You are on page 1of 8

27/03/57

ล ูกประคบ
ความรพ้ ู ้ ืนฐานเกี่ยวกับล ูกประคบและ
ส่วนประกอบในลูกประคบ  ล ูกประคบสม ุนไพร หมายถึง ผลิตภัณฑ์ ท่ ี
ได้ จากการนาสมุนไพรหลายชนิดมาผ่ าน
กระบวน การทาความสะอาด แล้ วนามา
หั่นหรื อสับให้ เป็ นชินตามขนาดที
้ ่ ต้องการ
ตาพอแหลก ใช้สดหรือทาให้แห้ ง นามา
ห่ อหรื อบรรจุรวมกันในผ้ าให้ได้ รูปทรงต่ าง
ๆ เช่ น ทรงกลม หมอนสาหรับใช้นาบ
หรื อกดประคบส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย
ผศ.ดร.ส ุนีย ์ จันทร์สกาว เพื่อทาให้ กล้ ามเนือ้ ผ่ อนคลาย
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

องค์ประกอบในล ูกประคบล้านนา
สมุนไพรที่ใช้ ปริมาณ สรรพค ุณ/ประโยชน์
(%)
ไพล 40 แก้ ปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก ลดการอักเสบ
หมอนประคบสมุนไพร ขมิน้ ชัน 10 ช่ วยลดการอักเสบ แก้ โรคผิวหนัง
ตะไคร้ 10 มีนา้ มันหอมระเหย แก้ ลมวิงเวียน แต่ งกลิ่น
ชาระล้ างผิวหนัง
ใบเปล้ าใหญ่ 10 บรรเทาอาการอักเสบ ฆ่ าเชือ้ มีกลิ่นหอม
ใบมะขาม 10 แก้ อาการคันตามร่ างกาย
ผิวมะกรู ด 5 มีนา้ มันหอมระเหย แก้ ลมวิงเวียน
ใบหนาด 5 บารุ งผิวหนังให้ช่ ุมชื่น มีกลิ่นหอม

1
27/03/57

ไพล Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. ไพล

 สารสาคัญ : sabinene, γ-terpinene, α-terpinene, terpinen-4-ol,


α-pinene, curcumin , cassumunarin A, B และ C สาร D หรื อ
(E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl) but-3-en-l-ol และ(E)-1-(3’,4’-
dimethoxyphenyl) butadiene (DMPBD)
 ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ
 เหง้าใต้ดิน แก้ ฟกชา้ เคล็ดบวม ขับลมในลาไส้ แก้ จุกเสียด แก้ ปวด
ท้ อง แก้ ท้องอืด ขับระดู ขับโลหิตร้ ายทัง้ หลายให้ตกเสีย

ส่ วนที่ใช้ : เหง้ าใต้ ดนิ


อายุเก็บเกี่ยว: 2 ปี ขึน้ ไป
เวลาเก็บเกี่ยว: ธันวาคม – กุมภาพันธ์ ช่ วงใบ ต้นแห้ งอยู่ในระยะพักตัว

พืชที่ อาจสับสนกับไพล

 พืชอีก 2 ชนิดที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่


 ขิง (Z. officinale Roscoe) และกระทือ (Z. zerumbet (L.) Sm.)
 ต่ างกันที่กลิน
่ ของเหง้า โดยปูเลยจะมีกลิ่นหอมเย็น ขิงและกระทือจะมี
กลิ่นเฉพาะที่ละมุนกว่ า
 ลักษณะร ูปทรงของช่อดอก สีของใบประดับรองรับดอกย่อยลักษณะ
ทรงของช่ อดอกขิงและไพลคล้ ายกันมาก ใบประดับรูปไข่ ปลายแหลม สี
ใบประดับของขิงเป็ นสีเขียว ส่ วนไพลเป็ นสีม่วง ส่วนกระทือทรงช่ อดอกจะ
เป็ นทรงกระบอก ปลายช่ อดอกจะไม่เรี ยวแหลมเหมือนขิงและปูเลย ใบ
ประดับรู ปไข่ กว้ างปลายมน สีแดง

2
27/03/57

ขมิ้นชัน Curcuma longa L. ขมิ้นชัน


 สารสาคัญ : เหง้าขมินชั ้ นประกอบด้ วยน้ามันหอมระเหย (volatile oil) มีสีเหลือง
อ่ อน มีสารสาคัญหลักคือ เทอร์ เมอโรน (turmerone) และซิงจิเบอรีน (zingiberene)
นอกจากนียั้ งมีสารกลุ่มเซสควิเทอร์ ปีน (sesqui-terpenes) และโมโนเทอร์ ปีน
(monoterpenes) อื่นๆ อีกหลายชนิด และสารสาคัญประเภทเคอร์ค ูมินอยด์
(curcuminoids) เป็ นสารสีเหลือง ประกอบด้วย เคอร์ คูมนิ (curcumin) เดสเมทอกซี
เคอร์ คูมนิ (desmethoxycurcumin) และบิสเดสเมทอกซีเคอร์ คูมนิ (bisdes-
methoxycurcumin)
 ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ
 เหง้าสด เป็ นยาแก้ โรคเหงือกบวมเป็ นหนอง รั กษาแผลสด รั กษาแผลในกระเพาะ
อาหาร แก้ ไข้ เรือ้ รังผอมเหลือง แก้ โรคผิวหนังผื่นคัน ท้องร่ วง บิด พอกแผล
ส่ วนที่ใช้ : เหง้ าใต้ ดนิ แก้ เคล็ดขัดยอก ขับผายลม แก้ ท้องอืดเฟ้อ
เวลาเก็บเกี่ยว: ธันวาคม – กุมภาพันธ์  เหง้าแห้ง บดเป็ นผงเคี่ยวกับนา้ มันพืช ทาน ้ามันใส่ แผลสด ผสมนา้ ทาผิวแก้ ผดผื่น
คัน
อายุ 9-10 เดือน ช่ วงใบ ต้ นแห้ งอยู่ในระยะพักตัว

ขมิ้นชันและขมิ้นอ้อย

 ขมิ้นชันและขมิ้นอ้อย ( C. zedoaria (Berg) Roscoe)มีลักษณะคล้ ายกัน


มาก แต่ ขมินอ้
้ อยต้นสูงกว่ า ขนาดเหง้ าและใบใหญ่ กว่ า เหง้ ามักโผล่ขึน้ มา
เหนือดินเล็กน้ อย บางครั ง้ จึงเรี ยกขมินอ้
้ อยว่ าขมินขึ
้ น้ เนือ้ ในเหง้ ามีสี
เหลือง แต่ ขนาดและสีของเหง้ าและต้ นอาจขึน้ อยู่กบั อายุและพืน้ ที่ท่ปี ลูก
 การแยกขมินอ้ ้ อยและขมิน้ ชันจึงใช้ ลักษณะที่ไม่ ค่อยผันแปร คือแขนง
เหง้า และช่อดอก โดยลักษณะของแขนงเหง้ าขมิน้ ชันจะชีล้ ง ส่ วนขมิน้
อ้ อยจะชีข้ นึ ้ และใบประดับของขมิน้ อ้ อยส่ วนล่ างของช่ อดอกจะมีสเี ขียว
แกมชมพู ที่อยู่ส่วนปลายช่ อดอกเป็ นสีแดงเข้ ม

3
27/03/57

ตะไคร้ Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ตะไคร้


 สารสาคัญ : นา้ มันหอมระเหย ในเหง้ าและกาบใบ ซึ่งประกอบด้ วย
citral, eugenol, geraniol, citronellol, myrcene, การบูร (camphor) เป็ นต้น
 ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ :
1. ตะไคร้ สด ต้ มดื่มแต่นา้ ใช้ ขับเหงื่อ ทาให้ กล้ ามเนือ้ คลายตัวแก้ อาการ
ท้ องอืดท้ องเฟ้อ แน่ น จุกเสียด ช่ วยขับลมในลาไส้ บรรเทาอาการไอ
รั กษาอาการอ่ อนเพลีย
2. ตะไคร้ สด ต้ มกับนา้ ใช้ อาบแก้ อาการปวดเมื่อยตามตัว
3. นา้ มันตะไคร้ แก้ อาการปวดบวมตามข้ อ มีฤทธิ์ในการฆ่ าเชือ้ จุลินทรี ย์
เชือ้ รา ช่ วยไล่ ยุงและแมลงต่ างๆ
ส่ วนที่ใช้ : กาบใบ

ตะไคร้และตะไคร้หอม เปล้าใหญ่ Corton roxberghii N.P.Balakr.

ส่ วนที่ใช้ : ใบ

ตะไคร้ หอม: ไล่ ยุง ไล่แมลง

4
27/03/57

มะขาม Tamarindus indica L. มะขาม


 ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ
 ใบ แก้ อาการคันตามร่ างกาย ช่ วยบารุ งผิว7 รั กษาอาการบวมอักเสบ
โรคบิด โรคดีซ่าน ในตารับยาโบราณใช้ ใบมะขามต้ มกับหัวหอมแดง
ส่ วนที่ใช้ : ใบ โกรกศีรษะเด็กแก้ เป็ นหวัดคัดจมูก หรื อใช้ อาบ อบตัวคนไข้ ช่วยขับ
เหงื่อและหายใจคล่ อง
 เปลือกต้น มีรสฝาดเมาร้ อน แก้เหงือกบวม ต้ มหรื อฝนกับนา้ ปูนใสทา
รั กษาบาดแผลเรื อ้ รั ง ใช้ ชะล้างบาดแผล
 เนื้อในฝัก กัดเสมหะ แก้ท้องผูก กระหายนา้

มะกรดู Citrus hystrix DC. มะกรดู


ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ
ส่ วนที่ใช้ : ผิวของผล  ผิวของผล มีรสปร่ าหอมร้ อน ใช้ ขับลมในลาไส้ ขับระดูและ
เป็ นส่ วนผสมของยาลม แก้ จุกเสียด
 ใบ มีรสปร่ าหอม แก้ ไอ อาเจียนเป็ นโลหิต ดับกลิ่นคาว แก้ ชา้
ใน
 ผลมะกรู ดที่คว้ านไส้ ออก นามหาหิงส์ ใส่ แทน แล้ วนาไปสุมไฟ
ให้กรอบ บดให้ละเอียด ใช้ เป็ นยา ขับลมและแก้ ปวดท้ องใน
เด็ก

5
27/03/57

หนาด Blumea balsamifera (L.)DC. หนาด


ส่วนที่ใช้และสรรพค ุณ
 ใบ แก้ อาการเกร็งของกล้ ามเนือ้ ห้ ามเลือด เจริญอาหาร แก้
โรคไขข้ ออักเสบ ขับเหงื่อ ขับเสมหะ แก้ ปวดท้อง ขับลมใน
ส่ วนที่ใช้ : ใบ ลาไส้ แก้ ธาตุพกิ าร เหน็บชา ริดสีดวงจมูก บารุ งผิวหนัง ทาให้
ชุ่มชื่น
 ใบและยอดอ่อน รสฉุน ขม สุขม ุ ใช้บารุ งกาลัง ทาให้การ
ไหลเวียนของเลือดดี ขับลม ขับพยาธิ ท้ องร่ วง ปวดท้ อง

สมนุ ไพรอืน่ ๆ สมนุ ไพรอืน่ ๆ

 สมุนไพรที่ใช้ ได้แก่
หญ้ าเอ็นยืด ใบผีเสือ้ น้ อย การบูร เกลือสะตุ
พิมเสน ว่ านนา้ ใบส้ มป่ อย ใบมะกรู ด ใบเตย ใบพลับพลึง ใบยู
คาลิปตัส

หญ้าเอ็นยืด, ผักกาดน้า เกลือ พิมเสน ว่านน้า ใบมะกร ูด ใบเตย

6
27/03/57

สมนุ ไพรอืน่ ๆ คนทีสอ Vitex trifolia L.

ส่ วนที่ใช้ : ใบ
ยูคาลิปตัส พลับพลึง ส้มป่อย

การบ ูร

ส่ วนที่ใช้ : ใบหรื อเนือ้ ไม้ การห่อล ูกประคบ

7
27/03/57

วิธีใช้ล ูกประคบ ข้อควรระวัง

 เตรี ยมลูกประคบ 2 ลูก  เมื่อใช้


ควรใช้เฉพาะราย
 ใช้ เครื่องนึ่งที่เหมาะสม  ในการใช้ ซา้ ให้นาลูกประคบเก็บในตู้เย็น ควรผึ่งให้แห้ ง ก่ อน

 ตัง้ นา้ ให้เดือด วางลูกประคบทัง้ 2 ลูก


เก็บในตู้เย็น
 ควรใช้ ซา้ ไม่เกิน 3 ครั ้ง
 นึ่งลูกประคบให้ ร้อน ประมาณ 15-20 นาที
 ลูกประคบสด เมื่อเตรี ยมขึน ้ แล้ ว ควรใช้ใหม่ๆ หากเตรียมแล้ ว
 จัดท่ าของผู้ป่วยให้เหมาะสม ในท่ าที่ผ่อนคลาย
เก็บในตู้เย็น หากเก็บในอุณหภูมทิ ่ไี ม่ เหมาะสม อาจเกิดการ
 ก่ อนประคบ ควรทดสอบว่ าร้ อนเกินไปหรื อไม่
เจริญของเชือ้ ราได้
 โดยแตะหลังมือ อุณหภูมิ ควรประมาณ 42 องศาเซลเซียส

หากเป็นล ูกประคบจากสมุนไพรแห้ง ต้องพรมด้วยน้าให้ชมุ่ จึงนาไปนึ่ง

ข้อควรระวัง
อย่ าใช้ ลูกประคบที่ร้อนเกินไป
ระมัดระวังในการประคบร้ อนใน
ผู้สูงอายุและเด็ก เนื่องจากผิวหนังบอบบาง ขอบค ุณค่ะ
ผู้ป่วยอัมพาต เบาหวาน เนื่องจากการตอบสนองต่ อความ
ร้ อนช้ า อาจทาให้ผิวหนังไหม้ พองได้
ในกรณี อักเสบ บวม ไม่ ควรประคบในช่ วง 24 ชั่วโมงแรก ให้
ประคบเย็นก่ อน
หลังประคบ อาจใช้นา้ มันนวดผิวตาม เพื่อไม่ให้ผิวแห้ ง
ไม่ ควรรีบอาบนา้ ทันที ร่ างกายจะปรับตัวไม่ทัน

You might also like