You are on page 1of 2

ส ม อ ง ใ ส ไ อ เ ท ค

ผ ล ง า น นั ก ศึ ก ษ า

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
โครงงานไม้เท้าอัจฉริยะสำ�หรับคนตาบอดโดยการนำ�โฟโต้อิเล็กทริคเซนเซอร์  เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกแก่ ผู้ พิ ก ารทาง

มาประยุกต์ใช้ ในโครงงานนี้ ซึ่งจัดทำ�ขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาหลักการ สายตาได้โดยการเตือนว่าจะชนสิง่ กีดขวาง


ทำ�งานของไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์ AT89C51 มาใช้ควบคุมการทำ�งาน  เพือ ่ เตือนผูพ้ กิ ารทางสายตาไม่ให้ตกบันได
ของไม้เท้าอัจฉริยะสาหรับคนตาบอดที่สามารถนำ�ไปใช้งานเพื่ออำ�นวยความ  เพือ ่ ป้องกันผูพ้ กิ ารทางสายตาจากสัตว์ทเ่ี ข้า
สะดวกและสร้างความปลอดภัยในการใช้ชีวิตประจำ�วันได้ ในการจัดทำ�ไม้เท้า มาใกล้
อัจฉริยะสำ�หรับคนตาบอดนี้ถูกออกแบบขึ้นมาโดยใช้แสงอินฟาเรดในการ หลักการทำ�งานของโครงงานเบือ้ งต้น
ตรวจเช็คสิ่งกีดขวาง ตรวจเช็คบันได ซึ่งสามารถตรวจเช็คได้จากการที่ภาค ใช้โฟโต้เซนเซอร์ 3 ตัว ติดอยู่ในแต่ละ
ส่วนของไม้เท้า คือตัวที่ 1 จะติดอยู่ที่บริเวณล้อ
ส่งทาการส่งแสงอินฟาเรดไปกระทบสิ่งกีดขวางในระยะ 64 เซนติเมตรและ
ของไม้เท้า ตัวที่ 2 จะติดอยู่ที่บริเวณด้านล่าง
ส่งกลับมาที่ภาครับซึ่งก็จะส่งต่อไปที่ตัวประมวลผลซึ่งอยู่ในภาคถัดไป แล้ว ของไม้เท้า และตัวที่ 3 จะติดอยู่บริเวณกลาง
จึงทาการประมวลผลออกมา ส่วนการตรวจเช็คบันไดภาคส่งทำ�การส่งแส ของไม้เท้า เซนเซอร์ทั้ง 3 ตัว จะทำ�งานอิสระ
งอินฟาเรดไปกระทบกับขอบบันไดขาขี้นในระยะ 15 เซนติเมตร และขอบบันได ต่อกันและถ้าเซนเซอร์ตัวใดตรวจเช็คเจอก่อน
ขาลงในระยะ 11 เซนติเมตร แล้วจึงทำ�การประมวลผลออกมา หลังจากนั้น เซนเซอร์ตัวนั้นจะทำ�งานก่อน ทำ�งานโดยใช้
แล้วก็จะแสดงผลออกมาในรูปการส่งเสียงเตือนและการสั่นเตือนเมื่อตรวจ แสงอินฟาเรดในการตรวจเช็คสิ่งกีดขวาง ซึ่ง
เช็คเจอบันได ในส่วนของสิ่งกีดขวางจะแสดงผลออกมาในรูปการส่งเสียง สามารถตรวจเช็คได้จากการที่ภาคส่งทำ�การ
เตือน และสามารถสร้างเสียงอัลตร้าโซนิคที่มีความถี่สูงที่ 45 kHz ออกมา ส่งแสงอินฟาเรดไปกระทบสิ่งกีดขวางและส่ง
เพื่อขับไล่สุนัขไม่ให้มาทําร้ายได้ กลับมาที่ภาครับซึ่งก็จะส่งต่อไปที่ตัวประมวล
ผลซึ่งอยู่ในภาคถัดไป แล้วจึงทําการประมวล
ผลออกมา หลังจากนั้นแล้วก็จะแสดงผลออก
มาในรูปการส่งเสียงเตือน การสั่นเตือนและ
ความเป็นมาของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน การสร้างเสียงที่มีความถี่สูงออกมา
เนื่องจากปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้พิการ  สามารถใช้ โฟโต้เซนเซอร์เช็คระยะของ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
ทางสายตาอยู่จำ�นวนหนึ่งซึ่งยังไม่ได้รับการ วัตถุทอ่ี ยูข่ า้ งหน้าได้ เพือ่ เตือนว่า ข้างหน้า 1. ทฤษฏีเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์
อำ�นวยความสะดวกทางด้านการเดินทางโครง มีสิ่งกีดขวาง (Microcontroller)
งานนี้จึงให้ความสำ�คัญ แก่ผู้พิการทางสายตา  สามารถใช้ โฟโต้เซนเซอร์เช็คระยะโดยมี 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวกับออฟโตไอโซเลเตอร์
เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตได้อย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เซนเซอร์ 3 ตัวแบ่งเป็น 3 สเต็ป วัดระยะ (Opto-Isolator)
คณะผู้จัดทำ�โครงงานจึงได้มีความคิดที่จะทำ�  สามารถสร้ า งย่ า นความถี่ ที่ จ ะทำ �ให้ สั ต ว์ 3. ทฤษฏีเกี่ยวกับมอสเฟต
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ เช่น สุนัข ให้ถอยห่างออกไป 4. ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
พิการทางสายตา โดยการทาไม้เท้าอัจฉริยะ วัตถุประสงค์ของโครงงาน (Field-EffectTransistor;FET)
สำ�หรับผูพ้ กิ ารทางสายตา โดยใช้โฟโต้เซนเซอร์  เพือ ่ อำ�นวยความสะดวกในการเดินทางของ การออกแบบโครงสร้าง
เป็นตัวเช็คระยะทางของวัตถุ โดยมีการประมวล ผูพ้ กิ ารทางด้านสายตาให้เกิดความปลอดภัย การเลือกแบบไม้เท้า
ผลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เข้ามาเป็นตัว  เพื่อนำ�โฟโต้เซนเซอร์ มาประยุกต์ใช้ใน การเลือกแบบไม้เท้าสาหรับคนพิการด้าน
กําหนดขอบเขตของโครงงาน และแสดงผล โครงงาน สายตา โดยการนำ�ไม้เท้าสำ�เร็จรูปแบบมือเดียว
ออกมาในรูปแบบของเสียงและการสั่น  เพือ่ ศึกษาการทำ�งานของ Microcontroller ที่ ใช้กับผู้สูงอายุที่มีโครงสร้างเป็นอลูมีเนียมที่
ISSUE1.VOLUME20.MAY-JULY.2013 27
27.�����������.indd 27 7/12/13 8:53 PM


อ ง เ



ใ ส ไ ฮ

มีคุณภาพดี แข็งแรง และทนทาน และนํ้าหนัก


เบา ซึ่งการเลือกไม้เท้านั้นต้องเป็นแบบมีด้าม Photo CPU
Drive Motor
จับและมีความโค้งงอเพื่อเวลาจับคนตาบอดจะ Sensor MCS-51

ได้รตู้ �ำ แหน่งทีถ่ กู ต้อง โครงของไม้เท้าสามารถ Buzzer


นำ � มาประยุ ก ต์ ยึ ด ติ ด อุ ป กรณ์ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี
Power
โดยที่ไม้เท้ายังมีดา้ มจับทีเ่ ป็นยางทีม่ รี อยร่องนิว้
Supply Pierso
เพือ่ ความสะดวกกะทัดรัดในการจับทีเ่ หมาะสม
รูปที่ 8 แสดงการทำ�งานของหน่วยประมวลผล

การใช้ไม้เท้าอัจฉริยะสำ�หรับคนตาบอด

รูปที่ 1 การยึดติดล้อเข้ากับไม้เท้า

การติดเซนเซอร์เข้ากับไม้เท้า
การการติดเซนเซอร์เข้ากับไม้เท้านั้น โดย
การเลือกใช้โฟโต้เซนเซอร์ท่ีใช้แสงอินฟาเรตใน รูปที่ 9 กรณีที่ไม้เท้าตรวจเช็ค รูปที่ 10 กรณีที่ไม้เท้าตรวจเช็ค
เจอฝาผนัง เจอบันไดขาขึ้น
การตรวจเช็ควัตถุมาติดที่ส่วนต่างๆ ของไม้เท้า
ซึ่งจะมีส่วนต่างๆ ของไม้เท้าจะมีบริเวณกลาง การใช้ไม้เท้าในกรณีตรวจเช็ค การทดลองและผลการทดลอง
ไม้เท้า ด้านล่างสุดของไม้เท้าและตรงบริเวณ เจอบันไดขาลง วิธกี ารทดลอง ตรวจเช็ควัตถุทอ่ี ยูข่ า้ งหน้า
ล้อของไม้เท้า โดยการเจาะรูยึดติดเซนเซอร์ เมื่อตรวจเช็คเจอบันไดขาขึ้นบัพเซอร์ใน ยังมีการวัดหาระยะทางเข้ามาเกี่ยวข้อง ความ
กับไม้เท้าเข้าด้วยกัน จากนั้นทาการเจาะรูที่ไม้ วงจรจะส่งเสียงถี่ขึ้นมากกว่ากรณีอื่นออกมา เร็วในการเดิน และการคำ�นวณ จึงเตรียมการ
เท้าเพื่อร้อยสายสัญญาณเข้าไปในไม้เท้า และ และมอเตอร์ที่ด้ามจับก็จะสั่นเร็วมากกว่ากรณี ทดลองไว้ดังนี้
เจาะรูเพื่อนําปลายสายสัญญาณออกไปเข้าสู่ อื่นตามไปด้วย โดยคนตาบอดจะต้องระมัด 1. การคำ�นวณหาความเร็วเฉลี่ยในการ
แผงวงจรต่อไป ระวังโดยการจับราวบันได เดินของคนตาบอด
2. หาระยะทางที่ เ ซนเซอร์ ทํ า งานเมื่ อ
ตรวจเจอผนังหรือกําแพง
3. หาระยะทางที่ เ ซนเซอร์ ทํ า งานเมื่ อ
ตรวจเจอบันไดทางขึ้น
4. หาระยะทางที่ เ ซนเซอร์ ทํ า งานเมื่ อ
รูปที่ 2 การติดเซนเซอร์ รูปที่ 3 การติดเซนเซอร์บริเวณ รูปที่ 4 การติดเซนเซอร์บริเวณ ตรวจเจอบันไดทางลง และการไล่สุนัข
บริเวณกลางไม้เท้า ล่างสุดของไม้เท้า ล้อของไม้เท้า
*หมายเหตุ ในการทดลองครั้งนี้ผู้ที่ทดลองมีความสูง 170
เซนติเมตร และจับไม้เท้าแนบลาตัวขณะเดินในการทดลอง
ปรากฏว่าได้ผลเป็นไปอย่างทีต่ ง้ั ใจ ซึง่ อาจมี Defected บ้าง
แต่ก็น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาไม้เท้าอัจฉริยะให้มี
ประสิทธิภาพในขั้นต่อๆ ไป
เรียบเรียงบทความใหม่ โดย :
นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล
รูปที่ 5 การเจาะรูเพื่อร้อยสาย รูปที่ 6 การเจาะรูเพื่อนำ�สาย รูปที่ 7 การติดกล่องใส่ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
สัญญาณเข้า สัญญาณออก มอเตอร์เข้ากับไม้เท้า
ชื่อ : นายธนวัฒน์ พึ่งทรัพย์ รหัส 506087 ที่ปรึกษาโครงงาน : อ.กิตติศักดิ์ ไตรพิพัฒพรชัย
ผู้สร้างโครงงาน และรายละเอียด
ของอาจาร์ยที่ปรึกษา        ชื่อ : นายชินวัตร คล้อยสวัสดิ์ รหัส 5105573 ภาควิชา : วิศวกรรมไฟฟ้า
หัวข้อโครงงาน : ไม้เท้าอัจฉริยะสาหรับคนตาบอด ปีการศึกษา : พ.ศ.2552

28 ISSUE1.VOLUME20.MAY-JULY.2013

27.�����������.indd 28 7/12/13 8:53 PM

You might also like