You are on page 1of 18

ิ สส

โครงการขยายผลการวิจัยและองค์ความรู ้ฟิ สก ์ ค
ู่ รูและเยาวชน
ิ ส์ไทย - สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สมาคมพิสก http://www.thaiphysoc.org/exam

เฉลยชุดข้อสอบ : แสงเชงิ เรขาคณิต ชุดที 2

ข้อที 1

ตอบ −20 cm

เนืองจาก แสงจะกระจายออกเมือผ่านเลนส์เว ้า หากนํ ากระจกราบมาวางชิดเลนส์อก ี ด ้าน แสงจะถูกกระจกสะท ้อนกลับไปใน


ลักษณะดังภาพ จึงทําให ้เสมือนกับมีแนวแสงตัดกันที I′ เป็ นระยะ 20 cm หลังกระจกราบ

ข้อที 2

−1 sin θ
tan[sin ( )]
μ
ตอบ t [1 − ]
tan θ
จาก ′
Snell s law ณ ตําแหน่งทีแสงพุง่ ออกจากแผ่นแก ้ว

sin θ = μ sin β

และจากเรขาคณิต ;

D
tan θ =
t

d
tan β =
t

D − d = t(tan θ − tan β)

และจากสามเหลียม IOP ;

D − d
tan θ =
δ

ดังนัน

t(tan θ − tan β)
δ =
tan θ

tan β
= t − t
tan θ
−1 sin θ
tan[sin ( )]
μ
= t [1 − ]
tan θ

ข้อที 3

1
( )
1
ตอบ 4 ⋅ sin
−1
( sin θ) − 2θ
μ

่ ยดนํ า จากกฏของ
เมือแสงเดินทางทางจากอากาศสูห ′
Snell s law

(1) sin θ = μ sin r

1
−1
r = sin ( sin θ)
μ

มุมภายในของสีเหลียม ABCO = 360



ดังนัน

θ + ϕ + θ + 2(180 − 2r) = 360

ϕ = 4r − 2θ

1
−1
ϕ = 4 ⋅ sin ( sin θ) − 2θ
μ

ข้อที 4

ตอบ ≈ 2

สมมติให ้แสงเข ้ามาอยูส


่ งู h

จาก ′
Snell s law

sin θ = μ sin α
sin θ = μ sin α

จากรูป

θ = 2α

โจทย์กําหนดให ้ฉายแสงใกล ้ ๆ เส ้นผ่านศูนย์กลางมาก ๆ ดังนัน

sin θ ≈ θ

แทนค่าลงใน ′
Snell s law

θ
θ ≈ μ
2

μ ≈ 2

ข้อที 5

5
ตอบ ภาพจริงหัวกลับ 15 cm ทางขวาเลนส์เว ้า ด ้วยกําลังขยาย เท่า
6

เมือแสงจากวัตถุทระยะ
ี 48 cm เคลือนทีผ่านเลนส์นูนความยาวโฟกัส 12 cm สามารถหาระยะภาพได ้จาก

1 1 1
= +
12 48 q1

q1 = 16

นัน คือถ ้าหากไม่มเี ลนส์เว ้า ภาพจริงจะเกิด ณ ตําแหน่ง 16 cm ทางขวาเลนส์นูน และหากนํ าเลนส์เว ้ามาวางที 10 cm ทาง
ขวาเลนส์นูน ภาพจริงจากเลนส์นูนจะทําหน ้าทีเสมือนเป็ นวัตถุ(วัตถุเสมือน)ของเลนส์เว ้า วางอยูท
่ ระยะ
ี −6 cm ดังนั นถ ้า
เลนส์เว ้ามีความยาวโฟกัส −10 cm แล ้ว สามารถหาระยะภาพได ้จาก

1 1 1
1 1 1
= +
−10 −6 q2

q2 = 15

เป็ นภาพจริง
กําลังขยาย m หาจาก ผลคูณระหว่างกําลังขยายจากเลนส์นูนและเลนส์เว ้า

q1 q2
m = (− ) (− )
p1 p2

16 15
= (− ) (− )
48 −6

5
= −
6

ภาพสุดท ้ายทีได ้เป็ นภาพจริงหัวกลับ(เทียบวัตถุ) อยูห


่ า่ งจากเลนส์เว ้า 15 cm ไปทางขวา

ข้อที 6

ตอบ
(1) วางเลนส์เว ้าห่างเลนส์นูนเป็ นระยะ f1 − f2
2
f2
(2) ลําแสงออกมีความเข ้มของแสงเป็ น ( ) เท่าของลําแสงเข ้า
f1

f1 f2
(3) แสงจะตัดกันทีระยะ , ทางซ ้ายของเลนส์นูน
f1 − f2

ลําแสงจะมีการเดินทางดังรูป โดยเมือแสง (จากอนันต์) วิงเข ้ามาเจอเลนส์นูนจะถูกโฟกัสไปที F ซึงจะประพฤติตวั เสมือนกับเป็ น


"วัตถุ" ของเลนส์เว ้า เพือให ้เลนส์เว ้ากระจายแสงไปทีอนันต์ สามารถแสดงการคํานวณได ้ดังนี

1 1 1
+ =
p1 q1 f1

q1 = f1

และสําหรับเลนส์เว ้า :

1 1 1
+ =
−(f1 − D) q2 −f2

f1 − D = f2

∴   D = f1 − f2

สังเกตุวา่ เครืองหมายลบหน ้า (f1 − D) บ่งถึงว่า เป็ นระยะวัตถุเสมือน


ถ ้าคิดว่าไม่เสียพลังงานในตัวกลางเลย พลังงานลําแสงเข ้า = พลังงานของลําแสงออก
จาก

P P
I = =
2
A πR

2
I2 R2
= ( )
I1 R1

2
f2
= ( )
f1

FOCUS เลนส์ประกบ นันเสมือนกําหนดให ้ D = 0 แล ้วหา q2 =? ดังนัน เมือแสงจากอนันต์ผา่ นเลนส์นูน จะได ้ว่า

1 1 1
+ =
P1 q1 f1

q1 = f1

หลังจากนัน q1 จะเสมือนกับเป็ นวัตถุอยูท


่ ตํ
ี าแหน่ง f1 ของเลนส์เว ้า

1 1 1
+ =
−f1 q2 −f2

f1 f2
q2 = < 0
f2 − f1

∴ แสงโฟกัสที f1 f2 /(f1 − f2 ) ตัดที ด ้านซ ้ายของระบบเลนส์คู่

ข้อที 7

ตอบ θ = 30


α = 30 + θ
จากรูป α = 30∘ + θ
่ ากาศ;
จาก Snell′ s law ณ ตําแหน่งทีแสงเคลือนทีจากวัตถุโปร่งใสสูอ

n sin 30 = 1 ⋅ sin α;

α = 60
∘ ∘
∴ θ = α − 30 = 30

ข้อที 8

ตอบ f = 2a − b

จากเงือนไขทีโจทย์ให ้ เราได ้

1 1 1 1 1 1
+ = → + = (1)
P1 q1 f a q1 f

1 1 1 1 1 1
+ = → + = (2)
P2 q2 f b q2 f

และ "ภาพของ ก. เป็ นสองเท่าของภาพของ ข." แสดงว่ากําลังขยายของระบบ ก.


q1
m1 =
P1

มีคา่ เป็ นสองเท่าของระบบ ข.


q2 q1 q2 q1 q2
(m 2 = ) → − = 2 → = 2 (3)
P2 P1 P2 a b

มีลบเนืองจาก ก. ได ้ภาพเสมือน ข. ได ้ภาพจริง


มี 3 สมการ 3 ตัวแปร q1  ,  q2  ,  f แก ้สมการได ้

f = 2a − b

ข้อที 9


ϕ = 90 + arcsin(n cos 2θ)
ตอบ ϕ = 90

+ arcsin(n cos 2θ)

มุม θ นีจะต ้องมีคา่ เท่ากับ "มุมวิกฤต" พอดี จึงจะทําให ้แสงทีเข ้ามากระทบรอยต่อเกิดการสะท ้อนกลับหมด
จาก Snell′ s law ;

n sin θc = (1) sin 90

1
θc = arcsin
n

θc นีจะเป็ นมุมทีน ้อยทีสุดทีจะทําให ้ลําแสงสะท ้อนทีด ้าน ¯


AC ึ
กลับเข ้ามาด ้านในปริซม

จากรูป พิจารณาได ้ว่า มุมระหว่างรังสีตกกระทบกับด ้าน ¯


BC มีขนาดเท่ากับ 2θ ดังนัน จากSnell′ s law จะได ้ว่า

n sin(90 − 2θ) = sin α

α = arcsin(n cos 2θ)

∘ ∘
∴ ϕ = 90 + α = 90 + arcsin(n cos 2θ)

ข้อที 10

17
ตอบ 1 +   เท่า
f

กําหนดว่าระยะวัตถุ คือ p(cm) หน ้ากระจก จะได ้


1 1 1
1 1 1
+ =
p −17 f

1 1 1
= +
p f 17

17 + f
=
17f

ระยะภาพ
โดยกําลังขยาย = −
ระยะวัตถุ

(−17) 17
− = 1 +   เท่า
p f

ข้อที 11

ตอบ u
2
+ 8uv + 4v
2
= 0

1 1 1 1 1
เนืองจากใช ้เลนส์เดิม: = + = + โดย −δu = 4δv
f u v u + δu v + δv

ได ้

1 1 1 1
+ = +
u v u − 4δv v + δv

v + δv + u − 4δv
2
=      ; (δv) ≈ 0
(u − 4δv)(v + δv)

u + v u + v − 3δv

uv uv + (u + 4v)δv

(u + v − 3δv) u + 4v
−1
= (1 + δv)
uv uv

(u + v − 3δv) u + 4v
≈ (1 − δv)
uv uv

u + v u + v 3δv (u + v)(u + 4v)


≈ − − δv
2
uv uv uv uv

3 (u + v)(u + 4v)
− =
2
uv (uv )

2 2
u + 8uv + 4v = 0

ข้อที 12

α α
ตอบ sin ( + β)/ sin( )
2 2
จาก ′
Snell s law เมือลําแสงตกกระทบทีจุด O

sin i = μ sin r

หามุม i และ r จากเรขาคณิต

π − α π
= β + ( − i)
2 2
α
i = + β
2

และ

π π − α
− r =
2 2
α
r =
2

sin i
∴    μ =
sin r
α α
= sin ( + β)/ sin( )
2 2

ข้อที 13


2√ 3
ตอบ L
3

วางแนวทางเดินของแสงดังรูป
L
แนวทางเดินของแสงจะผ่านระยะทางเท่ากับ 10 เท่าของ EF , ระยะทาง AF =
10
และจากตรีโกณมิต ิ

L
cos ϕ =
10EF

จากนันหามุม ϕ จาก ′
snell s law ทีลําแสงตกกระทบทีจุด E

(1) sin θ = μ sin ϕ

3
−1
sin(sin ) = (1.5) sin ϕ
4
3 2
sin ϕ = ⋅
4 3
1
−1 ∘
ϕ = sin ( ) = 30
2

ดังนัน จาก

L

cos ϕ = cos 30 =
10EF

√3 L
=
2 10EF
L 2
EF = ×

10 √3

2√ 3
∴    10EF = L
3


2√ 3
∴ ระยะทางทังหมด = L
3

ข้อที 14

ตอบ 2 เท่า

เพือความง่ายในการวาดรูปสามารถใช ้กระจกเงาราบแทนได ้ จากรูปเส ้นรังสีตกกระทบทีจุด P มุมตกกระทบ (ϕ) และมุม


สะท ้อนต ้องเป็ นไปตามกฎการสะท ้อน
จากเลขาคณิตดังรูป แนวรังสีสะท ้อนใหม่หาจากกฎการสะท ้อน(หลังจากบิดกระจกไปแล ้ว θ ) และเบนไปจากเส ้นปกติใหม่
เท่ากับ ϕ + θ

ี า่ เท่ากับ θ + ϕ + θ เทียบแนวเส ้นปกติเดิม


ดังนันแนวรังสีใหม่มค
แนวรังสีเปลียนไปจากเดิม(เปลียนไปจากตอนทียังไม่บด ิ กระจก)เท่ากับ แนวรังสีใหม่ลบแนวรังสีเดิม(เทียบเส ้นปกติเดิม)

(θ + ϕ + θ) − ϕ = 2θ

∴ แสงเบนจากแนวเดิม 2θ
แสงเบนไปจากแนวเดิม 2 เท่าของมุมทีบิดไป

ข้อที 15

ตอบ 10.1)  α = θ2 + θ3
π
10.2)  δ = + θ1 − θ4 − α
2
1
−1
10.3)  X = n sin[α − sin ( sin θ1 )]
n
พิจารณา Δ ทีมีมม
ุ ภายใน π  ;

π π
π = α + ( − θ2 ) + ( − θ3 )
2 2

∴    α = θ2 + θ3

(ตอบคําถามข ้อ 10.1 )

จากเรขาคณิต
π
δ = (θ1 − θ2 ) + [( − θ4 ) − θ3 ]
2
π
δ = + θ1 − θ4 − α
2

(ตอบคําถามข ้อ (10.2)

ผลจากคําตอบนีและจากคําถามข ้อ 10.3 จะได ้ว่า


π
δ = θ1 − α + ( − θ4 )
2
−1
= θ1 − α + sin (X)

นันคือ
π
X = sin( − θ4 )
2


พิจารณาลําแสงทีพุง่ ออกจากปริซม
π
n sin θ3 = sin( − θ4 )
2

จากความสัมพันธ์ในข ้อ 10.1

θ3 = α − θ2

และสามารถหา θ2 จากการใช ้ Snell's law ณ ตําแหน่งแสงพุง่ เข ้าปริซม



sin θ1 = n sin θ2

1
−1
θ2 = sin ( sin θ1 )
n

ดังนัน

1
−1
X = n sin[α − sin ( sin θ1 )]
n

(เป็ นคําตอบข ้อ 10.3 )

ข้อที 16

ตอบ 1)  10 mm

2)  160 mm

หลอดไฟทังสองทําหน ้าทีเป็ นวัตถุทมี


ี ขนาดดังรูป ซึงในแต่ละรูปสามารถเขียนสมการออกมากได ้ทังหมด 6 สมการดังต่อไปนี

จากรูปที 1 กําลังขยาย (m)

40 mm q1
m = = − (1)
S P1

ระยะโฟกัส (f )

1 1 1
= + (2)
f P1 q1

และระยะ

P1 + q1 = 1.0  m = 1000  mm (3)

จากรูปที 2 กําลังขยาย (m)

2.5 mm
2.5 mm q2
m = = − (4)
S P2

ระยะโฟกัส (f )

1 1 1
= + (5)
f P2 q2

และระยะ

P2 + q2 = 1.0  m = 1000  mm (6)

ต่อไปจะเป็ นกระบวนการการแก ้สมการทัง 6 สมการนี


เขียนสมการที (1) และ (4) ใหม่ได ้ดังนี

40 1000 − P1
(1) →     = − (7)
S P1

1000S
P1 = (8)
S − 40

2.5 1000 − P2
(4) →     = − (9)
S P2

1000S
P2 = (10)
S − 2.5

เขียนสมการที (2) และ (5) ใหม่ได ้ดังนี

1 1 1
(2) →     = + (11)
f P1 1000 − P1
2
1000P1 − P
1
f = (12)
1000
1 1 1
(5) →     = + (13)
f P2 1000 − P2
2
1000P2 − P
2
f = (14)
1000

เนืองจากเป็ นเลนส์อน
ั เดียวกัน ดังนัน สมการที (12) = (14) และแทนค่า P1 และ P2 ลงในสมการทังสอง จะได ้ว่าผล
สุดท ้ายว่า

S = −10  mm

สังเกตุวา่ ค่า S ไม่ควรเป็ นลบ แต่เมือแทนค่า S ลงในสมการกําลังขยายแล ้ว ค่ากําลังขยายจะเป็ นลบนันบ่งว่า ภาพทีเกิด


ขึนเป็ นภาพกลับหัว (หัวของภาพชีไปทิศตรงข ้ามกับหัวของวัตถุ)
( เป็ นคําตอบข ้อ 16.1 )

ในการหาความยาวโฟกัสของเลนส์ สามารถหาได ้จากการแทนค่า P1 หรือ P2 ลงในสมการที (12) หรือ (14) ได ้ความยาว


โฟกัสของเลนส์เป็ น

f = +160  mm

ซึงบ่งว่าเป็ นเลนส์นูน
(เป็ นคําตอบข ้อ 16.2 )

ข้อที 17
ตอบ วาง L1 และL2 ห่างกัน 8 cm

การเกิดภาพจาก L1 จะไปเป็ นวัตถใน L2

1 1 1
+ =
P1 q1 f

1 1 1
+ =
30 q1 −20

∴ q1 = −12 cm

เกิดภาพทีวัตถุ "หน ้า L" นันคือ ภาพนีจะเป็ นวัถตุให ้ L2 โดยมีระยะวัตถุ เป็ น

12 + D = P2

1 1 1
+ =
P2 q2 f2

กําหนดให ้
q2 = ∞

เพราะต ้องการให ้ภาพเกิดทีอนันต์ ได ้

1 1 1
+ =
12 + D ∞ 20

D = 8

∴ วาง L1 และL2 ห่างกัน 8 cm


ข้อที 18

μ − 1
ตอบ ห่างจากเลนส์ = ( )f
μ + 1

จากสมการช่างทําเลนส์ ได ้ f ของเลนส์

1 1 1
= (μ − 1)( + )
f R1 R2

R2 (รัศมีความโค้งกระจก) = (μ − 1)f

1
∵ f (กระจก) =

R2
2
μ − 1
= ( )f
2

มองว่าระบบประกอบด ้วยเลนส์ f และกระจก f



วางชิดกัน ดังรูป

แสงจากอนันต์ (p 1 = ∞) จะทําให ้เกิดภาพหลังเลนส์ q1 = f = −p 2 เป็ นวัตถุเสมือนให ้กระจกต่อไป

1 1 1
+ =

−f q2 f

μ − 1
q2 = ( )f
μ + 1

μ − 1
∴ เกิดภาพสุดท ้ายที ( )f หน ้ากระจก
μ + 1

ข้อที 19
(มุมในรูปวาดเกินสเกลจริง ทังนีเพือความชัดเจนในการอธิบาย) เราจะได ้ว่า รังสีสะท ้อนอันใหม่นัน เบนไปจากเดิมเป็ นมุม 2α
ู น์โดยใช ้หลัก มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท ้อน)
(พิสจ
จากรูปจะได ้ว่า

0.175  m
tan(2α) =
5.00  m

แต่วา่ มุม α เป็ นมุมเล็กๆ ดังนัน

tan(2α) ≈ 2α

นันคือ

1 0.175 180

α = ( ) rad × ≈ 1.00
2 5.00 π  rad

ิ ส์ไทย - สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)


สมาคมพิสก http://www.thaiphysoc.org/exam

You might also like