต่อเดือน” คนเวียดนามจะได้ 13 กิโล ส่วนเด็ก
ครอบครัวชุมชนจึงขยายตัวใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ก็จะลดหลัน่ ตามอายุ อ.เฮืองเค อยูบ่ นภูเขา
ส่วนภรรยาคนไทยที่ตามสามีกลับมานั้นจะ และมีการท�ำถนนเพือ่ ส่งอาวุธอาหารไปรบที่
ถูกเรียกแทนตัวเองว่าเป็น “สะใภ้ของลุงโฮ” ภาคใต้ แถวนี้อเมริกามันมาทิ้งระเบิดทั้งวัน
จะได้รบั การดูแลจากนโยบายของประธานาธิบดี ทั้งคืนกลัวมากไม่เคยเห็นต้องเข้าไปหลบ
โฮจิมินห์เป็นอย่างดี ในป่าจนกว่าสงครามจะจบ พอสงครามสงบ
“ชือ่ สง ขยันท�ำ อายุ 90 ปี ชาวยโสธร ชีวิตก็ดีขึ้น” ฮว่าง ถิ ลาน
มาอยู่เวียดนาม 60 กว่าปีแล้ว มาเวียดนาม
กับสามีและลูกสาวอีก 4 คน ตอนแรกพูด ยายสง ขยันท�ำ
ภาษาเวี ย ดนามไม่ ไ ด้ เ ลยต้ อ งหั ด เรี ย น เหวียดเกี่ยวฮาติ่งห์ “ เมือ่ สมัยอยูท่ เี่ มืองไทยบ้านเกิดของ มาอยู่ไปไหม แม่บอกว่าไปจะได้มีคนพูด
ทางการส่ ง คนมาสอน ช่ ว งแรกมาอยู ่ นี่ แม่คอื บ้านเหล่าหุง่ อ.ค�ำเขือ่ นแก้ว จ.ยโสธร ไทยด้วย มาได้ 2 เดือนก็เกิดสงคราม มาอยู่
ตอนนั้ น ป้ า อายุ 14 ปี ก� ำ ลั ง จะขึ้ น ม.1 ทีน่ กี่ เ็ ริม่ มีความรูส้ กึ รักชาติ ลุงโฮบอกให้เรา
พ่อได้ยินข่าวในวิทยุโฮจิมินห์ประกาศให้ ทุกคนต้องช่วยกันตีอเมริกาออกจากภาคใต้
คนเวียดนามกลับมาพัฒนาชาติ พ่อบอกว่า ให้ได้ ป้าต้องไปเป็นอาสาสมัครช่วยขุดท�ำ
อยากกลับบ้านเกิดเมืองนอน แม่ตัดสินใจ ถนนไปไซ่ง่อน ผู้ชายต้องถือปืนคอยยิง
ไม่ได้ก็เลยมากับพ่อ ขึ้นเรือกลับที่ท่าเรือ เครื่องบินของอเมริกา อเมริกามันทิ้งระเบิด
คลองเตยนั่งอยู่บนเรือ 7 วัน 7 คืน มองไป เพือ่ ไม่ให้เราท�ำถนนไปไซง่อนส�ำเร็จเพือ่ ส่ง
ทางไหนก็ มี แ ต่ ท ะเล เรื อ จอดที่ ไ ฮฟอง อาวุธ อาหารไปช่วยไซง่อน”
คนของทางการถามว่ า อยากไปที่ ไ หน
ตอนนั้นบ้านเกิดของพ่อไม่มีญาติอยู่แล้ว ฮว่าง ถิ ลาน
จึงแจ้งว่าจะมาฮาติ่งห์ ทางการบอกว่าต้อง ลูกสาวยายสง ขยันท�ำ
ขึ้นไปอยู่บนภูเขาที่เฮืองเคที่นั่นมีคนไทย เหวียดเกี่ยวฮาติ่งห์
เหวียดเกี่ยวฮาติ่งห์

20 21
The Motherland

30 เมษายน ค.ศ. 1975 ไฟสงครามมอดดับลง เวียดนามสามารถรวมประเทศและประกาศ


เอกราชได้ ชาวเหวียดเกี่ยวจากเมืองไทยก็ยังคงด�ำรงชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของสังคมเวียดนาม
ขณะที่ในประเทศไทยเอง กลุ่มคนเวียดนามโดยเฉพาะกลุ่มญวนใหม่ที่เข้ามาในภายหลัง ก็ได้
รับการยอมรับทางสถานะมากขึ้นจากนโยบายของรัฐไทย จนในทุกวันนี้พวกเขาทั้งหมด ก็คือ
คนไทยเชือ้ สายเวียดนาม ทีด่ ำ� รงอยูค่ กู่ นั ไปกับคนพืน้ ถิน่ ในภาคอีสานของไทยอย่างกลมเกลียว
ทั้งยังเป็นส่วนส�ำคัญในการพัฒนาเมือง พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมให้เกิดความผาสุก
บนผืนดินไทย ในจังหวัดนครพนม

จัตุรัสประธานโฮจิมินห์ เมืองวิงห์ จ.เหง่อาน

22 23
24 25
2
Thai -Viet
Agriculturist
“เกษตรไทย
สไตล์คนเวียด”
“เกษตรกรรม” เป็นหนึ่งในอาชีพดั้งเดิมของคนไทยเชื้อสาย
เวียดนามที่อยู่ควบคู่มากับชุมชนบ้านนาจอก บ้านต้นผึ้ง และ
บ้านดอนโมง โดยทั้ง 3 ชุมชนนี้มีพื้นที่เชื่อมต่อกัน จึงท�ำให้
กลายเป็นแหล่งผลิตผักที่ใหญ่ที่สุดในเขตอ�ำเภอเมือง ของ
จังหวัดนครพนม

26 27
Thai-Viet Agriculturist

อดีตทีผ่ า่ นมา กล่าวกันว่ามีจำ� นวนคน ในการท�ำสวนสไตล์เวียดนามนัน้ จะมี


ปลูกผักมากกว่า 100 หลังคาเรือน การปลูกผัก ลักษณะเป็นสวนผสมผสาน มีความหลากหลาย
เป็นงานทีต่ อ้ งช่วยกันท�ำกันทัง้ ครอบครัว ในช่วง ทัง้ การปลูกไม้ยนื ต้นทีเ่ ป็นพืชระยะยาว เช่น
เวลาเย็นจะเห็นพ่อขุดดิน แม่ถอนผัก ส่วนลูกๆ ต้นหมาก ต้นมะพร้าว ต้นพลูและต้นชา
ก็ช่วยกันถอนหญ้าดึงสายยางรดน�้ำผักและ รวมถึ ง การปลูกพืชผักระยะสั้น อย่างเช่น
ล้างผักใส่เข่ง ภาพแบบนี้จะเป็นภาพที่เห็น ผักกาดหอม กวางตุง้ ผักบุง้ ต้นหอม ผักชี
จนชินตาเมือ่ เข้ามาภายในหมูบ่ า้ นของคนไทย ผักปอ ผักปลัง ผักอีโต ใบกระเพรา ฯลฯ
เชื้อสายเวียดนาม แต่ปัจจุบันจะไม่ค่อยมี ที่ดินของชาวสวนที่นี่จึงถูกใช้อย่างคุ้มค่า
ภาพเหล่านั้นให้เห็นแล้ว เพราะคนท�ำอาชีพ ไม่ปล่อยให้ว่างเว้น หมดผักชนิดหนึ่งก็จะ
ปลู ก ผั ก น้ อ ยลงมากทุ ก วั น นี้ ก็ เ หลื อ เพี ย ง ปลูกผักชนิดใหม่ทันที
ไม่ถงึ 10 หลังคาเรือน อย่างไรก็ตามแปลงผัก ลักษณะแปลงผักที่คนไทยเชื้อสาย
บ้านนาจอกนี้ ก็ยังคงเป็นแหล่งท่องเที่ยว เวียดนามท�ำจะมีความกว้างประมาณ 1 เมตร
แหล่งเรียนรู้ด้านการปลูกผักปลอดสารที่มี ส่วนความยาวก็แปรเปลีย่ นไปตามขนาดของ ผักสแล็ก หรือ ผักสลัด (ผักกาดหอม)
คุณภาพของจังหวัดนครพนม หน้าดิน ระหว่างแปลงผักจะขัน้ ด้วยร่องทาง
เดิน 1 ฟุต เพื่อใช้เป็นทางเดินส�ำหรับการ สามารถน� ำ ไปกิ น กั บ อาหารเวี ย ดนามได้
รดน�ำ้ ถอนหญ้า ซึง่ สามารถท�ำได้อย่างทัว่ ถึง หลากหลายชนิด เช่น ย�ำสลัดเวียดนาม
ขณะเดียวกันแปลงผักทีม่ ลี กั ษณะเรียวยาวก็ แนมเหนือง เมีย่ งปลาเผา ปอเปีย๊ ะเวียดนาม
ช่วยให้ปลูกผักได้หลายชนิดมากขึน้ ขัน้ ตอน คนไทยเชือ้ สายเวียดนามมีชอื่ เสียงเรือ่ งการ
การปลูกผักเริม่ จากการขุดพรวนดิน ถอนหญ้า ปลูกผักกาดหอมได้สวยงามมีล�ำต้นอวบ
ใส่ปุ๋ยคอก หว่า นเมล็ดพันธุ์ผักในแปลง ทีส่ ำ� คัญคือการไม่ใช้สารเคมีใดๆ ในการปลูก
อนุบาล เมือ่ ผักโตก็จะถอนกล้าผักไปปลูกใน จึงเป็นทีต่ อ้ งการของผูบ้ ริโภค นอกจากนีย้ งั
แปลงใหม่ เว้นช่องไฟในแปลงผัก ให้ผักได้ มีการปลูกผักเฉพาะถิ่นของคนไทยเชื้อสาย
มีพื้นที่แทงช่อแตกแขนง เวียดนามได้แก่ ผักปลัง ผักปอ ผักอีโต
“ผักสแล็ก” และ “ผักสลัด” เป็นชื่อ ในอดีตผักกลุม่ นีจ้ ะปลูกไว้กนิ กันเองในกลุม่
ที่คนไทยเชื้อสายเวียดนามนิยมเรียกแทน คนไทยเชื้อสายเวียดนามแต่ปัจจุบันนี้นิยม
ผักกาดหอม เป็นผักที่นิยมปลูกมากที่สุด กินกันอย่างแพร่หลายเช่นเดียวกับผักสลัด

28 29
Thai-Viet Agriculturist

“ตั้ ง แต่ โ ตมาจ� ำ ความได้ พ ่ อ แม่ ก็ มี


อาชีพปลูกผักท�ำสวน หน้าทีข่ องป้ามีตอนเด็ก
ก็คอื รดน�ำ้ ผัก ถอนหญ้า พอโตมาอายุได้
10 ขวบ ก็ตอ้ งไปขายผักในตลาด เริม่ ต้นฤดู
ปลูกผักคือช่วงกันยายน จะปลูกกวางตุ้ง
ผั ก กาดหอม พอใกล้ ถึ ง ปี ใ หม่ ก็ จ ะปลู ก
ผักกะหล�ำ่ ดอก พอกะหล�ำ่ ดอกหมดก็จะปลูก
ป้ามี
ผักสลัด (ผักกาดหอม) เพราะมีความต้องการ
ในหลายตลาดร้านเช่นร้านก๋วยเตีย๋ ว ปลาเผา
แนมเหนือง ต้องมีผักสลัดกินด้วย ผักโขม
ก็ปลูก เค้าเอาไปท�ำผักโขมอบชีสกับลวกกิน
ส่วนเมล็ดพันธุ์ที่ผักเราจะปลูกตั้งแต่เริ่มต้น
ฤดูปลูกผักคือช่วงกันยายน-ตุลาคม ที่ต้อง
เพาะพันธุผ์ กั เอง เพราะสายพันธุข์ องผักไทย แกงผักปล้ง - ใบปอ
และผักเวียดนามต่างกัน ผักกาดคนไทยมี เมล็ดพันธ์ุผัก
ผักกาดสร้อยแต่ของเวียดนามเรียกผักกาด ปลูกผักไม่ให้เมล็ดพันธุ์โดนฝนไม่งั้นจะฝ่อ ผักปลัง มีชอื่ เรียกในภาษาเวียดนาม
เขียว ผักตั้งโอ๋ทั่วไปใบจะใบใหญ่เป็นพันธุ์ ปลูกแล้วขึ้นไม่ดี เมื่อต้นพันธุ์แก่จัดลองบี้ดู คือ “หม่องเตย” ผักปอ เรียก “เยาใด”
จากจีนแต่พันธุ์ของเวียดนาม ผักตั้งโอ๋จะมี ถ้าเม็ดแก่เต็มที่ก็จะตัดมาตากแดดจนแห้ง ความพิเศษของผักชนิดนี้จะนิยมปลูกช่วง
ใบเล็ก ส่วนเมล็ดพันธุ์ผักจะเพาะช่วงต้นฤดู เก็บไว้ใช้ เหลือใช้ก็จะแบ่งขายเป็นรายได้ เข้าฤดูร้อน คนเวียดนามนิยมซื้อเพราะผัก
อีกทาง พอหมดฤดูทำ� สวนผักหลังสงกรานต์ ทั้งสองชนิดเพราะมีฤทธิ์เป็นยาเย็น ปู่ ย่า
ผักปล้ง ตา ยายสอนต่อๆ กันมาว่ากินแล้วท้องจะ
ทีส่ วนผักก็จะปลูกข้าวโพดข้าวเหนียว บางบ้าน
ก็ปลูก งา ถัว่ ด�ำ แทนผักสวน จะไม่ปล่อยให้วา่ ง เย็นไม่เป็นร้อนใน นิยมน�ำมาแกงร่วมกันใส่
จะปลูกตลอดปี” กุ ้ ง แห้ ง เพิ่ ม เป็ น ส่ ว นประกอบ แกงจะมี
ลักษณะเป็นเมือกกลืนได้คล่องคอนิยมกิน
บุญมี กองพลศรีสิริ (ป้ามี) กับมะเขือดองลูกเล็กๆ กินคู่กันถึงจะครบ
อายุ 64 ปี ชาวสวนบ้านนาจอก เครื่องตามแบบฉบับเมนูเวียดนาม
ผักกาดหอม ผักปอ
30 31
Thai-Viet Agriculturist

“เมื่อก่อนพ่อแม่ท�ำสวนผัก หน้าที่ ไปขายในตลาด ล�ำบาก หน้าหนาวก็ตอ้ งไป


ของลุงก็คือดึงน�้ำจากบ่อใส่บัวรดน�้ำหาบไป บางคนก็ไม่ได้ไปขายเองมีแม่ค้าในหมู่บ้าน
รดผักแล้วก็ไปโรงเรียน กลับมาก็รดน�้ำผัก ไปขายให้เราเอาไปส่งทีบ่ า้ นพอเค้าขายหมด
ท�ำอยู่แบบนี้ทุกวัน หมดฤดูท�ำสวนผักก็ไป ก็จะจ่ายเงินให้เป็นรายสัปดาห์ สมัยนี้มี
ท�ำนาเกีย่ วข้าวในนา เสร็จแล้วก็มาท�ำสวนผัก รถยนต์กันหมดแล้วลุงไปส่งป้าที่ตลาดตอน
หลังบ้านท�ำเป็นวงจรแบบนี้มานาน ตอนนี้ ตี 3 ส่งป้าเสร็จลุงก็กลับมาขุดดินต่อรอเวลา
ท�ำนาไม่ไหวแล้วท�ำได้แต่สวนผักอย่างเดียว ไปรับ 8-9 โมงก็ขายเสร็จ ช่วงเย็นๆ ก็ออกมา
ท�ำกันกับป้า 2 คน ท�ำมาด้วยกันตั้งแต่ ถอนหญ้า ถอนผัก รดน�ำ้ ผัก ล้างผักเตรียมไว้
แต่งงานอยู่กินกันมา ลุงเคยเลิกท�ำสวนผัก ไปขายตอนเช้า ตลาดเช้ามืดจะมีคนบ้าน
ไปท�ำอาชีพช่างทัง้ ทีต่ า่ งจังหวัดและต่างประเทศ นาจอกมานั่งขายผักติดๆ กัน ส่วนมากเค้า
ไปแล้วก็ยังกลับมาท�ำสวนอีก มันไม่รู้จะท�ำ มารับไปขายต่ออีกที แล้วก็ร้านอาหารที่ใช้
อะไร เรามีที่ดินอยู่แล้วและเคยท�ำมาก่อน ผักเยอะๆ ก็มาซื้อ เดี๋ยวนี้คนรุน่ ก่อนก็แก่ขนึ้
มันเป็นอาชีพที่มีความสุขนะ ได้ดูผักมันโต เรือ่ ยๆ เลิกท�ำกันหลายบ้าน ผักที่ลุงเส็งปลูก
และเราก็ได้กินผักปลอดสาร คนซือ้ ก็ได้กนิ ก็คือผักสลัด ผักปอ ผักปลัง ใบกะเพราและ
ผักปลอดสารมีความสุขกับการท�ำสวนผัก ผักอีโตได้รบั ความนิยมมากเพราะสามารถน�ำ
ถ้าให้เปรียบเทียบราคาผักสมัยนีก้ บั เมือ่ ก่อน ไปกินกับเมนูอาหารเวียดนามได้หลากหลาย
รายได้ดีกว่ามาก เมื่อก่อนผักสลัดกิโลละ เมนู เช่ น ปอเปี ๊ ย ะทอด แนมเหนื อ ง
3 บาท ขายเข่งนึงได้ไม่กบี่ าท บางครัง้ ถูกจน ก๋วยเตี๋ยว”
ขายไม่ได้ คนท�ำเยอะราคาเลยถูก ปัจจุบนั
นีก้ โิ ลนึงขัน้ ต�ำ่ 35 บาท สูงสุดกิโลละ 70 บาท นายสิงห์ เวียนศรี (ลุงเส็ง)
ก็มี เดือนนึงขายได้หลักหมื่น ช่วงเทศกาล อายุ 65 ปี ชาวสวนบ้านต้นผึ้ง
ไม่พอขาย ทีบ่ า้ นจะปลูกเองขายเอง เมือ่ ก่อน
ไม่มรี ถยนต์ตอ้ งใส่รถเข็นผักพ่วงมอเตอร์ไซด์

32 33
Thai-Viet Agriculturist

ชาบ้านนาจอก เรียกว่า “แจ่แซ็ง” คือ


ชาอัสสัมเป็นชนิดเดียวกันกับชาพื้นเมือง
ชาป่า หรือเมี่ยง ที่ปลูกบนภูเขาสูงทางภาค
เหนือของประเทศไทย วัฒนธรรมการดืม่ ชา
ของคนเวียดนามนั้น จะนิยมดื่มกันเป็น
ประจ�ำทุกวัน ยามใดทีม่ แี ขกมาทีบ่ า้ น น�ำ้ ชา
จะถูกจัดเตรียมไว้ตอ้ นรับ เช่นเดียวกันกับใน
งานศพ งานบุญ งานประเพณีพธิ กี รรมต่างๆ แม่ค้าขายใบชาสดเมือง วิงห์ จ.เหง่อาน
น�้ำชาก็จะถูกจัดเตียมไว้ส�ำหรับการต้อนรับ
แขกเหรื่อ จึงเป็นเหตุให้ทุกบ้านทุกหลังคา
เรือน ต้องมีการปลูกต้นชาไว้เพือ่ จุดประสงค์
ข้างต้น ความนิยมในดื่มชาของชาวบ้าน
นาจอกยังสอดคล้องไปกับความนิยมในการ
ดื่มชาของคนเวียดนามในจังหวัดเหง่อาน
แจ่แซ็ง ชาเขียวเวียดนาม และจังหวัดฮาติ่งห์ของประเทศเวียดนาม แม่ค้าขายใบชาสด จ.ฮาติ่งห์
ซึง่ เป็นแผ่นดินมาตุภมู ทิ บี่ รรพบุรษุ ได้อพยพ
จากมานั่นเอง ในปากและชุม่ คอ ดืม่ แล้วจะรูส้ กึ ตืน่ ตัวคล้าย
ต้นชาเขียวชอุ่มที่ปลูกในบ้านนาจอก กับการดื่มกาแฟ
เป็นการขยายพันธุจ์ ากต้นดัง้ เดิมที่ได้มาจาก ในส่วนของการขยายพันธุ์ต้นชานั้น
เมืองเหง่อานและเมืองฮาติง่ ห์ในภาคกลางของ สามารถปลูกได้ด้วยเมล็ด หากมีการบ�ำรุง
ประเทศเวียดนาม ในตลาดสดของ 2 เมืองนี้ ดูแลรักษาที่ดี ต้นชาก็จะมีอายุยืนยาวได้
จะต้องมีร้านรวงชาอัสสัมตั้งขายอยู่ทุกซอก มากกว่า 10 ปี ต้นชาไม่ชอบแดดจัดจะขึ้น
ทุกมุม ตามบ้านพักอาศัยทุกหลังก็จะนิยม ได้ดีในที่ที่มีต้นไม้ใหญ่ปกคลุม มีแดดแค่
ต้มดืม่ แทนน�ำ้ เปล่าเลยว่าก็ได้ คนเวียดนาม เพียงร�ำไร ดินที่บ้านนาจอกเป็นดินดีปลูก
ต้นชาอัสสัม ใบชาตากแห้ง นิยมจะนิยมกินชาเข้มๆ จิบเข้าไปจะรู้สึก อะไรก็ขึ้น ชาวบ้านนาจอกจะเรียกดินที่มี
ฝาดได้กลิ่นหอมและซักพักจะรู้สึกหวาน ลักษณะนี้ว่า “ดินหวาน”
34 35
Thai-Viet Agriculturist

“เมื่อสมัยก่อนบ้านนาจอกมีอยู่ 150
หลังคาเรือน บ้านทุกหลังจะปลูกชาอัสสัม
กันหมด ตอนนั้นมีแต่ชาวเวียดนามและคน
จีนที่นิยมดื่ม แต่ปริมาณคนปลูกก็น้อยลง
เรือ่ ยๆ จนเมือ่ มีการส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิง
ประวัตศิ าสตร์บา้ นลุงโฮจิมนิ ห์ มีนกั ท่องเทีย่ ว
เข้ามาในหมูบ่ า้ นจ�ำนวนมาก จึงคิดหาของฝาก
ทีเ่ ป็นจุดเด่นของบ้านนาจอกขึน้ ได้รบั ความ
นิยมเป็นอย่างมาก จึงชวนคนในหมูบ่ า้ นให้ปลูก กรกนก วงศ์ประชาสุข
กันเยอะขึน้ ปัจจุบนั ขายดีมากแทบจะไม่พอขาย
ชาบ้านนาจอกคือชาอัสสัมมีชอื่ เรียกในภาษา ไม่ชอบแดดจัดต้นจะเหลืองใบไม่สวย ต้นชา
เวียดนามคือ “แจ่แซ็ง” ทุกส่วนของชา ที่ปลูกรอบบ้านเห็นสวยๆ แบบนี้เรารดน�้ำ
ดื่มได้หมดไม่ว่าจะเป็น กิ่ง ใบแก่ ใบอ่อน มันทุกวัน ถ้าอากาศร้อนจัดเช้าก็รดเย็นก็รด
ดอกชา สามารถต้มท�ำเป็นชาได้ท้ังหมด บ้านหลังนี้มีที่ดิน 5 ไร่ ต้นชาปลูกหนาแน่น
นอกจากการดืม่ แบบสดแล้วยังมีการตากแห้ง ที่สุด กินเนื้อที่เกินครึ่ง ถือเป็นแปลงชาที่
บรรจุลงถุงสามารถเก็บไว้ได้นาน และยังมี ใหญ่ที่สุดในหมู่บ้านและบ้านนาจอกยังเป็น
ดอกชาตากแห้งทีอ่ อกดอกเพียงปีละหนึง่ ครัง้ แหล่ ง ปลู ก ชาเขี ย วอั ส สั ม ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน
น�ำมาตากแห้งก็ได้รบั ความนิยม ก่อนหน้านี้ จังหวัดนครพนม”
คนปลูกน้อยลง ชาวบ้านเลิกท�ำสวนเยอะ
เพราะอายุทมี่ ากขึน้ ประกอบกับบางบ้านโดน กรกนก วงศ์ประชาสุข
ปลวกท�ำลายกัดกินต้นชาและปัญหาโลกร้อน อายุ 51 ปี คนปลูกชาบ้านนาจอก บ้านลุงโฮจิมินห์
ก็เป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ต้นชาตาย ต้นชา

36 37
ตอนที่ 5 Thai-Viet Agriculturist

แม้ วั น นี้ จ ะไม่ มี ใ ครรู ้ ไ ด้ ว ่ า อาชี พ ทาง


การเกษตร อย่างเช่นการปลูกชา การท�ำ
สวนผั ก หรื อ การเพาะปลู ก ในรู ป แบบอื่ น
จะค่อยๆ เลือนหายไปในไม่ช้า หรือว่าจะมี
คนรุ่นต่อไปน�ำอาชีพทางการเกษตรนี้ไป
ผสมผสานเชือ่ มโยงให้เข้ากับบริบทใหม่ทาง
สังคม แต่อย่างน้อยที่สุด คนไทยเชื้อสาย
เวียดนามที่ยังคงท�ำเกษตรกรรมในทุกวันนี้
ก็ลว้ นมีความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ใน
การสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา และความ
มุ ่ ง มั่ น บากบั่ น ในการประกอบอาชี พ
เพื่อสร้างชีวิต สร้างครอบครัว สร้างชุมชน
และสังคมให้มีความผาสุข รวมถึงยังได้เป็น
ส่ ว นหนึ่ ง ของการสร้ า งความมั่ น คงทาง
อาหารที่ปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค

มุมสูงบ้านลุงโฮจิมิน

38 39
3
Spirit of Us
จิตวิญญาณ
แห่งชุมชน
ศาลเจ้าเป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิส์ ำ� หรับการประกอบพิธกี รรมทาง
ความเชื่อของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม โดยมี “เถ่ย” เป็นคน
ท�ำหน้าทีส่ อื่ สารระหว่างเทพเจ้าหรือบรรพบุรษุ ผูล้ ว่ งลับหรือลูก
หลานที่ยังมีชีวิตอยู่ ขณะที่ระบบ “หล่าง” ก็คือระบบการดูแล
ทุกข์สุขที่ยึดโยงกับศาลเจ้าประจ�ำชุมชน ประเพณีที่สืบทอด
ต่ อ กั น มานี้ ก็ คื อ จิ ต วิ ญ ญาณแห่ ง ชุ ม ชนคนไทยเชื้ อ สาย
เวียดนาม
Spirit of Us

“เถ่ย” แปลตรงตัวในภาษาเวียดนาม คือ ครู-อาจารย์ แต่เมื่อมารับหน้าที่


ในประกอบพิธีกรรมจะเรียกว่า “เถ่ยกุ๋ง” อาจารย์ผปู้ ระกอบพิธกี รรมตาม
ประเพณีของคนไทยเชือ้ สายเวียดนาม แต่นิยมเรียกสั้นๆ กันว่า “เถ่ย”
โดยจะมีหน้าที่เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมใน 2 ส่วนหลัก หรือแล้วแต่ละชุมชน
อาจแตกต่างกันไป
1. ประกอบพิธีกรรมในศาลเจ้าของชุมชน จะเป็นหัวหน้าผู้ด�ำเนิน
งานในพิธีกรรมซึ่งแต่ละงานจะมีบทสวดที่แตกต่างกัน “เถ่ย” จะเป็นผู้ท่อง
บทไหว้และสั่งให้ผู้ช่วยปฏิบัติตาม เช่น ไหว้เจ้ากี่ครั้ง รินเหล้าให้กับเจ้า
องค์ตา่ งๆ การไหว้เจ้าคือการแสดงออกถึงความเคารพบูชาเพือ่ ให้เทพเจ้า
ทีส่ ถิตย์ในศาลเจ้าชุมชนให้ปกปักษ์รกั ษาคนในชุมชนให้อยูด่ มี สี ขุ ไม่เจ็บไข้
ท�ำมาหากินเจริญรุ่งเรื่อง อยู่เย็นเป็นสุข
2. ประกอบพิธกี รรมงานภายในชุมชน เช่น ในงานศพ จะเป็นคนดู
ฤกษ์ยามตามปฏิทนิ ทางจันทรคติของเวียดนาม เพือ่ ท�ำพิธบี รรจุศพลงหีบ
ในส่วนขัน้ ตอนกระบวนการทัง้ หมดและเมือ่ ฝังไปแล้วก็จะมีพธิ กี รรมท�ำบุญ
3 วัน 50 วัน 100 วัน และครบรอบวันตายประจ�ำปี รวมถึงพิธสี ง่ กงเต๊กด้วย
การท�ำบุญ 3 วัน ถือเป็นงานส�ำคัญที่สุด เพราะคือการเปิดม่านตาบอกให้
เขารู้ว่าตายแล้ว งานครบ 100 วัน คือการท�ำพิธีแจ้งกับบรรพบุรุษว่าได้มี
ลูกหลานคนในตระกูลเสียชีวติ ขอให้มารับดวงวิญญาณคนตายไปอยูร่ ว่ มกับ พิธีเข้าทรง งานสะเดาะเคราะห์ชุมชนโพนบก
บรรพบุรุษในภพภูมิที่เหมาะสมด้วย

อาจารย์อุทัย เจริญธนกุล อายุ 85 ปี


“เถ่ยกุ๋ง” ประจ�ำชุมชนโพนบก

42 43
Spirit of Us

“ปู่ของอาจารย์เคยเป็น “เถ่ย” ประจ�ำ


ชุมชนโพนบกมาก่อน เราเห็นและคุน้ เคยมา การเป็น “เถ่ยกุ๋ง” หรือซินแสประจ�ำชุมชนได้ นอกจากความสามารถด้าน
ตั้งแต่เด็ก พอโตขึ้นได้ไปเรียนหนังสือที่อื่น การอ่านเขียน ภาษาเวียดนามอย่างแตกฉาน ยังต้องพร้อมไปด้วยวัยวุฒแิ ละคุณวุฒิ
ได้รบั ข้าราชการครูจงึ ไม่ได้รบั ช่วงต่อเพราะ การหาผูส้ นใจมาสืบทอดต�ำแหน่ง เถ่ย ประจ�ำชุมชนจึงไม่ใช่เรือ่ งง่ายนัก บางชุมชน
การเป็นเถ่ยในอดีตนั้นถือเป็นงานเสียสละ เมื่อ “เถ่ย” คนก่อนเสียชีวิตลง ขาดผู้สืบทอดการประกอบพิธีกรรมในศาลเจ้า
ไม่มีค่าตอบแทนจะได้ของไหว้เป็นสินน�้ำใจ จึงต้องใช้เสียงบรรยายจากเครือ่ งเล่นเทปก็มี เช่น ชุมชนนาราชควายกลาง เป็นชุมชน
เช่น ไก่ หมู ผลไม้ อาหาร คนในครอบครัว คนไทยเชื้อสายเวียดนามเก่าที่เข้ามาอาศัยในประเทศไทย 100 กว่าปี ปัจจุบัน
จึงส่งเสริมให้เรียนเพือ่ เข้ารับราชการ จนเมือ่ อาจารย์อุทัย ทั้งผู้คนถูกกลืนเข้ากับคนพื้นถิ่น นิยมพูดภาษาอีสานกันเป็นส่วนมาก คนรุ่นใหม่
เกษียณอายุราชการมีเวลาว่าง จึงสนใจ ไม่สามารถพูดเวียดนามได้เลย ปัจจุบันมีเพียงผู้สูงอายุไม่กี่คนที่ยังพอพูดภาษา
อยากมาสืบสานท�ำงานให้ชมุ ชน เพราะขณะนัน้ ใช้ในปี 1889-1907 เหรียญเงินนี้เรียกว่า เวียดนามได้ การไหว้ศาลเจ้าชุมชนก็ยังคงด�ำเนินพิธีกรรมการไหว้เจ้าอยู่เพียงแต่
ชุมชนโพนบกก็ก�ำลังขาดช่วงผู้สืบสานต่อ “ซินแกว” เป็นการโยนเหรียญเพื่อสื่อสาร ไม่มี “เถ่ย” ในการเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม ชาวบ้านจึงแก้ปัญหาด้วยการน�ำเทป
จึงไปเรียนกับอาจารย์ต่างหมู่บ้านในชุมชน แสดงการรับรู้โต้ตอบของวิญญาณผู้เสียชีวิต ทีเ่ คยบันทึกเสียงอาจารย์ผทู้ ำ� พิธีในหมูบ่ า้ นคนเก่ามาเปิดและปฏิบตั ขิ น้ั ตอนพิธกี รรม
วัดป่าท่านให้ เอาต�ำรามาท่อง ช่วงวัยเด็กนัน้ กับลูกหลาน เหรียญนึงคว�่ำเหรียญนึงหงาย ฟังเสียงทีบ่ รรยายในเครือ่ งเล่นเทป ในขณะทีช่ มุ ชนบ้านนาจอก กลับมีผทู้ กี่ ำ� ลังเรียนรู้
เห็นปู่ได้ท�ำหน้าที่นี้จึงไม่ยากนักที่จะเรียนรู้ แปลว่าดวงวิญญาณรับรู้และอนุญาตตาม เพือ่ ท�ำหน้าที่ “เถ่ยกุง๋ ” ปัจจุบนั เขาก�ำลังเรียนรูข้ นั้ ตอนและพิธกี ารต่างๆ จากครูอทุ ยั
อาจารย์อุทัยยังได้รับมอบชุด เหรียญและ ค�ำขอ ส่วนต�ำราที่ใช้ในปัจจุบนั นี้ได้รบั มาจาก
จานโบราณจากปู่ที่มีอายุ 130 ปี สร้างใน “เถ่ย” คนเก่าก่อนหน้านัน้ เป็นภาษาเวียดนาม
สมัยกษัตริย์แถ่งถายแห่งราชวงศ์เหงียน โบราณอักษรจือ่ ยอและถ่ายทอดให้เป็นภาษา
ที่ใช้จริงในปัจจุบัน ตอนนี้มีคนมาขอต�ำรา
เรียนอยู่ 3 คนผมให้ต�ำราไปศึกษาเมื่อสงสัย
ก็โทรสอบถามและติดตามไปดูการท�ำพิธีได้
เพราะอาจารย์ก็แก่ขึ้นทุกวันถ้าเก็บเอาไว้
คนเดียวไม่สอนอาจจะท�ำให้มันสูญหายไป ”

อาจารย์อุทัย เจริญธนกุล อายุ 85 ปี


เหรียญจานโบราณของอาจารย์อุทัย
“เถ่ยกุ๋ง” ประจ�ำชุมชนโพนบก
เครื่องขยายเสียงบทสวด ภายในศาลเจ้าพ่อแท่งฮว่าง ชุมชนนาราชควายกลาง

44 45
Spirit of Us

“ชาวบ้านนาจอกเป็นคนไทยเชื้อสาย เมื่อก่อนผมก็เคยเรียนกับ เถ่ย ในหมู่บ้าน


เวียดนาม ตอนนีใ้ นชุมชนขาดคนท�ำพิธกี รรม นีแ่ หละ แต่เรียนไม่ทนั ไรเค้าเสียชีวติ ไปก่อน
ขาด เถ่ย มา 2 ปีแล้วเพราะเพิ่งเสียชีวิตไป เลยพักไป อาจารย์อุทัยบอกว่าผมน่าจะท�ำ
ไม่มคี นสืบสานต่อ ผมเลยอยากเข้ามาศึกษา พิ ธี กรรมได้ ใ ห้ ต� ำ รามาฝึ ก อ่ า นไม่ เ ข้ า ใจ
อยากช่วยเหลือสังคมด้วยตอนนีถ้ า้ ในชุมชน ให้โทรถาม พอเข้าใจแล้วก็ออกงานขอติดตาม
มีงานศพต้องไปเรียนเชิญ เถ่ย มาจากหมูบ่ า้ นอืน่ ไปดูงานจริงกับอาจารย์ คอยหยิบจับของ
เช่น เชิญอาจารย์อทุ ยั จากชุมชนโพนบกมา ผมตามไปดูบา้ งแล้ว 4-5 งาน ล่าสุดงานบุญ
ท�ำพิธี เชิญ เถ่ย มาจากชุมชนหลางป่า คนไทย ครบวันตายของญาติครบ 50 วัน ท่านจะ เถ่ยกุ๋งประกอบพิธีฝังศพ ขบวนเคลื่อนศพคนไทยเชื้อสายเวียดนาม
เชื้อสายเวียดนามไม่สามารถขาด เถ่ย ผู้ท�ำ ไม่ท�ำ บอกให้ผมลองท�ำ ถ้าให้ประมาณ
พิ ธี ไ ด้ เ พราะคนไทยเชื้ อ สายเวี ย ดนามมี ความสามารถก็ประมาณ 70% ขอฝึกอีก
พิธกี รรมมีประเพณีเฉพาะในแบบของตัวเอง สักระยะให้มั่นใจเพราะมีแผนจะไปศึกษาต่อ ออกเสียงให้ถูกต้องและเข้าใจความหมาย เวียดนามไม่ ได้ มันไม่ ใช่แค่การท่องจ�ำ
มีขั้นตอนตามแบบโบราณที่สืบทอดกันมา ที่ เ วี ย ดนามว่ า แตกต่ า งหรื อ เหมื อ นกั น ต้องเขียนภาษาเวียดนามให้ได้ เราจะเขียน อย่างเดียวถึงท�ำได้ ต้องเข้าใจให้แตกฉาน
วั น นี้ ไ ม่ มี เถ่ ย ในชุ ม ชนผมรู ้ สึ ก อย่างไร ชื่ อ คนตายลงในป้ า ยวิ ญ ญาณในงานศพ เถ่ย ก็เป็นเหมือนสื่อกลางในการสื่อสารให้
ละอายใจที่เวลาไปเชิญอาจารย์ต่างหมู่บ้าน การเรียนเป็น เถ่ย นั้นก็คือการเรียน เพราะคนเวียดนามต้องใช้ภาษาเวียดนาม กับคนรุน่ ใหม่ได้เข้าใจเรือ่ งพิธกี รรม คนไทย
มาประกอบพิธีให้ บ้านนาจอกมีคนอ่านออก อ่านบทสวดแต่ละงานพิธกี รรมจะไม่เหมือนกัน บรรพบุรษุ เราเป็นคนเวียดนาม รวมถึงของไหว้ เชื้อสายเวียดนามนั้นมีความเชื่อเกี่ยวกับ
เขี ย นได้ ห ลายคนแต่ ไ ม่ มี ค นมาสานต่ อ เหมื อ นบทสวดของเพราะสงฆ์ ต้ อ งพู ด ก็ตอ้ งตามแบบโบราณต้องมีให้ครบ ตรวจเช็ค บรรพบุรุษเป็นอย่างมาก หากท�ำดีกตัญญู
ไม่ให้ขาด ตอนปฏิบัติต้องมีสมาธิ เราก�ำลัง ดูแลท่านทั้งตอนที่มีชีวิตอยู่และตอนเสีย
พูดกับวิญญาณ ถ้าเราท�ำดีเราก็สบายใจ ชีวิตไปแล้วดูแลอย่างดี ลูกหลานจะท�ำมา
ถ้าเราท�ำไม่ดีก็อาจเป็นภัยกับตัวเองเพราะ หากินขึน้ อยูเ่ ย็นเป็นสุข ลูกหลานก็จะกตัญญู
ผมเชื่อในเรื่องวิญญาณ กตเวทีกับเราเหมือนเที่เราท�ำ”
ในอนาคตถ้าแต่ละชุมชนไม่มี เถ่ย
ผมคิดว่าคนจะหันไปเข้าวัดปลงศพแบบ องค์แรม ประเสริฐ อัจฉริยะวรวินิจ
ศาสนาพุทธ ประเพณีพิธีกรรมต่างๆ ก็จะ ชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม วัย 73 ปี
หายไป ดูได้จากคนรุน่ ใหม่ พูด เขียน ภาษา จากชุมชนบ้านนาจอก
ประเสริฐ อัจฉริยะวรวินิจ (องค์แรม)

46 47
Spirit of Us

“เทพเจ้า เจิ่ง ฮึง ด่าว”

“ศาลเจ้าพ่อด่ายเวือง” ศูนย์รวมจิตวิญญาณของชุมชนบ้านาจอก
สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2441 “ด่ายเวือง” หมายถึงพระมหากษัตรย์ผู้ยิ่งใหญ่ของ
เวียดนาม เทพเจ้าที่สถิตภายในศาลคือเทพเจ้า “เจิ่ง ฮึง ด่าว” ท่านเป็น
นายพลนักรบที่สามารถรบชนะจีน (มองโกล) หลายครั้ง คนจึงเคารพบูชา
ประดุจดังเทพเจ้า ในหลายชุมชนหลายจังหวัดที่มีคนไทยเชื้อสายเวียดนาม
อยูก่ น็ ยิ มบูชา “เทพเจ้า เจิง่ ฮึง ด่าว” ในประเทศเวียดนามก็นยิ มนับถือเช่นกัน
โดยเฉพาะผู้คนที่อาศัยในเขตจังหวัดนามดิ่ง ภายในศาลเจ้ายังมีรูปท่าน
โฮจิมนิ ห์วางบนหิง้ คูก่ นั ดุจเทพเจ้าอีกองค์หนึง่ หากเปรียบเทียบคงกล่าวได้วา่
“เทพเจ้า เจิง่ ฮึง ด่าว สร้างชาติเวียดนาม ท่านโฮจิมนิ ห์กชู้ าติให้คนเวียดนาม”
ก็ย่อมได้”
“เต็ด” หรือตรุษญวน คือวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินทางจันทรคติของ
ชาวเวียดนาม เป็นเทศกาลแห่งมงคลชีวติ ทีค่ นไทยเชือ้ สายเวียดนามทุกชุมชน
ให้ความส�ำคัญ จะมีการมารวมตัวกันเพือ่ ท�ำพิธสี กั การะต่อเทพเจ้า “เจิง่ ฮึง ด่าว”
ณ ศาลเจ้าประจ�ำชุมชน

48 49
Spirit of Us

“บ้ า นนาจอกมี ก รรมการ 2 ชุ ด จะไม่ตอ้ งน�ำมาไหว้ เมือ่ มาถึงศาลเจ้าก็ตอ้ ง


ชุดแรกคือกรรมการทางการของท่านก�ำนัน ใช้มดี ไม้ไผ่ปกั ที่ไก่เป็นสัญลักษณ์สำ� หรับการ
(ก�ำนันจันทร์ไทย พัฒนประสิทธิ) และอีกชุด ไหว้เจ้าจะมีเจ้าหน้าที่ศาลเจ้าน�ำถาดเข้าไป
คือกรรมการศาลเจ้าที่คนในหมู่บ้านเลือก วางภายในคนนอกเข้าไป ไหว้วนั แรกคือแรม
ขึน้ มา ผมเป็นประธานคณะกรรมการหมูบ่ า้ น 15 ค�ำ่ เดือน 12 มีเจ้าหน้าที่ใส่ชดุ ด�ำทัง้ หมด
ชุดนี้ คื อ กรรมการศาลเจ้ า มี ห น้ า ที่ ดู แ ล 6 คน มีหัวหน้าชุดจะเรียกต�ำแหน่งนี้ว่า
ทุกข์สุขของประชาชนในหมู่บ้านในชุมชน “จิ่งเต๋” และจะมีผู้ช่วย 2 คน อยู่ข้างหลัง
ก่อนจะถึงกรรมการของทางการ ระบบนีเ้ อง สง่า นาเจริญวุฒิกุล ประธานหล่างนาจอก เรียกว่า “โบ่ยเต๋” จากนั้นจะมีคนตีกลอง เจ้าหน้าที่จัดเครื่องไหว้
ที่เรียกกันว่าระบบ หล่าง ตีฆ้องตามจังหวะระหว่างท�ำพิธี อีก 2 คน
แต่ ก ่ อ นเรี ย กว่ า ตรุ ษ จี น แต่ เ ดี๋ ย วนี้ จะไหว้ บ รรพบุ รุ ษ ที่ บ ้ า น เมื่ อ ไหว้ เ สร็ จ จะมีต�ำแหน่งรินเหล้า รินน�้ำในแต่ละถาด ก็เหมือนการอ่านค�ำบูชาการถวายสังฆทาน
เค้าเปลี่ยนเป็นตรุษเวียดนาม หรือ เต๊ด หลังจากนั้นจะมารวมตัวกันมาที่ศาลเจ้าใน ตามจ�ำนวนที่ชาวบ้านเอามาไหว้ เรียกว่า แบบไทย เรี ย กต� ำ แหน่ ง นี้ ว ่ า “ดอกวั น”
ภาษาเวียดนามก็เรียกว่า อันเต๊ด ทุกๆ ปี 1 ปี จะมีงานไหว้ 2 งาน คือ ไหว้วันเต๊ด “เยือ้ กเหยีย่ ว” เมือ่ เสร็จจะมีอกี 1 คน อ่านค�ำ เมื่อเริ่มพิธีจะมีการอ่านบทไหว้เจ้าหน้าที่ก็
ทุ ก ครอบครั ว คนไทยเชื้ อ สายเวี ย ดนาม และไหว้เข้าพรรษา ทุกงานจะมีระยะเวลา บูชาค�ำถวายเป็นภาษาเวียดนาม เปรียบแล้ว ท�ำตามบทสวดต้องฟังภาษาเวียดนามออก
2 วันเรียกว่าวันเข้ากับวันออก วันเข้าคือ บทสวดเป็นค�ำโบราณเรียกว่า จื่อหาน เป็น
เชิญมาทีศ่ าลเจ้าร่วมพิธี อีกวันคือพิธสี ง่ เจ้า ภาษาพูดและเขียนแบบโบราณอักษรต่างๆ
กลับสู่สรวงสวรรค์ จะคล้ายกับภาษาจีน ไม่เหมือนภาษา ภาษา
วันไหว้เทศกาลเต๊ด คือแรม 15 ค�่ำ เขียนในปัจจุบัน (จีนเคยปกครองเวียดนาม
เดือน 12 และ ขึ้น 1ค�่ำ เดือน 1 ตามปฏิทิน เป็นระยะเวลา 1,000 ปี จึงท�ำให้บทสวดได้
จันทราคติของเวียดนาม ก็คือวันสิ้นปีและ รับอิทธิพลจากประเทศจีน *ผู้เขียน)
วันขึ้นปีใหม่ ทุกครอบครัวจะมีชุดไหว้มา คนบ้านนาจอกจะให้ความส�ำคัญมาก
บูชา 1 ถาด คือมีไก่ต้มตัวผู้ ข้าวเหนียว กับการมาศาลเจ้าในวันตรุษจีน ลูกหลานที่
ศาลเจ้าพ่อด่ายเวือง หมากพลู หากครอบครัวนัน้ ติดไว้ทกุ ข์หรือ พิธีไหว้ในวันเต๊ด อยูต่ า่ งจังหวัดจะกลับมาบ้านและพาครอบครัว
มีญาติเพิ่งเสียชีวิตไปยังไม่พ้น 100 วัน มาทีศ่ าลเจ้า ศาลเจ้าบ้านนาจอกจะอนุญาต

50 51
Spirit of Us

ให้พาเด็กๆ มาได้ ชุมชนอื่นไม่อนุญาตให้ งานบุญ “หรํ่า ถาง เยียง” หรืองานสะเดาะเคราะห์หมู่บ้าน เป็นอีกหนึ่งงาน


เด็กมาศาลเจ้าให้มาเฉพาะผู้ใหญ่ ชุมชน พิธีกรรมตามความเชื่อของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม ที่การประกอบพิธีต้องไปรวม
มีความเห็นว่าถ้าไม่ให้เด็กมาเค้าจะไม่รเู้ รือ่ ง ตัวกันที่ศาลเจ้า ปัจจุบันที่จังหวัดนครพนม ชุมชนที่ยังสืบทอดพิธีกกรรมดังกล่าวก็
ของบรรพบุรษุ มันอาจท�ำให้สญู หายขาดการ คือชุมชนโพนบก
สนใจ บรรยากาศจะสนุกสนานมากเพราะ “หร�่ำ ถาง เยียง” แปลได้ว่า หร�่ำ = 15 ค�่ำ ถาง = เดือน /เยียง = เดือนหนึ่ง
บางคนไปตัง้ รกรากปีนงึ ลูกหลานไม่วา่ จะอยู่ เป็นประเพณีที่มีมากว่า100 ปี สืบสานกันรุ่นสู่รุ่นเพื่อสะเดาะเคราะห์ปัดเป่าสิ่งไม่ดี
ที่ไหนต้องต้องกลับมาตรุษจีน ที่อนุญาตให้ ออกจากหมูบ่ า้ น วันแรกเวลาประมาณสามทุม่ เป็นเวลาการเชิญเจ้ามาประทับทีร่ า่ งทรง
เด็กมาได้เราต้องการให้เด็กรับรู้ว่า พ่อ แม่ มีดปักไก่ และช่วงเช้าของวันทีส่ องคือวันสะเดาะเคราะห์จะมีการน�ำเรือไปลอยเคราะห์ในแหล่งน�ำ้
ปู่ ย่า ตา ยาย บรรพบุรุษมีเชื้อเวียดนาม เพือ่ ให้คนในหมูบ่ า้ นอยูเ่ ย็นเป็นสุขไร้ทกุ ข์โศกโรคภัยตามความเชือ่ โบราณ นอกจาก
มีประเพณีแบบนี้ และผูใ้ หญ่เค้ามาไหว้อะไร ไก่ไหว้เจ้า หลังจากนั้นทุกคนก็จะมาจุดธูป การให้ความส�ำคัญในพิธีกรรมสักการะต่อเทพเจ้าแล้ว คนไทยเชื้อสายเวียดนาม
เพราะหลั ง จากท� ำ พิ ธี ก็ จ ะแบ่ ง ไก่ ค รึ่ ง ตั ว ไหว้เจ้าขอพรต่างๆ ให้ครอบครัวอยู่เย็น ยังให้ความส�ำคัญต่อบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ดังจะเห็นได้จากการมีพิธีไหว้ระลึกถึง
มาสับกินรวมกันอีกครึ่งตัวให้เอากลับบ้าน เป็นสุขท�ำมาค้าขึน้ บางคนก็มาบนบานด้วย บรรพบุรุษที่บ้านของตัวเองเมื่อครบรอบวันจากไปของบรรพบุรุษ ซึ่งอันนี้ก็สะท้อน
ชาวบ้านจะเรียกว่า กินไก่เฮง เพราะเป็น หมูหัน ทุกปีศาลเจ้าจะมีหมูหันจากการ ว่าคนไทยเชื้อสายเวียดนามให้ความเคารพต่อบรรพบุรุษเป็นอย่างมาก”
บนบานทีส่ ำ� เร็จมาถวาย ส่วนใครอยากบริจาค
ก็ตามก�ำลังศรัทธา ช่วงตรุษจีนมียอดเงิน อาจารย์อุทัย เจริญธนกุล อายุ 85 ปี
บริจาคหลังหักค่าใช้จา่ ยประมาณ 2 แสนบาท เถ่ยกุ๋ง ชุมชนโพนบก
ช่วงออกพรรษาจะได้ประมาณ 3-4 หมืน่ บาท
ลอยเรือสะเดาะเคราะห์
เงินตัวนี้ก็จะเอามาปรับปรุงพัฒนาศาลเจ้า”

ชาวบ้านน�ำไก่มาไหว้

52 53
4
Food and Culture
เอกลักษณ์
ในอาหาร
อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานของการด�ำรงชีวิต อาหารในแต่ละ
พื้นที่ แต่ละท้องถิ่น ก็จะมีความโดดเด่นเฉพาะด้าน เฉพาะตัว
ที่ แตกต่ า งกั น ออกไป และอาหารคาว-หวานของคนไทย
เชือ้ สายเวียดนาม ในจังหวัดนครพนม ก็มอี ตั ลักษณ์เฉพาะถิน่
ซึ่งหลายเมนูก็หารับประทานไม่ได้ง่ายนัก แม้แต่ในประเทศ
เวียดนามเอง
Food and Culture

ข้าวโซย
นับเป็นเวลากว่า 40 ปีแล้ว ที่ โกเจือ่ ง
หรือ เฟือ่ งรัตน์ จิตรจ�ำนงค์ดี คนไทยเชือ้ สาย
เวียดนามวัย 67 ปี จะลุกขึ้นมาปรุงอาหาร
ที่ชื่อว่า “โซย” ซึ่งเป็นชื่อเรียกในภาษา
เวียดนาม ทีแ่ ปลตรงตัวว่าข้าวเหนียว แต่เพือ่
ให้ง่ายต่อการจดจ�ำ โกเจื่อง จึงตั้งชื่อแบบ
ไทยๆ ว่า “ข้าวโซย”
“โกขายข้าวโซย 5 อย่าง สมัยก่อน
ขายห่อละ 3 บาท ขายส่งห่อละ 2 บาท เวลา
ผ่านมาก็ปรับราคาขึ้นขายห่อละ 5 บาท เฟื่องรัตน์ จิตรจ�ำนงค์ดี 1. โซยโง (ข้าวเหนียวข้าวโพด) 2. โซยหว่อ (ข้าวคลุกถั่ว) 3. โชยหว่าง (ข้าวเหลืองหวาน)
เป็นเมนูต้นต�ำรับ มีเมล็ดข้าวโพด เมนูภาคเหนือของเวียดนาม เมนูภาคใต้หรือเรียกว่าข้าวไซง่อน
ขายส่งห่อละ 4 บาท ขาย ถ้าช่วงเทศกาล ผสมลูกเดือย โรยหน้าด้วยถั่วซีก ข้าวเหนียวนึ่ง คลุกกับถั่วซีก โรยหน้าด้วยงาน�้ำตาลมะพร้าวขูด
ขายดีท�ำเป็นกระสอบ กระสอบหนึ่งหนัก “ข้าวโซยเป็นอาหารเช้าที่คนนิยมกิน และงาคั่ว โรยหน้าด้วยกากหมูและหอมเจียว รสหวาน
50 โล ข้าวโซยท�ำตั้งแต่สมัยพ่อแม่แล้ว เพราะราคาถูกกินง่ายเป็นหมือนฟาสต์ฟู้ด รสชาติออกเค็ม
ถ้ารวมระยะเวลาก็ขายมา 70 ปีกว่าๆ เริม่ แรก ลูกค้าอิ่มได้ในราคา 5-10 บาท ก็อิ่มได้
เดิ น หาบขายตามตลาดจนมาเป็ น ที่ นิ ย ม เมือ่ ก่อนมีคนขายหลายเจ้า ขายไม่นานก็เลิก
และมีร้านขายเป็นหลักแหล่ง ข้าวโซยเป็น เพราะได้ก�ำไรไม่เยอะอาศัยว่าขายได้มาก
ข้าวธัญพืชจะมีส่วนผสมของถั่วและงามีทั้ง และมีลกู ค้าเยอะ ป้าตืน่ ตัง้ แต่ ตี 2 มาท�ำเสร็จ
แบบหวานเค็ม โซยหว่าง เมือ่ ก่อนวิธกี ารท�ำ ราวๆ ตี 5 ก็ออกมาขายตลาด ขายจนหมด
ยากมาต้องใช้ขมิ้นตากแห้งและเอาไปต�ำ ถึงกลับ มันเป็นอาชีพที่เหนื่อย ต้องรักจริง
กว่าจะได้ตัวข้าวแบบที่ยังไม่ปรุงก็กินเวลา ถึงท�ำมาได้ถึงป่านนี้”
จนหมดวันแล้วแต่ปจั จุบนั มีผงขมิน้ ส�ำเร็จรูป 4. ข้าวก�่ำ 5. ข้าวใบเตย
คือข้าวเหนียวด�ำมูนกะทิ คือข้าวเหนียวมูนใส่น�้ำใบเตย
ท�ำให้ไม่ยงุ่ ยากเสียเวลา ข้าวก�ำ่ กับข้าวใบเตย โรยมะพร้าว รสชาติหวานมัน โรยมะพร้าว รสชาติหวานมัน
เป็นเมนูประยุกต์ให้เข้ากับคนพื้นถิ่น

56 57
Food and Culture

“โหย่ ย ” หรื อ เมนู ไ ส้ อั่ ว เลื อ ดหมู กับเลือดหมูสดทีป่ รุงรสและน�ำ้ เปล่า ผสมให้
เลียน ผ่ามถิ คนไทยเชื้อสายเวียดนามจาก เข้ า กั น ทิ้ ง ไว้ ซั ก พั ก เลื อ ดจะแข็ ง ตั ว ขึ้ น
ชุมชนหล่างป่า คือคนทีท่ ำ� “โหย่ย” ขายมา และสุ ด ท้ า ยก็ ล ้ า งไส้ ห มู ส ดด้ ว ยเกลื อ ให้
อย่างต่อเนือ่ งถึง 48 ปี สะอาดและปลิ้นไส้ให้กลับด้าน เสร็จแล้ว
“ป้าท�ำไส้อวั่ เวียดนามขายในตลาดสด กรอกเลื อ ดหมู ล งไปให้ เ ต็ ม มั ด หั ว ท้ า ย
ภาษาเวียดนามเรียกว่า “โหย่ย” พ่อเป็นคน และน�ำไปต้มไฟอ่อนๆ พลิกไปมาและใช้
สอนให้ท�ำ “โหย่ย” ช่วยพ่อท�ำมาตั้งแต่ยัง ไม้จิ้มไปที่ไส้ไม่งั้นมันจะแตก ดูจนไส้แน่น
เล็กๆ พ่อท�ำอาชีพนี้จนเลี้ยงลูกได้ 6 คน น�ำ้ ต้มใสก็แปลว่าสุกแล้ว ไส้กรอกเลือดถึงจะ
ก็เลยคิดว่าเราก็น่าจะท�ำได้และก็รับช่วงต่อ มีเลือดเป็นส่วนผสมหลัก แต่รสชาติดีและ
มาจากพ่อ สมัยก่อน 2 บาท 5 บาทก็ขาย เลียน ผ่ามถิ ไม่คาวอย่างที่ใครๆ คิด เพราะผักที่ใส่ลงไป
เดี๋ยวนี้ของแพงขึ้นราคาก็ปรับไปตามเวลา ทั้ง 3 ชนิดนั้นให้กลิ่นหอม นิยมกินเป็น ปั จ จุ บั น โหย่ ย ไม่ ไ ด้ กิ น กั น เฉพาะคนไทย
ส่วนตัวป้าเองก็คงท�ำได้เท่าที่ไหว ลูกๆ ไม่ให้ ร้ า นป้ า เป็ น ร้ า นเก่ า แก่ ที่ สุ ด ในตลาดสด กับข้าว กินเล่นหรือเป็นกับแกล้ม นอกจากนัน้ เชื้อสายเวียดนามเท่านั้น คนที่ซื้อส่วนมาก
ท�ำแล้วและเค้าก็ไม่รับช่วงต่อ คงหมดที่ป้า นครพนม ขายตั้งแต่สมัยทองค�ำบาทละ ยังเป็นอาหารขึน้ โต๊ะไหว้เจ้าและไหว้บรรพบุรษุ คือคนไทยพื้นถิ่น และกินเยอะกว่าด้วยซ�้ำ”
400 บาท” ถือเป็นของที่ต้องมี ในส�ำรับไหว้ห้ามขาด
แม้ว่าสีสันของอาหารจะดูมืดๆ ด�ำๆ
แต่หากใครได้ลองชิมก็จะพบว่ารสชาตินั้น
ตรงกันข้ามกับภาพลักษณ์ในตัวอาหารอย่าง
สิ้นเชิง นอกจากจะเอาไว้กินเป็นกับข้าว
ทั่วไปแล้ว “โหย่ย” ยังถือเป็นเมนูขึ้นโต๊ะที่
นิยมใช้ส�ำหรับการไหว้บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ
อีกด้วย
“ขั้นตอนท�ำโหย่ยก็เริ่มจากเตรียมผัก
3 ชนิด ผักชีฝรั่ง ผักแพรว ต้นหอม น�ำมา
โหย่ย
ซอยผสมรวมกันกับพริกสด น�ำเศษหมูบด เลือดหมูผสมเครื่องยัดไส้ ไส้โหย่ยหลังต้มเสร็จ

58 59
Food and Culture

“บุ๋นหม็อก” หรือ ขนมจีนน�้ำยา- มาซื้อที่ร้านเอาใส่ถุงกลับไปกินบ้าน เดี๋ยวนี้ เป็นแบบที่กล่าวหา เขาก็เข้าใจเราเรื่อยๆ


หมูยอเวียดนาม “โกเติม” มณทิชา ศิรวิ รเดช คนที่มาซื้อคนไทย 70% คนไทยเชื้อสาย หลังจากนั้นรัฐบาลประกาศให้สัญชาติไทย
วัย 62 ปี เริ่มท�ำ “บุ๋นหม็อก” ด้วยการ เวียดนามซือ้ แค่ 30% มีชว่ งนึงมีการผลักดัน หลังจากนั้นชีวิตความเป็นอยู่ก็ดีขึ้น
ช่วยแม่ของเธอตัง้ แต่ยงั เล็กๆ นับจากวันนัน้ ให้กลับเวียดนามคนเวียดนามโดนแกล้งเยอะ ในส่วนการท�ำบุน๋ หม็อก ก็ตม้ ไฟอ่อนๆ
ถึงวันนี้ก็เป็นเวลาถึง 50 ปีแล้ว ขายของในตลาดโดนคว�่ำแผงก็มี และก็มี ให้นำ�้ กระดูกใส ใส่รากผักชีลงไปต้มจนเดือด
“สมัยก่อนรัฐบาลไทยจ�ำกัดสิทธิเรื่อง ข่าวลือว่ากินอาหารเวียดนามแล้วอวัยวะเพศ ตักฟองให้หมดจนใสสะอาด จากนั้นเตรียม
การท�ำอาชีพเค้าว่ามาแย่งอาชีพคนไทย ผู ้ ช ายจะหดสั้ น ท� ำ ให้ ค นไทยไม่ ก ล้ า กิ น ผักสด มีผัดกาดหอม หัวปลี ผักชี ที่ขึ้นชื่อ
พ่อแม่ก็เลยคิดหาอาชีพ เลยท�ำกับข้าวไป ส่วนผู้หญิงกินแล้วจะเป็นลมชัก มีแกล้งมา ก็คอื ผักอีโต มีชอื่ เวียดนามว่าเตีย๋ โต แต่คนไทย
ขายตามร้านตามบ้าน ใครมีเงินหน่อยเค้าก็ มณทิชา ศิริวรเดชกุล ชักหน้าร้านที่ขายก็มี ตาชั่งขาดนิดหน่อยก็ เรียก อีโต แล้วก็ใส่หม็อก ลูกชิ้นหมูลงไป
ช่วยซื้อแล้วก็เอาไปขายในตลาด มีคนขาย โดนจับ ตอนนั้นคนเวียดนามก็ร่วมกันก็แก้ เติมพริกกระเทียมเจียวลงไปก็เป็นอันเสร็จ
อาหารเวียดนามเยอะมาก งัดวิชามาทุกอย่าง ต่อมาท�ำบุ๋นหม็อก ขายไม่ค่อยดีเท่าไหร่ก็ สถานการณ์ คื อ ปฎิ บั ติ กั บ คนไทยให้ ดี เคล็ ด ลั บ ที่ ท� ำ ให้ บุ ๋ น หม็ อ กของเรา
ที่ จ ะท� ำ ให้ อ าหารอร่ อ ย ที่ นาเราก็ ไ ม่ มี ท�ำหมูยอเพิม่ ของหวาน หมีก่ ะทิ แม่ลกู ช่วย เพราะเมืองไทยให้ทอี่ ยู่ให้ทกี่ นิ ท�ำมาค้าขาย พิเศษคือเรามีน�้ำมันพริกแกง เห็นคนไทย
เราเปรียบตลาดเหมือนที่นาไว้ท�ำมาหากิน กันท�ำหมดเพราะมีลูก 8 คน วันไหนว่าง เราช่วยงานสังคมและค่อยๆบอกว่าเราไม่ได้ มีพริกแกงก็เลยลองท�ำ มันช่วยให้มีกลิ่น
แม่ ข องโกชื่ อ นางเฮื อ ง พ่ อ ชื่ อ นายหยุ ๋ ง หน่อยก็หารายได้เพิม่ ให้ลกู พอกิน สมัยก่อน หอมขึ้ น เพิ่ ม รสชาติ ดี ขึ้ น กว่ า เดิ ม สี ส วย
แต่ ค นเวี ย ดนามจะเรี ย กชื่ อ ภรรยาตาม อาหารเวียดนามไม่ค่อยมีคนนิยมเท่าไหร่ เรียกว่า “เอิด๊ เหม่า” ท�ำมาจากพริกแดงใหญ่
ชื่อสามี พ่อชื่อหยุ๋งเค้าก็เลยเรียกชื่อแม่ว่า ก็มีแต่คนเวียดนามกินกันเอง คนไทยกิน บดละเอียดผัดกับกระเทียมเจียว”
บ่าหยุง (ยายหยุ๋ง) โกต้องช่วยแม่ค้าขาย นิดๆ หน่อยๆ พอคนเริม่ กินก็ตดิ ใจในรสชาติ ในทุ กวั น นี้ ... ไม่ ว ่ า จะเมนู อาหารที่
ตั้งแต่เด็กเพราะพ่อแม่มีลูกเยอะแม่ท�ำอะไร ซื้ อ กิ น เรื่ อ ยเพราะเราขายถู ก กว่ า ในร้ า น ถอดแบบต้นฉบับอย่างไม่ผิดเพี้ยน หรือจะ
ลูกก็ต้องช่วยแม่ทุกอย่าง โกออกมาช่วยแม่ อาหารอีก ปัจจุบนั คนทีม่ านครพนมส่วนมาก เป็นเมนูทปี่ ระยุกต์ สร้างสรรค์ขนึ้ ใหม่ เพือ่ ให้
ตอนอายุ 11 ปี ช่วงแรกก็ซื้อมาขายไปขาย นักท่องเที่ยวจะนิยมกินอาหารเวียดนาม สอดคล้องไปกับวัฒนธรรมการกินของคนไทย
ผักขายปลาได้ก�ำไรนิดๆ หน่อยๆ แล้วก็คิด เป็นอันดับหนึ่งเป็นอาหารสุขภาพ ตอนนี้ ก็ล้วนเป็นส่วนส�ำคัญในการสะท้อนให้เห็น
ท�ำอาหารและหลอกล่อให้คนไทยกินอาหาร ทีร่ า้ นก็ขายปอเปีย๊ ะทอด บุน๋ หม็อก ถึงการมีอยู่ของรากวัฒนธรรมของคนไทย
เวียดนามเพื่อเราจะได้เงินมาเลี้ยงชีพให้ลูก สมัยก่อนเวลาขายต้องเอาไปเสริฟ เชื้อสายเวียดนามในนครพนม
มี กิ น แม่ โ กขายหลายอย่ า งแต่ ข ายไม่ ดี ถึ ง ที่ ลู ก ค้ า นั่ ง ในตลาดแผงไหนก็ เ สริ ฟ บุ๋นหม็อก
วันนึงขายได้ 10-20 บาท เริ่มต้นคือขายผัก กินเสร็จก็ไปเก็บจานทีหลัง เดี๋ยวนี้เค้าต้อง

60 61
5 The Story
of Language
"ภาษารากเหง้า
วัฒนธรรม"
การเรียนการสอนภาษาเวียดนามในจังหวัดนครพนมทุกวันนี้
เป็นไปอย่างเสรีมีผู้ให้ความสนใจตั้งแต่ในระดับชั้นเด็กเล็ก
ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา ต่างจากเมื่อครั้งอดีต ที่การเรียน
การสอนกลับเป็นเรื่องต้องห้าม ต้องท�ำกันอย่างลึกลับและ
เต็มไปด้วยความยากล�ำบาก

62 63
The Story of Language

ภายในตึกแถวอาคารพาณิชย์ที่ตั้งอยู่ในชุมชนวัดป่า หรือ “หล่างป่า” ซึ่งเรียกกันตาม


ความคุ้นเคยของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม ปัจจุบันได้ถูกใช้เป็นห้องเรียนภาษาเวียดนาม
เพื่อเปิดสอนให้แก่เด็กเล็กที่สนใจ แรงบันดาลใจในการเปิดสอนภาษาเวียดนามของที่นี่
ก็มาจากความต้องการให้เด็กๆ ได้ซึมซับทั้งภาษารวมถึงมีความเข้าใจต่อรากเหง้าทาง
วัฒนธรรมของบรรพบุรษุ และภายใต้การสนับสนุนของสมาคมคนไทยเชือ้ สายเวียดนามจังหวัด
นครพนม ที่นี่จึงสามารถเปิดเป็นห้องเรียนที่ให้ความรู้แก่เด็กๆ ได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
ทั้งสิ้น
“สมาคมคนไทยเชื้อ สายเวียดนาม สถานที่ เ รี ย น เรี ย นเสร็ จ ก็ มี ข นมให้ เ ด็ ก
จะมีอยู่แทบทุกจังหวัดแถบภาคอีสาน ทาง เพื่อเป็นก�ำลังใจ ครูทุกคนก็อยากให้เด็กๆ
สมาคมได้มีความเห็นร่วมกันว่า ควรจะ มาเรียนเยอะๆ เห็นเด็กสนใจเรียนยิ่งเยอะ
อนุรกั ษ์ประเพณีและภาษาเอาไว้จงึ มีแนวคิด ก็ยิ่งสอนสนุก เด็กๆ สมัยนี้ฉลาด เคยได้ยิน ศิวรัตน์ ตันติพิพัฒกุลชัย (องค์เสา)
ให้แต่ละสมาคมช่วยกันส่งเสริมและผลักดัน เด็ ก บอกว่ า ถ้ า เรี ย นแล้ ว ถ้ า ได้ ไ ปเที่ ย ว
จึงเป็นที่มาของศูนย์เรียนภาษาเวียดนาม เวียดนามก็ฟังรู้เรื่องจะได้สื่อสารได้ บางคน เมื่อย้อนเวลากลับไปประมาณ 60 ปีก่อน “องค์เสา” หรือ ศิวรัตน์ ตันติพิพัฒกุลชัย
หล่างป่า เราสอนให้ฟรีตอนนี้มีเด็กไทยที่ ก็คดิ ไกลว่าต่อไปจะท�ำธุรกิจข้ามชาติระหว่าง เขาก็คือหนึ่งในอดีตนักเรียน และครูสอนภาษาเวียดนามที่ผ่านยุคสมัยแห่งความยากล�ำบาก
ไม่มีเชื้อสายเวียดนามสนใจมาเรียนเราก็ ไทยและเวียดนามเลย เราเน้นการสอนให้ จนกระทั่งได้รับสิทธิให้เป็นคนไทยอย่างเช่นในปัจจุบัน
ยินดีมาก ศูนย์การเรียนนีเ้ ราเปิดมา 2 ปีแล้ว ใช้ได้ในชีวิตประจ�ำวัน อยากให้ลูกหลานได้ “การเรียนภาษาเวียดนามในอดีตเมือ่ ปี เหลือบ้านละไม่เกิน 5-3 คน แอบเรียนตาม
ตัวผมเองก็เป็นเหมือนครูใหญ่และจะมีครูอกี เรียนเพราะมีความเกีย่ วข้องกันกับประเพณี พ.ศ.1960 ถือเป็นสิ่งต้องห้าม ไม่ให้เรียน ใต้ถนุ บ้านหรือในห้องครัว เวลาไปเรียนก็ตอ้ ง
2-3 ช่วยกันสอนจะได้ดูทั่วถึงเราเรียนในวัน วัฒนธรรม จะได้มคี วามเข้าใจในการสือ่ สาร ทางการไทยมีความเชื่อว่าคนเวียดนามมีใจ เหน็บสมุดเอาไว้ใต้เสื้อไม่ให้ใครเห็น ไม่งั้น
เสาร์-อาทิตย์เวลา 18.00-19.30 เราใช้เวลาเรียน กับปู่ ย่า ตายาย” ฝักใฝ่ในระบบคอมมิวนิสต์ตามแบบโลกเสรี โดนต�ำรวจจับได้ แบบเรียนที่ใช้เรียนนั้นหา
1.30 ชั่วโมง มีเด็กเรียนประมาณ 40 คน คนเวียดนามในทุกจังหวัดทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย ยากมากจะมีคนแอบเอามาจากเวียดนาม
แบบเรียนที่เราใช้สอนเป็นแบบเรียนตาม องค์เสา หรือศิวรัตน์ ตันติพพิ ฒ
ั กุลชัย ต้องเรียนแบบหลบๆ ซ่อนๆ การเรียนเริม่ แรก แล้วครูกจ็ ะคัดลอกแจกจ่ายกันไปตามชุมชน
หลักสูตรประเทศเวียดนาม สถานที่เรียน อายุ 66 ปี ประธานชุมชนหล่างป่า เป็นการสอนจากพ่อแม่ รุน่ พีๆ่ สอนต่อๆ กัน ต่างๆ วิชาที่เรียนเหมือนการเรียนในระบบ
ก็เป็นการสนับสุนของคนในชุมชนให้เป็น (ชุมชนศรีเทพ) ไปจะเรียนกันตามบ้าน อาจจะเรียนกัน 10 คน ของไทยคือมีการสอนวิชาคณิตศาสตร์ , วิชา
ต่อหลัง แต่เมื่อพอทางการเพ่งเล็งก็ลดลง วิทยาศาตร์, วิชาสังคมประวัตศิ าสตร์เวียดนาม,

64 65
The Story of Language

ศิลปะ,พละศึกษา คล้ายกับเด็กไทย ส่วนเวลา แล้วก็ผลัดเปลี่ยนกันเพื่อไม่ให้จับได้ จะมี


เรียนนัน้ จะเป็นช่วงเช้าและช่วงค�ำ่ เพราะเป็น ต้นทางคอยดูให้ถา้ หากมีตำ� รวจมาก็จะมีการ
ช่วงนอกเวลาราชการจะมีการเรียน 2 ช่วง บอกต่อกันเช่น ชุมชนหล่างป่า (ชุมชนวัด
ช่วงแรก เรียนตอน 6.00- 8.00 น. และช่วงสอง ศรีเทพ) จะมีรอ้ ยกระป๋องนมเพือ่ ส่งสัญญาณ
เรียนตอน 16.00 -18.00 น. หลังจากนัน้ บางคน คล้ายระฆังถ้ามีตำ� รวจมาก็จะมีการสัน่ ระฆัง
ก็ไปเรียนภาษาไทยต่อ การเรียนภาษาเวียดนาม แล้วครูนักเรียนก็ต้องหลบสลายตัวไปซ่อน
นัน้ จะเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล เริ่มเรียนตั้งแต่ หรือแยกย้ายกันกลับคนละทาง
7 ขวบ เวลาสอนก็ไม่สามารถเรียนได้ทเี่ ดียว ส่วนตัวผมเองก็เคยโดนต�ำรวจจับถึง
เช่น บ้านนาย ก. สอนอนุบาลตอน 8 โมงเช้า 2 ครั้ง ตอนนั้นก็โตแล้วเทียบเท่าประมาณ
หลังจากนั้นก็ไปเรียนต่อบ้านนาย ข. และ ระดับชัน้ ม.3 ซึง่ เป็นชัน้ สูงสุดของการเรียน การเขียนภาษาเวียดนาม
นาย ก. ก็สอนนักเรียน ป.2 ต่อ เป็นการสอน ภาษาเวียดนามในประเทศไทย ต�ำรวจจับไป
แบบพีส่ อนน้อง ครูบางคนเรียน ม. 3 ก็สอน ก็บอกว่าที่เราเรียนเป็นสิ่งไม่ดีเป็นการสอน อธิบายบอกต�ำรวจไปแบบนี้ แล้วต�ำรวจก็ เวียดนามจัดตั้งขึ้น เพื่อท�ำหน้าที่ดูแลคน
เด็ก ป.1 แบบนี้ข้อได้แต่ละชุมชนจะมีการ เรื่องลัทธิคอมมิวนิสต์ ทั้งๆ ที่ในสมุดที่เรา ปล่ อ ย พอผมเรี ย นจบก็ ยั ง เป็ น ครู ส อน เวียดนาม การสอนภาษาเป็นหนึ่งในนั้นที่
จัดการกันเอง ส่วนสถานที่เรียนนั้นก็ ไม่ เรียนมีแต่เนือ้ หาวิชาคณิตศาตร์, วิชาสังคม นักเรียนด้วย ต้ อ งยกเลิ ก ไปด้ ว ยเพราะสถาณะการณ์
จ�ำเป็นต้องเรียนบ้านครู บ้านนักเรียนก็ได้ ไม่มีอะไรเลยที่เกี่ยวกับการต่อต้าน เราก็ เหตุผลที่ต้องเรียนภาษาเวียดนาม เปลี่ยนไป ผู้น�ำของไทยคงรู้แล้วว่ากลุ่มที่
เพราะทุกคนเชื่อหมดใจว่ายังไงเราก็ต้องได้ เหลือตกค้างในไทยคงไม่ได้กลับเวียดนาม
กลับเวียดนาม คนญวนอพยพทุกคนเชื่อ ต้องอยูใ่ นประเทศไทยต่อไป จึงยกเลิกการเรียน
อย่างหมดใจว่าจะต้องได้กลับเวียดนามแน่ๆ ภาษาเวียดนาม คนเวียดนามทีเ่ กิดในช่วงนัน้
เราอพยพมาไทยชัว่ คราวเท่านัน้ พ่อแม่บอก มีการส่งเสริมให้เรียนภาษาไทยแทน แต่ก็ไม่
ว่าเราต้องรูภ้ าษาเวียดนามเพราะเมือ่ กลับไป สามารถเรียนได้สูงๆ มากสุดคือเรียนได้ถึง
จะได้ใช้ชีวิตที่นั่นได้แล้วถ้าอยากเรียนต่อ แค่ ม.3 เท่านั้น เรียนต่อมหาวิทยาลัยไม่ได้
ก็จะได้ไม่มีปัญหา จนเมื่อได้เป็นไทยใหม่มีชื่อนามสกุลไทยลูก
การเลิ ก สอนภาษาเวี ย ดนามคื อ หลานคนไทยเชื้อสายเวียดนามก็สามารถ
เลิกตอนทีเ่ วียดนามได้รวมประเทศแล้ว ผูน้ ำ� เรียนสูงได้ทุกคน”
ของประเทศไทยก็ได้ให้ยกเลิกองค์กรที่คน

66 67
The Story of Language

ปัจจุบนั ทีม่ หาวิทยาลัยนครพนม ได้จดั ให้มหี ลักสูตรด้านภาษาเวียดนาม เพือ่ เปิดโอกาส


ให้นสิ ติ นักศึกษาทีส่ นใจสามารถเลือกเรียนภาษาเวียดนามได้อย่างเสรี โดยนักศึกษาผูเ้ รียนมอง
ว่านอกจากภาษาไทย และภาษาสากลอย่างภาษาอังกฤษแล้ว การมีความรู้ในภาษาที่ 3 อย่าง
เช่นภาษาเวียดนามนับเป็นต้นทุนที่ดีส�ำหรับการประกอบอาชีพในอนาคต
“ภาษาเวียดนามเป็นหนึ่งในภาษาที่ คิ ดว่ า มี โ อกาสเพราะจั ง หวั ด นครพนมมี
ส�ำคัญมาก จังหวัดนครพนมมีคนไทยเชือ้ สาย สะพานข้ามไปประเทศลาว-ประเทศเวียดนาม
เวียดนามอยู่เยอะมาก มีหมู่บ้านโฮจิมินห์ที่ อีกทั้งนครพนมเป็นพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
ตั้งอยู่ที่บ้านนาจอก การสื่อสารที่จังหวัด น่าจะมีประโยชน์ต่อไปในอนาคต นครพนม
นครพนมมีการใช้ภาษาเวียดนามอยู่เยอะ เป็นจังหวัดที่ให้ความส�ำคัญด้านการเรียน
เช่นในตลาดสดเทศบาลนครพนม 80 % ภาษาเวียดนามเป็นอย่างมาก
จะมีแม่ค้าเป็นคนไทยเชื้อสายเวียดนาม
สอาด วงศ์ประเสริฐ ประโยชน์ที่จะได้จากการเรียนคือได้ใช้ใน อรณา กิตตินันทพร
ชีวิตประจ�ำวัน เรารู้ค�ำศัพท์จะได้สื่อสารกัน นักศึกษามหาวิทยาลัยนครพนมสาขา
ได้ไม่ผิดพลาด เรื่องประโยชน์ทางธุรกิจนั้น วิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปี 3
สอาด วงศ์ประเสริฐ อายุ 83 ปี อดีต กว่า 5 คน ดังนัน้ นักเรียนจะเรียน 30-40 คน
ครูใหญ่สอนภาษาเวียดนามกล่าวว่า ต่อห้องไม่ได้ เวลาเรียนถ้ามีต�ำรวจเข้าไปก็
“เหตุ ผ ลที่ ท างราชการไทยให้ ห ยุ ด จะมียาม ต้องมีคนเฝ้าดู ถ้าเรียนบ้านนี้จะมี
เรียนภาษาเวียดนามก็เพราะประเทศไทย โต๊ะเก้าอีก้ ระดานให้ครูสอนให้นกั เรียน คนใน
ตอนนั้นได้ประกาศกฎอัยการศึกเพื่อน�ำมา หมูบ่ า้ นจะคอยดูถา้ มีรถต�ำรวจมา ก็จะตะโกน
ควบคุมสถานการณ์พิเศษเช่น จลาจลหรือ บอกว่าต�ำรวจมาต้องหนีไปให้หมดเหลือ
สงคราม ประกาศตั้งแต่สมัยท่านจอมพล 5 คน เค้าไม่ให้เกิน 5 คนไงก็ต้องให้มันถูก
ป พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี จนถึง กฎหมาย 5 คน ก็จับไม่ได้ ถ้า 6-7 คน
สมั ย ท่ า นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต์ ก็ ไ ม่ เค้าจับเลย”
ประกาศเลิก มีการห้ามการชุมนุมกันเกิน

68 69
The Story of Language

สิง่ ทีท่ ำ� ให้การเรียนภาษาเวียดนามในนครพนมกลับมาคึกคักอีกครัง้ ก็เนือ่ งมากจากการ


ทีร่ ฐั บาลเวียดนามมีนโยบายเจริญความสัมพันธ์กบั ประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคอาเซียน โดยเฉพาะ
การเยือนหมู่บ้านคนไทยเชื้อสายเวียดนามของผู้น�ำของประเทศในช่วงปี พ.ศ. 2543
“การสอนภาษาเวียดนามในจังหวัด คนเวียดนามเรียนเพื่อที่ว่าเวลากลับบ้านที่
นครพนมเกิดขึน้ หลังจากการอพยพครัง้ ใหญ่ เวียดนามไปจะได้เรียนต่อสูงๆ ได้เลยไม่ตอ้ ง
เข้ามาในไทยช่วงภัยหิวโหยปี ค.ศ. 1945 เริม่ เรียนใหม่และสามารถสมัครงานท�ำได้เลย
ครัง้ นัน้ คนเวียดนามเข้ามาอยูใ่ นไทย ช่วงแรก ส่วนเรื่องการสอบข้ามชั้นเรียนนั้นจะมีการ อาจารย์พัชรพงษ์ ภูเบศรพีรวัส
เข้ามาเพื่อลี้ภัยไม่ได้ตั้งใจจะตั้งถิ่นฐานอยู่ สอบไขว้สลับกันเช่น ชุมชนบ้านนาจอก
ถาวร ผู้น�ำคนเวียดนามในยุกต์นั้นเห็นว่า จะสอบก็ ใ ห้ ค รู บ ้ า นดอนโมงมาคุ ม สอบ คนไทยเชื้อสายเวียดนามอยู่ มีการส่งเสริม จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนภาษา
ลูกหลานทีอ่ ยู่ในเมืองไทยควรได้เรียนภาษา ส่วนวิชาเรียนในห้องเรียนนั้นต้องเรียนวิชา ตามโรงเรียน สถาบันการศึกษาต่างๆ จึงมี เวียดนามทีจ่ งั หวัดนครพนมนัน้ มีพฒั นาการ
เวียดนาม บวกกับนโยบายของท่านโฮจิมนิ ห์ พืน้ ฐานเหมือนประเทศไทยเช่น คณิตศาสตร์ การปรับเพิม่ ให้เรียนภาษาเวียดนามมากขึน้ จากยุคสมัยแห่งการต้องห้าม จนก้าวเข้าสู่
คือการสู้กับภัยการไม่รู้หนังสือ นโยบายนี้ วิทยาศาสตร์ เรียนช่างไม้การงานพื้นฐาน อีกเหตุผลที่ส�ำคัญทางด้านเศรฐกิจประเทศ ยุคแห่งความเสรี ทีม่ คี วามสอดคล้องร่วมกัน
กระจายไปทั่วในเวียดนาม การสอนหนังสือ อาชีพเย็บปักถักร้อยมีหมด ในช่วงยุคแช่แข็ง เวียดนามเปิดประเทศมากขึ้น ยิ่งท�ำให้คน ไปกับการที่จังหวัดนครพนมก�ำลังพัฒนา
ในประเทศไทยจะมีสอนทุกหมู่บ้านที่มีคน ของภาษาเวี ย ดนามเกิ ด ขึ้ น ในช่ ว งที่ ค น หันมาสนใจศึกษาภาษาเวียดนามมากเพราะ ไปสู่การเป็นประตูอีกบานหนึ่งทั้งทางด้าน
ไทยเชือ้ สายเวียดนามเกาะกลุม่ กันอยู่ ครูผสู้ อน เวียดนามได้สญั ชาติไทย พ่อแม่เริม่ หันมาให้ เป็นประโยชน์ในด้านธุรกิจการลงทุน” เศรษฐกิ จ และการท่ อ งเที่ ย วสู ่ ป ระเทศ
จะอุทิศตนสอนให้คนที่มีความสามารถเพื่อ ลูกเรียนภาษาไทยแทนจึงเป็นช่วงยุตกิ ารเรียน เวียดนามและยังรวมไปถึงประเทศเพือ่ นบ้าน
จะได้น�ำไปสอนต่อๆ กันจะมีระบบนี้ในทุก เหลืองเพียงแต่การพูดการสื่อสาร ช่วงปี อาจารย์พัชรพงษ์ ภูเบศรพีรวัส ในย่านอาเซียนอีกด้วย
ชุมชน ช่วงนั้นรัฐบาลไทยเพ่งเล็งกลุ่มคน ค.ศ. 2004 มีกระแสการเรียนภาษาเวียดนาม อาจารย์สาขาวิชาภาษาเวียดนาม
เวียดนามมากเพราะเข้าใจว่าจะเรียนเพื่อ เกิดขึ้น ถูกส่งเสริมให้เป็นภาษาที่ 3 กระแส สถาบันภาษามหาวิทยาลัยนครพนม
เป็ น ปฏิ ป ั ก ษ์ กั บ ไทย แต่ ค วามจริ ง คื อ อาเซี่ยนมาแรง แถบจังหวัดชายแดนที่มี คนไทยเชื้อสายเวียดนาม
ชุมชนโพนบก

70 71

You might also like