You are on page 1of 29

ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 1 บทนา

บ ท ที่ 1 บ ทนำ
1.1 ฟิ สิ กส์
วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ (science) คื อ วิ ช าซึ่ งศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สิ่ งต่ า งๆ ในธรรมชาติ ด้ ว ย
กระบวนการค้นคว้าหาความรู ้ที่มีข้ นั ตอนมีระเบียบแบบแผน
วิชาวิทยาศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 2 สาขาหลัก ได้แก่
1. วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ เน้นศึกษาเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวติ
2. วิทยาศาสตร์ กายภาพ เน้นศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็ นอีกหลายแขนง
เช่น ฟิ สิ กส์ เคมี ธรณี วทิ ยา ดาราศาสตร์ เป็ นต้น
วิชาฟิ สิ กส์ (physics) คือ วิชาวิทยาศาสตร์ พ้ืนฐานสาขาหนึ่ ง นอกเหนือจากวิชาเคมี และ
ชีววิทยา วิชาฟิ สิ กส์จะศึกษากฎเกณฑ์ของธรรมชาติเฉพาะทางกายภาพ เช่น ศึกษาเรื่ องของคลื่น
แสง เสี ยง ไฟฟ้ า แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ มวล แรง พลังงาน โมเมนตัม เป็ นต้น
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ
1. พฤษศาสตร์ 2. สัตว์ศาสตร์ 3. ดาราศาสตร์ 4. แพทย์ศาสตร์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
ปริมาณ (Quantities) ในวิชาฟิ สิ กส์ อาจแบ่ งเป็ นกลุ่มย่ อยได้ ดังนี้
แบ่ งโดยใช้ ลกั ษณะของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ มาณเวกเตอร์ คือ ปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์ เช่น
การกระจัด แรง โมเมนตัม สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก เป็ นต้น
2. ปริ มาณสเกลาร์ คือ ปริ มาณที่บอกแต่ขนาดอย่างเดี ยวก็สมบูรณ์ ได้ เช่น มวล
พลังงาน เป็ นต้น

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
แบ่ งโดยใช้ ทมี่ าของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ ม าณมู ล ฐาน คื อ ปริ ม าณขั้นต้นที่ จาเป็ นต่อการอธิ บ ายปรากฏการณ์ ทาง
ฟิ สิ กส์ มี 7 ปริ มาณ
ปริมาณ หน่ วย สั ญลักษณ์
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟ้ า (Electric Current) แอมแปร์ A
อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิก เคลวิน K
ความเข้มของการส่ องสว่าง แคนเดลา cd
ปริ มาณของสาร โมล mol
2. ปริ มาณอนุพทั ธ์ คือ ปริ มาณที่เกิดขึ้นจากการนาปริ มาณมูลฐานมาประกอบเข้า
ด้วยกัน เช่น อัตราเร็ ว (เกิดจากระยะทางหรื อความยาวหารด้วยเวลา) เป็ นต้น
3. ปริ มาณเสริ ม คือ ปริ มาณที่นอกเหนือจากปริ มาณทั้งสองที่ผา่ นมา เช่น มุมของ
รู ปเรขาคณิ ต เป็ นต้น
2. ปริ มาณที่แสดงค่าแต่ขนาดเพียงอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เรี ยกว่าปริ มาณใด
1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. สัมบูรณ์

3. ปริ มาณที่ตอ้ งแสดงค่าทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้ความหมายสมบูรณ์เรี ยกว่าปริ มาณใด


1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. อนุพทั ธ์

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
4. ปริ มาณใดต่อไปนี้ เป็ นหน่วยฐานทั้งหมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พื้นที่ , ปริ มาตร
3. มวล , กระแสไฟฟ้ า , ปริ มาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน

5. หน่วยที่เป็ นมาตรฐานสากลของปริ มาณต่อไปนี้คือหน่วยอะไร ความยาว มวล เวลา


กระแสไฟฟ้ า
1. เซนติเมตร , กิโลกรัม , ชัว่ โมง , แอมแปร์ 2. เมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์
3. กิโลเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์ 4. มิลลิเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์

1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย


พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ สมมุติ
ไม้บรรทัดมีสเกลยาว 1 เมตรดังรู ป
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 100 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 เซนติเมตร (cm) ดังนั้น
1 เมตร
1 เซนติเมตร จะมีค่าเท่ากับ 100
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 มิลลิเมตร (mm) ดังนั้น
1 มิลลิเมตร จะเท่ากับ 10001 เมตร
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละ
1 เมตร
ช่องย่อยจะเรี ยก 1 ไมโครเมตร ( m ) ดังนั้น 1 ไมโครเมตร จะเท่ากับ 1000000
3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา

หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็ น 1,000,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่องย่อยจะ


1
เรี ยก 1 นาโนเมตร ( nm ) ดังนั้น 1 นาโนเมตร จะเท่ากับ 1000000000 เมตร
นอกจากความยาวแล้ว ปริ มาณอื่นๆ ก็สามารถแบ่งเป็ นหน่วยต่างๆ นอกเหนือจาก
หน่วยฐานได้เช่นกัน เช่น
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 100 เซนติกรัม ( cg )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1000 มิลลิกรัม ( mg ) 1g
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000 ไมโครกรัม (g )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000,000 นาโนกรัม ( ng )
6. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดเล็กที่สุด
1. 1 cm 2. 1 mm 3. 1 nm 4. 1 m

7. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดใหญ่ที่สุด


1. 8 cg 2. 8 mg 3. 8 ng 4. 8 g

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 834 เซนติเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร


วิธีทา วิธีที่ 1 เทียบบัญญัติไตรยางศ์
เนื่องจาก 100 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 เมตร
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 x100834 เมตร
= 8.34 เมตร
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
วิธีที่ 2 ใช้ตวั พหุคูณ
ค่ าอุปสรรคใช้ แทนตัวพหุคูณ
ค่ าพหุคูณ
ชื่อ สั ญลักษณ์
เอกซะ (exa) E 1018
เพตะ (peta ) P 1015
เทอรา (tera) T 1012
จิกะ (giga) G 109
* เมกกะ (mega) M 106
* กิโล (killo) k 103
เฮกโต (hecto) h 102
เดซิ (daci) d 10–1
* เซนติ (centi) c 10–2
* มิลลิ (milli) m 10–3
* ไมโคร (micro)  10–6
* นาโน (nano) n 10–9
* พิโค (pico) p 10–12
อัตโต (atto) a 10–18
จะได้วา่ 834 cm ( เปลี่ยน c เป็ น 10–2 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 834 x 10–2 m
= 8.34 m
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 8.34 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 720 ไมโครกรัม ให้มีหน่วยเป็ นกรัม โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 720 g ( เปลี่ยน  เป็ น 10–6 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 720 x 10–6 g
= 7.20 x 10–4 g
ดังนั้น 720 ไมโครกรัม มีค่าเท่ากับ 7.20 x 10–4 กรัม
5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 8.25 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ
วิธีทา 8.25 km ( เปลี่ยน k เป็ น 103 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 8.25 x 103 m
= 8250 m
ดังนั้น 8.25 กิโลเมตร มีค่าเท่ากับ 8250 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 4200 เมตร ให้มีหน่วยเป็ นไมโครเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 4200 m ( คูณด้วย 106 x 10–6 เพิม่ เข้าไป )
= 4200 x 106 x 10–6 m
= 4200 x 106 m
= 4.20 x 109 m
ดังนั้น 4200 เมตร มีค่าเท่ากับ 4.20 x 109 ไมโครเมตร
8. 6.23 nm มีคา่ เท่ากับกี่ m
1. 6.23 x 10–3 2. 6.23 x 10–6 3. 6.23 x 10–9 4. 6.23 x 10–12

9. 65.24 mg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.524 x 10–1 2. 6.524 x 10–2 3. 6.524 x 10–3 4. 6.524 x 10–4

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
10. 55.26 m มีค่าเท่ากับกี่ m
1. 5.526 x 10–3 2. 5.526 x 10–4 3. 5.526 x 10–5 4. 5.526 x 10–6

11. 62.5 pg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.25 x 10–9 2. 6.25 x 10–10 3. 6.25 x 10–11 4. 6.25 x 10–12

12. 425 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 4.25 x 103 2. 4.25 x 104 3. 4.25 x 105 4. 4.25 x 106

13. 0.042 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 4.2 x 10–6 2. 4.2 x 10–7 3. 4.2 x 10–8 4. 4.2 x 10–9

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
14. 0.0659 M มีค่าเท่ากับกี่ 
1. 6.59x104 2. 6.59x105 3. 6.59x106 4. 6.59x107

15. 0.0073 G มีค่าเท่ากับกี่ 


1. 7.3 x 103 2. 7.3 x 104 3. 7.3 x 105 4. 7.3 x 106

16. 720 cm มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 72 2. 7.20 3. 0.72 4. 0.072

17. 3.3 x 105 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 3.3 x 105 2. 3.3 x 106 3. 3.3 x 107 4. 3.3 x 108

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
18. 4.625 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 4.625 x 10–3 2. 4.625 x 10–4 3. 4.625 x 10–5 4. 4.625 x 10–6

19. 2.55 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 2.55 x 10–6 2. 2.55 x 10–7 3. 2.55 x 10–8 4. 2.55 x 10–9

20. 7.31 m มีคา่ เท่ากับกี่ cm


1. 7.31 x 10–2 2. 7.31 x 10–1 3. 73.1 4. 7.31 x 102

21. 7.23 x 10–5  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 10–7 4. 7.23 x 10–8

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
22. 7.23 x 103 A มีค่าเท่ากับกี่ mA
1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 105 4. 7.23 x 106

23. 6500 g มีค่าเท่ากับกี่ kg


1. 0.65 2. 6.5 3. 65 4. 650

24. 5530 A มีค่าเท่ากับกี่ kA


1. 553 2. 55.3 3. 5.53 4. 0.553

25. ความยาว 4.9 นาโนเมตร มีคา่ เท่าไรในหน่วยกิโลเมตร


1. 4.9x10–9 2. 4.9x10–11 3. 4.9x10–12 4. 4.9x10–13

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
26. จงเปลี่ยนหน่วยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กิโลกรัม เป็ นพิโคกรัม
1. 1.6x10–39 2. 1.6x10–36 3. 1.6x10–15 4. 1.6x10–12

27. มวล 100 เมกะกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 1 x 102 2. 1 x 106 3. 1 x 1012 4. 1 x 1014

28. 1.5 ตารางเซนติเมตร (cm2) มีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร (m2)


1. 1.5 x 10–4 2. 1 x 10–2 3. 1 x 102 4. 1 x 104

29. พื้นที่ 300 ตารางมิลลิเมตร (mm2) คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร (m2)


1. 3.00 x 104 2. 3.00 x 103 3. 3.00 x 10–3 4. 3.00 x 10–4

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
30. จงเปลี่ยน 4 x 10–8 ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) ให้เป็ นลูกบาศก์เมตร (m3)
1. 4 x 10–10 2. 4 x 10–12 3. 4 x 10–14 4. 4 x 10–16

31. จงเปลี่ยน 5 x 10–9 ลูกบาศก์เมตร (m3) ให้เป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)


1. 5 x 10–3 2. 5 x 10–2 3. 5 x 102 4. 4 x 104

32. จงเปลี่ยน 7 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ น นิวตัน/ตารางเมตร


1. 7 x 10–3 2. 7 x 10–2 3. 7 x 102 4. 7 x 104

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
33. จงเปลี่ยน 3 x 1011 ไมโครเมตร/มิลลิวนิ าที ให้เป็ น เมตร/วินาที
1. 3 x 106 2. 3 x 107 3. 3 x 108 4. 3 x 109

34. รถประจาทางคันหนึ่ งวิ่งด้วยความเร็ ว 36 กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง อยากทราบว่ารถคันนี้ ว่ิง


ด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

35. ความเร็ วขนาด 1 เมตรต่อวินาที เป็ นเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1
1. 3.6 2. 3.6 3. 3.6 x 103 4. 3.6 x 10–2

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
36. กาลัง 8.75x107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น
1. 87.5 MW 2. 87.5 GW 3. 875 kW 4. 875 W

37. ปริ มาณ 8 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 80 mm 2. 8 pm 3. 0.8 m 4. 0.8 nm

38. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 2 ตารางเมตร สู ง 1 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร


( 1 ลูกบาศก์เมตร = 1000 ลิตร )
1. 20 ลิตร 2. 200 ลิตร 3. 2000 ลิตร 4. 20000 ลิตร

39. น้ า 20 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เมตร )


1. 2 2. 0.2 3. 0.02 4. 0.002

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3 เลขนัยสาคัญ
หลักการอ่านค่าที่ได้จากวัดโดยทัว่ ไปนั้น ให้อ่านค่าที่ปรากฏบนสเกลแล้วสามารถเดาค่า
ทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง เช่นในรู ป
การอ่านขนาดความยาวของดินสอในรู ปนี้
ต้องอ่านค่าที่มีอยูแ่ ล้วบนสเกลคือ 1.8 cm
แล้วเดาทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง ซึ่ ง 1.8
มีค่าประมาณ 0.03 cm รวมแล้วความยาว
ดินสอแท่งนี้ ควรอ่านค่าเป็ น 1.83 cm ( 1.8 มีอยูแ่ ล้วบนสเกล 0.03 ได้มาจากการคาดเดา )
เลขนัยสาคัญ ( Significant ) คือเลขที่ได้จากการอ่านค่าในการวัด ซึ่งจะประกอบด้วย เลขที่
แน่นอน ( เลขที่อยูบ่ นสเกล) และเลขที่ไม่แน่นอน (เลขที่ได้จากการคาดเดา 1 ตัว )
40. จากรู ป ความยาวของแท่งดินสอมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร
1. 9.4
2. 9.375
3. 9.36
4. 9.3

41. จากรู ป ควรบันทึกความยาวของดินสอเป็ นเท่าใด


1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม. 4. ถูกทุกข้อ

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
1) เลขที่ไม่ใช่เลข 0 ทุกตัวถือเป็ นเลขนัยสาคัญ
2) เลข 0 ที่อยูห่ น้าจานวนทั้งหมด ไม่ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 0.00046 มีเลขนัยสาคัญ
2 ตัว คือ 4 และ 6 เท่านั้น
3) เลข 0 ที่อยูก่ ลางจานวน ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 7.03 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 7 ,
0 , 0 และ 3
4) กรณี ที่เขียนจานวนในรู ปทศนิยม 0 ที่อยูข่ า้ งหลัง ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 8.000
มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว คือ 8 , 0 , 0 และ 0
5) ถ้าเขียนจานวนในรู ปจานวนเต็มธรรมดาไม่มีทศนิยม เลข 0 ที่อยูห่ ลังจานวนไม่ถือ
เป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1500 มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว คือ เลข 1 กับ 5 เท่านั้น
6) ถ้าเขียนจานวนในรู ป a x 10n ให้นบั จานวนเลขนัยสาคัญของ a เท่านั้นเป็ นคาตอบ
เช่น 5.23 x 1089 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 5 , 2 และ 3 เท่านั้น
42(แนว มช) นักเรี ยนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็ น 0.0413 กิโลกรัม , 5.33 x 10–42
เมตร , 36.4 เซนติเมตร และ 2.00 วินาที จานวนเหล่านี้มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั
1. 1 ตัว 2. 2 ตัว 3. 3 ตัว 4. 4 ตัว

43. ระยะทางจากกรุ งเทพถึงนราธิวาสเป็ น 1150 กิโลเมตร ท่านคิดว่า 1150 มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ
วิธีการ “ ให้ บ วก หรื อ ลบตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้ต้อ งมี ต าแหน่ ง ทศนิ ย ม เท่ า กับ
ตาแหน่งทศนิยมของจานวนในโจทย์ที่มีตาแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 4.187  มีทศนิยม 3 ตาแหน่ง
+3 . 4  มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
–2 . 3 2  มีทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.267
เนื่องจาก 3.4 ในโจทย์ มีตาแหน่งทศนิ ยมน้อยที่สุดคือ 1 ตาแหน่ง ดังนั้นคาตอบต้องมี
ทศนิยม 1 ตาแหน่งด้วย จึงต้องตอบ 5.3 เท่านั้น
44. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.37 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458

1.3.3 การคูณ และ หาร เลขนัยสาคัญ


วิธีการ “ ให้คู ณ หรื อหารตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ได้ตอ้ งมี จานวนตัวของเลขนัยส าคัญ
เท่ากับจานวนตัวเลขนัยสาคัญของโจทย์ที่มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 3.24  มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
x 2 . 0  มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
6.4 8 0

เนื่องจาก 2.0 ในโจทย์ มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด คือ 2 ตัว ดังนั้นคาตอบ


จะต้องมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัวด้วย ข้อนี้ จึงต้องตอบ 6.5 เท่านั้น
17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
45. ห้องเรี ยนห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องนี้ จะมีพ้นื ที่เท่าไร
1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร

46. เหล็กแท่งหนึ่งมวล 40.0 กรัม มีปริ มาตร 5.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถามว่าตัวเลขที่เหมาะ


สมสาหรับค่าความหนาแน่นของเหล็กแท่งนี้ เป็ นกี่กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 8 2. 8.0 3. 8.00 4. 8.000

47. นักเรี ยนคนหนึ่งใช้เครื่ องวัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรี ยญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ


พิจารณาเลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
48(แนว มช) มวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็ นสี่ ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่ วนจะมีขนาด
กี่กิโลกรัม
1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000

6.5 + 1.95 – 0.6


49. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 4.5 2. 4.6 3. 4.55 4. 4.7

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ น้ นั เมื่อทาการทดลองเสร็ จแล้วต้องมีการนาผลการทดลอง
ที่ได้มาวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลวิธีหนึ่งคือการนาผลการทดลองมาการเขียนกราฟแบบ
เส้น ซึ่ งเส้นกราฟที่ได้อาจเป็ นรู ปเส้นตรง พาราโบลา รู ปคลื่น หรื ออื่นๆ ในกรณี ที่กราฟที่ได้
เป็ นรู ปเส้นตรง จะมีค่าที่มีประโยชน์ต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ค่าหนึ่งคือ ความชันของเส้นตรง

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
วิธีการหาค่ าความชันเส้ นตรง ( m )
วิธีที่ 1 หาจากสู ตรต่อไปนี้
y y
m = x2  x1 Y
(x2 , y2)
2 1 
เมื่อ m คือ ความชันเส้นตรง
(x1 , y1)
( x1 , y1 ) และ ( x2 , y2 ) เป็ น 
 X
จุด 2 จุดที่เส้นตรงผ่าน
หรื อ m = tan 
เมื่อ  คือ มุมเอียง
คือ มุมที่เส้นตรงเอียงกระทากับแกน + X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
วิธีที่ 2 หาจากสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง คือสมการที่เมื่อนาไปเขียนกราฟจะได้กราฟเป็ นรู ปเส้นตรง
โดยทัว่ ไปแล้วสมการเส้นตรงจะอยูใ่ นรู ป y = m x + c จากสมการเส้นตรงรู ปนี้จะได้วา่
ความชันเส้นตรง ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ ของ x
และ จุดตัดแกน Y จะมีค่า y = c
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุด
( 0 , 1 ) และ ( 3 , 7 ) Y
( 3 ,7 )
วิธีทา สมมุติให้ ( x1 , y1 ) = ( 0 , 1 )
และ ( x2 , y2 ) = ( 3 , 7 ) (0,1)
y y
จาก m = x2  x1 = 37  01 = 63 = 2
X
2 1
นัน่ คือเส้นตรงนี้มีค่าความชันเท่ากับ 2

ตัวอย่าง เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 45o


จะมีความชันเท่าไร Y

วิธีทา โจทย์บอก มุมเอียง (  ) = 45o


จาก m = tan  = tan 45o = 1 45o X
นัน่ คือเส้นตรงนี้มีค่าความชันเท่ากับ 1

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่มีสมการเป็ น 2 y = 6 x + 16 พร้อมทั้งบอกค่า y ที่จุด
ซึ่งเส้นกราฟตัดแกน Y
วิธีทา จาก 2 y = 6 x + 16 (ต้องเอา 2 หารตลอดเพื่อให้สมั ประสิ ทธิ์ของ y เป็ น 1 ก่อน)
2y = 6x + 16
2 2 2 Y
y = 3x + 8
เทียบกับ y = m x + c
จะได้ ความชัน ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ x = 3 8
X
และที่จุดตัดแกน Y ค่า y = c = 8
50. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุดต่อไปนี้ ตามลาดับ
ก. (0 , 0) , (2 , 6) ข. (3 , 4) , (6 , –5)
ค. (3 , 5) , (4 , 5) ง. (4 , 6) , (4 , 7)
1. 3 , –3 , 0 , หาค่าไม่ได้ 2. –3 , 3 , 0 , หาค่าไม่ได้
3. 0 , –3 , 3 , 0 4. 3 , 3 , 0 , 0

51. เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 60o จะมีความชันเท่าไร


1. 1 2. 0 3. 3 4. 1 / 3

52. จากสมการเส้นตรงต่อไปนี้ เส้นตรงมีความชันเท่าไร


ก. y = 4 x + 6 ข. y = 23 x – 4 ค. 4 y = 8 x – 4
1. 4 , 2/3 , 0 2. 4 , 2/3 , 2
3. 4 , 3/2 , 0 4. 4 , 3/2 , 2

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
เฉลยติ ว สบำย บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.



22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา

ต ะลุ ยโจท ย์ ทั่ ว ไป บท ที่ 1 บท นำ


1.1 ฟิ สิ กส์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นความแตกต่างของปริ มาณเวกเตอร์ และสเกลาร์
1. ปริ มาณเวกเตอร์ มีทิศทาง แต่สเกลลาร์ ไม่มี
2. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศทาง แต่เวกเตอร์ ไม่มี
3. ปริ มาณเวกเตอร์ มีขนาด แต่สเกลลาร์ ไม่มี
4. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศขนาด แต่เวกเตอร์ ไม่มี

2. ในระบบเอสไอ เวลามีหน่วยเป็ น
1. วินาที 2. นาที 3. ชัว่ โมง 4. ถูกทุกข้อ

3. หน่วย SI ในข้อใดเป็ นหน่วยมูลฐานทั้งหมด


1. แอมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์

4(มช 42) ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยฐานของระบบหน่วยระหว่างชาติ (เอสไอ) ทั้งหมด


1. วินาที โวลต์ แอมแปร์ 2. แคนเดลา ลูเมน เฮนรี่
3. นิวตัน คูลอมบ์ จูล 4. โอห์ม โมล ซีเมนส์

5. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน่วย อนุพทั ธ์ในระบบ SI


1. แอมแปร์ 2. จูล 3. โมล 4. แคนเดลา

6. หน่วยในข้อใดเป็ นหน่วยเสริ ม
1. เรเดียน 2. เมตร/วินาที 3. เฮิรตซ์ 4. เคลวิน
23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย
7. 8.5 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 8.5 x 10–3 2. 8.5 x 10–4 3. 8.5 x 10–5 4. 8.5 x 10–6

8. 3.68 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 3.68 x 10–6 2. 3.68 x 10–7 3. 3.68 x 10–8 4. 3.68 x 10–9

9. 3.32 x 105  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 3.32 x 102 2. 3.32 x 10–3 3. 3.32 x 10–7 4. 3.32 x 10–8

10. 8.5 x 10–7 A มีค่าเท่ากับกี่ mA


1. 8.5 x 10–4 2. 8.5 x 10–3 3. 8.5 x 104 4. 8.5 x 105

11. ระยะทาง 5 เมกะเมตร มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตร


1. 5 x 102 2. 5 x 103 3. 5 x 106 4. 5 x 109

12. มวล 500 นาโนกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 0.5 2. 5 x 10–2 3. 5 x 10–3 4. 5 x 10–6

13. ปริ มาณ 4 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 40 mm 2. 4 pm 3. 0.4 m 4. 0.4 nm

14. กาลัง 3.75 x 107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น


1. 37.5 MW 2. 37.5 GW 3. 375 kW 4. 375 W

15. พลังงาน 3.2 x 1016 จูล มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 0.32 เอกซะจูล 2. 32 เพตะจูล 3. 3200 เทอราจูล 4. 320 จิกะจูล

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
16. แสงสี เหลืองมีความยาวคลื่น 0.000006 m จะมีคา่ เท่ากับค่าใด
1. 0.6 mm 2. 60 pm 3. 6 m 4. 600 nm

17. พื้นที่ 3.0 ตารางมิลลิเมตร คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร


1. 3.0 x 106 2. 3.0 x 103 3. 3.0 x 10–3 4. 3.0 x 10–6

18. พื้นที่ 500 ตารางเซนติเมตร คิดเป็ นกี่ตารางเมตร


1. 5 x 10–2 2. 5 x 10–4 3. 5 x 10–6 4. 5 x 10–8

19. จงเปลี่ยน 4 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ นนิวตัน/ตารางเมตร


1. 4 x 10–3 2. 4 x 10–2 3. 4 x 102 4. 4 x 104

20. น้ ามีความหนาแน่น 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลกรัม / ลบ.เมตร


1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–2 3. 1 x 103 4. 1 x 102

21. อัตราเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง มีค่าเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที


1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

22. อัตราเร็ ว 25 เมตรต่อวินาที มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1. 6.95 2. 50 3. 75 4. 90

23. ปูนซีเมนต์ 1 ตัน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (1 ตัน คือ 1000 กิโลกรัม)


1. 1 Gg 2. 1 Mg 3. 1 mg 4. 1 g

24. น้ า 10 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 เมตร3 )


1. 10–4 2. 10–3 3. 10–2 4. 10–1

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
25. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 1.5 ตารางเมตรสู ง 1.2 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร
1. 180 ลิตร 2. 600 ลิตร 3. 1800 ลิตร 4. 18000 ลิตร

26. หน่วยวัดความยาวของไทยสมัยก่อนคือ คืบ ศอก วา เส้น โดยสองคืบเป็ นหนึ่งศอก , 4 ศอก


เป็ นหนึ่งวา และ 20 วาเป็ นหนึ่งเส้น ปั จจุบนั เทียบหนึ่งวาเป็ นกี่เมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

27. พื้นที่ขนาด 1 ตารางวา จะมีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร


1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

28. ที่ดินแปลงหนึ่งกว้าง 5 เมตร ยาว 24 เมตร อยากทราบว่าจะมีพ้นื ที่กี่ตารางวา


1. 16 2. 20 3. 24 4. 30

29. พื้นที่ 100 ตารางวา เรี ยกว่า หนึ่งงาน และ 4 งาน คือพื้นที่ 1 ไร่ พื้นที่หนึ่งไร่ มีกี่
ตารางเมตร
1. 1600 2. 2000 3. 2400 4. 3000
30

30. พื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร มีคา่ กี่ไร่ ( 1 ไร่ มี 1600 ตารางเมตร)


1. 125 2. 250 3. 625 4. 2500

1.3 เลขนัยสาคัญ
31. จากรู ปที่กาหนดให้ ความยาวที่อ่านได้ควรเป็ นข้อใด

1 2 3 4 5 6 7 8 cm
9
1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 cm 4. 2.455 cm

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
32. ปริ มาณในข้อใดที่ได้จากการวัดโดยใช้ไม้บรรทัดที่มีความละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร
1. 9 เซนติเมตร 2. 9.0 เซนติเมตร
3. 9.00 เซนติเมตร 4. 9.000 เซนติเมตร

33. เลขนัยสาคัญคืออะไร
1. เลขที่วดั ได้จริ ง ๆ จากเครื่ องมือวัด
2. เลขที่อ่านได้จากเครื่ องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ประมาณอีก 1 ตัว
3. เลขที่ประมาณขึ้นมาในการวัด
4. เลขที่แน่นอนที่อ่านได้ในการวัด

1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
34. จงพิจารณาปริ มาณต่อไปนี้ขอ้ ใดมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
1. 20 2. 0.2 3. 0.04 4. 0.010

35. จงบอกจานวนเลขนัยสาคัญของปริ มาณต่อไปนี้ 105 , 0.0020 , 3.5 x 103


1. 3 , 2 และ 2 ตัว 2. 3 , 4 และ 5 ตัว
3. บอกไม่ได้ , 1 และ 4 ตัว 4. 2 , 1 และ 3 ตัว

36. ปริ มาณในข้อใดมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว ทั้งหมด


1. 0.15 , 3.0 x 103 , 151 2. 1.00 , 0.03 , 0.12 x 10–3
3. 10.0 , 100 , 3.06 x 109 4. 0.120 , 4.32 x 10–21 , 168

1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ

37. จงหาผลลัพธ์ของคาต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.35 + 2.1 – 0.002


1. 4 2. 4.4 3. 4.445 4. 4.448

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.3 การคูณ และหาร เลขนัยสาคัญ
104 ) x 3.6
38. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ (1.50 x0.25
1. 2.2 x 105 2. 2.16 x 105 3. 2 x 105 4. 2.1600 x 105
4.5 + 3.95 – 0.5
39. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 5.6 2. 5.65 3. 5.7 4. 5.75

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


40. จากกราฟที่กาหนดให้ จงหาค่าความชันของกราฟ
1. 14 v (m/s)
2. 12 4
3. 1 2
4. 2 t(s)
0 4 6

41. จากความสัมพันธ์ของปริ มาณ 2 ปริ มาณ เขียนเป็ นสมการได้วา่ 2x + 3y = 6 เมื่อนาไป


เขียนกราฟระบบพิกดั ฉากจะได้กราฟมีค่าความชันเท่าไร
1. 32 2. 23 3. 23 4. 23

42. จากการทดลองหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ s (เมตร)


ของวัตถุหนึ่ง พบว่าระยะทาง ( s ) ที่วตั ถุ
12
เคลื่อนที่ได้ กับเวลา ( t ) ที่วตั ถุใช้ในการ เคลื่อน
มีความสัมพันธ์ดงั กราฟ จงหาอัตราเร็ วของ
การเคลื่อนที่ของวัตถุน้ ี ในหน่วย เมตร/วินาที ( 0 ,0 ) 10 t (วินาที)
( กาหนดให้ s = V t เมื่อ s คือ ระยะทาง ( เมตร )
V คือ อัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
t คือ เวลา ( วินาที ) )


28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบ 1.2



You might also like