You are on page 1of 9

ชุดการสอน ตามหน่วยสมรรถนะ Module Specification

รหัสวิชา 20101-2009 ชือ่ วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ หน่วยกิต 2 รหัสหน่วย 3036


หน่วยสมรรถนะ 1. ตรวจสอบเครื่องยนต์ดว้ ยเครื่องมือวัดละเอียดทางกลตามคู่มือ
หน่วยสมรรถนะย่อย 1.8 ปรับตัง้ ไดอัลเกจตามมาตรฐาน Teclock ตามใบงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกับหลักและวิธีการบารุงรักษาไดอัลเกจ
2. ทาความสะอาด ตรวจสอบการชารุดและปรับตัง้ ไดอัลเกจ
3. มีความรับผิดชอบประณีตรอบคอบตรงต่อเวลาสะอาดปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม

ขอบเขต
1. ไดอัลเกจ -ทาความสะอาดและตรวจสอบการชารุด
บทนา
Dial Gauge (นาฬิกาวัด)
นาฬิ ก าวัด เป็ น เครื่ อ งมื อ วัด ที่ อ่ า นค่ า ระยะทางการเคลื่ อ นที่ ข องแกนวัด ด้ว ยเข็ ม ซึ่ ง ติ ด อยู่ กั บ
หน้าปั ทม์โดยอ่านค่าความแตกต่างที่ ได้จ ากการอ้างอิงค่ามาตรฐานใดๆ ใช้วัดระดับความเป็ นระนาบ
ความขนาน ระยะเยือ้ งศูนย์ เช่นวัดเพื่อหาศูนย์ในงานกลึงได้ละเอียดมาก

ชนิดของนาฬิกาวัด (Type of Dial Gauge)


นาฬิ กาวัดที่ มี อยู่ในปั จ จุบัน พอที่ จ ะจาแนกตามหลักการทางานได้ 2 ชนิ ด คือ นาฬิ กาวัดชนิ ด
มาตรฐานและนาฬิกาวัดชนิดคาน
1. นาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน (Standard Tyype)
ค่าความละเอียดของนาฬิกาวัดชนิดนี ้ มีทงั้ แบบ 0.01 มม. และ 0.001 มม. เมื่อหัวสัมผัสถูกดันขึน้
เข็มยาวของหน้าปั ทม์จะหมุนตามเข็มนาฬิกา เมื่อเข็มยาวหมุนครบ 1 รอบ เข็มสัน้ จะหมุนไป 1 ช่องสเกล
เมื่อมองดูท่หี น้าปัทม์ของเข็มสัน้ จะทราบทันทีว่าเข็มยาวหมุนไปกี่รอบ
ภาพแสดงลักษณะของนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน
1.1 ส่วนประกอบและหน้าที่ของนาฬิกาวัด

ภาพส่วนประกอบของนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน
ชื่อส่วนประกอบ หน้าที่
1. หัววัด - เป็ นตัวสัมผัสวัด หรือตรวจสอบชิน้ งานโดยตรง
2. แกนเลื่อน - เป็ นตัวจับยึดหัววัด เมื่อหัววัดถูกดัน โดยผิวชิน้ งาน แกนเลื่อน
ขึน้ – ลง
3. เข็มยาว - บอกค่าความคลาดเคลื่อนของชิน้ งาน ภายหลังการสัมผัส
ชิน้ งาน
ของหัววัด
4. เข็มวัดรอบ - บอกจานวนรอบของเข็มว่าเคลื่อนที่ไปเป็ นระยะทางเท่าไร
(มม.)
5. แผ่นสเกล - บอกค่าความละเอียด โดยแบ่งออกเป็ น 100 ช่องเท่า ๆ กัน
เมื่อ
เข็มยาวหมุนไป 1 รอบ จะอ่านค่าได้ 1 มม.
6. กรอบนอก - หมุนปรับให้จุดศูนย์ (ขีด 0) ของแผ่นสเกลตรงกับเข็มยาวพอดี
เพื่อที่จะกาหนดจุดเริ่มต้นในการอ่านค่า หรือตรวจสอบชิน้ งาน
ในขัน้ ตอนต่อไป
7. ขีดพิกดั - กาหนดค่าของพิกดั ที่ยอมรับ หรือคลาดเคลื่อนจากค่าที่
กาหนด
8. สกรูล็อค - ล็อคตาแหน่งสเกลของหน้าปัทม์
9. กระจกหน้าปัทม์ - ป้องกันฝุ่น หรือสิ่งแปลกปลอมเข้าไปทาความเสียหายให้
อุปกรณ์ หรือ ส่วนประกอบอื่น ๆ
10. ตัวเรือน - ป้องกัน หรือครอบอุปกรณ์ (กลไกภายใน) ไม่ให้เกิดความ
เสียหาย
11. ก้าน - สาหรับจับยึดอุปกรณ์ (ขาตัง้ ) ใช้ในการตรวจสอบ หรือวัดงาน
1.2 หลักการทางานของนาฬิกาวัด
หลักการทางานของนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน

ภาพแสดงกลไกการทางานของนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน

การส่งผ่านการเคลื่อนที่ จากหัววัดไปยังเข็มยาว จะใช้กลไกของเฟื องเป็ นตัวส่ง จากภาพที่ 8.3


เมื่ อแกน S เคลื่อนที่ขึน้ ลง เฟื องแรค (เฟื องสะพาน) ที่แกนจะดันให้เฟื องพิเนียนหมายเลข 1a นั้นหมุน
เฟื อง 1a จะมีแกนร่วมกับเฟื องหมายเลข 1b เฟื อง 1b จะขบอยู่กบั เฟื องพิเนียนหมายเลข 2c ซึ่งติดอยู่กับ
เข็มยาว หรือหน้าปัทม์
ระยะทางการเคลื่อนที่ของแกน และการเคลื่อนที่ของเข็ม สามารถกาหนดเป็ นค่าคงที่ ที่ถูกต้อง
ด้วย สัดส่วนจานวนเฟื อง และช่วงฟั นของแรค (เฟื องสะพาน) ตัวอย่างเช่น เมื่อ S เคลื่อนที่ไป 1 มม. เข็ม
ยาวจะหมุนไป 1 รอบ แล้วแบ่งสเกลออกเป็ น 100 ช่องเท่ากันจะได้ความกว้างของช่องสเกลเป็ น 0.01 มม.
นอกจากนีเ้ ข็มสัน้ จะติดอยู่กบั ฟั นเฟื อง 1b ดังนัน้ เมื่อเข็มยาวหมุนไป 1 รอบ เข็มสัน้ จะหมุนไป 1 ช่อง (1/10
รอบ) ถ้ากาหนดให้สดั ส่วนจานวนฟั นระหว่างฟั นเฟื อง 1b และพิเนียนหมายเลข 2c เป็ น 10:1 เพื่อป้องกัน
การถอยหลัง (Back Lash) ของฟั นเฟื อง เนื่องจากเฟื องแรค และพิเนียนนัน้ จะมีช่วงถอยหลัง (การคลอน
ตัว) อยู่ จึงมีฟันเฟื องซึ่งมีขนาดและจานวนฟั นเฟื องเท่ากับฟั นเฟื องหมายเลข 1 เรียกว่า ฟั นเฟื องหมายเลข
2 ขบอยู่กับพิ เนียน c แล้วมี ส ปริงก้นหอยติดอยู่เพื่อยันรับช่วงถอยหลังของฟั นเฟื องทั้งหมดทาให้ หน้า
ฟั นเฟื องทุกตัวสัมผัสกันเพียงด้านเดียวตลอดเวลา

2. นาฬิกาวัดชนิดคาน (Cantilever Principle Type)


ภาพแสดงส่วนประกอบของนาฬิกาวัดชนิดคาน
2.1 ส่วนประกอบของนาฬิกาวัดชนิดคาน

ชื่อส่วนประกอบ หน้าที่
1. หัววัด - สัมผัสวัด หรือตรวจสอบโดยตรง
2. ร่องหางเหยี่ยว - เป็ นร่องเพื่อประกอบกับแกนจับยึดใน
ตาแหน่งต่าง ๆ
3. หน้าปั ทม์ - ตัวเรือนแสดงค่าวัด
4. ขีดสเกล - บอกค่าความละเอียด โดย 1 ช่องจะเท่ากับ
0.01 มม.
5. แกนจับยึด - ยึดกับขาตัง้ นาฬิกาวัด
6. เข็มชี ้ - บอกค่าวัด
7. ตัวเรือน - เป็ นโครงครอบกลไกภายในของนาฬิกาวัด

ภาพทิศทางการหมุนของหัวสัมผัสวัสดุ
2.2 หลักการทางานของนาฬิกาวัดชนิดคาน

ภาพกลไกการทางานนาฬิกาวัดชนิดคาน
จากภาพเมื่ อหัววัดสัม ผัส กับชิ น้ งานจะเกิดการเคลื่อนที่ไปยังเฟื องรู ปพัด ทาให้เฟื องรู ป พัดขับ
เฟื องพิเนียนหมายเลข 1 ซึ่งจะมีแกนร่วมกับเฟื องกลมทาให้เฟื องกลมหมุนไปขับเฟื องพิเนียนหมายเลข 2
ทาให้เข็มหน้าปั ทม์เกิดการเคลื่อนที่นาฬิกาวัดชนิดคานจะมีสปริงก้นหอยที่รบั ช่วงถอยหลังของฟั นเฟื อง
เช่นเดียวกับนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน

การอ่านค่าจากการวัด

ภาพส่วนประกอบในการอ่านค่าการวัด
การอ่านค่าบนหน้าปั ทม์ของนาฬิ กาวัด ให้อ่านจานวนมิ ลลิ เมตรด้วยเข็ม วัดรอบก่อน แล้วอ่ าน
จานวนความละเอียด 0.01 มม. ด้วยเข็มยาว โดยแผ่นสเกล เมื่อแกนวัดเคลื่อนที่ขึน้ ให้อ่านค่าจากตัวเลข
ด้านนอกในทิศทางตามเข็มนาฬิกา แต่ถา้ แกนวัดเลื่อนเคลื่อนที่ลงให้ใช้ตวั เลขด้านในของหน้าปั ทม์อ่านค่า
ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

ภาพระยะการเคลื่อนที่ของเข็มในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
- แกนวัดเคลื่อนที่ขนึ ้ อ่านค่าได้ในทิศทางบวกเมื่อเทียบกับตาแหน่งอ้างอิง จากภาพ

เข็มวัดรอบอ่านค่าได้ 1.00 มม.


ที่เข็มวัดละเอียด 0.01 มม.
อ่านค่าได้ 0.91 มม.
ค่ารวม 1.91 มม.
ภาพระยะการเคลื่อนที่ของเข็มในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

แกนวัดเคลื่อนที่ลง อ่านค่าได้ในทิศทางลบเมื่อเทียบกับตาแหน่งอ้างอิงจากภาพ

เข็มวัดรอบอ่านค่าได้ 1.00 มม.


ที่เข็มวัดละเอียดอ่านค่าได้ 0.54 มม.
ค่ารวม 1.54 มม.

กฎการใช้เครื่องมือวัด
เครื่องมือวัดละเอียดในการใช้งาน จะต้องมีความระมัดระวังและปฏิบตั ิตามกฎดังนี ้
1. ใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสม โดยเลือกใช้ตามความละเอียดของงานที่ตอ้ งการวัด
2. ก่อนวัดต้องทาความสะอาดเครื่องมือวัด และผิวงาน ไม่ให้มีครีบและคมทุกครัง้
3. วางชิน้ งานและเครื่องมือวัดให้อยู่ในแนวแกนเดียวกัน
4. อ่านค่าที่วดั โดยตามองให้ตงั้ ฉากกับตาแหน่งที่อ่านเพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้อง
5. อย่าวัดงานขณะที่ชิน้ งานยังร้านอยู่
6. อย่าวัดงานขณะที่งานยังหมุนหรือเคลื่อนที่
7. ขณะวัดงานอย่ากดเครื่องมือวัดให้สมั ผัสกับผิวงานแรงเกินไป
8. อย่าวัดงานขณะที่ถกู เหนี่ยวนาเป็ นแม่เหล็ก
9. ก่อนใช้เครื่องมือวัดต้องปรับและตรวจสอบตาแหน่งที่ศนู ย์ก่อนทุกครัง้
10. เมื่อใช้เครื่องมือวัดเป็ นเวลานาน ควรมีการสอบเทียบความเที่ยงตรงตามกาหนดระยะเวลา
11. ขณะวัดชิน้ งานจะต้องมีแสงสว่างอย่างเพียงพอ

การบารุงรักษาเครื่องมือวัด
ในการใช้เครื่องมือวัดละเอียด จะต้องมีการบารุงรักษาเครื่องมือวัดด้วย เพราะการใช้งานอาจมี
การกัด กร่อ น จึ ง ต้อ งมี ก ารท าความสะอาดด้วยวิ ธี ก ารต่ างๆ เช่ น เช็ ด ให้แ ห้ง โดยผ้าที่ ส ะอาดและใช้
วาสลินหรือนา้ ยากัดสนิททาบางๆ เก็บไว้ในกล่องหรือที่เก็บในอุณหภูมิท่ีเหมาะสม เมื่อนาเครื่องมือมาใช้
งานจะต้องล้างหรือเช็ดนา้ มันหรือวาสลินให้หมดก่อนใช้งาน มีเครื่องมือบางชนิดที่ละเอียดต้องระวังไม่ให้
ถู ก น ้า มั น หรื อ จาระบี เพราะจะท าให้ก ารเคลื่ อ นที่ ขึ น้ ลงไม่ ส ะดวก เช่ น ขาของนาฬิ ก าวั ด (Dialguae
plunger) ในการบารุงรักษาเครื่องมือวัดจึงควรปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี ้
1. ไม่วางเครื่องมือรวมกับของมีคมอื่นๆ
2. ควรหาผ้าหรือสักหลาดรองเครี่องมือวัดเพื่อกันกระแทกกับวัตถุอ่ืน
3. วางเครื่องมือวัดให้ห่างจากพืน้ ที่มีความร้อนหรือเย็นจัด
4. ระมัดระวังและป้องกันไม่ให้สิ่งสกปรกหรือฝุ่นละอองเข้าไปจับหรือเปื ้อนเครื่องมือวัด
5. ระมัดระวังไม่ให้เครื่องมือวัดตกหรือกระแทกกับของแข็ง
6. ขณะวัดงานอย่าลากเครื่องมือไปมาบนชิน้ งาน
7. ทุกครัง้ เมื่อใช้เครื่องมือวัดแล้วจะต้องทาความสะอาดและเก็บรักษาด้วยความระมัดระวัง
8. ใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสมกับงานที่จะวัด
9. ถ้าเครื่องมือวัดชารุด ไม่ควรซ่อมด้วยตนเอง ควรส่งให้ช่างผูช้ านาญเป็ นผูซ้ ่อมเท่านัน้

สื่อการสอน
1.... คลิป
VDO.......................................................................................................................................
2.....power
point.................................................................................................................................

เอกสารอ้างอิง
1.....จาเนียร ศิลปวานิช. งานวัดละเอียดช่างยนต์,ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ : กทม.
2546.............................
2.....
http://www.youtube.com/watch?v=5y0k6xwuRbs............................................................

ใบงาน/ใบสั่งงาน หรือแบบฝึ กหัด


1. ใบงานที่ 11 บารุงรักษาและปรับตัง้ ไดอัลเกจตามมาตรฐาน Teclock
2. แบบฝึ กหัดท้ายบท

You might also like