You are on page 1of 108

แก่ แบบสบาย

สูงวัยแบบสง่า ตามหาระบบบริการสุขภาพทีด
่ ีในยุค “สังคมสูงวัย”

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย (มส.ผส.)
แก่ แบบสบาย
สูงวัยแบบสง่า ตามหาระบบบริการสุขภาพทีด
่ ีในยุค “สังคมสูงวัย”

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย (มส.ผส.)
แก่แบบสบาย สูงวัยแบบสง่า
ตามหาระบบบริการสุขภาพทีด
่ ีในยุค “สังคมสูงวัย”

อภิญญา ตันทวีวงศ์

ขอมูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแหงชาติ
อภิญญา ตันทวีวงศ.
แกแบบสบาย สูงวัยแบบสงา : ตามหาระบบบริการสุขภาพที่ดีในยุค "สังคมสูงวัย".-- กรุงเทพฯ :
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย, 2565.
108 หนา.
1. การปรับตัว (จิตวิทยา) ในผูสูงอายุ. 2. การพึ่งตนเองในผูสูงอายุ. I. ชื่อเรื่อง.
305.26
ISBN 978-616-8149-04-1

ที่ปรึกษา นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์


ดร. นพ.ภูษิต ประคองสาย
ปก/รูปเลม บริษัท ดี มอร ครีเอทีฟแอนดเมเนจเมนท จำกัด
พิมพครั้งที่ 1 (พฤษภาคม 2565)
จำนวนพิมพ 1,000 เลม
จัดทำและเผยแพรโดย
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย (มส.ผส.)
1168 ซอยพหลโยธิน 22 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท: 02-5115855 โทรสาร: 02-9392122 E-mail: info@thaigri.org
Website: www.thaigri.org
สนับสนุนการจัดพิมพ
ภายใตแผนงานยุทธศาสตรเปาหมาย (Spearhead) ดานสังคม เรื่อง ศักยภาพและโอกาสของผูสูงวัย
สำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท: 02-5791370-9 โทรสาร: 02-5792289 E-mail: pr@nrct.go.th
Website: www.nrct.go.th
พิมพที่ บริษัท วิน-วิน ดิจิตอลพริ้นติ้ง จำกัด
68,70 ถนนมไหสวรรค แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท: 02-6590347-49 โทรสาร: 02-6890350 E-mail: winwindigital.br@gmail.com
เรือ
่ งเล่าจากบรรณาธิการ
แนวคิดหนึง่ เกีย่ วกับการเปน “ผูส งู อายุ” ในสังคมไทย คือ “แกแลวอยูบ า นเลีย้ งหลาน” ความคิดนีเ้ ปนภาพจํา
หรือมายาคติที่สืบทอดและสงตอกันมาเปนระยะเวลานาน ซึ่งแนวคิดนี้อาจจะเปนจริงหากเปนสมัยเมื่อ 50-60 ปกอน
ซึง่ อายุคาดเฉลีย่ (life expectancy) ของประชากรตํา่ กวาปจจุบนั มาก แตทกุ วันนีเ้ ราจะเห็นผูส งู อายุ ในวัย 60-70 ป
มีสุขภาพแข็งแรง เดินเหินกันอยางคลองแคลว มีความคิดความอานที่ทันสมัยและสวนใหญยังมีความสามารถในการ
ทํางานได ตัวอยางในประเทศญีป่ นุ มีคนสูงอายุในวัย 65-75 ป ทีย่ งั กระฉับกระเฉงเหมือนคนวัยหนุม สาว จึงบัญญัตคิ าํ เรียก
กลุม ผูส งู อายุนข้ี น้ึ มาและแปลเปนภาษาอังกฤษไดวา Young Old หรือยอวา YOLD ซึง่ หมายถึงคน old ทีย่ งั young อยู
โลกมายาคติในเรื่องภาวะถดถอยทางรางกายเมื่ออายุถึง 60 ปขึ้นไป จึงเปนสิ่งที่เราตองพิจารณาใหม
ประเทศไทยกําลังอยูในชวงขาขึ้นของสังคมสูงอายุอยางสมบูรณในป 2565 และจะกลายเปนสังคมสูงอายุ
ระดับสุดยอด (super-aged society) ในอีก 20 ปขางหนา โดยจะมีกลุมคนที่เปน Young Old จํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ
การทีต่ วั เลขของกลุม นีส้ งู ขึน้ จะสงผลตอภาระงบประมาณในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับสุขภาพและการใหสวัสดิการกับกลุม ผูส งู อายุ
อยางมีนยั สําคัญเชนเดียวกัน ทัง้ ในระดับครัวเรือนและระดับประเทศ ดวยสาเหตุโรคไมตดิ ตอเรือ้ รังจากพฤติกรรมการ
ใชชีวิต จะสูงขึ้นมหาศาลในอนาคต เราจึงควรลงทุนดานการสงเสริมสุขภาพ-ปองกันโรคกอนถึงภาวะพึ่งพิงของกลุม
YOLD ที่จะอายุเกิน 75 ป ในอีก 10 ปขางหนา การเปลี่ยนไลฟสไตลและการสงเสริมปองกันโรค จะเปนแนวทาง
ปฏิบัติและแนวนโยบายที่มีความเหมาะสมกับสถานการณในอนาคต
องคความรูในเรื่องผูสูงอายุของประเทศไทยมีมาชานานและมีจํานวนมาก มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนา
ผูส งู อายุไทย (มส.ผส.) มีความมุง มัน่ ในการพัฒนาและแปรเปลีย่ นองคความรูด า นสุขภาพและการสรางเสริมสุขภาพไปสู
การพัฒนานโยบายและแปลงนโยบายไปสูระดับปฏิบัติการ เพื่อใหสามารถเขาถึงประชาชนจํานวนมาก หนังสือเลมนี้
เปนการชวนมองคานิยมที่ผานๆ มา ในลักษณะของการตั้งคําถามและนําความจริงมาดูกัน วาทามกลางขอมูลที่ปรากฏ
ในหนังสือเลมนี้ เราจะยังดูแลผูสูงอายุในแบบเดิมๆ อีกหรือไม?
นักเศรษฐศาสตรไดคํานวณคาใชจายสําหรับการดูแลผูสูงวัยที่มีภาวะพึ่งพิงแตละคนใหดําเนินชีวิตไดอยาง
มีคุณภาพชีวิตพอสมควร สูงถึงเกือบ 2 หมื่นบาทตอเดือน และในป 2575 คาดวาคาใชจายดานสุขภาพจะเพิ่มขึ้นเปน
1.4-1.8 ลานลานบาท หากคนไทยยังมีพฤติกรรมสุขภาพเหมือนเชนทุกวันนี้
"การปองกัน หลีกเลีย่ ง ชะลอ และฟน ฟู" ชวยลดการเจ็บปวยและการพึง่ พาทีไ่ มจาํ เปนหรือกอนวัยอันควร
ในกลุมผูสูงวัย เปนกุญแจสําคัญที่จะกําหนดทิศทางอนาคตของสังคมสูงวัยและยกคุณภาพชีวิตที่ดีโดยมีภาระคาใชจาย
ดานสุขภาพเทาที่จําเปนกอนจะจากไป
“Old age is not so bad when you consider the alternative” – ความแกมไิ ดเลวรายนัก เมือ่ คํานึง
ถึงอีกทางเลือก เปนประโยคที่ Maurice Chevalier (ค.ศ. 1888-1972) นักแสดงและนักรองชือ่ ดังชาวฝรัง่ เศสไดกลาวไว
หนังสือ “แกแบบสบาย สูงวัยแบบสงา” จะชวนทานมองวิธกี ารกาวผานภาวะเปราะบางของผูส งู อายุ (frailty)
ในแตละดาน ซึ่งเปนรอยตอของการเปลี่ยนผานสูความชราและถดถอยอยางไร ใหขามไปไดอยางมีความสุข สบาย
และสงางาม จวบจนถึงวาระสุดทายของชีวิต
ดร.นพ.ภูษิต ประคองสาย
เลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทย (มส.ผส.)
คํานํา
เราทุกคน ทุกช่วงวัย กําลังก้าวไปสู่ “สังคมสูงวัย” ด้วยกัน

บางคนอยูใ่ นฐานะ “ผูส้ งู วัย” หรือ “กําลังจะสูงวัย”


บางคนอยูใ่ นฐานะญาติหรือลูกหลาน
บางคนอยูใ่ นฐานะสมาชิกร่วมชุมชน ร่วมสังคม หรือมีหน้าทีก
่ ารงานเกีย
่ วข้องกับการดูแลผูส
้ งู วัย

แน่นอนว่า

หากไม่เสียชีวิตไปเสียก่อนอายุหกสิบ...เราทุกคนต่างต้องเป็นผู้สูงวัยในช่วงท้ายของชีวิต
และเราทุกคน ทุกวัย ต่างต้องใช้ชว
ี ิตอยูใ่ น “สังคมสูงวัย” ไปด้วยกันตลอดชีวิต

การรับรู้และปฏิกิริยาต่อ “สังคมสูงวัย” ไม่จําเป็นต้องยกให้เป็นหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง


และขีดขอบเขตของสิง่ ที่ต้องจัดการไว้เฉพาะที่การตามแก้ปญ
ั หา

ตรงกันข้าม...

สังคมสูงวัย ซึง่ ควรเป็นที่ ๆ น่าอยูส


่ าํ หรับคนทุกวัย จะเกิดขึน
้ ได้กต
็ อ
่ เมื่อสมาชิกในสังคมทุกฝ่าย
ทุกวั ยมาร่วมกั นออกแบบและเตรียมการให้พร้อม ตามกํ าลั งและศักยภาพที่ แต่ ละคนมีอยู่ เสียง
นี้กําลังดังก้องไปในทุกหนแห่ง ดังเห็นได้จากองค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี 2021-2030 เป็น
“ทศวรรษแห่งการสูงวัยทีม
่ ส
ี ข
ุ ภาพดี”

มาช่วยกันพลิกโฉมบ้าน ชุมชน และสังคม ของเราให้เอื้อต่อการ “แก่” และ “เจ็บ” อย่าง


มีคณ
ุ ภาพชีวต ุ ท้าย สมกับคุณค่าและปัญญาแห่งความเป็น “มนุษย์ในยุคศตวรรษที่ 21”
ิ จนถึงนาทีสด

เพื่อเป็น “ของขวัญ” สําหรับการมีอายุยน


ื ยาวให้กับเราทุกคน
สารบัญ
หนา

บทที่ 1 ภาพจํา 10
1.1 “ผูสูงวัย”สมบัติลํ้าคาที่ไมอาจมองขาม 13
1.2 ชีวิตในครรภสงผลจนวันสุดทาย 15
1.3 “อายุยืน young ยิ้มได” รางกายเปนเรื่องรอง 17
1.4 “อายุมั่น ขวัญยืน” พื้นฐานมาจากสังคมดี 19
1.5 “ขาลง” ไมปลอยเนิ่นชา อาจแคภาวะชั่วคราว 21
1.6 ปองกันกอน “เปราะบาง” หนทางสกัดขาลง 23
1.7 “บานหลังสุดทาย” ไมใชโรงพยาบาลหรือบานพักคนชรา 25
1.8 “ตายดี” ปลายทางที่ยังไมอาจวางใจ 27

บทที่ 2 ความจริง 30
2.1 ความตองการเผชิญขีดจํากัด 33
2.2 สํารวจ “จุดเปราะบาง” สุขภาพเมื่อสูงวัย 35
2.3 เจาะ “จุดเสี่ยง” หลัก ที่ผลัก “พลัง” เปน “ภาระ” 37
2.4 สูญสิ้นสุขภาวะ ณ วันที่ตองพึ่งพิง เพราะอะไร ? 39
2.5 พลาดโอกาส “ตายดี” ไมเลือก หรือ เลือกไมได 41
2.6 “ครอบครัว” ขุมพลังที่ยังถูกทอดทิ้งใหจําทน 43
2.7 องคกรปกครองสวนทองถิ่นทองถิ่น เจาภาพหลักที่ยังแสดงศักยภาพจํากัด 45
2.8 ระบบขอมูล อานุภาพที่ยังรอการพัฒนา 47
2.9 จะกาวตออยางไร เมื่อทรัพยากรมีจํากัด แตความตองการไมสิ้นสุด 49
สารบัญ (ต่อ)
หนา

บทที่ 3 เจาะลึก 52
3.1 โรควิกฤติที่พลิกชีวิตให “ติดเตียง” 55
3.2 “6 เดือนทอง” เดิมพันนี้มีแตได 57
3.3 ถึงมีโอกาส แตยังไมอาจควา 59
3.4 มีสิทธิ แตชีวิตยังเสี่ยง...เพราะอะไร 61
3.5 เขตเมือง ยิ่งเรื่องใหญ 63
3.6 สมองเสื่อม ประตูสูการพึ่งพาถาวร 65
3.7 ความเสื่อมที่สั่นสะเทือนชีวิตทุกคนที่เกี่ยวของ 67
3.8 สูญเสียทรัพยากร จนยากจะประมาณ 69
3.9 ปญหาใหญ แตยังรับมือไปตามยถากรรม 71
3.10 ขาดการจัดการเชิงรุก ทั้งที่ทรัพยากรมีจํากัด 73
3.11 จะอยูอยางไร เมื่อไมอาจพึ่งพาตนเอง 75
3.12 ยังเหลือใครในวันที่ตองพึ่งพา 77
3.13 เสี่ยงลมละลาย เพราะคาใชจายจากการดูแล 79
3.14 รัฐเปนที่พึ่งพิงไดแคไหนในวันที่ “ติดเตียง” 81
3.15 ฝากความหวังไวกับทองถิ่นไดแคไหน 83
3.16 ปลดลอกภาระดวยการดูแลแบบประคับประคอง 85
3.17 บริการยังกาวตามไมทันความตองการ 87
3.18 เรื่องที่ยังมืดมนบนหนทาง “ตายดี” 89
3.19 ถอดรหัส กอนสกัดจุดทาทาย 91

บทที่ 4 หนทาง 94
4.1 หลักประกันบริการระยะกลาง (IMC) คุณภาพ “6 เดือนทอง” แบบไรรอยตอ 97
4.2 ระบบการดูแลผูปวยสมองเสื่อมครบวงจรแบบเชิงรุก 99
4.3 เครือขายการดูแลแบบประคับประคองในระยะทาย 101
4.4 ระบบการดูแลผูสูงวัยครบวงจร (Integrated Health Care System) 102

แหลงขอมูลอางอิง 104

8
11
12
หนึ่งในภาพจําของคนจํานวนไม่นอ
้ ยก็คือ เมื่อสูงวัยแล้วจะต้อง“อ่อนแอและเป็นฝ่ายพึ่งพิงคนอื่นอยูเ่ สมอ”

แต่ขอ
้ เท็จจริงต่อไปนี้อาจทําให้ต้อง “คิดใหม่”

เพราะข้อมูลล่ าสุดของประเทศไทยชี้ให้เห็นว่ า ผู้สูงวั ย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวั ย 60-79 ปี ส่วนใหญ่


ยั ง ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น ผู้ สู ง วั ย จํ า นวนมากยั ง มี บ ทบาทช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ครอบครั ว ในด้ า น
ต่ า ง ๆ มากกว่ า ที่ จ ะอยู่ เ ฉย ๆ หรื อ รอพึ่ ง พิ ง ใคร ทั้ ง ในช่ ว งปกติ แ ละในยามวิ ก ฤติ ดั ง ข้ อ มู ล ในช่ ว งการระบาด
ของไวรั ส โควิ ด -19

อีกทั้งยังมีขอ
้ มูลมากมายสะท้อนให้เห็นถึงพลังของผูส
้ งู วัยที่รว
่ มขับเคลื่อนสังคมให้ก้าวไปข้างหน้า ทั้งในด้าน
การดูแลครอบครัวและเศรษฐกิจ ดังข้อมูลจากรายงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ท่ีระบุว่าตลาด
ของสินค้ าและบริการสําหรับผู้สูงวั ยมีมูลค่ าสูงกว่ าหนึ่งแสนล้ านบาทต่ อปี และมีแนวโน้มเติ บโตอย่างต่ อเนื่อง
เฉลี่ย ร้อยละ 5-10 ต่อปี(1)

สิสิ่ง่งทีที่ ค่ คนในสั
นในสังงคมมั คมมักกมองข้ มองข้าามไปก็
มไปก็คคื อื อกลุ กลุ่ ม่ มประชากรที
ประชากรที่ เ่ เรีรียยกว่
กว่าา“ผู“ผู้ส้สูงูงวัวัยย”” ทีที่ เ่ เริริ่ม่มต้ต้นนเมื
เมื่ อ่ ออายุอายุ 60 60 ปีปีขข้ึน้ึนไปนั
ไปนั้ น ้น
ครอบคลุ ม ช่ ว งอายุ ห ลายสิ บ ปี โดยแบ่ ง ออกตามความสามารถในการช่ ว ยเหลื อ ตนเองในกิ จ วั ต รประจํ า วั นน
ครอบคลุ ม ช่ ว งอายุ ห ลายสิ บ ปี โดยแบ่ ง ออกตามความสามารถในการช่ ว ยเหลื อ ตนเองในกิ จ วั ต รประจํ า วั
ขัขั้ น้ นพืพื้ น้ นฐานได้
ฐานได้เป็ เ ป็นน3 3กลุกลุ
่ ม คื่ มอคื(1)
อ (1)
กลุ่มกลุ
ที่ ย่ มังทีช่่ ยวั งยเหลื
ช่ ว ยเหลือตั วอเองรวมถึ
ตั ว เองรวมถึ ง สามารถช่
งสามารถช่ วยเหลื ว ยเหลื อผู้อ่อ ื นผู
ได้้ อ่ (2)
ื นได้กลุ(2) ่ มทีกลุ ่ มมีทีภ่ เ ริาวะ
่ เริ่ม ่ ม มี
พึภาวะพึ
่ งพิงผู้อ่ ง่ ื น พิ งและ ผู้ อ่ ื น(3)
และ"กลุ(3)่ มติ"กลุ
ดเตี่ ม
ยติ
ง"ดที
เตี่ ชย่วง" ที่ ชอ่ วตนเองไม่
ยเหลื อ ตนเองไม่ ไ ด้ การมองภาพของผู ้ สู ง วั ย แบบเหมารวม
(2)
ยเหลื ได้ (2) การมองภาพของผู ้สูงวั ยแบบเหมารวมจึ ง
จึ ง พร่ า เลื อ น ไม่
พร่าเลื อนไม่อาจสะท้ อนสถานการณ์ท่ี เป็นจริง อ าจสะท้ อ นสถานการณ์ ท ่ ี เ ป็ น จริ ง

ข้อมูลทีน
่ าํ มาบอกเล่ากันนีเ้ ป็นเพียงเศษเสีย
้ วของความจริง ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า ความคิดหรือความเชื่อทํานอง
“เมื่ออายุก้าวล่วงสูช
่ ว
่ งสูงวัย สภาพร่างกายย่อมถดถอยลงจนต้องพึ่งพาคนอื่น” นั้น...

เป็นแค่ความเชื่อ มิใช่ความเป็นจริง

13
90 ปีขึ้น...

85-89 ปี

80-84 ปี

75-79 ปี

70-74 ปี

65-69 ปี

60-64 ปี

ที่มา: ประมวลผลจากการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย ปี 2560 โดยสํานักงานสถิติแห่งชาติ

ถ้าดูจากข้อมูลในปี พ.ศ. 2560 จะพบว่า ผู้สูงวัยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงยังมีสัดส่วนน้อยกว่ากลุ่มที่ยัง


ช่วยเหลื อตั วเองได้ และหรือสามารถช่วยเหลื อผู้อ่ ื น ชุ มชน และสังคมได้ หลายเท่ าตั ว โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในช่วงวัย 60-79 ปี(3) และหากจัดบริการการดูแลให้ดีจะลดกลุ่มผู้พ่ึงพิงได้อีกมาก

บทบาทของผูส
้ ง
ู วัยในการสนับสนุนครอบครัว
ช่วงวิกฤติโควิด-19 พ.ศ. 2563
(4)

% %

% %

มีภาระดูแลผูส ้ งู อายุดว ้ ยกัน


ผู้ สู ง วั ย จํ า นวนมากยั ง มี บ ทบาทช่ ว ยเหลื อ % เกิด
% หรือผูท
้ ม
ี่ ภ
ี าวะพึง ่ พิง
สนั บ สนุ น ครอบครั ว ในด้ า นต่ า ง ๆ มากกว่ า ที่ อ ยู่
เฉยๆ หรือรอพึ่งพิงใคร ทั้งในช่วงปกติและในยาม
วิกฤติ ดังข้อมูลในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด

14
จากที่ เ คยเชื่ อกั นมาว่ า ในยามหนุ่ม สาวต้ อง “ผมต้องการสุขภาพอนามัยอันดี และรัฐบาล
ทุ่ ม เททํ า งานให้ เ ต็ ม ที่ เ พื่ อสะสม “เสบี ย ง” ไว้ สุ ข จะต้ องให้บริการป้องกันโรคแก่ผมฟรี กับบริการการ
สบายยามแก่ เ ฒ่า ... แพทย์รักษาพยาบาลอย่างถูกอย่างดี เจ็ บป่วยเมื่อใด
หาหมอพยาบาลได้สะดวก...”
แต่ความรู้ในปัจจุบันกลับชี้ให้เห็นว่า สุขภาพ
ดีและยังยิ้มได้เสมอเมื่อสูงวัย เป็นผลสะสมสืบเนื่อง “เมื่อจะตายก็ขออย่าให้ตายอย่างโง่ ๆ อย่าง
ตลอดชีวิตที่ผา่ นมา นับตั้งแต่จุดเริม
่ ต้นชีวิตในท้องแม่ บ้า ๆ … ตายเพราะอุบตั ิเหตุรถยนต์ ตายเพราะน�าหรือ
อากาศเป็นพิษ”
ข้อเขียนอันทรงพลังที่คนไทยรู้จักและคุ้นเคย
กั น ในชื่ อ ว่ า “จากครรภ์ ม ารดาถึ ง เชิ ง ตะกอน” (5)
ในวั นที่ ความรู้ได้ เปิดเผยความลั บที่ ว่า
ได้ นํ า เสนอความจริ ง เรื่ องนี้ ไ ว้ อ ย่ า งแยบยล
การดู แ ลสุ ข ภาพในทุ ก ช่ ว งวั ย ของชี วิ ต
ดั ง เนื้ อหาบางส่ ว นต่ อ ไปนี้
เป็นเหมือนการ“หยอดกระปุ ก” เพื่อสะสม

“เมื่อผมอยูใ่ นครรภ์ของแม่ ผมต้องการ ต้นทุนให้มีสุขภาพดีไปจนตลอดชีวิต

ให้แม่ได้รับประทานอาหารที่เป็นคุณประโยชน์
และได้รับความเอาใจใส่ แ ละบริ ก ารอั น ดี ใ นเรื่ อง ดังนั้น คนที่ยังยิ้มได้ในยุคสังคมอายุยืนจึง
สวั ส ดิ ภ าพของแม่ และเด็ก...” มีพ้ ืนฐานจากการเตรียมตั วใส่ใจดูแล
สุขภาพสม�าเสมอมาตั้งแต่ก่อนสูงวัย
“ในระหว่าง 2-3 ขวบแรกของผม
ซึ่งร่างกายและสมองผมกําลังเติบโตใน
ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนวันสุดท้าย
ระยะที่ สํ า คั ญ ผมต้ อ งการให้ แ ม่ ผ ม
กั บ ตั ว ผม ได้ รั บ ประทานอาหารที่
เป็ น คุ ณ ประโยชน์ . ..”

15
การดูแลสุขภาพเพื่อสะสม “ต้นทุน” ที่ดเี พื่อไป “จุดเสี่ยง” สําคัญที่ทําให้เกิดความเสื่อมถอย
สู่ ภ าวะสู ง วั ย ที่ เ สื่ อมถอยช้ า ฟื้ นฟู ไ ด้ เ ร็ ว เช่ น และสามารถหลีกเลี่ยงได้ในแต่ละช่วงวัย เช่น
แม่ ใ ช้ ชี วิ ต อย่ า งเหมาะสมและได้ รั บ การดู แ ล ทารกน� าหนักน้อยกว่ าเกณฑ์ ต้ั งแต่ ก่อนคลอด
สุ ข ภาพอย่ า งต่ อ เนื่ อง, คลอดตามกํ า หนด, เด็กปฐมวัยไม่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้วย
ได้ รั บ นมแม่ เ ป็ น อาหารมื้ อแรกและต่ อ เนื่ อง กระบวนการ Active Learning อ้ ว นแต่ เ ด็ ก
อย่ า งน้ อ ย 3 เดื อ นแรกของชี วิ ต , ได้ รั บ การ เมื่ อเจ็ บ ป่ ว ยแล้ ว ปล่ อ ยปละละเลยจนพิ ก าร
เสริ ม พั ฒ นาการที่ ดี ใ นช่ ว งปฐมวั ย และเข้ า และ เกิดการพึ่งพิงในระยะยาว ฯลฯ
โรงเรี ย น, น� า หนั ก ตั ว เหมาะสม, เมื่ อเจ็ บ ป่ ว ย
ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องจนฟื้นตัวเป็นปกติ
ไม่ปล่อยปละละเลยให้เรื้อรังหรือพิการ,ในยามที่
แข็ ง แรงรั ก ษาสุ ข ภาพกายใจให้ เ ป็ น ปกติ
อยู่ เ สมอ ฯลฯ
16
“อายุ ยื น young ยิ้ ม ได้ ”
ร่า งกายเป็ น เรื่อ งรอง

แนวโน้ ม ผู้ สู ง อายุ ท่ี มี อ าการ “ซึ ม เศร้ า ”


(depression) ซึ่งเกิดขึ้นได้แบบไม่เลือกว่ายากดีมีจน
โดยมีขอ ้ มูลระบุวา่ ผูส ้ งู วัยร้อยละ 72.3 มีภาวะซึมเศร้า
และ ร้อยละ 15.6 มีภาวะโรคซึมเศร้า(6) น่าจะเป็นภาพ
สะท้ อนได้ อย่างชัดเจนว่า ตั วเลขอายุ ท่ี ยืนยาวไม่ได้
เป็นสาเหตุท่ีทําให้คนเรามีความสุขได้เสมอไป
อย่างไรก็ตาม แม้ในร่างกายที่เสื่อมถอยหรือเจ็บ
ป่ ว ย ซึ่ ง ไม่ มี ใ ครหนี ไ ด้ พ้ น ความสุ ข ทางจิ ต ใจและ
อารมณ์ ส ดชื่ น เบิ ก บานก็ ส ามารถดํ า รงอยู่ ไ ด้ เ ช่ น กั น
แต่ถ้าถามคนที่ผา่ นร้อนผ่านหนาวมายาวนาน หากหมั่ น สร้ า งอย่ า งถู ก วิ ธี ท้ั ง จากปั จ จั ย ภายในและ
จนผ่านเข้าสู่ “วัยชรา” ได้สาํ เร็จสมดังพรที่ได้รบ ั อาจ ภายนอกของแต่ละบุคคล
พบว่ า ตั ว เลขอายุ ท่ี ย าวไกลก็ ยั ง ไม่ ใ ช่ เ ป้ า หมายของ ความรู้ในวันนี้บอกเราว่า นอกจากการรักษา
ความปรารถนาที่แท้จริงของมนุษย์ กายใจให้เป็นปกติ สม�าเสมอแล้ ว สภาพแวดล้ อมใน
ผลสํ า รวจความคิ ด จากผู้ สู ง วั ย ว่ า อะไรคื อ ครอบครัวและสังคมยังเป็น “ต้ นทางแห่งความสุข”
“ความสุ ข ” ทํ า ให้ เ ราค้ น พบความจริ ง ที่ ลึ ก ลงไปว่ า ของการมีชว ี ิตที่ยน
ื ยาว
การมี อ ายุ ยื น ยาวจะนํ า ความสุ ข มาให้ ต่ อ เมื่ อจิ ต ใจ
สมดุ ล และแข็ ง แรง ั การดูแลเอาใจใส่ ซึง่ มีพ้ น
และการได้รบ ื ฐาน
มาจากความสั ม พั น ธ์ ที่ดีจ ากคนในครอบครัว และ
แน่ น อนว่ า เรื่อ งของสุ ข ภาพร่า งกาย การ สั ง คมรอบข้ า ง อย่ า งเพีย งพอ คื อ ปั จ จั ย สํ า คั ญ ใน
มีสังคม และมีเงินจับจ่ายใช้สอย คือเสาค�าจุนชีวิต การหล่ อ เลี้ ย งให้ สั ง คมในยุ ค ที่ มี สั ด ส่ ว นผู้ สู ง วั ย
ให้เป็นสุข แต่ ส่ิงเหล่ านี้ยังเป็นรองเรื่องของ “ใจ” เพิม ้ เป็นลําดับ อบอุ่นและเป็นสุขอย่างแท้จริง
่ ขึน
17
(7)

18
สังคมไทยเชื่อว่า การมีชีวิตที่ยืนยาวและผาสุกเป็นเรื่องของบุญวาสนาของแต่ละคน ขณะที่
โลกปัจจุบน ั ชวนให้เรามองในมุมใหม่ว่า คุณภาพชีวิตเมื่อสูงวัยเป็นสิง่ ที่สงั คมต้องช่วยกันสร้างให้แก่
สมาชิกในสังคมของตน
จุ ดเน้นที่ สําคั ญในการไปให้ถึงเป้าหมายที่ เชื่อว่ า ใคร ๆ ก็ อยากเห็นและเป็นคนหนึ่งได้ รับ
โอกาสเช่นนั้น คือ สร้างระบบตรวจสอบหรือประเมินสภาวะถดถอยของศักยภาพภายในร่างกาย
และมีการดูแลเพื่อการป้องกันหรือชะลอความถดถอยเหล่านั้นได้ โดยค้นหาคัดกรองให้ค้นพบความ
เสื่อมถอยตั้งแต่ระยะที่ยงั เป็นเพียงเล็กน้อย และฟื้นฟูให้สมรรถนะกลับคืนมา
การสร้างช่องทางในชุมชนเพื่อให้ผู้สูงวัยการเข้าถึงบริการทั้งด้านสุขภาพและสังคมได้อย่าง
สะดวกและทั่วถึง ยังเป็นสิง่ สําคัญที่ต้องทําควบคู่กันไป เพื่อทําให้ผส ู้ งู วัยได้รบ
ั สิง่ จําเป็นที่สอดคล้อง
กับตนเองมากที่สด ุ
หากครอบครั ว ชุ ม ชน และสั ง คม ช่ ว ยกั น ทํ า หน้ า ที่ “เติ ม เต็ ม ” สิ่ ง จํ า เป็ น เหล่ า นี้ ข้ึ น ทุ ก
หนแห่ ง “ภาพจํ า ” เกี่ ย วกั บ ความสู ง วั ย จะเกิ ด การพลิ ก ผั น

19
ปัจจัยทีเ่ กื้อหนุนให้ผสู้ ง
ู วัย
ดํารงชีวต ิ อย่างเป็นสุข
(8)

ความสัมพันธ์ทด
ี่ ีมค
ี ณ
ุ ภาพกับคนทุกวัย

“ความสัมพันธที่มีคุณภาพ” มีบทบาทสำคัญเบื้อง
หลังชีวิตที่ยืนยาว และมีความสุขยิ่งกวาปจจัยเรื่อง
ความมัง่ คัง่ ฐานะทางสังคม ระดับสติปญ  ญา หรือ
พันธุกรรม(9)

อย่าง

20
ปลอดจากโรคเรื้ อ รั ง ที่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยสู ง ดั ง กล่ า ว และ
คงความเป็ น ปกติ ไ ปให้ น านที่ สุ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ
รักษาพยาบาลของผู้สูงวัยแต่ละคนก็ไม่จําเป็นว่าจะ
ต้องสูงขึ้นเสมอไป
กุ ญ แจสํ า คั ญ คื อ การให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การ
ป้ อ งกั น และชะลอความเสื่ อ มถอยของสุ ข ภาพ เช่น
ภาวะสมองเสื่อม โรคเครียด การล้มกระดูกหัก ปัญหา
การได้ยน
ิ กลั้นการขับถ่ายไม่ได้ ปัญหาการเดิน ปัญหา
ทางสายตา การปวดกระดูกและกล้ามเนื้อ(10) เป็นต้น
โ ด ย นํ า ค ว า ม รู้ ใ น เ รื่ อ ง ภ า ว ะ เ ป ร า ะ บ า ง ข อ ง
ผู้ สู ง อายุ (frailty) ซึ่ ง ช่ ว ยบ่ ง ชี้ ถึ ง การลดระดั บ
เชื่อกันว่า เมื่อผ่านเข้าสูว
่ ัยชรา สุขภาพของคน
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง ร ะ บ บ ต่ า ง ๆ
เราจะดําเนินไปสู่ “ขาลง” ไปเรื่อยๆ เป็นลําดับ
ภายในร่ า งกายเมื่ อสู ง วั ย มาใช้ ใ นการป้ อ งกั น และ
สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ ควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาระบบ
การดู แ ลสุ ข ภาพให้ ต อบสนองต่ อ ปั ญ หาได้ ทั น เวลา
เพื่อเบนสุขภาพ “ขาลง” ในกรณีท่ีป้องกันได้ ให้เป็น
“ขาขึน
้ ” จนฟื้นคืนปกติ หรือใกล้เคียงปกติให้มากทีส
่ ด

หากเราเข้าใจถึ งความเป็นจริงและจั ดการ


ให้ ดี ต้ั ง แต่ วั น นี้ สั ง คมสู ง วั ย จะไม่ เ ป็ น ปั จ จั ย ฉุ ด รั้ง
เศรษฐกิจ หรือเต็มไปด้วยความเจ็บป่วยเสื่อมถอย
ฉุ ด คุ ณ ภาพชี วิ ต ไปสู่ “ขาลง” โดยไร้ ท างเลื อ ก
อย่ า งที่ เ คยเชื่ อ!

21
เปลี่ ยนภาวะ “ขาลง” ที่ พบบ่ อ ยเมื่ อสู ง วั ยให้ เ ป็ น
แค่ เ รื่ อง “ชั่ ว คราว” ไม่ ใ ช่ ปั จ จั ย ฉุ ด รั้ ง เศรษฐกิ จ และ
คุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ เ ป็ น “ขาลงถาวร” ด้ ว ยการ “กอบกู้ ”
คุณภาพชีวิตผู้สูงวัยจากภาวะเสื่อมถอยให้คืนกลับมาได้

ใส่ใจการตรวจคัดกรอง ใส่ใจการรักษาและฟื้นฟู ใส่ใจดูแลสุขภาพและ


ตรวจเช็กร่างกายสม�าเสมอ
ตรวจพบเร็ว ฟื้นฟูดว
้ ยกิจกรรม การบําบัด การฟื้นฟูในช่วง
ที่เหมาะสม ช่วยชะลอ 6 เดือนหลังป่วย ไม่ปล่อยให้
หรือลดภาวะสมองเสื่อม ลุกลามจนเกินแก้ไข
ตลอดชีวิตได้
22
จากวันที่ยังมีสุขภาพดี สามารถทํากิจวัตรด้วย อย่างเหมาะสมและเพียงพอ การได้รบ ั สารอาหารครบ
ตนเองได้อย่างเป็นอิสระ กับวันทีส ่ ข
ุ ภาพถดถอยจนถึงจุด ถ้ ว นพอเหมาะ การรั ก ษาสุ ข ภาพช่ อ งปากให้ ส ะอาด
ทีไ่ ม่สามารถพึง่ พิงตนเองได้ ไม่ได้เกิดแบบฉับพลัน แต่มี การจั ด สภาพแวดล้ อ มในบ้ า นและชุ ม ชนให้ ผู้ สู ง วั ย
สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า ภาวะเปราะบางของผู้ สู ง อายุ (frailty) ใช้ชวี ิตได้อย่างปลอดภัย เป็นต้น
เป็ น “รอยต่ อ ” ขณะนีใ้ นประเทศไทยได้มก ี ารจัดทํา ดัชนีภาวะ
ภาวะเปราะบางของผู้สูงอายุ ไม่ใช่โรค แต่ เป็น เปราะบางของผู้ สู ง อายุ (Thai Frailty Index) ที่
ภาวะหนึ่ ง ของร่ า งกายที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งกลางของความ ประกอบด้ ว ยตั ว บ่ ง ชี้ ภ าวะดั ง กล่ า ว 30 ตั ว โดยมี
สามารถในการทํางานได้กับภาวะไร้ความสามารถ และ พื้ นฐานจาก 4 ด้ า น ได้ แ ก่ สุ ข ภาพกาย (physical)
อยูร่ ะหว่าง“สุขภาพดี” กับการเกิด “โรค” สุขภาพจิ ต (psychological) การทํ างานของร่างกาย
ภาวะเปราะบางของผู้สูงอายุ คือ “จุ ดเสี่ยง” (functional) และสังคม (social) เพื่อเป็นเครื่องมือใน
ที่ทําให้เข้าสู่ภาวะถดถอยทันทีที่ได้รบ ั การเจ็บป่วย การป้องกัน หลีกเลี่ยง ชะลอ และฟื้ นฟูภาวะสุขภาพ
แม้เพียงเล็กน้อย ของผู้สูงวั ยให้ห่างไกลจากภาวะพึ่งพิงไปให้นานที่ สุด
ที่ สํ า คั ญ คื อ ภาวะนี้ ส ามารถป้ อ งกั น และฟื้ นฟู
ไ ด้ ห า ก มี ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง แ ล ะ จั ด ก า ร เ มื่ อ เ ริ่ ม พ บ เรือ
่ งของภาวะเปราะบางของผูส ื เป็นหนึง่
้ งู อายุถอ
สั ญ ญาณในระยะเริ่ ม ต้ นด้ วยการออกกํ า ลั ง กาย ในเรือ
่ งสําคัญของระบบสุขภาพในยุคสังคมสูงวัย

23
(11)

need help need help need help

need help need help need help

f
need help
need help need help

need help

24
“ตายดี = ต้องไปตายที่โรงพยาบาล”

ผลสํ า รวจที่ ทํ า กั บ กลุ่ ม ผู้ สู ง วั ย หลายชิ้ น ทํ า ให้ สิ่งที่ จํ า เป็ น ที่ จ ะทํ า ให้ ผู้ สู ง วั ย สามารถดํ า เนิ น ชี วิ ต
พบความจริ ง ที่ อ ยู่ ใ นใจว่ า "บ้ า น" คื อ “อาณาจั ก ร” แต่ ล ะวั นได้ อย่างมีคุณภาพชีวิต เช่น อาหาร การดูแล
ที่ ผู้สูงวั ยคุ้นเคย รู้สึกเป็นเจ้ าของ และสามารถใช้ชีวิต สุขภาพ การพบปะผูค ้ น ฯลฯ
ในบั้ น ปลายอย่ า งเป็ น อิ ส ระและคงคุ ณ ภาพชี วิ ต ใน ทั้งถูกใจและไม่ส้น ิ เปลือง การ “สูงวัยในที่เดิม
แบบฉบับของตนเองเอาไว้ ได้ มากที่ สุด ยามชรา” (Aging in place) จึงเป็นคําตอบทีล ่ งตัวทีส ่ ดุ
แต่ ข้ อ จํ า กั ด ที่ ผ ลั ก ให้ ผู้ สู ง วั ย ต้ อ งจากบ้ า นไป ของวิ ถีชีวิตยุ คสังคมสูงวั ย และยังรอการสานสร้าง
ใช้ บ้ั น ปลายชี วิ ต ในสถานที่ อ่ ื นเป็ น เพราะ 2 สาเหตุ ใ ห้เ กิ ด ร ะ บ บ ร อ ง รั บ เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น สิ่ ง ที่ จํ า เ ป็ น
สําคัญ คือ บ้านไม่ได้รบ ั การปรับปรุงสภาพให้เหมาะสม อ ย่า ง ค ร บ ถ้ ว น แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ
สํ า หรั บ ผู้ สู ง วั ยอยู่ อ าศั ย และขาดการสนั บ สนุ น

25
(12.1)

การสํารวจเพือ่ ประเมินความ
ต้องการการได้รบ ั การดูแล
เมื่อป่วยระยะสุดท้ายกับ
กลุ่มตัวอย่าง 1,564 ราย
และสัมภาษณ์เชิงลึก
จากการสุม ่ ประชากร

อายุ 55 ปีขน
ึ้ ไป 36 ราย
พบว่า “บ้าน”
เป็นสถานทีซ
่ ง
ึ่ ผูป
้ ว่ ยต้องการ
จะพักพิงเป็นทีส ่ ดุ ท้าย
(12.3)
ก่อนจะจากไป
ผูส
้ งู วัย 9 จาก 10 คน ต้องการอยูอ
่ าศัย
ในบ้านหลังที่ใช้ชวี ิตอยู่ ไม่ยา้ ยไปที่อ่ ืน

(12.2)

26
เมื่อชีวิตเดินทางมาจนถึงวาระสุดท้าย ทุกชีวิต ดังนั้น สภาพการเสียชีวิตท่ามกลางสายระโยง
ต่ างต้ องการบั้ นปลายชี วิ ตที่ สุ ข สงบและจากไป ระยางในห้องไอซียูจึงเป็นเรื่องปกติ และการที่ บุคคล
อย่ า งสง่ า งาม ผู้ เ ป็ น ที่ รั ก จากไปโดยปราศจากลู ก หลานญาติ มิ ต ร
ได้ ทันดูใจหรือร�าลาคื อสิ่งที่ ต้องทํ าใจยอมรับให้ได้ ว่า
อย่างไรก็ตาม ในยุคที่โลกเจริญรุ่งเรืองด้วยวัตถุ เป็นเรื่องธรรมดา พร้อมกับการที่ครอบครัวและสังคม
และเทคโนโลยีที่ก้าวล�า มนุษย์เชื่อว่า “วาระสุดท้าย” จํ า ต้ อ งแบกรั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยเพื่ อ รั ก ษาพยาบาลในระยะ
ที่ดี คืออะไร สุดท้ายที่สูงลิบ
ข้อมูลที่รวบรวมจากประเทศต่าง ๆ ชี้ให้เห็นว่า
ปัจจุ บันมีประชากรโลกมากกว่ า 40 ล้านคนต้ องการ มองให้ใกล้ ตัวเข้ามา คนไทยยินดี ที่จะก้ าวไป
ก า ร ดู แ ล แ บ บ ป ร ะ คั บ ป ร ะ ค อ ง ใ น ร ะ ย ะ สุ ด ท้ า ย สู่ สั ง คมสู ง วั ย ด้ ว ยมุ ม มองเดิ ม อย่ า งเช่ น “ตายดี คื อ
(palliative care) เพื่ อจากไปอย่ า งสงบ เรี ย บง่ า ย การไปตายที่โรงพยาบาล” และยอมทุ่มเททรัพยากรให้
แต่ มี เ พี ย งแค่ ร้ อ ยละ 14 ของคนเหล่ า นั้ น ที่ ส ามารถ กับการดูแลสุขภาพในระยะท้ายของชีวิตบนเป้าหมาย
เข้าถึ งบั้นปลายชีวิตในแบบที่ ต้องการ(13) “สูจ
้ นตาย” และ “ต้องชนะ” อย่างทีก
่ าํ ลังเป็นอยู่ ณ วันนี้
หรือจะเร่งพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ
นั่นหมายถึงว่า คนส่วนใหญ่ยังถูกจํากัดโอกาส เราให้เอื้ออํานวยให้ทุกคนได้รบ
ั โอกาส “ตายดี” ใน
ที่จะจากไปอย่างเป็นธรรมชาติ ด้วยอิทธิพลจากความ แบบฉบับทีต ่ นเองปรารถนา
เชื่อว่า “ตายดีคือการไปตายทีโ่ รงพยาบาล”

27
สหรัฐอเมริกา = 1 ปีสด
ุ ท้ายของชีวิต มากกว่า 1 ใน 4
ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด (medicare)

เยอรมัน = 1-2 เดือนสุดท้าย คิดเป็นประมาณร้อยละ 40 ของ


ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด

เนเธอร์แลนด์ = 1 ปีสด
ุ ท้ายของชีวต
ิ คิดเป็นประมาณ 13.5 เท่า
ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมด

แคนาดา = 1 ปีสด
ุ ท้ายของชีวต
ิ ประมาณ 53,661 ดอลลาร์แคนาดา
และ 120 วัน สุดท้ายเพิม
่ ขึ้นอย่างรวดเร็ว

28
29
(14)

31
ภายในปี พ.ศ. 2580 หรือ ประมาณ 15 ปีขา
้ งหน้า สัดส่วนของผูส ้ งู วัยจะขยายเพิม
่ เป็นเท่าตัวเมือ
่ เทียบกับปัจจุบน

ประเทศไทยจะรับมือกับสถานการณ์นี้อย่างไร
คนทุกวัยจึงจะอยูร ่ ว
่ มกันได้อย่างมีความสุข

32
แม้ว่าอายุขัยเฉลี่ยของคนไทยยืนยาวขึ้น และระบบบริการสาธารณสุขมีความก้าวหน้าและ
ทั่ ว ถึ ง กว่ า ยุ ค ที่ ผ่ า นมาอย่ า งชั ด เจน แต่ ผู้ สู ง วั ย ก็ ยั ง เผชิ ญ การเจ็ บ ป่ ว ย พิ ก าร และเสี ย ชี วิ ต ด้ ว ย
สาเหตุ จ ากขี ด จํ า กั ด ของระบบบริ ก ารสุ ข ภาพในหลายด้ า น เช่ น

ขี ด จํ า กั ด ด้ า นทรั พ ยากรของระบบ ทั้ ง ด้ า นสถานที่ อุ ป กรณ์ และกํ า ลั ง คน ที่ ทํ า ให้


ผู้ป่วยไม่มีโอกาสเข้าถึงบริการที่จําเป็นได้อย่างถ้วนหน้าและต่อเนื่อง

เข้าถึงบริการได้ยาก จนบางครั้งไม่ทันเวลาที่จะช่วยกอบกู้จากอาการวิกฤติ จนทําให้


พิการหรือเสียชีวิตทั้งที่อยู่ในวิสัยที่สามารถจัดการได้

การจั ด บริ ก ารไม่ เ อากลุ่ ม ผู้ รั บ บริ ก ารเป็ น “ศู น ย์ ก ลาง” จนทํ า ให้ ส ร้ า งภาระและ
ความทุกข์ให้แก่ ผู้ป่วยและครอบครัว

เหล่ านี้คือ “ขีดจํ ากั ด” ของระบบบริการสุขภาพสําหรับผู้สูงวั ยที่ อยู่เบื้องหลั งสถานการณ์


ปัญหาต่าง ๆ ที่ปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน

33
หากในปี พ.ศ. 2575
รัฐบาลยังไม่ออกมาตรการควบคุม
พฤติกรรมการใช้ชว
ี ต
ิ ของผูส
้ ง
ู วัย
คาดว่าจะทําให้ค่าใช้จ่าย

สูงขึน
้ ไปถึง

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ระบุค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของไทย


ในอีก 15 ปีขา้ งหน้า คาดว่าจะอยูท ่ ป
่ี ระมาณ 4.8– 6.3 แสนล้านบาท และเมื่อผนวก
กั บปัจจั ยสังคมสูงวั ย จะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นไปถึ ง 1.4–1.8 ล้ านล้ านบาท
หากในปี พ.ศ. 2575 รัฐบาลยังไม่ออกมาตรการควบคุมพฤติกรรมการใช้ชีวิตของ
ผู้สูงวัย คาดว่าจะทําให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปถึง 2.2 ล้านล้านบาท(16)

34
ระบบบริการสุขภาพที่ จะสนับสนุนให้คนไทย นอกจากนี้ อั ต ราการเสี ยชี วิ ต ด้ ว ยสาเหตุ ที่ อ ยู่
มีสุขภาวะในยุค "สังคมสูงวัย" เป็นเรื่องท้าทาย ในวิสัยป้องกันได้ยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น

เพราะในสถานการณ์ ใ หม่ ที่ ป ระเทศไทยมี เมื่ อผู้ สู ง วั ย เพิ่ ม จํ า นวนอย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง แต่
ประชากรสูงวัยในสัดส่วนที่สูงกว่าเดิมมาก วิธีบริหาร ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพของเรายั ง คงให้ บ ริ ก ารแบบ
จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ข อ ง ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ที่ มี “เหวี่ยงแห” หรือเป็นแบบ “ตั้งรับ” ย่อมนําไปสูส ่ ภาพ
อยู่ จํ ากั ด เช่น จํ านวนแพทย์ พยาบาล บุ คลากร คนไข้ ล้ น โรงพยาบาลในอี ก ไม่ น าน
สาธารณสุ ข งบประมาณ เตี ย ง และอุ ป กรณ์ สํ า หรั บ
การรักษาพยาบาล ฯลฯ จะต้องเปลี่ยนไปจากเดิม ระบบบริการสุขภาพที่ออกแบบด้วยวิธค ี ิดใหม่
ข้ อ มู ล ในปั จ จุ บั น ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า แม้ ว่ า ประชากร ให้สามารถจั ดการกับปัญหาที่ มักจะเกิดกับผู้สูงวั ยได้
ไทยจะมีอายุ ยืนยาวถึ ง 74.8 ปี แต่ ช่วงอายุ ที่อยู่ด้วย ตรงจุด จึงเป็นหนทางที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
สุ ข ภาพที่ ดี มี เ พี ย ง 68.2 ปี เ ท่ า นั้ น และอี ก 6.6 ปี
ก ลั บ ต้ อ ง อ ยู่ กั บ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ค ว า ม ไ ม่ ส บ า ย นั่นคือ มุง่ เน้นการ "ป้องกัน หลีกเลีย
่ ง ชะลอ
หรื อ ความพิ ก าร (17) และฟื้นฟู" เพื่อช่วยลดการเจ็ บป่วยและการพึ่งพา
ที่ไ ม่ จํ า เป็ น หรือ ก่ อ นวั ย อั น ควร

35
รายงานสถิติสาธารณสุขในช่วงปี
พ.ศ. 2554-2558 พบว่า ผูท ้ เี่ สียชีวต

มากกว่ า ร้อ ยละ 23 เสี ย ชี วิ ต จาก
โรคมะเร็งและเนื้องอก

36
พยาบาลทั้งหมดของผู้สูงวัยเพิ่มขึ้นไปด้วย แต่ละสถานะทางสุขภาพของผู้สูงวัยคือปัจจัยที่ส่งผล
(18)

"การป้องกัน หลีกเลีย
่ ง ชะลอ และฟื้นฟู" เพื่อช่วยลดการเจ็บป่วยและการพึ่งพาที่ไม่จําเป็นหรือ
ก่อนวัยอันควรในกลุม
่ ผูส
้ งู วัย จึงเป็นกุญแจสําคัญที่จะกําหนดทิศทางอนาคตของสังคมสูงวัย

1. ค ว า ม เ สื่ อ ม ถ อ ย ข อ ง สุ ข ภ า พ ที่ พ บ บ่ อ ย ใ น ผู้ สู ง วั ย ที่ เ รี ย ก ว่ า


“ภาวะเปราะบางในผูส
้ งู วัย” (frailty)
2. ความเสีย
่ งอุบัติเหตุทเี่ กิดในบ้านและนอกบ้าน ทั้งต่อร่างกาย เช่น การ
หกล้ม เพราะขาดการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุงให้เหมาะสม ฯลฯ
3. ความเสีย
่ งด้านจิตใจ เช่น การอยู่ตามลําพัง ขาดสังคม ขาดผู้ดูแลและ
การเอาใจใส่ จนเกิดความเครียดและซึมเศร้า
4. ความเสี่ ย งจากพฤติ ก รรมการดํ า เนิ น ชี วิ ต ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง อย่ า งเช่ น
พฤติ กรรมเนือยนิ่ง การบริโภคอาหารอย่างไม่สมดุล ขาดการพักผ่อน
อย่างเพียงพอ นําไปสูโ่ รคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพสําคัญของ
ผู้ สู ง วั ย ในยุ ค ปั จ จุ บั น เช่ น ความดั น โลหิ ต สู ง เบาหวาน โรคหั ว ใจและ
หลอดเลือด ฯลฯ

37
38
เมื่ อ สุ ข ภาพถดถอยถึ ง ขั้ น ที่ อ ยู่ ใ นภาวะพึ่ ง พิ ง แม้ว่ า ระบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพของประเทศ
ผูอ
้ ่ ืน ผูส
้ งู วัยก็ยงั รักษาสุขภาวะไว้ได้ หากได้รบ
ั การดูแล ไทย หรือสิทธิ “บัตรทอง” ขยายชุดสวัสดิการให้ผส
ู้ ูงวัย
ที่ ดี แ ละมี สิ่ ง ที่ จํ า เป็ น ครบถ้ ว น ที่ อ ยู่ ใ นภาวะที่ ต้ อ งการบริ ก ารการดู แ ลระยะยาว
ปัจจุบน
ั ประเทศไทยมีระบบสวัสดิการทีค
่ ม
ุ้ ครอง (Long-Term Care) มาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2559 แต่ ยั ง
ด้ า นการรั ก ษาพยาบาลให้ แ ก่ ผู้ สู ง วั ย ทุ ก คน อย่ า งไร ไม่ ส ามารถครอบคลุ ม ผู้ สู ง วั ย ที่ ต้ อ งการบริ ก ารการ
ก็ตาม ความเสี่ยงที่จะสูญสิ้นสุขภาวะยังรออยู่ข้างหน้า ดู แ ลระยะยาวได้ ทุ ก คน อี ก ทั้ ง ชุ ด บริ ก ารที่ จั ด ให้
เพราะสิทธิประโยชน์ที่มอ
ี ยูใ่ นขณะนีไ้ ม่ได้ครอบคลุมถึง ยั ง ไม่ สามารถ “เติมเต็ม” สิ่งที่จําเป็นได้ครบถ้วนตาม
การดู แ ลที่ บ้ า นเมื่ อผู้ ป่ ว ยออกจากโรงพยาบาลแล้ ว ความต้องการที่เป็นจริง
ค่าใช้จ่ายนับจากนัน
้ จึงเป็นส่วนที่ครอบครัวจํ าเป็นต้ อง ในสังคมที่คนไทยจะมีอายุยืนยาว เราจะสร้าง
รับผิดชอบกันเองต่อไป และทําให้ผู้สูงวัยที่อยู่ในภาวะ หลั ก ประกั น ให้ ต นเองและคนที่ รั ก ดํ า รงชี วิ ต อย่ า งมี
“ติดเตียง” เผชิ ญ ความเสี่ ย ง สุขภาวะในวั นที่ ช่วยเหลื อตนเองไม่ได้ อย่างไร...
สภาพเช่ น นี้ ผ ลั ก ดั น ให้ ผู้ ป่ ว ยและครอบครั ว
ต้ อ งการรักษาตั วในโรงพยาบาลให้น านที่ สุด ซึ่งสวน นี่ คื อ โจทย์ ที่ ท้ า ทายให้ คิ ด และลงมื อ ทํ า ให้
ทางกั บ ทิ ศ ทางนโยบายการบริ ห ารจั ด การระบบ เกิ ด ขึ้ น ในวั น ที่ เ รายั ง สามารถคิ ด และทํ า ได้
สาธารณสุ ข ที่ ต้ อ งการลดจํ า นวนวั น ที่ ผู้ ป่ ว ยครอง
เตี ย งให้ น้ อ ยที่ สุ ด

39
ภาพคาดการณ์จํานวน
ผูส
้ ง
ู วัย
จํ านวนผู้สูงวัยที่มีภาวะพึ่งพิง
ในประเทศไทยกํ าลั งเพิ่ ม ขึ้ น
อย่ า งรวดเร็ ว นั่ น หมายถึ ง ค่ า
ใช้จ่ายมหาศาล ซึ่งเกินขีดความ
สามารถที่ ร ะบบสวั ส ดิ ก ารของ
ที่ มี ภ าวะพึ่ ง พิ ง รัฐจะรับภาระได้
พ.ศ. 2560 - 2590
(19)

จํานวนผูส
้ ง
ู วัย จํานวนผูส
้ ง
ู วัยทีม
่ ภ
ี าวะพึง
่ พิง (พันคน)
ทัง
้ ประเทศ (พันคน)

(20)

คํานวณค่าใช้จ่ายสําหรับการดูแลผู้สูงวัย
ที่ มี ภ าวะพึ่ ง พิ ง แต่ ล ะคนให้ ดํ า เนิ น ชี วิ ต ได้
อย่างมีคุณภาพชีวิตพอสมควรว่า สูงถึงเกือบ
2 ห มื่ น บ า ท ใ น แ ต่ ล ะ เ ดื อ น คํ า ถ า ม คื อ
หากเกิ น กํ า ลั ง ที่ รั ฐ และครอบครั ว จะจ่ า ยได้
ต่ อ คน/ต่ อ ปี
จะเกิ ด อะไรขึ้ น เมื่ อประเทศไทยก้ า วไปถึ ง
จุ ด ที่ เ ป็ น “สั ง คมสู ง วั ย เต็ ม รู ป แบบ”
40
จากสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่สาํ คัญใน กระทรวงสาธารณสุ ข ได้ นํ า เรื่ อ งนี้ เ ข้ า สู่ แ ผนการให้
ระบบสุขภาพไทยปัจจุบัน คือ เทคโนโลยีมีราคาแพง บริ ก ารในสถานพยาบาล (service plan) ตั้ ง แต่ ปี
การมุง่ ยื้อความตายมิใช่ย้ อ
ื ชีวิต รวมทั้งการเข้าสูส
่ งั คม พ.ศ. 2560
สูงวัยระดับสุดยอดในอนาคตอันใกล้ และการเปลี่ยน แนวโน้มความต้ องการการดูแลแบบประคั บ
แปลงทางระบาดวิ ทยาไปเป็นโรคไม่ติดต่ อเรื้อรังใน ประคองในระยะท้ ายของชีวิตสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในกลุ่ม
สั ด ส่ ว นที่ สู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ทํ า ให้ ค วามต้ อ งการ ผู้สูงอายุ ไทย ดั งเห็นได้ จากผลสํารวจความต้ องการ
การดู แ ลแบบประคั บ ประคองในระยะท้ า ยของ “ตายที่บ้าน” ในกลุ่มผู้สูงวัย เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 45
ชี วิ ต (palliative care) มี ม ากขึ้ น เป็ น ลํ า ดั บ ในปี พ.ศ.2557 เป็ น ร้ อ ยละ 60 ในปี พ.ศ. 2562
ความหมายของ palliative care ทีใ่ ช้อย่างเป็น และร้อยละ 80 ระบุว่า ไม่ต้องการยื้อชีวิตหากความ
ทางการในประเทศไทย คื อ “เป็นการดูแลแบบองค์ หวังในการรอดชีวิตเหลือน้อย นอกจากนี้ ร้อยละ 90
รวมทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ (ตามศาสนา) อยากมีส่วนร่วมตั ดสินใจในการรักษาในช่วงสุดท้ าย
มุ่งให้ความสุขสบายแก่ผู้ป่วย ช่วยลดความปวดและ ของชี วิ ต อย่ า งไรก็ ต าม การเข้ า ถึ ง บริ ก ารยั ง เป็ น
ความทุกข์ทรมาน การตระหนักถึ งการตายอย่างสม ปั ญ หาสํ า คั ญ ในวั น นี้
ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ รวมถึงครอบครัวผู้ป่วย
ระยะท้าย และหลังเสียชีวิต”(21) จุดบรรจบทีเ่ หมาะสมระหว่าง “ความต้องการ”
พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ระบุไว้ใน กับ “โอกาสเข้าถึง” บริการการดูแลแบบประคับประคอง
มาตรา 12 ว่า ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิในการแสดงเจตนา ในระยะท้ า ยของชี วิ ต จึ ง ถื อ เป็ น เปลาะสุ ด ท้ า ยที่ มี
ไม่ประสงค์จะขอรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียง ความสํ า คั ญ อย่ า งยิ่ ง
เพื่ อยื ด การตายในวาระสุ ด ท้ า ยของชี วิ ต ตน ขณะ ในการนําพาอายุทย
ี่ น
ื ยาวก้าวไปถึง “เส้นชัย”
เดียวกัน เรื่องนี้เป็นสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลัก นั่นคือการจากลาด้วยดี...
ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2553 และ

41
สถานทีท
่ ผรับบริการ
ี่ ค
ู้ นต้องการ
การดูแลระยะท้ายของชีวต

จําแนกตามกลุ่มอายุ
(23)

จากภาพนีส
้ ะท้อนให้เห็นว่า ยิง่ สูงวัยขึน
้ ก็ยงิ่ ต้องการได้รบ
ั บริการดูแลแบบประคับ
ประคองในระยะท้ ายของชีวิตที่ บ้านมากขึ้นเป็นลําดั บ ทว่ า ปัจจุ บันยังมีเพียง
ร้อยละ 18 ของผูท
้ ต
ี่ ้องการได้รบ
ั บริการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้าย
ของชีวิตที่บ้านเท่านั้น ที่ได้ รบ
ั โอกาสนี้

42
ในปัจจุบันที่คนไทยมีอายุยืนขึ้น “ครอบครัว” ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น สั ง คมไทยในวั น นี้ ยั ง ก้ า วไปใน
มีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งในการโอบอุ้มดูแลสมาชิกให้ ทิศทางที่เป็น “ครอบครัวเดี่ยว” และลูกหลานต่างย้าย
มีคุณภาพชีวิตในทุกช่วงวัย เพื่อให้ “แก่ช้า” ท่ามกลาง ออกไปไกลจากถิ่ นฐาน
ความเป็นจริงที่ว่า เราจะมีอายุยน
ื ยาวขึ้น
และแน่นอนว่า สําหรับผูส
้ งู วัย ไม่มใี ครที่จะช่วย เหล่านีค
้ อ
ื “โจทย์” ทีต
่ อ
้ งใคร่ครวญให้รอบด้าน
ดูแลและรู้ใจได้ดีเท่ากับคนในครอบครัว สอดคล้องกับ เพื่อทําให้เกิดสิ่งที่จะเข้ามาสนับสนุนครอบครัวใน
ข้อเท็จจริงที่สํารวจพบว่า การดูแลผู้สูงวัยในประเทศ ฐานะ “หน่ ว ยที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของสั ง คม” ให้ ทํ า หน้ า ที่
ไทยเป็นการจัดการกันเองในครอบครัว ดูแลสมาชิกสูงวัยได้อย่างอุ่นใจและเกิดคุณภาพ
แม้สงั คมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมสนับสนุน
ให้ครอบครัวทําเรื่องนี้ด้วยความเต็มใจและทําได้เป็น หากการดูแลผู้สูงวัยกลายเป็นภาระที่สุดความ
อย่ า งดี ทั้ ง ด้ ว ยความกตั ญ ญู ความอ่ อ นโยนมี น� า ใจ สามารถ ผู้รับผลกระทบชัดเจนที่สุดก็คือผู้สูงวัยที่เจ็บ
และความเชื่อในเรื่องของบาปบุ ญคุณโทษที่ จะส่งผล ป่วยเรื้อรังและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้อีกต่อไปนั่นเอง
ต่ อ ตนเองในอนาคต แต่ ภ ารกิ จ ที่ ก ระทํ า ด้ ว ยความ
สมัครใจอาจแปรเปลี่ยนไปสู่ภาวะกล�ากลืนและจําทน ในทางกลั บ กั น การสนั บ สนุ น อย่ า งตรงจุ ด
เพราะการดูแลผูส
้ งู วัยทีม
่ ส
ี ข
ุ ภาพเสื่อมถอยลงเป็นลําดับ จ ะ ช่ ว ย เ ส ริ ม พ ลั ง ค ร อ บ ค รั ว ไ ท ย ใ ห้ ทํ า ห น้ า ที่
นั้ น ต้ อ งการมากกว่ า ความรั ก และเอาใจใส่ โดยยั ง ดู แ ล ผู้ สู ง วั ย ใ ห้ มี สุ ข ภ า ว ะ ต ร า บ จ น ล ม ห า ย ใ จ
ต้ อ งอาศั ย ความรู้ ความมั่ น ใจ เวลา และมี ค่ า ใช้ จ่ า ย สุ ด ท้ า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม ภ า ค ภู มิ

43
สถานการณ์การดูแลผูส
้ ง
ู วัย
ในภาวะพึง
่ พิง
ของครอบครัวไทย

ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุ หากบุคคลทีม ่ ภ
ี าวะพึง่ พิงเคยสามารถ
ที่มีภาวะพึ่งพิงและต้องการการดูแล ทํ างานได้ จะส่งผลกระทบทั้ งทํ าให้
ระยะยาวในลักษณะ "ติดเตียง" เฉลี่ ย ผู้ป่วยสูญเสียรายได้พร้อมกับเกิดผล
อยู่ ที่ 19,129 บาท ต่ อ คนต่ อ เดื อ น ถึงบุคคลอื่นในครอบครัว ที่อาจต้อง
กลุ่ มที่ มี ภ าวะพึ่ งพิ ง น้ อ ยกว่ าคื อ ลาออกจากงานที่ ทํ า อยู่ เ พื่ อ มาดู แ ล
กลุ่ ม "ติ ด บ้ า น" มี ค่ า ใช้ จ่ า ยเฉลี่ ย ผู้ป่วย เท่ากับสูญเสียกําลังสําคัญใน
9,667 บาท ต่ อ คนต่ อ เดื อ น (24) การหารายได้ของครัวเรือนไปถึง 2 คน

กรณีการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม 1 คน อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพต้องใช้
ผูด
้ แ
ู ลอย่างน้อย 2 คน นํามาสูป
่ ญ
ั หาค่าใช้จ่ายที่สงู ถึง 50,000 บาทต่อเดือน (25)

ปั จ จุ บั น สมาชิ ก ครอบครั ว มั ก อยู่


ในสถานะที่ เ รี ย กว่ า มี “บทบาทเชิ ง
คนทํ าหน้ า ที่ ดู แ ลผู้ สู ง วั ยที่ อยู่ ใ น ซ้อน” (sandwich roles) คื อ การที่
ภาวะพึ่งพิงส่วนใหญ่คือญาติ ที่เป็น ต้องรับบทบาทหลายด้าน ทัง้ บทบาท
ผู้ ห ญิ ง (26) อย่ า งเช่ น กรณี โ รคสมอง ของภรรยา แม่บ้าน และการทํางาน
เสื่ อม พบว่ า มากกว่ า ร้ อ ยละ 50 เพื่อหารายได้ ดูแลบุตร และบุพการี
ของคนที่ ดู แ ลผู้ ป่ ว ยเป็ น บุ ต ร และ พร้ อ มกั น ทํ า ให้ ผู้ ดู แ ลผู้ สู ง วั ย ที่ มี
ร้อยละ 5-11 เป็นคู่สมรส ภาวะทุพพลภาพหรือพิการในครอบครัว
โดยเฉพาะทีม ่ ฐี านะยากจน ต้องประสบ
ปัญหาในการดูแล ทั้งการขาดความรู้
มีปัญหาด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต
รวมทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ ของผู้ ดู แ ล
หากต้องดูแลผูส ้ งู วัยเป็นเวลานาน

บุคคลเหล่านี้มักจะไม่ได้รับข้อมูลในการดูแลที่ถูกต้อง และขาดการอบรมให้ความรู้ในด้านการดูแล อีกทั้งมักจะ


ไม่สามารถปรับตั วได้ กับสภาวะอารมณ์และพฤติ กรรมที่ เปลี่ยนแปลงไปของผู้ป่วยที่ ช่วยเหลือตั วเองไม่ได้ โดย
เฉพาะอย่างยิ่ง ผู้สูงวัยที่มีภาวะสมองเสื่อม ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และมีแนวโน้มที่แย่ลงไปเรื่อย ๆ (27)

44
 องค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่ น

การสร้างระบบบริการสุขภาพที่มุ่งป้องกันและ การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาแก่ ผู้ สู ง วั ย สามารถจัดบริการ


ชะลอความถดถอยด้ า นสุ ข ภาพ โดยพั ฒ นาการดู แ ล สุขภาพและดําเนินการในด้านอื่น ๆ เพื่อส่งเสริมสุขภาวะ
ที่ ค รบถ้ ว นและสร้ า งช่ อ งทางการเข้ า ถึ ง บริ ก ารด้ า น ให้แก่ผู้สูงวั ยในชุ มชน ทั้ งด้ วยงบประมาณของ อปท.
สุขภาพและสังคมได้ อย่างสะดวกง่ายดาย และอยู่ใน เอง และด้วยงบประมาณจากส่วนกลางที่ภาครัฐจัดให้
ชุ ม ชน เพื่ อให้ ใ กล้ ตั ว และเข้ า ถึ ง ชี วิ ต ผู้ สู ง วั ย ทุ ก คน เช่น การจัดจ้างผู้ดูแล (care giver) ให้แก่ผู้สูงวั ยที่ ต้อง
ถือเป็นทิศทางสําคัญที่นานาประเทศเห็นพ้องต้องกัน การการดูแลระยะยาว ของกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น
ด้วยเหตุน้ี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม
จึงก้าวเข้ามามีบทบาทสําคัญในการดูแลสุขภาพผูส
้ งู วัย สะท้อนให้เห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่ ของไทย
ในสังคมทัว่ โลก ในฐานะหน่วยขับเคลื่อนงานทีอ
่ ยูใ่ กล้ชด
ิ ยังมีบทบาทในเรื่องนีไ้ ม่เต็มศักยภาพ ทั้งในแง่ของ
ผูส
้ งู วัยและครอบครัวมากที่สด
ุ การจัดบริการให้ครอบคลุมเรื่องทีจ
่ ําเป็น และในแง่
ในกรณีของไทย พระราชบัญญัติกําหนดแบบ ของการนํางบประมาณส่วนกลางไปจัดบริการให้เป็นไป
และขั้ น ตอนการกระจายอํ า นาจ พ.ศ. 2540 และ ตามเป้าหมายและเกิดคุณภาพ
พ.ศ. 2542 ก็ ไ ด้ กํ า หนดให้ อปท. มี อํ า นาจหน้ า ที่ ใ น

45
(28)

บริการด้านอาหาร - บริการจัดส่งอาหารถึงบ้าน
เพื่อส่งเสริมให้ได้รับสารอาหารที่มีคุณภาพ - บริการจัดเตรียมวัตถุดิบ/ประกอบอาหารในบ้าน
เหมาะสมตามความจําเป็นของวัยและภาวะ - บริการให้คําแนะนําเพื่อเข้าใจด้านโภชนาการตามวัย
ทางสุขภาพ
และปลอดภัย
บริการการดูแลส่วนบุคคล - การดูแลสุขภาพอนามัยประจําวัน เช่น การอาบน�า แต่งตัว ซักเสื้อผ้า
เพื่ออํานวยความสะดวกให้ผสู้ งู วัยใน รับประทานอาหาร รับยาประจําวันให้ครบถ้วนตรงเวลา ฯลฯ
การดูแลสุขภาพอนามัย การทํา - จัดให้มีผู้ดูแล (care giver) ในกรณีท่ีไม่สามารถพึ่งตนเองได้
กิจวัตรประจําวันได้อย่างปกติ - บริการดูแลรายวัน (day care)

บริการดูแลสุขภาพทีบ
่ า
้ น - บริการดูแลสุขภาพทางโทรศัพท์ เพื่อประเมินและติดตามอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพ สามารถดูแล - บริการแพทย์เฉพาะทางและทีมสหวิชาชีพที่บ้าน หรือในชุมชน
สุขภาพของตนเองได้ สามารถฟื้นฟูสมรรถภาพ - บริการนักกายภาพบําบัดดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาล
และได้รับการรักษาพยาบาลทันท่วงที

บริการด้านการจัดการความเสีย
่ ง - บริการ daily check-in เพื่อตรวจสอบสภาพความเป็นอยู่
เพื่อตรวจสอบสภาพความเป็นอยู่ ติดตามความเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่อยู่ตามลําพัง
ไปของผู้สูงวัย - บริการ emergency call เพื่อขอความช่วยเหลือได้ทันที
เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

บริการด้านการขนส่ง - บริการรถรับส่งเพื่อไปพบแพทย์
- บริการรถรับส่งเพื่อทํากิจกรรม/ธุระส่วนตัว

18 แห่ง

198 แห่ง

18 แห่ง

4 แห่ง
177 แห่ง

311 แห่ง

166 แห่ง
115 แห่ง

227 แห่ง

90 แห่ง

236 แห่ง

74 แห่ง

15 แห่ง

244 แห่ง

52 แห่ง

21 แห่ง

(29)

46
ใน “ยุคดิจิทัล” ที่เทคโนโลยีเอื้ออํานวยให้สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศในการยก
ระดับกิจกรรมทุก ๆ ด้านได้อย่างทรงพลัง เราจะนําสิง่ นีม
้ าใช้เป็นเครื่องมือสร้างสังคมสูงวัยที่มค
ี วามสุข
และปิด “ช่องโหว่” ที่มีอยู่ในวันนี้ได้อย่างไร

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทําให้เกิดบริการสุขภาพเชิงรุ กที่มุ่งเน้นการป้องกัน ชะลอ และ


ั การดูแลอย่างดีและต่อเนื่อง เพื่อลดภาระการพึ่งพิงทีไ่ ม่จําเป็นให้เกิดน้อยทีส
ฟื้นฟู โดยได้รบ ่ ุด

ระบบสาธารณสุขที่ทันสมัย มีคุณภาพ ไร้รอยต่อ โดยมุ่งให้เกิดบริการอย่างเป็นองค์รวม และ


ให้ผสู้ งู วัยสามารถเข้าถึงบริการดูแลสุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม จะเป็นเครื่องมือสําคัญในการ
เชื่อมประสานงานระหว่างหน่วยงานจํานวนมาก เช่น นโยบาย “คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจําตัว
3 คน” คือ อสม. หมอประจําบ้าน หมอสาธารณสุข และหมอเวชปฏิบัติครอบครัว การจัดให้มีช่องทาง
พิเศษสําหรับผู้สูงวั ยที่ เข้ามาใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก การจัดให้มีคลินิกผู้สูงวั ยเพื่อให้บริการโดย
เฉพาะ การจัดให้มีบริการตรวจสุขภาพร่างกาย รวมทั้งตรวจคัดกรองภาวะสมองเสื่อมให้แก่ผู้สูงวัยใน
สถานพยาบาลทุกระดับ การจัดรูปแบบบริการสังคมผูส ้ งู วัยแบบไร้รอยต่อ เป็นต้น

แต่จนถึงขณะนี้ ภาพที่หวังไว้ยังไม่เกิดเป็นจริง หรือเกิดแบบกระท่อนกระแท่น เพราะยังขาด


ระบบเชื่อมโยงข้อมูลที่มุ่งเป้าที่พัฒนาบริการสําหรับผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง

ระบบสารสนเทศข้อมูลสุขภาพที่ ได้ รับการพัฒนาให้เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ สําคั ญ ในการ


พัฒนาการบริการด้านสาธารณสุขในปัจจุบน ั ไปสูร่ ะบบการให้บริการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสุขภาพ
ซึง่ เป็นเครื่องมือสําคัญในการเพิม
่ คุณภาพและลดต้นทุนของการให้บริการ เพิม ่ ขีดความสามารถในการ
รองรับความต้องการบริการสาธารณสุขของประชากรในอนาคต จึงเป็นความท้าทายที่สําคัญบนเส้น
ทางการพัฒนาสังคมสูงวัยของเรา

แม้จะยากแค่ไหน แต่ก็ไม่อาจละเลย เพราะในยุดดิจิทัล ระบบข้อมูลเป็นกุญแจสําคัญใน


การเชื่อมประสานพลังจากทุก ๆ ฝ่ายให้เข้ามาทํางานร่วมกันแบบเชิงรุก ช่วยประหยัดทรัพยากร
และตอบสนองความจําเป็นได้อย่างเท่าทันสถานการณ์

47
1.
โครงสร้างพืน้ ฐานแบบแยกส่วน
เกิดฐานข้อมูลเชิงซ้อนในแต่ละระดับของการ
บริการ ระหว่างหน่วยงานหรือเครือข่าย ข้อมูล
ไม่เป็นเอกภาพ ไม่เชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ

2.
ขาดกลไกในการบูรณาการฐานข้อมูล
ไม่มีเจ้าภาพหลักในการจัดการ มีเพียงความ
ร่ ว มมื อ ที่ ไ ม่ เ ห็ น เป็ น รู ปธรรม ข้ อ มู ล ขาด
ประสิทธิภาพ ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และ
ขาดความน่าเชื่อถือ

3.
การเมืองการปกครอง
กลไกการกระจายอํ านาจที่ ไม่สมบู รณ์ ทํ าให้
เกิดการความล่าช้าในการบริหารจัดการ เกิด
ความเหลื่ อมล� าในการเข้าถึ งบริการสุขภาพ
ของประชาชน

เทคโนโลยีและข้อมูลสารสนเทศทางสุขภาพที่ดี จะเป็นแม่ขา่ ยข้อมูลช่วย


บู ร ณาการการทํ า งาน หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งร่ ว มกั น สร้ า งเสริ ม บริ ก าร
สุขภาพเชิงรุ กให้ผู้สูงวัยเข้าถึงได้อย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เดินหน้าสู่
ระบบสุขภาพที่มงุ่ เน้นการป้องกัน ชะลอ และฟื้นฟู ได้จริงในอนาคต

48
ื " เต็มรูปแบบแล้ว และกําลังก้าวต่อไปสู่
ในวันที่ประเทศไทยได้เข้าสู่ "สังคมอายุยน
ระดับสูงสุด ในอีกประมาณ 20 ปีขา้ งหน้า

นักวิชาการคาดการณ์ว่า มีความเป็นไปได้ท่ีคนไทยที่เกิดในปี 2559 จะมีอายุยน


ื เฉลี่ย
ถึง 80-98 ปี หรือเกือบ 100 ปี ซึ่งหมายความว่า ต่อไปคนไทยจะอายุเกิน 100 ปี
เป็นเรื่องปกติ

เราจะเผชิญสถานการณ์ใหม่ด้วยค่านิยมและวิธก
ี ารบริหารระบบสุขภาพแบบเดิมได้หรือ
ในเมื่อทรัพยากรมีเท่าเดิม แต่ความต้องการขยายเพิม
่ ขึ้น

่ ือความท้าทายอย่างยิง่ ในการจัดระบบบริการสุขภาพไทยในยุคสังคมอายุยน
นีค ื

49
(30.1)

เศรษฐกิจโดยรวม
ประเทศไทยกําลังเจอกับปัญหาใหญ่ คือ "แก่ก่อนรวย"
เนื่องจากอัตราการเกิดของประชากรต�ามาก อีกทัง้ รายได้
ต่ อ หั ว ก็ อ ยู่ ร ะดั บ ต� า เช่ น กั น หากไม่ ทํ า อะไร คาดว่ า
การเติบโตทางเศษฐกิจของไทยในสภาพเช่นนี้จะลดลง
จากแนวโน้มเดิม ราวร้อยละ 0.8 % ต่อปี(31) ค่าใช้จ่ายในการรักษาตัว
ของผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง
ระยะสุดท้าย 30 วัน
ก่อนเสียชีวต

บาท
บาท

สังคม (30.3)

ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (30.2)
ค่านิยม และแนวปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพส่งผลกับอนาคต
ก า ร เ ข้ า สู่ สั ง ค ม สู ง วั ย ค า ด ว่ า ทํ า ใ ห้ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ด้ า น ของระบบบริ ก ารสุ ข ภาพด้ ว ยเช่ น กั น อย่ า งเช่ น การเสี ย ชี วิ ต ใน
สุ ข ภาพเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 1.4-1.8 ล้ า นล้ า นบาท และหาก โรงพยาบาลของผู้ สู ง วั ย มี ค่ า ใช้ จ่ า ยสู ง กว่ า การเสี ย ชี วิ ต ในสถาน
คนไทยยังมีพฤติกรรมสุขภาพเหมือนทุกวันนี้ ในปี 2575 ดู แ ลระยะยาว ในขณะที่ ก ารสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การดู แ ลที่ ดี ท่ี บ้ า น
คาดว่าจะทําให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปถึง 2.2 ล้านล้านบาท สามารถลดการใช้บริการรักษาพยาบาลของผู้สงู วัยลงได้

50
51
หากนําเรือ
่ งราวทีพ
่ ลิกชีวต
ิ ของผูส
้ งู วัยไปสูจ
่ ด
ุ ถดถอยจนต้องพึง่ พิงผูอ
้ ื่น
มาสกัดให้ชด
ั เจน จะพบว่า

มีปมเสีย
่ งหลัก 4 เรือ
่ งใหญ่
ทีฉ
่ ุดคุณภาพชีวต
ิ ของผูส
้ ง
ู วัยจํานวนมากในประเทศไทย
ให้ทนทุกข์และถดถอย
ทัง
้ ๆ ทีห
่ ลายเรือ
่ งสามารถป้องกันได้

การออกแบบและพัฒนาระบบบริการสุขภาพในยุคสังคมสูงวัย
เพือ
่ ให้ทก
ุ คนก้าวพ้นจากสภาพทีไ่ ม่มใี ครอยากเผชิญ
ไม่วา
่ จะในฐานะ “ผูป ่ ย” หรือ “ญาติ”
้ ว

53
i c d

l t
p

54
ผูส
้ งู วัยที่มส
ี ข
ุ ภาพแข็งแรงอาจพลิกผันไปสูภ
่ าวะ แต่มข
ี ้อแม้ว่า การฟื้นฟูนี้ต้องทําให้ทันเวลา
พึ่ ง พิ ง ได้ อ ย่ า งฉั บ พลั น หากเกิ ด ภาวะที่ เ ป็ น "ชนวน" และทํ า อย่ า งต่ อ เนื่ องในช่ ว ง 6 เดื อ นหลั ง จาก
ไปสู่ความเจ็ บป่วยรุ นแรงที่ ฉุดให้สมรรถภาพร่างกาย ผ่ า นพ้ น ภาวะป่ ว ยวิ ก ฤติ หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า ช่ ว ง
เสื่อมถอยลงอย่างรวดเร็ว ที่ ประกอบด้ วย 4 โรคหรือ “6 เดื อ นทอง” (golden period)
อาการหลั ก ได้ แ ก่ โรคหลอดเลื อ ดสมอง (stroke)
บาดเจ็บไขสันหลัง (spinal cord injury) บาดเจ็บทีศ
่ รี ษะ ข้อมูลการติดตามผลในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า
(traumatic brain injury) และกระดูกสะโพกหัก ผู้ป่วยที่ผ่านพ้นภาวะป่วยวิกฤติและได้รับบริการการ
ดู แ ลระยะกลาง หรือ IMC (intermediate care)
ยิง่ ในกรณีของผูส
้ งู วัยทีอ
่ ยูใ่ นภาวะเปราะบาง ด้ ว ยการทํ า กายภาพบํ า บั ด เพื่ อฟื้ นฟู ร่ า งกายอย่ า ง
(frailty) แล้ ว หากเจ็ บ ป่ ว ยแม้ เ พี ย งเล็ ก น้ อ ย ทั น ท่ ว งที แ ละเพี ย งพอ จะมี โ อกาสฟื้ นตั ว จนกลั บ ไป
ก็ เ สี่ย งให้ เ ข้ า สู่ ภ าวะถดถอยได้ ทั น ที ใช้ชวี ิตได้ตามปกติถึงเกือบ ร้อยละ 80 ของผูป
้ ว่ ยที่ได้รบ

บริการนี้ท้ังหมด
ในภาวะเช่นนี้ การฟื้ นฟูรา่ งกายด้วยการทํากายภาพ ระบบการดู แ ลระยะกลางที่ เ ข้ า ถึ ง ได้ ทั น ช่ ว ง
บําบัดอย่างเพียงพอ คือกุญแจสําคัญที่สามารถช่วยให้ เวลา “6 เดื อนทอง” จึ งเป็น “ข้อต่ อ” ที่ มีความสําคัญ
ผู้ สู ง วั ย ฟื้ น คื น ส ภ า พ เ ท่ า เ ดิ ม ห รื อ เ กื อ บ เ ท่ า เ ดิ ม ในระบบการดูแลสุขภาพ เพราะเป็นจุดเชื่อมโยงระหว่าง
จนรอดพ้ น จากภาวะพึ่ ง พิ ง ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองไม่ ไ ด้ การเจ็บป่วยวิกฤติกับการฟื้ นคืนสูป
่ กติ

และเป็นปราการด่ านสําคั ญในการสกั ดกั้ น


"ความพิการและการพึ่งพิงโดยไม่จําเป็น"

55
ผูป
้ ่วย
เพิม ้ เป็น
่ ขึน

จํานวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ตั้งแต่ปี 2556-2560 มีแนวโน้ม


สู ง ขึ้ น เป็ น ลํ า ดั บ โดยในปี 2559 พบผู้ ป่ ว ย 293,463 ราย และใน
ปี 2560 พบผู้ ป่ ว ย 304,807 ราย (33)

คุณลักษณะของระบบ
การดูแลระยะกลางทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ

ผู้ ป่ ว ยที่ พ้ น อาการเจ็ บป่ ว ย ผู้ ป่ ว ย แ ต่ ล ะ ร า ย ไ ด้ รั บ ก า ร


วิ ก ฤติ ไ ด้ รั บ การส่ ง ตั ว ไปเข้ า ทํากายภาพบําบัดและกิจกรรม
ระบบการดูแลระยะกลางทันที บําบัดที่เหมาะสมกับตนเองไม่
น้อยกว่า 15-20 ชั่วโมง ภายใน
ระยะเวลา 2 เดื อ นแรกหลั ง
มีอาการป่วย
56
ข้ อ มู ล จากกระทรวงสาธารณสุ ข ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า
การพั ฒ นาเรื่ องนี้ ใ ห้ ดี จ ะให้ ผ ลตอบแทนคุ้ ม เกิ น คุ้ ม
เพราะจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศไทย
ลงได้ มากกว่ าร้ อ ยละ 5 หรื อ คิ ดเป็ น เงินเท่ ากั บ
30,470 ล้านบาทในเวลา 20 ปีเลยทีเดียว(34)

ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุ ข จึ ง


พั ฒ นาบริ ก ารเรื่ องนี้ ใ ห้ มี คุ ณ ภาพสู ง ขึ้ น ทั้ ง การจั ด
ทํ า แผนการพั ฒ นาระบบการดู แ ลระยะกลาง ระยะ
20 ปี ("Smart Intermediate Care" พ.ศ. 2560 -
การฟื้ นฟูสภาพร่างกายผู้ป่วยอย่างทั นท่ วงที 2579) และกําหนดให้บริการนี้เป็นส่วนหนึ่งในแผน
และเพี ย งพอในช่ ว ง 6 เดื อ นหลั ง ผ่ า นภาวะเจ็ บ ป่ ว ย พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) ปี พ.ศ.
วิ ก ฤติ เพื่ อ คื น สมรรถนะให้ แ ก่ ร่ า งกายและจิ ต ใจ จน 2561-2564 ขณะที่ สํ า นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ
สามารถทํ า กิ จ วั ต รประจํ า วั น และกลั บ สู่ สั ง คมได้ เ ต็ ม แห่ ง ชาติ (สปสช.) ก็ เ ริ่ ม กรุ ย ทางให้ ร วมเรื่ องนี้ เ ข้ า
ศั ก ยภาพ เป็ น โอกาสทองที่ จ ะพลิ ก ชะตากรรมของ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในชุ ด สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ข องระบบหลั ก
ผู้ สู ง วั ย จํ า น ว น ม า ก ใ ห้ พ้ น ไ ป จ า ก ก า ร พิ ก า ร ห รื อ ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า หรื อ “บั ต รทอง”
การมีสมรรถภาพร่างกายเสื่อมถอยอย่างไม่อาจเยียวยา
ทิศทางเหล่านี้สะท้อนให้เห็นว่า การพัฒนา
ระบบการดู แ ลระยะกลางให้ มีคุ ณ ภาพคื อ หนึ่ ง ใน
เรื่องสําคัญของวันนี้ เพราะจะให้ผลคุ้มค่าอย่างไม่
อาจหาสิง่ ใดเปรียบ ทัง้ ต่อเศรษฐกิจและชีวต
ิ ของคนไทย

57
มาตรการและผลลัพธ์
1. Community Based :
มีศูนย์ ฯ ในชุมชนร้อยละ 100

Current
ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน (UC)
40,000 ล้านบาท/ปี
มาตรการและผลลัพธ์
Community Based :
ขยายศูนย์ฯ ในชุมชนร้อยละ 50

Goal ลดค่าใช้จ่าย 4,800 ลบ.


(2%) ใน 5 ปี

มาตรการและผลลัพธ์
1. Hospital Based : 100% ของ รพ.
ระดับ M1 M2 F1-F3
2.Community Based :
ศูนย์ต้นแบบในชุมชน 13 แห่ง
(1 เขต/1 จังหวัด)

กระทรวงสาธารณสุ ข ระบุ ว่ า การมี ร ะบบการ


ดู แ ลระยะกลางที่ ดี จะช่ ว ยลดค่ าใช้ จ่ ายด้ าน
สุ ข ภาพของประเทศไทยลงได้ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 5
ห รื อ คิ ด เ ป็ น เ งิ น เ ท่ า กั บ 3 0 , 4 7 0 ล้ า น บ า ท
ในระยะเวลา 20 ปี

58
สถานการณ์ เ ช่ น นี้ ถู ก เปรี ย บเปรยว่ า เป็ น
เหมือนการ “ทําโทษ” ผูป
้ ว่ ยและครอบครัว เพราะการ
แม้หน่วยงานหลักที่ดูแลระบบบริการสุขภาพ กลั บ ไปรั ก ษาตั ว ที่ บ้ า นในสภาพอาการหนั ก ทํ า ให้
ของไทยเริ่มให้ความสําคั ญกั บการพัฒนาระบบการ แทบจะหมดโอกาสได้รบ
ั การทํากายภาพบําบัดเพื่อฟื้นฟู
ดู แ ลระยะกลางมากขึ้ น ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2560 แต่ เ รา ร่างกายให้ฟ้ นคื
ื นเป็นปกติทันเวลาในช่วง 6 เดือนทอง
ยั ง ก้ า วไปไม่ ถึ ง จุ ด ที่ เ กิ ด ระบบที่ ชั ด เจนและเท่ า ทั น ส่งผลให้อาจกลายเป็นผูป
้ ว
่ ยติดเตียงหรือพิการ
สถานการณ์ ส่ ง ผลให้ ผู้ สู ง วั ย ที่ ไ ด้ รั บ การฟื้ นฟู จ าก ตลอดไป อี กทั้ งยังมีการศึกษาพบว่ า ผู้ป่วยกลุ่มนี้มี
โรคที่ จํ า เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลระยะกลางยั ง มี อัตราการกลับเข้ารักษาซ�าในโรงพยาบาลด้วยอาการ
สั ด ส่ ว นน้ อ ยมาก ปอดติดเชื้อจากการสําลัก แผลกดทับ การติดเชื้อจาก
ทุ ก วั น นี้ ผู้ สู ง วั ย จํ า นวนมากที่ ป่ ว ยหนั ก จาก การใส่ ส ายสวนปั ส สาวะ เพิ่ ม ขึ้ น กว่ า ไตรมาสแรก
อาการเฉียบพลั นซึ่งส่งผลร้ายแรง เช่น เส้นเลื อดใน ร้อยละ 3.9(35)
สมองแตก กระดูกสะโพกหัก ฯลฯ แล้วต้องออกจาก นั่นคือผลกระทบจากการทีร่ ะบบดูแลสุขภาพ
โรงพยาบาลทันทีท่ีพน
้ ภาวะวิกฤติ ทั้งที่ยงั ไม่สามารถ ของเรายังไม่สามารถจัดระบบการดูแลระยะกลาง
รับรูห
้ รือช่วยเหลือตัวเองได้เนื่องจากปัญหา “เตียงเต็ม” ทีด
่ พ
ี อจะปกป้องผู้สูงวัยจากความทุกข์ทรมานและ
ยั ง เกิ ด ขึ้ น ทั่ ว ไปจนเป็ น เรื่ องปกติ ภาวะพิการโดยไม่จําเป็น

59
ข้อมูลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วประเทศ และโรงพยาบาลชุมชน
จํ านวน 25 แห่ง ซึ่งมีผู้ป่วยโรคหลอดเลื อดสมองจํ านวนทั้ งสิ้น 4,499 ราย ได้ รับ
การฟื้ นฟู 1,930 ราย คิ ดเป็นร้อยละ 43 (รวมทั้ งการได้ รับบริการแบบผู้ป่วยนอก
(36)
และผูป
้ ว่ ยใน) (ข้อมูลวิจัยเผยแพร่เมื่อ ปี พ.ศ. 2558)

ข้ อ มู ล ผู้ ป่ ว ยจากโรงพยาบาลมหาราชนครราชสี ม าพบว่ า มี เ พี ย ง


ร้ อ ยละ 18 ของผู้ ป่ ว ยโรคหลอดเลื อ ดสมองเท่ า นั้ น ที่ เ ข้ า ถึ ง บริ ก าร
เวชกรรมฟื้ นฟู (ข้อมูลวิจัยเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2557)

60
ลองมาไล่เรียงกันดูว่า ทําไมผู้สูงวัยที่เพิ่งผ่านพ้นภาวะป่วยวิกฤติส่วนใหญ่จึง
ไม่สามารถเข้าถึงบริการดูแลระยะกลางเพื่อที่จะได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพร่างกาย
ให้ทันท่วงทีและเพียงพอ

ในภาพนีจ
้ ะแสดงให้เห็น “ช่องว่าง” ทีข
่ วางกั้นอยูร่ ะหว่างผูส
้ งู วัยทีเ่ พิง่ ผ่าน
พ้นภาวะป่วยวิกฤติกับการเข้าถึงบริการดูแลระยะกลางทีเ่ ต็มไปด้วยอุปสรรค

เริม
่ ต้นตั้งแต่โรงพยาบาลที่รก
ั ษาอาการเจ็บป่วยจนพ้นวิกฤติจนพ้นขีดอันตราย
นั้น ไม่มีระบบดูแลหรือส่งต่อผู้ป่วยสู่บริการระยะกลางเพื่อฟื้ นฟูสภาพร่างกาย ส่งผล
ให้ผู้ป่วยต้ องกลั บมารักษาตั วต่ อที่ บ้านในสภาพที่ ยังช่วยเหลื อตั วเองไม่ได้
ในจุ ดนี้ โอกาสที่ ผู้ป่วยจะได้ รับบริการฟื้ นฟูร่างกายมีน้อยมาก ทั้ งจากสภาพ
ร่างกายผูป
้ ว่ ยที่ไม่เอื้ออํานวยให้เดินทางไปรับบริการอย่างต่อเนื่อง และการขาดความรู้
ความเข้าใจ ตลอดจนความพร้อมของครอบครัวที่ จะรับภาระ ทั้ งด้ านค่ าใช้จ่ายและ
การพาผู้ป่วยไปรับบริการตามนัดได้ครบทุกครั้ง
ยิ่งไปกว่านั้น ถึงแม้ผู้ป่วยได้รับการส่งตัวสู่ระบบการดูแลระยะกลางแล้ว ก็อาจ
ได้ รับการฟื้ นฟูไม่เพียงพอหรือครบถ้วนตามที่ควร เพราะขาดแพทย์หรือบุคลากรที่
เชี่ยวชาญในการประเมินอาการและดํ าเนินการ
ช่ อ งว่ า งเหล่ า นี้ ช วนให้ ช่ ว ยกั น ขบคิ ด แก้ ไ ข เพื่ อให้ ผู้ สู ง วั ย ที่ ผ่ า นพ้ น ภาวะ
ป่ ว ยวิ กฤติ ทุ ก คนสามารถเข้ า ถึ งบริ ก ารระยะกลาง เพื่ อได้ รั บ การดู แ ลฟื้ นฟู
โดยที ม สหวิ ช าชี พ อย่ า งต่ อ เนื่ อง ตั้ ง แต่ โ รงพยาบาลขนาดใหญ่ ไ ปจนถึ ง ชุ ม ชน
แบบ “ไร้ ร อยต่ อ ”

61
ภาวะฟื้ นฟูรา
่ งกาย
- หมอให้ผป ู้ ว
่ ยกลับไปรักษาตัวต่อ
ที่บา้ นโดยยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

- ผลักดันให้ผป
ู้ ว
่ ยที่พน
้ ภาวะวิกฤติ
กลับบ้านทันที จากนโยบายลด
ปัญหา “เตียงเต็ม”

การประเมินอาการ
หรือส่งต่อผูป
้ ว
่ ยสู่
บริการระยะกลาง

- บุคลากรขาดความรูค
้ วามเข้าใจ
และตระหนักต่อความสําคัญของ
บริการดูแลระยะกลาง

- ไม่มบ
ี ริการรองรับ ขาดระบบ
ส่งต่อผูป
้ ว
่ ยที่ชด
ั เจน

- ขาดความรูเ้ รื่องดูแลผูส
้ งู วัย
ที่พน
้ จากวิกฤติ
- ไม่สามารถเข้าถึงบริการ
(ขาดเงิน/พาหนะ/กําลังคน)
- ไม่สามารถฟื้นฟูดแ
ู ล
ได้อย่างต่อเนื่อง

62
3.5

จากจุ ดนั้น โอกาสที่ ผู้ป่วยจะได้ กลั บมารับการทํ ากายภาพบําบัดไม่ใช่เรื่องง่ าย เพระมีทาง


เลื อกหลั กเหลื ออยู่ 2 ทางเท่ านั้น

สภาพเช่นนี้ทําให้ช่ัวโมงการทํากายภาพบําบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกายหลังผ่านพ้นช่วง
ป่วยวิกฤติโดยเฉลีย
่ ของคนไทยในปัจจุบน
ั อยูท
่ ี่ 4 ชั่วโมง ในขณะทีจ
่ ําเป็นต้องได้รบ
ั 15-20 ชั่วโมง
ในช่วง “6 เดือนทอง” จึงจะส่งผลในการฟื้นคืนสูส
่ ภาพปกติได้มากทีส
่ ด

63
(37)

1. ผูค
้ นแออัด บริการไม่พอ
• ปัญหา “เตียงเต็ม” ทําให้โรงพยาบาล
ผลักดันผูป
้ ว่ ยให้กลับบ้านโดยเร็ว ทัง้ ที่
ร่างกายยังไม่พร้อม
• โรงพยาบาลไม่มรี ะบบส่งต่อ
บริ ก ารฟื้ นฟู ส ภาพร่ า งกายที่
ชัดเจนและเหมาะสมกับผูป
้ ว่ ย
• โรงพยาบาลไม่มก
ี าํ ลังพอ
เพื่อให้บริการ

อยูเ่ มืองใหญ่ ใช่ว่าจะรับบริการได้ทันท่วงที ผูส


้ งู วัยในเขตเมืองใหญ่
มีความเสีย
่ งต่อการพิการหรือเข้าสูส
่ ภาวะพึ่งพิงหลังผ่านพ้นการเจ็บ
ป่วยวิกฤติ รวมทั้งพลาดโอกาสฟื้ นฟูสข
ุ ภาพให้ทันเวลาและเพียงพอ
มากกว่าผูส
้ งู วัยในชนบท

64
65
(38)

ในจํ า นวนผู้ สู ง วั ย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในแต่ ล ะปี จ ะมี


ผู้ ท่ี มี ภ าวะสมองเสื่ อ มเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 1 และ
คาดการณ์ว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น
450,000 คน และมีจํานวนมากกว่า 1 ล้านคน
ในปี พ.ศ. 2593

ใ น ปี พ . ศ . 2 5 5 8 ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ บ ผู้ ป่ ว ย โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์
ซึ่ ง เป็ น โรคสมองเสื่ อมชนิ ด หนึ่ ง ประมาณ 600,000 คน โดยมี
ผู้ ป่ ว ยรายใหม่ ป ระมาณ 100,000 รายต่ อ ปี ประมาณการว่ า
ในปี พ.ศ. 2573 จะมี จํ า นวนผู้ สู ง วั ย ที่ เ ป็ น โรคอั ล ไซเมอร์ เ พิ่ ม สู ง
ขึ้ น เป็ น 1,117,000 คน โดยผู้ ท่ี มี อ ายุ ต้ั ง แต่ 65 ปี ข้ึ น ไปมี สั ด ส่ ว น
ในการเป็ น โรคนี้ ป ระมาณร้ อ ยละ 5-8 และเมื่ อมี อ ายุ 80 ปี
สั ด ส่ ว น ข อ ง ก า ร เ ป็ น โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ สู ง ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 5 0 ข อ ง
ผู้ สู ง อ า ยุ ใ น วั ย ดั ง ก ล่ า ว

66
ดังที่ได้กล่าวแล้วว่า ภาวะสมองเสื่อมมิได้มีผล
เฉพาะแค่ ต่อตั วผู้ป่วยเท่ านั้น แต่ ยังมีผลกระทบต่ อ
ผูด
้ แ
ู ลและคนรอบข้าง ซึ่งมีจํานวนใกล้เคียงกับผูป ้ ว
่ ย
ภาวะสมองเสื่อมได้รับการขนานนามว่า "โรค
ครอบครัว" เพราะสมาชิกในครอบครัวจะกลายเป็น
บุคคลสําคัญที่ต้องรับหน้าที่ดูแล โดยพบว่า มากกว่า
ร้ อ ย ล ะ 5 0 ข อ ง ค น ที่ ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย เ ป็ น บุ ต ร แ ล ะ (40)

ร้ อ ยละ 5-11 เป็ น คู่ ส มรส (39)

67
เกิดจากความเครียดที่ผู้ดูแลต้องรับมือกับภาวะเปลี่ยนแปลงแบบขึ้นๆ ลงๆ
ของผู้ป่วยสมองเสื่อม ที่อาจส่งผลกระทบสะท้อนแบบแรงเหวี่ยงกลับไปยัง
ผู้ ป่ ว ย ให้ ไ ด้ รั บ คุ ณ ภาพการดู แ ลที่ ไ ม่ ดี อาจถึ ง ขั้ น ตกอยู่ ใ นความเสี่ ย งต่ อ
การถู ก กระทํ า ทารุ ณ กรรม

68
ผูส
้ งู อายุทม
ี่ อ
ี ายุสมองเสื่อมจะมีสข
ุ ภาพถดถอย จนเข้าสูภ
่ าวะพึง่ พิง
ในฐานะผู้ทุพพลภาพภายใน 10-20 ปีหลังเกิดอาการ การดูแลผู้ป่วย
จึงใช้ทรัพยากรอย่างมหาศาล เพราะต้องการผูด
้ แ
ู ลเป็นระยะยาวนาน
ส่งผลกระทบต่อ “ผูจ
้ ่าย” ทั้งครอบครัวผูป
้ ว
่ ยและภาพรวมของ
ประเทศทั้งหมดในระยะยาว

69
ระดับครอบครัว
• ผูด
้ แ
ู ลอย่างน้อย 2 คน (คนในครอบครัว
หรือจ้างเจ้าหน้าทีบ่ ริการ) เพือ
่ ดูแลให้
ครอบคลุมและมีคณ ุ ภาพ
• ค่าใช้จ่าย 50,000 บาท/เดือน (41)

การลดผลกระทบต่างๆ จากภาวะ
สมองเสือ
่ มจึงสําคัญต่อสังคม
โดยรวมอย่างมาก

ใน

70
ผู้สูงอายุ ที่สมองเสื่อมไว้ ในชุ ดสิทธิประโยชน์การดูแล
ระยะยาว กลุ่ ม ที่ 2 แต่ ผู้ สู ง อายุ ที่ มี ค วามเสี่ ย งและมี
อาการสมองเสื่อมยังไม่สามารถเข้าถึ งบริการสุขภาพ
ได้ ครบถ้ วนและถ้ วนหน้า
สมองเสื่อมในปัจจุบน
ั จะพบปัญหามากมายที่สะท้อน สาเหตุ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง เป็ น เพราะการจั ด
ระบบบริการโดยภาคีเครือข่ายบริการสุขภาพ 3 ระดับ
คือ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ยังไม่มีการจัด
ระบบให้เป็นเครือข่ายการดูแลผูป
้ ว่ ยอย่างชัดเจน

ส่งผลให้ผส
ู้ งู วัยทีม
่ อ
ี าการสมองเสื่อม สมาชิก
ครอบครัว ผู้ดูแล และบุ คลากรสาธารณสุขที่เกี่ยว
ข้องส่วนใหญ่ “ติดกับ” อยู่ในวังวนของความทุกข์
โดยต่างคน ต่างฝ่าย ต่างต้องดิ้นรนหาทางออกกันไป
อย่างไร้ทิศทาง

71
ปัญหาทีผ ่ ป
ู้ ่วยสมองเสื่อม
และผูด
้ แ
ู ลเผชิญหน้าในวันนี้

1. กว่าจะพบว่าสมองเสื่อมก็ไม่สามารถชะลอ
รักษา หรือฟื้ นฟูได้
2. ไม่ทราบถึงสิทธิและสวัสดิการให้การช่วยเหลือ
3. ครอบครัวไม่มีความรู้ เครียด ขาดที่ปรึกษา
และผู้ท่ี จะแบ่งเบาภาระ
4. คนรอบข้างขาดความรู้ความเข้าใจจนหวาด
กลัวการเป็นภาวะสมองเสื่อมและนําไปสูก
่ ารตีตรา เกิด
เป็นตราบาป และมีการเลือกปฏิบต
ั ิ ละเมิดศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์ ทั้งในชุมชนและในบ้านพักคนชรา
5. ผู้ สู ง วั ย ที่ มี ค วามเสี่ ย งและมี อ าการสมอง
เสื่ อมยั ง ไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง บริ ก ารสุ ข ภาพได้ ค รบ
ถ้ ว น แ ล ะ ถ้ ว น ห น้า

72
ความเข้าใจที่ ว่า ภาวะสมองเสื่อมเกิ ดขึ้นตามอายุ ท่ี มากขึ้นและเป็นไป
ตามธรรมชาติหลีกเลี่ยงไม่ได้ ถือว่าเป็นความเข้าใจผิด
ในปั จ จุ บั น ความรู้ เ กี่ ย วกั บ โรคนี้ ไ ด้ เ ปิ ด ทางสู่ วิ ธี ก ารจั ด การ “เชิ ง รุ ก ”
โดยไม่ ร อจนภาวะสมองเสื่ อมลุ ก ลามไปถึ ง ขั้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถพึ่ ง พาตนเองได้
นั่นคือความรู้ท่ีว่า การแก้ไขปัญหาตั้งแต่ระยะสูญเสียการรู้คิดระยะต้น
หรื อ MCI (Mild Cognitive Impairment) อาจทํ า ให้ ช ะลอหรื อ ยั บ ยั้ ง
การดํ า เนิ น โรคไปเป็ น โรคสมองเสื่ อมในอนาคตได้
ด้ ว ยเหตุ น้ี การมี ร ะบบค้ น หาและคั ด กรองเชิ ง รุ ก เพื่ อพบผู้ ป่ ว ยตั้ ง แต่
ระยะ MCI (ภาวะเสี่ ย งต่ อ การเป็ น สมองเสื่ อ ม) จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ใน
ระบบบริการสุขภาพนับจากนี้ไป

เพราะจะช่วยป้องกัน ชะลอ และฟื้ นฟู ผู้สูงวัยที่เริม


่ มีอาการสมอง
เสื่อมตั้ งแต่ ภาวะเริม
่ ต้ น ทําให้ยืดช่วงเวลาแห่งสุขภาวะที่สามารถพึ่งพา
ตนเองในการดําเนินชีวต
ิ ไปให้นานทีส
่ ด
ุ ควบคู่กับลดการสูญเสียทรัพยากร
ได้อย่างมหาศาล

73
แทนที่จะรอให้สมองเสื่อมจนเกินเยียวยา ประเทศไทย
สามารถพลิกสถานการณ์มาเป็นฝ่ายรุ กกับปัญหาใหญ่
เรื่องนีไ้ ด้ดว้ ยการพัฒนาระบบค้นหาและคัดกรองผูส
้ งู วัย
ที่มภ
ี าวะเสีย
่ งต่อการเป็นสมองเสื่อมในระยะต้น เพื่อนํา
เข้าสูก
่ ระบวนการฟื้ นฟูเพื่อชะลอ ความเสื่อม ควบคูไ่ ปกับ
การสร้าง “สังคมทีเ่ ป็นมิตรกับผูป
้ ว่ ยสมองเสื่อม” ก่อนที่
จะสายเกินไป

74
เมื่ อ อวั ย วะต่ า ง ๆ เสื่ อ มถอยลงจนร่ า งกายไม่
อาจดําเนินกิจวัตรประจําวันได้ตามปกติ ผู้สูงวัยที่เข้า
สูภ
่ าวะทุพพลภาพต้องการ "บริการการดูแลระยะยาว"
หรือ LTC (Long-Term Care) ที่ดี
บริ ก ารการดู แ ลระยะยาว หมายถึ ง การดู แ ล
ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ ทั้ ง สั ง คม สุ ข ภาพ เศรษฐกิ จ และ
ในสถานการณ์ทจ
ี่ ํานวนผูส
้ งู วัยเพิม ้ ควบคู่
่ ขึน
สภาพแวดล้ อ มสํ า หรั บ ผู้ สู ง วั ย ที่ ป ระสบภาวะยาก
ไปกั บ การที่ค นไทยจะมีอ ายุ ยื น ยาวขึ้ น เรื่อ งของ
ลําบาก อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง หรือมีความ
การพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวให้ดพ
ี อทีจ
่ ะเป็น
พิการทุพพลภาพ ช่วยเหลือตนเองได้บางส่วนหรือไม่
หลักประกันการมีคุณภาพชีวิตที่ดีให้คนไทยทุกคน
สามารถช่วยตนเองได้ในชีวิตประจําวัน โดยผูด
้ แ
ู ลที่เป็น
จึ ง ยิ่ ง กลายเป็ น หนึ่ ง ใน "โจทย์ " สํ า คั ญ ของการ
ทางการ (บุ ค ลากรด้ า นสุ ข ภาพและสั ง คม) และไม่
ดู แ ลสุ ข ภาพนั บ จากนี้ ไ ป
เป็นทางการ (ครอบครัว เพื่อน เพื่อนบ้าน) รวมถึงการ
บริการในครอบครัว ชุมชน หรือสถานบริการ(42)
บริการด้านนีน
้ บ
ั ได้วา่ เป็นหลักประกันการมีสข
ุ ภาวะ
ของ "สังคมสูงวัย" เพราะการดํารงชีวต
ิ ของผูส
้ งู วัยในภาวะ
ทีช
่ ว่ ยเหลือตนเองไม่ได้อีกต่อไปนัน
้ ย่อมต้องอาศัยการ
;ดูแลที่ผอ
ู้ ่ ืนจัดการให้ในทุกด้าน

75
แนวโน้มทีท
่ า
ํ ให้ระบบการดูแลระยะยาว

มีความสําคัญต่อสังคมไทย (43)

จํานวนผูส
้ ง
ู วัย จํานวนผูส
้ ง
ู วัย จํานวนผูส
้ ง
ู วัย

ติดบ้าน ติดเตียง ทีต


่ ้องการการดูแล

แ น ว โ น้ ม ผู้ สู ง วั ย ไ ท ย ที่ กํ า ลั ง เ พิ่ ม ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ ทํ า ใ ห้ ผู้ สู ง วั ย ที่ ต้ อ ง ก า ร


การดูแลจะเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าในอีก 30 ปีข้างหน้า หรือประมาณ 1.2 ล้านคน
โดยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2560) ผู้สูงวัยที่ต้องการการดูแลมีจํานวน 3.6 แสนคน

76
ในยามที่ ป่วยติ ดเตี ยงจนไม่สามารถช่วยเหลือ ผู้ ดู แ ลที่ มี คุ ณ สมบั ติ พ อที่ จ ะทํ า ให้ ผู้ สู ง วั ย ใน
ตนเองในการทํ ากิ จวั ตรประจํ า วั น ได้ อี กต่ อ ไป ผู้ดูแ ล ภาวะพึ่งพิงมีสุขภาพกายใจดีพอที่จะดํารง “สุขภาวะ”
อาจเปรียบเสมือน “ฟางเส้นสุดท้าย” ที่จะทําให้ชีวิต ในชี วิ ต ไว้ ไ ด้ แม้ใ นยามที่ “ป่ว ยติ ด เตี ยง” จํ า เป็น ต้ อ ง
ดํ าเนินต่ อไปได้ ผ่านการอบรมอย่างเพียงพอเสียก่อนจึ งทํ าหน้าที่ ที่มี
่ งึ่ ” ของผูส
คําถามคือ ใครคือ “ทีพ ้ งู วัยเมื่อถึง ความละเอียดอ่อนนีไ้ ด้ อย่างไรก็ตาม ทุกวันนีก
้ ารผลิต
่ ้องพึง่ พาคนอื่น
วันทีต ผูด
้ แ
ู ลทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพยังสวนทางกับความต้องการทีเ่ พิม
่ ขึน

แน่นอนว่า สมาชิกในครอบครัวย่อมมีบทบาท ทั้ ง ที่ ภ า ร กิ จ นี้ ถื อ เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ดี แ ล ะ
มากที่ สุด แต่ ข้อเท็ จจริงในวั นนี้คือ แนวโน้มผู้สูงวั ยที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ สั ง ค ม อ ย่ า ง ม า ก
อาศั ย อยู่ ต ามลํ า พั ง ยั ง สู ง ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ท่ามกลางแนวโน้มขาดแคลนผูด
้ แ
ู ลทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ
ดังนั้นจึงมีบุคคลที่มีบทบาทสําคัญอีกกลุ่มหนึ่ง กั บการที่คนไทยอยู่เป็นโสดหรือตั้ งใจที่จะไม่มีลูก
ก็ คื อ ผู้ ดู แ ล (care giver)ที่ เ ข้ า มาช่ ว ยสนั บ สนุ น มากกว่ ายุ คที่ผ่าน ๆ มา คํ าถามที่ว่า “ใครจะดูแล
ครอบครั ว ที่ ไ ม่ มี เ วลา ขาดกํ า ลั ง คน หรื อ มี ค วาม เราเมื่ อถึ ง วั น ที่ แ ก่ เ ฒ่ า จนป่ ว ยติ ด เตี ย ง” ย่ อ มมี
เชี่ยวชาญและประสบการณ์ไม่พอที่จะทําให้ม่ันใจได้ ความสํ า คั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น เรื่อ ย ๆ
ว่าจะทําให้การดูแลเป็นไปได้อย่างราบรื่นและปลอดภัย

77
(44)

ผลสํ า รวจในปี 2563 พบแนวโน้ ม ที่ น่ า วิ ต กว่ า ผู้ สู ง อายุ ร้ อ ยละ 10 อยู่ ลํ า พั ง คนเดี ย ว
และร้อยละ 11 จากกลุ่มที่มส
ี มาชิก 2 คน เป็นการอยูก
่ ับคู่ชวี ิต ซึ่งน่าจะเป็นผูส
้ งู วัยเช่นกัน

(45)

78
ในยุ ค ที่ วิ ท ยาการทางการแพทย์ ส มั ย ใหม่ มี ฉับพลัน จะส่งผลกระทบทั้งทําให้ผู้ป่วยสูญเสียรายได้
ความก้ า วหน้ า แม้ ร่ า งกายจะเสื่ อมถอยจนอยู่ ใ น พร้ อ มกั บ เกิ ด ผลถึ ง บุ ค คลอื่ นในครอบครั ว เช่ น หาก
ภาวะ “ติ ด เตี ย ง” แล้ ว แต่ ยั ง สามารถอยู่ ใ นสภาพ ต้ อ งออกจากงานที่ ทํ า อยู่ เ พื่ อมาดู แ ลผู้ ป่ ว ย เท่ า กั บ
เช่ น นั้ น ไปได้ น าน สู ญ เสี ย กํ า ลั ง สํ า คั ญ ในการหารายได้ ข องครั ว เรื อ น
“โจทย์ ” สํ า คั ญ ของสั ง คมสู ง วั ย อี ก ข้ อ หนึ่ ง จึ ง ไปถึ ง 2 คน
อยู่ ที่ เ รื่ องของค่ า ใช้ จ่ า ยสํ า หรั บ การดู แ ลผู้ สู ง วั ย ใน และเมื่อมองกว้างไกลถึงค่าใช้จ่ายของประเทศ
ช่ ว งของการดู แ ลระยะยาว ที่ อ าจจะยาวนานนั บ ปี สําหรับการดูแลระยะยาว จะพบว่าเป็นเงินก้อนมหาศาล
หลายปี หรือนับสิบปี ถึ ง 6 หมื่ นล้ า นบาทต่ อ ปี และจะพุ่ ง สู ง ขึ้ น เป็ น 3.4
ค่ าใช้จ่ายในการดู แ ลผู้สู งวั ย ที่ ไ ม่ส ามารถช่ ว ย แสนล้ า นบาท ในปี พ.ศ. 2590
เหลื อ ตนเองได้ จ ะสู ง ขึ้ น ตามระดั บ การพึ่ ง พา โดย
ประมาณการว่า ขณะนี้อยู่ที่ราว 2 หมื่นบาทต่อเดือน นีค
่ อ
ื สาเหตุทท
ี่ าํ ให้เรื่องของ “ระบบประกันการ
และจะเพิ่มสูงขึ้นตามค่ าครองชีพในอนาคต นับเป็น ดูแลระยะยาว” ที่เหมาะสมกับประเทศไทย กลาย
เงินจํ า นวนไม่ น้ อ ยเลยสํ า หรั บ ครอบครั ว ไทย เป็นประเด็นทีถ
่ ูกกล่าวถึงหนาหู เพื่อเป็นการเตรียม
ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น ถ้ า หากผู้ สู ง วั ย ที่ เ คยเป็ น กํ า ลั ง ประเทศให้พร้อมก้ าวไปสู่สังคมสูงวั ยโดยไม่ส่งผล
หารายได้ ข องครอบครั ว ตกอยู่ ใ นภาวะพึ่ ง พิ ง อย่ า ง ให้คุณภาพชีวิตของคนไทยถดถอย

79
(46)

3,750

2.53 3.40
แสนล้านบาท แสนล้านบาท

80
แม้ปจ
ั จุบน
ั ภาครัฐจัดให้มบ
ี ริการและสวัสดิการ ของระบบบริการสุขภาพระดับอําเภอ (District Health
เพื่อจัดบริการการดูแลระยะยาวในหลายส่วน แต่ยังไม่ Systems - DHS) เพื่อให้เกิดการบูรณาการการจัดบริการ
สามารถเป็นหลักประกันได้ว่า ผู้สูงวัยที่จําเป็นต้องได้ สุ ข ภาพและบริ ก ารด้ า นสั ง คม รวมถึ ง คาดหวั ง ว่ า
รั บ บริ ก ารนี้ จ ะสามารถเข้ า ถึ ง บริ ก ารนี้ ไ ด้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง ท้องถิ่นสามารถจะระดมทรัพยากรมาเพิ่มในระบบได้
และมี คุ ณ ภาพ มากขึน
้ อาศัยกลไกกองทุนตําบลเป็นแกนในการบริหาร
ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ "บัตร ระบบในพื้นที่ จั ดให้มีผู้จัดการการดูแล (CM) เพื่อให้
ทอง" ได้จัดชุดสิทธิประโยชน์การดูแลระยะยาว แต่งบ ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
ประมาณทีจ
่ ด
ั ให้และจํานวนกลุม
่ เป้าหมายทีก
่ ําหนดเป็น และมี ผู้ ช่ ว ยเหลื อ ดู แ ล (CG) ที่ ผ่ า นการอบรมในการ
เป้าหมายยังไม่ครอบคลุมความเป็นจริง โดยในปี พ.ศ. ช่ ว ยเหลื อ ครอบครั ว ในการให้ ก ารดู แ ล และ อปท.
2563 สปสช.จั ด สรรงบสํ า หรั บ บริ ก ารการดู แ ลระยะ สนับสนุนการดูแลด้านสังคม แต่ยงั ไม่เกิดเป็นจริง
ยาวไว้ที่ 1,025.56 ล้านบาท สําหรับผู้สูงวัยประมาณ ขณะที่กระทรวงมหาดไทยได้จัดงบประมาณ
2 แสนคน ขณะที่ ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ มี ก ารศึ ก ษาโดยสถาบั น สนั บสนุ นค่ าตอบแทนผู้ดูแล (care giver) ภายใต้
วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (ที ดี อ าร์ ไ อ) ระบุ ไ ว้ ระเบี ย บว่ า ด้ ว ยอาสาสมั ค รบริ บ าลท้ อ งถิ่ น ของ
ว่ า อยู่ ที่ 71,874 ล้ า นบาท สํ า หรั บ ผู้ สู ง อายุ ติ ด บ้ า น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการเบิกค่าใช้จ่าย
154,316 คน และ ติ ดเตี ยง 267,036 คน เพื่อดูแลผูส
้ งู อายุทม ี าวะพึง่ พิงระยะยาว แต่มป
ี่ ภ ี ญ
ั หา
อี กประเด็ นหนึ่ งคื อเรื่ องของคุ ณ ภาพของ การเบิกจ่ายเงินจนเกิดการสะดุดในระยะเริ่มต้น
บริการ ซึ่งแนวคิ ดของสํานักงานหลั กประกั นสุขภาพ การดูแลผูส
้ งู วัยทีไ่ ม่สามารถช่วยเหลือตนเอง
แห่งชาติ (สปสช.) ในการจัดสรรงบประมาณส่วนนี้มุ่ง ให้ "อยู่ ร อด ปลอดภั ย " และมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี
ให้เกิดระบบการดูแลระยะยาวในชุมชน โดยให้ท้องถิ่น ยั ง ต้ อ งอาศั ย สิ่ ง ต่ า ง ๆ อี ก ไม่ น้ อ ย ทั้ ง เพื่ อให้ เ กิ ด
เข้ามาเป็นเจ้าภาพ บริหารจัดการและร่วมลงทุนพัฒนา การดู แ ลที่ดี และมีง บประมาณที่เ พีย งพอสํ า หรับ
ระบบการดูแลระยะยาวในชุมชน ภายใต้การสนับสนุน การดู แ ลในระยะยาวสํ า หรั บ ทุ ก คน

81
82
ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วย การช่ ว ยเหลื อ งานบ้ า น การช่ ว ยเหลื อ การเดิ น ทาง
ที่ มีภารกิ จในการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชนทุกวั ย การปรับสภาพบ้าน การคุ้มครองทางกฎหมาย การ
อีกทั้งยังมีขด
ี ความสามารถทีจ
่ ะจัดให้เกิดระบบบริการ ช่ ว ยเหลื อ การเงิ น /อาชี พ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ ว ยให้
การดูแลระยะยาวให้แก่ผส
ู้ งู วัยที่ต้องการสิง่ นี้ได้อย่าง สามารถทํ า กิ จ วั ต รประจํ า วั น ได้ ค รบถ้ ว น การเยี่ ย ม
ครอบคลุ ม และผสมผสานบริ ก ารที่ จํ า เป็ น ทั้ ง ด้ า น ให้ข้อมูลคํ าปรึกษา เป็นต้ น
สุ ข ภาพ สั ง คม การดู แ ล และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จํ า เป็ น ได้ อี ก ทั้ ง ยั ง ขาดการบู ร ณาการการจั ด บริ ก าร
ดีท่ีสุด ทั้งด้วยงบของท้องถิ่นเอง และงบที่ได้รับการ ดูแลทางสังคมกั บการจั ดบริการทางการแพทย์และ
สนับสนุนจากหน่วยงานต่ าง ๆ ที่ มีภารกิ จเกี่ ยวข้อง สาธารณสุ ข และขาดกลไกควบคุ ม กํ า กั บ มาตรฐาน
กั บเรื่องนี้ บริ ก าร ทํ า ให้ ผู้ ป่ ว ยและครอบครั ว ได้ รั บ บริ ก ารไม่
จากบริ ก าร 2 ด้ า นที่ ผู้ ป่ ว ยจํ า เป็ น ต้ อ งได้ รั บ รอบด้ า นและไม่ ต รงกั บ ความต้ อ งการ
พบว่ า บริการสุขภาพ เช่น การเยี่ยมบ้าน การฟื้นฟู
สมรรถภาพที่ บ้าน ฯลฯ ที่ ดําเนินการโดยหน่วยงาน ทุ ก วั น นี้ มี อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น
สาธารณสุ ข ที่ มี โ รงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตํ า บล ไม่ กี่แ ห่ ง ที่ส ามารถทํ า ให้ ร ะบบการดู แ ลระยะยาว
(รพ.สต.) เป็นหน่วยขับเคลื่อนหลัก จัดได้ว่าเป็นระบบ ที่มีคุ ณ ภาพเกิ ด เป็ น จริง
ต่อเนื่องและสม�าเสมอกว่าบริการด้านสังคมที่องค์กร
ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก เช่ น

83
บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กับการบริการ
การดูแลผูส
้ ง
ู วัยระยะยาว

การบริการ บริการ ด้านบูรณาการสร้าง


ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ระบบขับเคลื่อน

1. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการ 1. การเตรียมบริการช่วยเหลือ 1. พัฒนาระบบข้อมูลแบบ


สุขภาพอย่างทั่วถึง และส่งเสริมการดํารงชีวิตของ บูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย
ของผูส้ งู วัย ผูส
้ งู วัย เช่นการคุ้มครองทาง ระดับอําเภอและจังหวัด
กฎหมาย การส่งเสริมรายได้
2. ส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัว 2. ส่งเสริมการเตรียมความ
และอาชีพ รวมทั้งการให้
มีศกั ยภาพในการ พร้อมของประชาชนก่อนเข้าสู่
คําปรึกษา
ดูแลผูส
้ งู วัย วัยผูส
้ งู อายุ
2. ปรับปรุงระบบบริการ
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการ 3. ส่งเสริมการรวมกลุม
่ หรือ
สาธารณะที่อํานวยความ
ผลิตหรือฝึกอบรมบุคลากรด้าน
สะดวกแก่ผสู้ งู วัย เครือข่ายผูส
้ งู อายุเพื่อเพิม

ผูส
้ งู วัยระดับท้องถิ่นอย่าง
ศักยภาพด้านสุขภาพ รายได้
เพียงพอและเหมาะสม 3. ส่งเสริมการปลูก
และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ จิตสํานึกให้ประชาชนตระหนัก
ผูส
้ งู วัยที่หลากหลาย ถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของ
ผูส
้ งู วัย

84
ข้ อ มู ล จากผู้ มี ป ระสบการณ์ ใ นการดู แ ลผู้ ป่ ว ยระยะท้ า ยในโรงพยาบาลของ
ประเทศไทย พบรู ปแบบของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้าย
ของชีวิต 3 กลุ่มกว้างๆ ได้แก่ (1) ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลที่บ้านเป็นหลักและประสงค์
จะเสียชีวิตที่บา้ น (2) ผูป
้ ว่ ยที่ได้รบ
ั การดูแลที่บา้ นเป็นหลัก แต่มเี หตุให้ต้องกลับมาเสีย
ชีวิตที่โรงพยาบาล เพราะมีภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน หรือควบคุมไม่ได้เป็นระยะ หรือ
ผูด
้ แ
ู ลในครอบครัวขาดความมั่นใจหรือรับสภาพความทุกข์ทรมานไม่ได้ (3) ผูป
้ ว่ ยที่ได้
รับการดูแลที่โรงพยาบาลเป็นหลัก และสุดท้ายเสียชีวิตที่โรงพยาบาล
นอกจากนี้ยังพบว่า การเจ็บป่วยในช่วง 6 เดือนสุดท้ายของชีวิตได้ทําให้เกิดค่า
ใช้จ่ายเพื่อการดูแลสุขภาพสูงกว่ าช่วงใด ๆ ของชีวิต ทั้ งที่ ส่วนใหญ่เป็นไปเพื่อการ
"ยื้อชีวิต" ในช่วงที่หมดหนทางรักษา
อย่างไรก็ ตาม ข้อมูลการศึกษาในต่ างประเทศจํ านวนมาก รวมทั้ งข้อมูลของ
ประเทศไทย ชี้ให้เห็นตรงกันว่า หากผู้ป่วยและครอบครัวเลือกการดูแลในระยะท้าย
ของชีวต
ิ แบบประคับประคอง (Palliative Care) แทนทีจ
่ ะ "สูจ
้ นตาย" จะช่วยลดค่าใช้
จ่ายผูป
้ ว่ ยในได้ถึงร้อยละ 9-25 ของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในระยะสุดท้ายในโรงพยาบาล
อี กทั้ งยังเพิ่มความพึ งพอใจในการรั กษาให้ผู้ป่ว ยและครอบครั ว เพราะเป็น
การดู แ ลแบบองค์ ร วมทั้ ง ร่ า งกาย จิ ต ใจ และจิ ต วิ ญ ญาณ ตามหลั ก ศาสนาหรื อ
ความเชื่อของแต่ ละบุ คคล โดยมุ่งให้ความสุขสบายแก่ผู้ป่วย ช่วยลดความปวดและ
ความทุกข์ทรมาน การตระหนักถึงการตายอย่างสมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
รวมถึงครอบครัวผู้ป่วย
เพราะเกื้ อ หนุ น ให้ ว าระสุ ด ท้ า ยของชีวิ ต เป็ น ไปโดยตอบสนองต่ อ ความ
ต้องการของผู้ป่วยเป็นสําคัญ การดูแลในระยะท้ายของชีวิตแบบประคับประคอง
ที่มค
ี ุณภาพและทุกคนเข้าถึงได้จึงเป็นองค์ประกอบชิ้นสุดท้าย ที่จะทําให้ระบบ
บริการสุขภาพในยุคสังคมอายุยืนส่งมอบสุขภาวะให้แก่เราทุกคน

85
ข้อมูลจากการสํารวจค่าใช้จ่ายกรณีผู้ป่วยมะเร็งภายใต้โครงการ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าพบว่า...
- ค่ารักษาพยาบาลเดือนสุดท้ายก่อนเสียชีวต
ิ เฉลีย
่ ทีป
่ ระมาณ 45,000 บาท
และมีค่าใช้จ่ายสูงสุดกว่า 340,000 บาทในเดือนสุดท้ายของชีวิต
- แต่ในกรณีเป็นการดูแลที่ บ้านอย่างมีมาตรฐาน จะมีค่าใช้จ่ายในเดื อน
สุดท้ายราว 27,000 บาท นอกจากจะมีประโยชน์ท้ังต่อผู้ป่วย ญาติ และ
บุคลากรทางการแพทย์แล้ว ยังส่งผลดีต่อรัฐในด้านงบประมาณและการ
บริหารจัดการทรัพยากรด้านสาธารณสุขให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

86
หลั ง จากมาตรา 12 ของพระราชบั ญ ญั ติ สุ ข ภาพ
แห่งชาติ พ.ศ. 2550 ที่รับรองสิทธิของผู้ป่วยในการแสดง
เจตนาไม่ประสงค์จะขอรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียง
เพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการ
ทรมานจากการเจ็บป่วยได้ มีผลบังคับใช้ เรื่องของการดูแล
แบบประคับประคองในระยะท้ายของชีวิตก็ดจ
ู ะได้รบ
ั ความ
สนใจในสังคมไทยมากขึ้นเป็นลําดับ
นอกจากนี้ ยังเกิดความเคลื่อนไหวเชิงนโยบายและ
การจัดเตรียมระบบรองรับบริการด้านนี้ชัดเจนขึ้นเรื่อย ๆ
โดยมีการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติว่าด้วยการสร้าง
เสริ ม สุ ข ภาวะในระยะท้ า ยของชี วิ ต พ.ศ. 2557-2559
ซึ่งจัดทําขึ้นตามมติสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น ครั้งที่ 2
เดือนธัน วาคม 2556 หลั ง จากนั้ น เรื่ อ งนี้ ถื อ เป็ น นโยบาย
ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ มี แ ผ น ร อ ง รั บ ชั ด เ จ น
(s ervice plan) ตั้ งแต่ปี พ.ศ. 2560 และเป็ น สิ ท ธิ
ประโยชน์ ภ ายใต้ ร ะบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ
ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2553 และมี พั ฒ นาการสื บ เนื่ อ งมา
จนถึ ง ปั จ จุ บั น

อย่างไรก็ ตาม กล่ าวได้ ว่า การดูแลแบบประคั บ


ประคองในระยะท้ายของชีวิตยังไม่กลมกลืนเข้าสูร่ ะบบ
บริการสุขภาพของประเทศไทย

87
ต่อชีวิตผู้สูงวัยไทย

(42)

คุณภาพการ “ตายดี” ของประเทศไทย


อยูใ่ นอันดับที่ 44 จากทั้งหมด 80 ประเทศ
ในปี พ.ศ. 2558 มีการจัดอันดับการตายดี หรือ The
2015 Quality of Death Index โดย Economist
Intelligence Unit (EIU) อันดับที่ 1-5 ได้แก่ อังกฤษ
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไอร์แลนด์ และเบลเยียม ขณะที่
ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 10 จาก 18 ประเทศในกลุ่ม
ภูมภ
ิ าคเอเชียแปซิฟก

อันดับที่ 44

88
89
ปัญหาสำคัญของการเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคอง
2. 3. 4.
การได้รบ ั การวินจ
ิ ฉัยว่า การเยีย
่ มบ้าน การจัดการ
อยูใ่ นระยะท้าย เข้า PLC
และให้ความรู ้ ความเจ็บปวด

1. การส่ ง ต่ อ ข้ อ มู ล ผู้ ป่ ว ยใน


1. ผูป
้ ว่ ยและญาติยังไม่มี เมื่ อผู้ ป่ ว ยกลั บ ไปรั ก ษา 1. การเข้าถึงยาระงับปวด
ปัจจุบนั ยังมีความแตกต่างกันใน
ความรู้ความเข้าใจ ทําให้ ตัวทีบ่ า้ น ญาติผป ู้ ว่ ยส่วน ผู้ ที่ ส ามารถสั่ง ยาได้ เ ป็ น
แต่ ล ะพื้ นที่ และยั ง ไม่ เ ชื่ อม
เป็นอุปสรรคในการนําผู้ ใหญ่ มี ค วามกั ง วลว่ า ตน แพทย์เท่านัน ้
ประสานกัน
ป่วยเข้าสู่ระบบการดูแล จะไม่สามารถให้การดูแล 2.การขาดยาในโรงพยาบาล
แบบประคับประคอง ผู้ป่วยได้ อย่างเหมาะสม ชุมชน, โรงพยาบาลส่งเสริม
2. การส่ ง ข้ อ มู ล แบบสองทาง
โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ มื่ อ ผู้ ป่ ว ย สุขภาพตําบล
(two-way communication)
2. แพทย์ เ จ้ า ของไข้ ไ ม่ แสดงอาการ 3. ผูป ้ ว่ ยไม่กล้าใช้ยา หรือใช้
ยั ง เกิ ด ขึ้ น อย่ า งจํ า กั ด ทั้ ง จาก
วิ นิจฉัยว่ าผู้ป่วยเข้าข่าย มากกว่าที่กาํ หนด รวมถึง
โรงพยาบาลศูนย์สโู่ รงพยาบาล
PLC ทําให้ผป ู้ ว่ ย palliative หากไม่มก ี ารลงเยีย
่ มบ้าน ญาติ ค นไข้ บ างคนได้ ย า
ระดับชุมชน (โรงพยาบาลชุมชน, และการจั ดการอาการที่
เ ข้ า ม า สู่ ร ะ บ บ ใ น ขั้ น กลั บ ไป แต่ มี ค วามกลั ว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล) มี ป ระสิ ท ธิภ าพ ผู้ ป่ ว ยก็
terminal แล้ ว ในการใช้ยา
และระหว่างฝั่ งสาธารณสุขและ ต้องกลับมาโรงพยาบาลอีก
4. ระเบียบการให้ยาของ
ชุมชน ทําให้การติดตามอาการ
บางโรงพยาบาลไม่อนุญาต
และการรับรูว้ า่ มีผป ู้ ว่ ยในชุมชน
ให้นํา opioids ออกไปได้
ยังมีขอ ้ จํากัด
คนไข้จงึ ได้แค่ยากินกลับไป

3. ระบบข้อมูลทีม ่ อ
ี ยูใ่ นปัจจุบน

(Thai COC) ยั ง ไม่ ต อบโจทย์
ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารส่ ว นใหญ่ นิ ย มใช้
line เพราะมีความรวดเร็วและ
ไม่ยุง่ ยาก

90
ถอดรหัส
ก่อนสกัด
จุดท้าทาย

เมื่อสํารวจจุดเสี่ยง 4 เรื่องใหญ่ที่ฉุดรั้งสุขภาพผู้สูงวัยไปสู่จุดถดถอย สูญสิ้นความสามารถใน


การพึ่งพาตนเอง จนแปร “พลัง” ไปสู่ “ภาระ” และความทุกข์ยากอันใหญ่หลวงที่ครอบครัวและสังคม
ต้องร่วมแบกรับ จะพบ 4 ปัญหาหลักที่ซอ
่ นเร้นอยูเ่ บื้องหลังจุดเสีย
่ งเหล่านั้น

นั่นคือ

เข้าไม่ถึง - ไม่ท่ ัวถึง – ไม่ทันเวลา -ไม่เชื่อมต่อ


ความรูน
้ เี้ ปิดทางให้เราสามารถหาทางคลี่คลายเงื่อนปมได้อย่างสอดคล้องกับสาเหตุ
และก้าวนําสถานการณ์

ด้วยการปรับปรุงและพัฒนาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยให้เอื้อต่อ
การ “แก่อย่างสบาย สูงวัยอย่างสง่า” โดยมุ่งไปที่การหลีกเลี่ยง ชะลอ และฟื้นฟู
ความเสื่อมถอย เป็นหัวใจสําคัญ

91
การดูแลระยะประคับประคอง
Palliative Care
(PLC)

92
93
บทที่

หนทาง
ทางสายใหม่
ไม่ได้เริม
่ จากศูนย์

เพื่อนําพาประเทศไทยไปให้พน
้ จาก 4 ปมปัญหาหลักที่ซอ
่ นเร้นอยูเ่ บื้องหลัง 4 จุดเสี่ยงหลักในระบบ
บริการสุขภาพ นั่นคือ เข้าไม่ถึง - ไม่ท่ัวถึง – ไม่ทันเวลา -ไม่เชื่อมต่อ ปฏิบต
ั ิการระดับ “นําร่อง” เพื่อช่วยลด
ภาวะพึ่งพิงโดยไม่จําเป็นจึงเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ ในช่วงหลายปีท่ีผา่ นมา

จุดที่นา่ สนใจคือ ทิศทางใหม่ท่ี “ตอบโจทย์” ได้จริงเหล่านี้มีหลักการร่วมกัน นั่นคือ การจัดระบบ


บริการสุขภาพในลักษณะ “เครือข่ายบริการสุขภาพสําหรับผูส
้ งู วัยในระดับชุมชน”

ตัวอย่างของระบบบริการสุขภาพเพื่อลดภาวะพึ่งพิงในยุค “สังคมสูงวัย”
่ นหลักการ “เข้าถึง ทั่วถึง ทันเวลา และเชื่อมต่อ”
ที่อยูบ
ที่ปรากฏอยูใ่ นบทนี้ได้ผา่ นการพิสจ
ู น์ให้เห็นผลชัดเจนแล้วว่า
สามารถลดความความทุกข์ทรมานให้กับผู้สงู วัย
ไปพร้อม ๆ กับลดความสูญเสียของครอบครัวและสังคมได้จริง
นอกจากนี้ ผลจากการทดลองทํามาระยะหนึ่งยังทําให้ได้บทเรียนมาแบ่งปัน
ในเรื่องปัจจัยที่จะทําให้ย่งั ยืน

นั่นหมายถึงว่า เราสามารถก้าวไปสูอ
่ นาคตทีด
่ ก
ี ว่าได้โดยไม่ต้องเริม
่ ต้นจากศูนย์

95
สร้างบริการแบบ “ไร้รอยต่อ”
เพื่ อเชื่ อมโยงแบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล
ภารกิ จ ทรั พ ยากร มุ่ ง เป้ า ให้
ผู้ สู ง วั ย ทุ ก คนได้ รั บ บริ ก ารที่
จําเป็น ทั้งบริการด้านสุขภาพ
และด้านสังคมอย่างรอบด้าน ตรง
ตามความต้องการ และทันเวลา

96
ทีจ
่ ะนําไปสูผ
่ ลเช่นนีไ้ ด้ตอ
้ งอาศัยการทํางานเป็นทีม

97
ผู้ป่วยทุกรายที่ ผ่านพ้นอาการป่วยวิ กฤติ
ที่ โ รงพยาบาลหาดใหญ่ ต้ อ งได้ รั บ การ
ฟื้ นฟู ส มรรถภาพ โดยแพทย์ เ วชศาสตร์
ฟื้ นฟู ข องโรงพยาบาลจะประเมิ น ความ
ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ทํ า กิ จ วั ต ร ป ร ะ จํ า วั น
(Barthal Index) (48) และส่ ง ต่ อ ให้ ไ ปรั บ วางแผนจําหน่าย
บริการ IMC เพื่อฟื้ นฟูสมรรถภาพร่างกาย - ผูป
้ ว่ ยฝึกการใช้ชวี ต ิ ประจําวัน
แบบผู้ป่วยในที่โรงพยาบาลบางกล�า โดย - ทีม HHC ลงเตรียมสภาพบ้านผูป ้ ว่ ย
มี ที ม เวชศาสตร์ ฟื้ นฟู ข องโรงพยาบาล - ฝึกสอน ผูด ้ แ
ู ลผูป
้ ว่ ย ( care giver )
หาดใหญ่ติดตามดูแลให้ผป ู้ ว่ ยได้รบ
ั บริการ - ประสานศูนย์ฟนฟู ื้ สมรรถภาพฯ ชุมชน
ครบถ้วนและเป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้ - ประสานส่งต่อข้อมูลให้
2 - 3 ค รั้ ง ต่ อ สั ป ด า ห์ ห ลั ง จ า ก ผู้ ป่ ว ย นักกายภาพบําบัด รพ. อื่นๆ
กลั บ บ้ า น จะได้ รั บ การดู แ ลต่ อ เนื่ อ งจาก
โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตํ า บล หรื อ
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพของชุ มชน รวมทั้ ง
มี ที ม จิ ต อาสาเยี่ ย ม ติ ด ตาม จนเป็ น ปกติ
หรื อ หลงเหลื อ ความพิ ก ารน้ อ ยที่ สุ ด

ผูป
้ ่วยทีไ่ ด้รบ
ั การส่งต่อมาจาก รพศ. สระบุร ี / รพ. พระพุทธบาท
- มีการบันทึกข้อมูลลงโปรแกรม Ant-Hos ทุกราย
- รายที่ admit จะมีใบส่งตัวและประสานโดยศูนย์ refer รวมทั้ง
การแจ้งประสานงานไปยังนักกายภาพบําบัด รพช.
- รายที่จําหน่ายกลับบ้าน จะมีการประสานงานไปยังเจ้าหน้าที่
รพ.สต. และนักกายภาพบําบัดที่ รพช. ตามพื้นที่

Admit เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพที่ รพช. จําหน่ายผูป


้ ่วยกลับบ้าน
- เจ้าหน้าที่ รพ.สต และนักกายภาพบําบัดตามพื้นที่ให้บริการร่วม สร้างเครือข่ายระดับจังหวัดเพื่อให้บริการ
- ระยะเวลา Admit ประมาณ 2 สัปดาห์ โดยมี
การสํารองเตียง 2 เตียงต่อโรงพยาบาล กันเป็นแกนนําในการให้บริการ โดยดูขอ
้ มูลและบันทึกสรุปการให้ IMC ที่เชื่อมโยงจากโรงพยาบาลต่อเนื่อง
บริการในโปรแกรม Ant-Hos
- แพทย์ประจํา รพช.เป็นเจ้าของไข้ โดยดูขอ
้ มูล ถึ ง ในชุ ม ชน โดยมี ร ะบบข้ อ มู ล ออนไลน์
จากใบส่งตัวและโปรแกรม Ant-Hos - มีการให้บริการในหลายรูปแบบตามความเหมาะสม ทั้งการเยี่ยม
บ้าน นัดมาเป็น CPD Case หรือการให้บริการโดย อสม. หรือ จิตอาสา ที่เชื่อมโยงระบบบริการสุขภาพทั้งจังหวัด
- นักกายภาพบําบัดร่วมประเมินผู้ป่วยและ
ให้บริการ / สรุปข้อมูลการให้บริการและความ - ความถี่ในการให้บริการกําหนดโดยพื้นที่ โดยเน้นไปที่ผู้ป่วยที่มี ทีม ่ ช
ี ่อ
ื ว่า Ant-Hos ส่งข้อมูลผูป ้ ว่ ยทีส
่ ามารถ
ระดับ ADL ต�าหรือผู้ป่วยที่ไม่มีผู้ดแ
ู ลอย่างเพียงพอ
ก้าวหน้าโดยย่อลงในโปรแกรม Ant-Hos เมื่อ เปิ ด ใช้ ร่ ว มกั น ทั้ ง จั ง หวั ด (รพศ./รพท.
จําหน่ายผู้ป่วยออกจาก รพช. - ประเมิน Barthel’s index ซ�าทุก 1-2 เดือน
- ทีมพี่เลี้ยงจาก รพศ./รพท. ออกให้บริการ team meeting รพช./รพ.สต.) โดยมีต้นทางที่ รพ. สระบุรี
- พยาบาลและสหวิชาชีพอื่นๆร่วมประเมินและ
ให้บริการตามความเหมาะสม ตามความเหมาะสม และ รพ. พระพุ ท ธบาท และส่ ง ข้ อ มู ล
- อปท. มีบทบาทสนับสนุนการปรับบ้าน การขนส่ง เบี้ยยังชีพ
- ทีมพี่เลี้ยงจาก โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.)/ ผู้ ป่ ว ยต่ อ เนื่ อ งไปยั ง รพช. และ รพ.สต.
โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) ออกให้บริการ ผู้ดแ
ู ล หรือสิง่ อํานวยความสะดวกอื่นๆ โดย รพช. หรือ รพ.สต.
เป็นผู้ประสานงาน ในพื้นที่ตามภูมล ิ าํ เนาของผูป ้ ว่ ย ทําให้เกิด
team meeting ตามความเหมาะสม
การส่ ง ต่ อ และการติ ด ตามผลการฟื้ นฟู
สมรรถภาพอย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ
เมื่อให้บริการครบ 6 เดือน
- ประเมินความก้าวหน้าของ ADL โดยดูจากค่า
Barthel’s index
หากระดับ Barthel’s index ยังคงต�ากว่า 75 - ประเมินเป้าหมาย (goal) ว่าบรรลุตามที่ต้ังไว้
ให้สง่ ต่อผู้ป่วยเข้าสูร่ ะบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง หรือไม่
(longterm care) ต่อไป - สรุปปิดเคส subacute care

98
การพั ฒ นารู ปแบบและระบบการดู แ ลผู้ สู ง วั ย ที่ มี ภ าวะ
สมองเสื่ อ มครบวงจร เป็ น ปฏิ บั ติ ก ารเชิ ง รุ ก เพื่ อ ลดการพึ่ ง พิ ง ของ
ผู้ สู ง วั ย จากภาวะสมองเสื่ อม ที่ ทํ า โดยเครื อ ข่ า ยระดั บ อํ า เภอ
เริ่ ม ดํ าเนิ น การในประเทศไทยตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2558
ระบบนํ า ร่อ งนี้ เ ป็ น การบู ร ณาการการดู แ ลรั ก ษา ร่ ว มกั น ทั้ ง
Home care + Hospital care + Community Care และการดูแล
รักษาลักษณะแบบเฉพาะผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมองเสื่อมในแต่ละราย
(specialized care) โดยมีจุดเริ่มต้นที่ข้ันตอนการค้นหาและคัดกรอง
แบบเชิงรุก ที่ทํากับผู้สูงวัยตั้งแต่ยังไม่แสดงอาการ เพื่อคัดแยกผู้ท่ียัง
ไม่พบ และพบว่ามีอาการ เข้าสูก
่ ารดูแลที่เหมาะสม

เป้าหมายเพื่อป้องกัน ชะลอ และให้การดูแลอย่าง


สอดคล้องกับสภาพของแต่ละบุคคล

ดังตัวอย่างต่อไปนี้

99
(49,50)

1. ขั้นตอนการคั ดกรองผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป โดย 4. กลุม


่ พบอาการระยะเริม
่ ต้น (1) ฝึกสมองแบบเฉพาะ
อสม. ด้วยสมรรถภาพความจํา 14 ข้อ เจาะจงด้ า นต่ า ง ๆ ของสมอง (cognitive training)
2. กลุ่มปกติ เข้ากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในชมรม เช่น ความจํ า, ความใส่ใจ และภาษา ฯลฯ เพื่อให้เกิด
ผู้ สู ง อายุ โดยบู ร ณาการการเพิ่ ม สมรรถภาพสมอง การเรี ย นรู้ และมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมในชี วิ ต
เข้าไปในทุกกิ จ กรรมของ ชมรมผู้ สู ง อายุ , สอดแทรก ประจํ า วั น ใช้ ส มองมากขึ้ น มี ส ติ มี ก ระบวนการคิ ด /
การบริ ห ารสมองสองซี ก กั บ กิ จ กรรมการเคลื่ อ นไหว, วางแผนเพิ่ ม ขึ้ น (2) จั ด บริ ก ารเชิ ง รุ ก ในแต่ ล ะตํ า บล
เพิม
่ สมรรถภาพสมองด้านความจําร่วมกับกิจกรรมสันทนาการ โดยใช้ ง บประมาณจากกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพ
3. กลุ่ ม ผิ ด ปกติ คั ด แยกระดั บ ภาวะสมองเสื่ อม ในแต่ ล ะพื้ นที่
โดยบุ ค ลากรสาธารณสุ ข จากนั้ น โรงพยาบาลตรวจ 5. พัฒนากลไกและบริการสนับสนุน เช่น เพิม
่ ศักยภาพ
สุขภาพเพื่อบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม แล้วคืนข้อมูลกลับสู่ ของแพทย์ ด้ า นการตรวจรั ก ษา, พั ฒ นาศั ก ยภาพ
ชุมชนให้ผด
ู้ แ
ู ล (care manager) วางแผนดูแลรายบุคคล เครื อ ข่ า ย “อาสาสมั ค รผู้ เ ชี่ ย วชาญสมองเสื่ อม”,
(care plan) ในระบบ Long Term Care ของ สปสช. การจั ด บริ ก าร day care, บู ร ณาการกั บ การดู แ ลใน
ระบบ LTC และ palliative care
การพัฒนาระบบการดูแล
ผูป
้ ว
่ ยสมองเสือ
่ ม
คีรรี ฐ
ั นิคมโมเดล

รพ. สุราษฎร์ธานี

100
จากข้อมูลค้นพบว่า การดูแลแบบประคับประคองในระยะท้ายของ
ชีวิตมี 3 กลุ่มกว้ างๆ ได้ แก่ (1) ผู้ป่วยที่ ได้ รับการดูแลที่ บ้านเป็นหลักและ
ประสงค์จะเสียชีวิตที่บ้าน (2) ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลที่บ้านเป็นหลัก แต่มี
เหตุ ใ ห้ ต้ อ งกลั บ มาเสี ย ชี วิ ต ที่ โ รงพยาบาล เพราะมี ภ าวะแทรกซ้ อ น
เฉียบพลัน หรือควบคุมไม่ได้ เป็นระยะ หรือผู้ดูแลในครอบครัวขาดความ
มั่ น ใจหรื อ รั บ สภาพความทุ ก ข์ ท รมานไม่ ไ ด้ (3) ผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การดู แ ล
ที่ โ รงพยาบาลเป็ น หลั ก และสุ ด ท้ า ยเสี ย ชี วิ ต ที่ โ รงพยาบาล

ดังนั้นระบบการดูแลแบบประคับประคองในระยะท้ายที่ตอบสนอง
ต่อภาวะสุขภาพและความต้องการของผูป
้ ว่ ย/ครอบครัว จึงต้องมีลก
ั ษณะเป็น
เครือข่ายเชื่อมโยงจากสถานพยาบาลไปสู่ชุมชน จนถึ งครอบครัว

101
(Integrated Health Care System)

บทเรียนสําคัญทีส
่ กัดได้จากสถานการณ์ปญ
ั หาการดูแลผูส
้ งู วัยของประเทศไทยทีผ
่ า่ นมา
พบว่ า ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพแยกขาดออกเป็ น ส่ ว น ๆ ไม่ ต อบสนองต่ อ องค์ ร วมของชี วิ ต
ขณะเดียวกัน "สังคมสูงวัย" ที่ผู้สูงอายุเพิ่มจํานวนและมีอายุยืนยาวกว่าที่ผ่านมา สวนทางกับ
กําลังคนวัยหนุ่มสาวที่มีศักยภาพสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ
มีสัดส่วนลดลง รวมทั้งครอบครัวมีขนาดเล็กลง ทําให้จําเป็นต้องสร้างระบบการดูแลผู้สูงวัยที่
สามารถตอบโจทย์ "จะทําอย่างไรเมื่อทรัพยากรมีจํากัด แต่ความต้องการไม่สน
้ิ สุด" ได้หมดจด

กรณีตัวอย่างต่อไปนี้จะช่วยนําทางความคิดให้เห็นแนวทางของระบบการดูแลผู้สูงวัย
แบบครบวงจร ที่ทําได้จริงในประเทศไทย

102
กรณีตัวอย่างระบบ

การดูแลผูส้ ง
ู วัยแบบครบวงจร
ลําสนธิโมเดล จ. ลพบุร ี
(103)

1. เป็นระบบการดูแลแบบ Integrate Health Care System/


Multi Levels ทีเ่ ริม
่ ต้นดําเนินการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 (15 ปี)
2. ขับเคลื่อนโดยเครือข่ายระดับอําเภอ โดยมีโรงพยาบาล
อําเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนนํา

3. ดูแลผู้สูงอายุ ทุกคนในอํ าเภอ ครอบคลุมทุกภาวะ


บูรณาการร่วมกัน
สุ ข ภาพ ตั้ ง แต่ ยั ง แข็ ง แรงจนสมองเสื่ อ ม บริ ก ารดู แ ล
ระยะยาว ไปจนถึงการดูแลแบบประคับประคองในระยะ
สุ ด ท้ า ย โดยมี ชุ ด บริ ก ารทั้ ง ด้ า นสุ ข ภาพและสั ง คม การบริบาล
ที่ อ อกแบบให้ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของท้ อ งถิ่ น
การดูแลเรือ
่ งสภาพแวดล้อม

ให้ค่าตอบแทน

103
104
105
106
มูลนิธส
ิ ถาบันวิจัยและพัฒนาผูส
้ ง
ู อายุไทย (มส.ผส.)
1168 ซอยพหลโยธิน 22 ถนนพหลโยธิน
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์: 02-5115855 โทรสาร: 02-9392122

Foundation of Thai Gerontology Research


and Development Institute (TGRI)
1168 Phahon Yothin 22, Chom Phon,
Chatuchak, Bangkok, Thailand 10900
Tel +66-2-5115855 Fax +66-2-9392122

www.thaigri.org

You might also like