You are on page 1of 91

คู่มือสิงห์ดำ� 68

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

“ก้าวแรกสู่คณะรัฐศาสตร์
ก้าวต่อไปสู่การเสียสละเพื่อส่วนรวม”

คู่มือสิงห์ดำ� 68 1
2 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 3
สาส์นคณบดี คำ�นิยม
ผมขอต้อนรับนิสิตใหม่ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ หรือ “สิงห์ดำ� รุ่น 68” Black is Devotion
ทุกคน และขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งที่นิสิตใหม่ทุกคนประสบความสำ�เร็จในการ
ในปีการศึกษา 2558 นี้ คณะรัฐศาสตร์ของเราได้มีโอกาสต้อนรับน้องๆ
ได้รับคัดเลือกเข้าสู่สถานศึกษาอันมีชื่อเสียงและทรงเกียรติแห่งนี้
สิงห์ดำ�รุ่นที่ 68 เข้ามาสู่ชุมชนของเราอย่างอบอุ่นเฉกเช่นในช่วงหลายสิบปีที่
ผมขอให้นสิ ติ ใหม่ทกุ คนตระหนักว่า ณ ก้าวแรกทีเ่ ข้ามาสูส่ งิ หสถานแห่งนี้ ผ่านมา แต่ไม่ว่าจะเป็นสิงห์ดำ�รุ่นไหนๆ อัตลักษณ์สำ�คัญประการหนึ่งของการเป็น
ทุกคนจะเป็นส่วนหนึ่งของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ตลอดไป ดังนั้น ทุกคนจะต้อง สิงห์ดำ� ที่ทำ�ให้เราเป็นสิงห์ที่แตกต่างจากสิงห์อื่นๆ ก็คือ “สีดำ�”
มีหน้าที่ทั้งในด้านของการแบกรับและ ช่วยจรรโลงชื่อเสียงของความเป็นสิงห์ดำ�
สีดำ�นั้นจะหมายถึงการเสียสละ การอุทิศตน การยึดมั่น หรือความ
ให้ดยี ง่ิ ขึน้ ต่อไป สิง่ ทีท่ กุ คนทำ�ในด้านดี ก็จะเป็นคุณความดีให้กบั คณะรัฐศาศตร์ จุฬาฯ
ศรัทธาก็ได้
แต่ถ้าทำ�ในด้านลบก็จะส่งผลเสียตามไปด้วย

ผมอยากให้สิงห์ดำ�รุ่นที่กำ�ลังก้าวเข้ามาใหม่นี้ได้เห็นถึงความสำ�คัญของ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มุง่ เน้นการสร้างบัณฑิตทีม่ คี ณ
ุ ภาพ มีความสามารถ
อัตลักษณ์และอุดมคติที่ว่านี้ ซึ่งได้รับการสืบสานมาจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน ใน
ทั้งในด้านการศึกษาและในการทำ�กิจกรรมต่างๆ นิสิตคณะรัฐศาสตร์ ควรมีความรู้
ความเป็นจริงแล้ว การสืบสานธรรมเนียมหรือข้อยึดโยงทางสังคมใดๆ จะไม่มี
ในภาพรวมในระดับโลก โดยรูเ้ ท่าทันกระแสหรือสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดภายใต้โลกาภิวตั น์
ความสำ�คัญเลย หากว่าธรรมเนียมดังกล่าวนั้นไม่สอดรับกับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง
(Globalization) แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องรู้และเท่าทัน ต่อรากเหง้าของตน กล่าว
ไป ทว่า ธรรมเนียมที่ว่า Black is Devotion หรือสีดำ�หมายถึงการเสียสละนั้น นับ
คือรู้ถึงความเป็นไทยทั้งในระดับเมืองหลวง เมืองต่างๆ และในชนบท ในลักษณะ
วันยิ่งทวีความสำ�คัญและมีความจำ�เป็นอย่างมากในสังคมที่นับวันการอยู่ร่วมกัน
ของท้องถิ่นภิวัตน์ (Localization)
อย่างเคารพเป็นเรื่องที่ยากเต็มที
ทั้งนี้และทั้งนั้น เพื่อนำ�เอาความรู้ความสามารถ เพื่อพัฒนา “ปัญญา”
ผมได้แต่หวังว่า การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมรัฐศาสตร์ในวันนี้
และสร้างประโยชนให้แก่สังคมไทยและสังคมโลก ดังนั้น คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการเสริมสร้างให้สิงห์ดำ� 68 เติบโตขึ้นเป็นผู้ฝึกปรนทาง
จึงมีความคาดหวังว่าบัณฑิตของคณะรัฐศาสตร์ นอกจากจะประสบความสำ�เร็จ
ความคิดและการปฏิบัติ ที่มีความยึดมั่นในการเสียสละ การเคารพความแตกต่าง
ในการเป็นพลเมืองสากลของโลกแล้ว ยังมุง่ หวังด้วยว่าเมือ่ นิสติ คณะรัฐศาสตร์ประสบ
หลากหลายของเพื่อนมนุษย์ และการนำ�ตัวเองไปสู่การเป็นผู้นำ�ของการเปลี่ยน
ความสำ�เร็จแล้ว จะเหลียวมองมาข้างหลังเพือ่ ช่วยเหลือผูท้ ด่ี อ้ ยโอกาสกว่า ในลักษณะ
แปลงสังคมอย่างเข้าใจต่อไป
ของการมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อสังคมส่วนรวม อันนำ�ไป
สู่การพัฒนาประเทศและสังคมโลกอย่างยั่งยืน ขอต้อนรับ และเป็นกำ�ลังใจสำ�หรับการก้าวเข้าสู่คณะรัฐศาสตร์ และ
การเป็นส่วนหนึ่งของการเสียสละเพื่อส่วนรวมต่อไปครับ

รองศาสตราจารย์ ดร.เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา


คณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกริช สังขมณี
รองคณบดี ด้านกิจการนิสิตและด้านบริการชุมชนและสังคม
4 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 5
สิ่งที่ป๋าอยากเห็น คำ�นำ�
โอวาทของ ศาสตราจารย์เกษม อุทยานิน
อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ทุกคนทุกรุน่ รักใคร่กนั อย่างญาติมติ ร ชัว่ ดีถห่ ี า่ งแม้ถกู รีไทร์ไปก็เป็นพวกเดียวกัน ขอแสดงความยินดีแ ละขอตอนรับ “สิงห์ด�ำ 68” สู่คณะรัฐศาสตร์
เว้นแต่ผู้ที่แสดงให้ปรากฏว่าไม่อยากเป็นลูกรัฐศาสตร์ต่อไปนั่นสุดแต่ใจจะรับฟังถึง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ตั้งใจเรียน คือเรียนให้รู้ไม่ใช่จำ�ใจเรียน ทั้งนี้เพื่อรับใช้บ้านเมืองของเรา
ในวันข้างหน้าในทางของตน
หนังสือคู่มือสิงห์ดำ� 68 เล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้กับนิสิตชั้นปี
3. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ รักเกียรติมากกว่าเงินทองหรือสิ่งแทนค่าทางเศรษฐกิจอื่นๆ 1 ปีการศึกษา 2558 ได้ใช้ชีวิตอยู่ในรั้วคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ เป็นคนซื่อสัตย์สุจริตรักษาชื่อเสียงและพอใจในผลที่ได้รับจากความ โดยหนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาพื้นฐานที่จำ�เป็นต่อนิสิต เพื่อให้นิสิตได้ศึกษา
ซื่อตรง แม้เล็กน้อยต่ำ�ต้อยเพียงใด และนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เนื้อหาในเล่มนี้ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ส่วนที่
5. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ รู้จักใช้ความคิดของตัวไม่ใช่เป็นคนโลเล สุดแต่จะถูกจูงทางใด หนึ่งการแนะนำ�ภาพรวมของคณะรัฐศาสตร์ ส่วนที่สองแนะนำ�ด้านวิชาการ ซึ่งเป็น
6. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ เป็นคนรักสงบไม่ก่อกวนหรือยุ่งกับเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับวัยเรียน ส่วนสำ�คัญหลักของหนังสือคู่มือเล่มนี้ และส่วนที่สามเป็นส่วนเพิ่มเติมที่จะทำ�ให้
7. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ เป็นผู้ดีมีมารยาท สำ�รวมกาย วาจา ใจ ตามประเพณีที่ดีของไทยเสมอ นิสิตชั้นปี 1 ได้รู้จักคณะรัฐศาสตร์มากขึ้น
8. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ มีใจเป็นธรรม พิเคราะห์เรื่องโดยถี่ถ้วน ด้วยเหตุผลไม่ใช่เป็นคนเจ้า
อารมณ์หรือแก่อคติ หนังสือคู่มือสิงห์ดำ� 68 เล่มนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จะช่วยแนะแนวทาง
9. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ไม่เหยียดหยามคน และขณะเดียวกัน ถ้าจะเชิดชูบคุ คลใดก็เชิดชูดว้ ยคุณธรรม ให้กับนิสิตชั้นปี 1 ทุกคนได้ใช้ชีวิตและก้าวเดินต่อไปอย่างมั่นใจในรั้วมหาวิทยาลัย
ความดี ทั้งสำ�เหนียกว่า ผู้ที่เราเชิดชูนั้น ก็ยังเป็นปุถุชน ย่อมมีถูกและมีผิดได้วันหนึ่ง แห่งนี้ อย่างไรก็ตามหากนิสิตมีปัญหาหรืออุปสรรค ที่หนังสือเล่มนี้ไม่สามารถ
10. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ เป็นคนมีหลักไม่ใช่นักแสวงโชคลาภ ชี้แนะแนวทางให้ได้ ขอให้นิสิตคิดถึง คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิตรุ่นพี่ๆ ใน
11. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ เป็นผู้เข็มแข็ง มีธรรมะ และสติ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งทุกคนพร้อมและยินดีช่วยแก้ปัญหา
12. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ไม่พลอยนิยมชมชื่นในคนที่มีแต่บุญวาสนาและไม่ได้สร้างหรือเคยสร้าง ไปพร้อมกัน
ส่วนรวมประการใด
13. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ช่วยกล่อมเกลาคนชั่วให้เป็นคนดีด้วยวิถีและอุบายอันชอบ ขอเป็นกำ�ลังให้ “สิงห์ดำ� 68” ทุกคน ได้ก้าวเดินต่อไปสู่เส้นชัยที่ทุกคน
14. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่โลภเฉพาะตนหรือพวกตน ปรารถนา
15. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ไม่หยุดในการศึกษาหาความรู้
16. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ชังสิง่ ลวงบูชาของจริง และสำ�นึกเสมอว่าของปลอมก็เป็นของปลอม คณะผู้จัดทำ�
จะเป็นทั้งของปลอมและจริงพร้อมกันไม่ได้
17. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ สร้างตัวเองด้วยวิชาความรู้ การเอออวยด้วยความประจบสอพลอ เป็น
ภัยอันมหันต์ต่อสังคม
18. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ กล้าผจญต่อความจริง ความจริงย่อมไม่ตายถึงจะผิดจะถูกอย่างไร
19. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ชนะใจคนด้วยคุณธรรม ความดีไม่ใช่ด้วยอำ�นาจหรือวาสนา
20. ป๋าอยากเห็น ลูกรัฐศาสตร์ ทุกคนเมื่อเจริญรุ่งโรจน์แล้วเป็นคนเสมอต้นเสมอปลาย ไม่ลืมตัว
6 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 7
สารบัญ
รู้จักคณะรัฐศาสตร์ คณาจารย์ คณะรัฐศาสตร์ แผนการศึกษา ปี 1 - ปี 4 139 13. สนามบาสเกตบอล
10 ประวัติคณะรัฐศาสตร์ 38 ภาควิชาการปกครอง 95 ภาควิชาการปกครอง 140 14. โรงอาหาร
13 ทำ�เนียบผู้บริหารคณะรัฐศาสตร์ 42 ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 97 ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 142 15. ก๋วยเตี๋ยวอดทน
14 เสาหลักของแผ่นดิน 46 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 99 ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 143 16. ลานโจก้า
16 เอกลักษณ์คณะรัฐศาสตร์์ 49 ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ 102 ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ 144 17. ลานเฟรชชี่และลานอื่นๆ
145 18. ห้องเชียร์และห้องชมรม
หน่วยงานภายในคณะรัฐศาสตร์ 55 ทำ�ไมต้องสิงห์ดำ�? ระเบียบการแต่งกาย 146 19. Cafe’ Amazon
18 ฝ่ายวิชาการ 104 x UNIFORM x 147 20. ร้านพี่ลี่
18 - กลุ่มงานบริการการศึกษา วิชาการ (All About Academics) 116 ระเบียบการแต่งกาย
20 - กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ 56 บทนำ� 148 พี่สิงห์ น้องเสือ ชาติเชื้อรัฐศาสตร์
22 - กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนากิจการนิสิต 58 01. การลงทะเบียนเรียน ของดีคณะรัฐศาสตร์ 154 1 YEAR IN POLSCI
24 - กลุ่มงานบริการชุมชนและสังคม 62 02. เกรด 119 1. อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรกั ษ์ (ตึก 1) 157 ชมรมรัฐศาสตร์ ฟังทางนี้!
26 ฝ่ายบริหาร 63 03. รหัสวิชา 122 2. อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) 160 68 เรื่องน่ารู้ คณะรัฐศาสตร์
26 - กลุ่มบริหารงานทั่วไป 65 04. วิชาเรียนและหน่วยกิต 123 3. อาคารเกษม อุทยานิน (ตึก 3)
28 - กลุ่มงานบริหารการคลังและพัสดุ 66 05. หมวดการศึกษาทั่วไป 125 4. ห้องประชุมเกษม สุวรรณกุล รอบรั้วจุฬาฯ
30 งานที่ขึ้นตรงกับผู้บริหาร 69 06. วิชาบังคับคณะ 126 5. ห้องสมุดรูฟสุ ดี สมิธ และชำ�นาญ ยุวบูรณ์ 169 สถานที่ต่างๆ ที่น่าสนใจ
30 - ศูนย์สารสนเทศทางสังคมศาสตร์ 71 07. วิชาบังคับสาขา 130 6. ห้องคอมพิวเตอร์ 170 แผนที่จุฬาฯ
32 - ศูนย์คอมพิวเตอร์ คณะรัฐศาสตร์ 75 08. วิชาโท (เพียว ver.) 131 7. ชั้น M อาคารเกษม อุทยานิน 172 CU POP BUS
34 สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ 82 09. วิชาโท (นอก ver.) 132 8. หลวงพ่อสิงห์ดำ� 174 CU BIKE
91 10. วิชาเลือกเสรี 134 9. ต้นไทรและศาล 175 บัตรนิสิต
92 11. ทำ�ไมต้องวางแผนการเรียน 135 10. ดาดฟ้า (ลานจอดรถ)
94 12. ส่งท้าย 137 11. ลิฟต์ตึก 3 และบันไดหนีไฟ 178 แผนผังคณะรัฐศาสตร์
138 12. สนามฟุตบอล

8 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 9
โรงเรียนและทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระ-
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” ก่อนจะสถาปนาโรงเรียนขึ้นเป็น “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ซึ่งเมื่อแรกตั้ง
ได้ แบ่งออกเป็น 4 คณะ คือ คณะแพทยศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะอักษรศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ และคณะรัฐประศาสนศาสตร์

ประวัติคณะรัฐศาสตร์

2
ครั้นในปี พ.ศ.2472 หลังจากได้มีการประกาศ
ใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนแล้ว ความ
นิยมในการเข้าศึกษาในคณะรัฐประศาสนศาสตร์ ได้ลด
น้อยลง ในปีดังกล่าวนี้มีนักเรียนที่กำ�ลังศึกษาอยู่เพียง 35
คน เท่านัน้ เพราะการเรียนจบจากคณะนีจ้ ะเข้ารับราชการ
ได้ตำ�แหน่งชั้นราชบุรุษ ซึ่งจบมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก็ ได้
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับว่าเป็นสถาบันการศึกษา เหมือนกัน การเรียนต่ออีก 3 ปีจึงถือว่าไม่คุ้ม กระทรวง
ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย ถ้าจะนับเวลาเริ่มก่อตั้งแต่สมัยเริ่มแรก ธรรมการจึงได้นำ�ความทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จ
เมื่อ พ.ศ.2442 จนถึงปัจจุบัน สถาบันนี้มีอายุยืนยาวนานมาถึง 116 ปี พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอพระบรมราชานุญาตให้เลิก
คณะนี้เสีย ซึ่งท่านก็ได้มีพระบรมราชานุญาต

1
ทว่าหลังจากยกเลิกคณะนี้ไปแล้ว มีข้าราชการฝ่ายปกครองร้องทุกข์ว่าควรมีการสอนวิชา
คณะรัฐศาสตร์เริ่มก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2442 (ร.ศ.118) โดยพระบาทสมเด็จ
นี้ต่อ เพราะขาดนักปกครองที่มีคุณภาพจากคณะรัฐประศาสนศาสตร์ จึงมีการประชุมจากหน่วยงาน
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นผู้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มจัดตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ขึ้น
ต่างๆ และประกาศให้มีการสอนวิชานี้ต่อไป มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรและวิธีการรับนิสิต เปลี่ยน
โดยพระราชทานนามว่า “โรงเรียนสำ�หรับฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน” หลังจากเข้าศึกษาก็ต้อง
ชื่อคณะรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นแผนกวิชาข้าราชการพลเรือน ขึ้นตรงต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ออกฝึกราชการตามกระทรวงต่างๆ จึงจะถือว่านักเรียนผู้นั้นสำ�เร็จวิชาจากสถานศึกษาข้าราชการ
พลเรือนโดยสมบูรณ์ โรงเรียนนี้ได้เจริญขึ้นเป็นลำ�ดับต่อมาจึงทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาต ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2476 ได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
ให้นักเรียนในโรงเรียนนี้ถวายตัวเป็นมหาดเล็ก มีตำ�แหน่งเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทโดยใกล้ชิด ธรรมศาสตร์และการเมือง พ.ศ.2476 ให้โอนคณะนิตศิ าสตร์และรัฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไปขึน้ ต่อมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์และการเมือง เป็นอันว่าคณะรัฐศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้
ในปี พ.ศ.2445 (ร.ศ.121) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนนาม
สิ้นสภาพลงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
โรงเรียนฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือนเป็น “โรงเรียนมหาดเล็ก” โดยทีท่ รงพระราชดำ�ริเห็นว่านักเรียน
โรงเรียนนี้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กทั้งสิ้น จึงควรให้มีนามโรงเรียนสมแก่นักเรียนที่ได้เป็นมหาดเล็ก
3
ต่อมาในปี พ.ศ.2543 (ร.ศ.129) ในสมัย ต่อมาในปี พ.ศ.2491 รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำ�คัญ ของการบริหารประเทศด้วยบุคคลที่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราช- มีความรู้ความชำ�นาญในการปกครองและการบริหารให้มีจำ�นวนเพียงพอ จึงได้จัดตั้งคณะรัฐศาสตร์
ดำ�ริเห็นว่าการที่จะฝึกนักเรียนในโรงเรียนมหาดเล็ก ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ได้ยุบเลิกไปเป็นเวลาถึง 15 ปีเศษ
ให้ อ อกมารั บ ราชการในกระทรวงมหาดไทยแต่
คณะรัฐศาสตร์พัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน บุกเบิกความเป็นสมัยใหม่ทางวิชาการ ไม่เฉพาะ
กระทรวงเดียวนั้นไม่เพียงพอ ควรที่จะขยายการศึกษา
ในสาขารัฐศาสตร์ แต่ในสาขาสังคมศาสตร์อื่นๆ ด้วย มีวิชาด้านที่เปิดสอนอยู่หลายสาขา คือ การ
ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เพื่อส่งผู้ที่สำ�เร็จการศึกษาออกไป
ปกครอง การทูต รัฐประศาสนศาสตร์ การคลังและเศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยาและ
รับราชการทุกกระทรวง ทบวง กรมจึงทรงพระกรุณา
มานุษยวิทยา และประชากรศาสตร์ จนกระทั่งบางสาขาพัฒนามากขึ้น จึงจำ�เป็นต้องแยกเป็นคณะ
โปรดเกล้าฯ พระราชทานเงินให้เป็นทุนสำ�หรับจัดการ

10 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 11
ต่างหาก คือเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ และคณะนิ ติศ าสตร์
นอกจากนั้น สถาบันประชากรศาสตร์ สถาบั นวิ จัยสั ง คม ทำ�เนียบผู้บริหาร
สถาบันความมั่นคงและนานาชาติ สถาบันพัฒนานโยบายและ
การจัดการ และสถาบันเอเชียศึกษา ก็ได้ก่อก�ำเนิดขึ้นจากคณะ
รัฐศาสตร์อีกด้วย
คณะรัฐศาสตร์
4
ปัจจุบัน คณะรัฐศาสตร์ จัดการศึกษาเน้นหนักใน 4
ภาควิชา ระดับปริญญาตรี ได้แก่ ภาควิชาปกครอง ภาควิชา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษย-
วิทยา และภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ และยังจัดหลักสูตร
ระดับมหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตด้วย
ตลอดระยะเวลา 67 ปี ตั้งแต่มีการจัดตั้งคณะรัฐศาสตร์ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะรั ฐ ศาสตร์ ไ ด้ พั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงควบคู ่ กั บ สั ง คมไทยที่ มี ก ารปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีการถ่ายทอดความรู้ให้แก่สังคมในรูปของ ศ. ม.จ. รัชฎาภิเศก โสณกุล ศ. ดร. มาลัย หุวะนันทน์ ศ. เกษม อุทยานิน ศ. ดร. เกษม สุวรรณกุล
พ.ศ. 2491 - 2493 พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2493 - 2513 พ.ศ. 2513 - 2517
งานวิจัย ต�ำรา และบริการชุมชน นิสิตและคณาจารย์ ได้เข้าไปมีบทบาทส�ำคัญในเหตุการณ์และการ
เปลี่ยนแปลงส�ำคัญของประเทศมาโดยตลอด นอกจากนี้บัณฑิตที่ส�ำเร็จการศึกษาออกไปจ�ำนวนมาก
ก็ได้มีบทบาทในการบริหารและพัฒนาประเทศผ่านการท�ำงานในฐานะผู้น�ำทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
และองค์กรอิสระต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้ประเทศมีความพร้อมที่จะก้าวไปสู่สังคมโลกยุคใหม่ท่ามกลาง
พลวัตการเปลี่ยนแปลงสูง ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมถึงมีส่วนส�ำคัญในการสร้าง
ส�ำนึกสาธารณะและร่วมสืบทอดการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยให้ยั่งยืนสืบต่อไป
ปัจจุบัน คณะรัฐศาสตร์ มีอาคารเรียนและอาคารท�ำการ
4 อาคารด้วยกัน คือ อาคารส�ำราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) อาคาร
วรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี - ศ. ดร. กระมล ทองธรรมชาติ ศ. จรูญ สุภาพ ศ. ดร. สุจิต บุญบงการ ศ. ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำ�ชู
พ.ศ. 2517 - 2525 และ พ.ศ. 2525 - 2529 พ.ศ. 2533 - 2541 พ.ศ. 2541 - 2545
ตึก 3) อาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ และในส่วนของตึกกิจกรรม พ.ศ. 2529 - 2533

ส�ำหรับนิสิต อยู่บริเวณหลังอาคารส�ำราญราษฎร์บริรักษ์

ศ. ดร. อมรา พงศาพิชญ์ ศ. ดร. จรัส สุวรรณมาลา ศ. ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ รศ. ดร. เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา
พ.ศ. 2545 - 2549 พ.ศ. 2549 - 2553 พ.ศ. 2553 - 2557 พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน

12 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 13
เสาหลักของแผ่นดิน
วิสัยทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เพื่อนำ�ไปสู่ผลสัมฤทธิ์ทั้ง 5 ประการดังกล่าว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำ�หนด
ยุทธศาสตร์ไว้ 6 ด้าน ได้แก่
1) “ก้าวไกล” เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในระดับโลก มีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ
อันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ โดยการผลิตบัณฑิต ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการที่เป็นที่
ยอมรับในระดับนานาชาติเป็นประโยชน์ต่อสังคมไทยและสังคมโลก
2) “ยกย่อง” เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน รับผิดชอบและนำ�ความรู้สู่สังคม ทั้งในระดับชาติ
และระดับท้องถิ่น โดยบูรณาการการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัยและกิจการนิสิต
เพื่อผลิตบัณฑิตที่ทรงคุณค่าเป็นที่พึงปรารถนาของสังคมไทย อาเซียน และสังคมโลก ตลอดจน
สร้างและนำ�เสนอผลงานทางวิชาการที่สามารถชี้น�ำ การพัฒนาและการแก้ปัญหาของสังคมไทยอย่าง
บูรณาการ สมดุล และยั่งยืน
3) “คล่องตัว” เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ มีธรรมาภิบาลควบคู่ไปกับความเป็นเลิศทาง
วิชาการและเสรีภาพทางวิชาการ สืบสานความเป็นไทย ด้วยการบริหารจัดการองค์กร (ระบบงาน
บุคคล เทคโนโลยีสารสนเทศ) ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้และบริหาร
งานโดยบุคลากรมีส่วนร่วม
4) “มั่นคง” เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการบริหารทรัพย์สินทั้งทางกายภาพ การเงินและ
ทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ สร้างความผูกพัน
และนำ�ศักยภาพของศิษย์เก่ามาร่วมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความมั่นคงและ
ข้อความข้างต้น เป็น “วิสัยทัศน์” ที่ชาวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใช้กำ�หนดทิศทางการ ยั่งยืน เป็นเลิศทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
ดำ�เนินงานของมหาวิทยาลัย ระหว่างปี 2555 - 2559 ซึง่ เป็นการสืบสานพระราชปณิธานของพระบาท
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้เป็น “มหาวิทยาลัยของ 5) “เกื้อกูล” เป็นมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา เกื้อกูล
แผ่นดิน” โดยทำ�ให้สังคมมั่นใจว่า “เมื่อใดก็ตามที่สังคมมีปัญหา ประเทศชาติต้องการความช่วยเหลือ นิสิต บุคลากรผู้ปฏิบัติงานที่ขาดแคลน ประสบความเดือดร้อนอย่างเพียงพอ ทันท่วงทีและต่อเนื่อง
จุฬาฯของเราจะสวมบทบาทเชิงรุก เพื่อร่วมแก้ปัญหาต่างๆ ทุกคนจะนึกถึงจุฬาฯ เป็นอันดับแรกๆ รวมทั้งการมีส่วนร่วมหรือมีบทบาทสำ�คัญในการสนับสนุนชุมชน (University Social Responsibil-
… จุฬาฯ ต้องเป็น “เรือธง” ของบ้านนี้เมืองนี้ มีบทบาทชี้นำ� รวมทั้งเตือนสติสังคมให้เกิดความถูก ity) ให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
ต้องและเป็นธรรม” การบรรลุวิสัยทัศน์ของจุฬาฯ เมื่อครบหนึ่งร้อยปีแห่งการสถาปนานี้ ในระหว่าง 6) “เป็นสุข” เป็นบ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง โดยพัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัย
ปีพ.ศ.2555 - 2559 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังคงมีความปรารถนาที่ต่อเนื่องจากยุทธศาสตร์ที่ แห่งความยั่งยืน (Sustainable University) มุ่งอนุรักษ์พลังงานและสร้างสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่
ผ่านมา คือ “เสาหลักของแผ่นดิน” โดยมีผลสัมฤทธิ์สำ�คัญ 5 ประการ คือ 1) เป็นมหาวิทยาลัยชั้น น่าท�ำงาน มีความปลอดภัย รวมทั้งสร้างความผูกพันของบุคลากร ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มี
นำ�ที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับโลก 2) เป็นองค์กรแห่งปัญญาที่มีความเป็นเลิศด้านการวิจัย ความเจริญก้าวหน้าและมีความมั่นคงในชีวิต
3) ผลิตบัณฑิตที่เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของประเทศและของโลก 4) เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการ
บริหารจัดการที่คล่องตัว กระชับ รวดเร็ว และมีเสถียรภาพทางการเงิน 5) เป็นบ้านอันอบอุ่นของคน
ดีและคนเก่ง และมีความรับผิดชอบต่อสังคม

14 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 15
“คณะรัฐศาสตร์ เป็นเสาหลัก คณะผู้บริหาร
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ด้านรัฐศาสตร์ของแผ่นดิน”
เอกลักษณ์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เอกลักษณ์ดังกล่าวถือกำ�หนดตามมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 700 วันที่ 26


มิถุนายน 2551 ซึ่งมีมติให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำ�หนดเอกลักษณ์ของตนเองเป็น “จุฬาฯ เป็น
เสาหลักของแผ่นดิน” ที่มุ่งมั่นผลสัมฤทธิ์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในระดับโลก
2) เป็นปัญญาแห่งแผ่นดิน 3) เป็นมหาวิทยาลัยที่มีระบบการบริหารจัดการที่คล่องตัว กระชับ และ
รวดเร็ว 4) เป็นบ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง

วิสัยทัศน์ของคณะรัฐศาสตร์ รศ.ดร.เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา


คณบดี
“เป็นเสาหลักของแผ่นดินทางรัฐศาสตร์ ผลิตบุคลากรขั้นนำ�เพื่อบ้านเมืองและนานาชาติ
เป็นองค์การแห่งความก้าวหน้า ความสุข และความรับผิดของต่อสังคม”

พันธกิจของคณะรัฐศาสตร์
1) ผลิตบัณฑิตรัฐศาสตร์ที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติ และเหมาะสมกับ
สังคม สามารถครองตนได้อย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำ�สังคม
2) บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์ เพื่อประโยชน์ของสังคมไทย
3) ถ่ายโอนองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์แก่สาธารณะเพื่อพัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่าง รศ.วันชัย มีชาติ รศ.ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำ�นวย รศ.ดร.จุลนี เทียนไทย
รองคณบดี รองคณบดี รองคณบดี
ยั่งยืนในประชาคมโลก
4) ส่งเสริมจริยธรรมและวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ประเด็นยุทธศาสตร์
1) เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของคณะรัฐศาสตร์ในการสร้างชุมชนวิชาการ โดยเฉพาะ
ด้านงานวิจัยและบริการทางวิชาการให้เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ
2) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองระดับชาติและนานาชาติ
3) ปรับปรุงการบริหารให้คล่องตัว มีประสิทธิภาพสูง เป็นองค์การที่มีความสุขและเป็นตัวอย่าง ผศ.ดร.ปกรณ์ ศิริประกอบ ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี
ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม รองคณบดี รองคณบดี

16 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 17
ฝ่ายวิชาการ
กลุ่มงานบริการการศึกษา ข้อปฏิบัติของนิสิตในการสอบ
1) ผู้เข้าสอบต้องเข้าห้องสอบทันทีเมื่อมีสัญญาณเริ่มการสอบ
1 - กรณีที่ผู้เข้าสอบมาถึงห้องสอบสายเกินกว่า 15 นาที แต่ไม่เกิน 30 นาที จะเข้าสอบได้
ต่อเมือ่ ได้กรอกข้อความและลงลายมือชือ่ ในแบบพิมพ์อนุญาตให้เข้าสอบเสียก่อน และไม่อนุญาต
2 3 4 ให้ต่อเวลาสอบ
- กรณีที่ผู้เข้าสอบมาถึงห้องสอบสายเกินกว่า 30 นาที จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าห้องสอบ
โดยเด็ดขาดและให้ไปรายงานตัวต่อประธานคณะกรรมการสอบประจำ�ปีการศึกษาทันที พร้อม
ชี้แจงเหตุผลประกอบเป็นลายลักษณ์อักษร
2) ห้ามผู้เข้าสอบนำ�เอกสาร หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการสอนในรายวิชาเข้าห้องสอบ (เว้นแต่ผู้
สอนจะได้อนุญาตไว้ในข้อสอบของรายวิชานั้น)
5 6 3) ผู้เข้าสอบต้องแสดงบัตรประจำ�ตัวนิสิตให้เจ้าหน้าที่ควบคุมการสอบตรวจทุกครั้ง
1) รศ.ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำ�นวย รองคณบดี - กรณีนิสิตไม่มีบัตรประจำ�ตัวนิสิตมาเข้าสอบ ให้ปฏิบัติดังนี้
2) นางสุรีย์ สุทธาโรจน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ
3) น.ส.คัทรียา เกาจารี หัวหน้างานบริการการศึกษา/นายทะเบียน
• กรณีที่นิสิตลืมนำ�บัตรประจำ�ตัวมาเข้าสอบ หรือถูกตู้ ATM ยึดบัตร ให้นิสิตติดต่อหน่วยงาน
4) น.ส.เปรมฤดี มะโนรมณี เจ้าหน้าที่บริการการศึกษา ปฏิบัติงานปริญญาบัณฑิต ทะเบียนและประเมินผล คณะรัฐศาสตร์ เพื่อขอรับหนังสือรับรองความเป็นนิสิต
5) น.ส.อนงค์ กาญจนประภากุล เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านธุรการ • กรณีทน่ี สิ ติ ทำ�บัตรประจำ�ตัวนิสติ หาย ให้นสิ ติ ทำ�เรือ่ งขอบัตรประจำ�ตัวทีส่ �ำ นักงานการทะเบียน
6) นายเทวัญ พุ่มจันทร์ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านธุรการ และประมวลผล (จามจุรี 5 ชั้น 2) และติดต่อหน่วยทะเบียนและประเมินผล คณะรัฐศาสตร์
เพื่อขอใบอนุญาตให้นิสิตที่ไม่มีบัตรประจำ�ตัวนิสิตเข้าสอบได้ โดยต้องนำ�ใบเสร็จการชำ�ระเงิน
ค่าทำ�บัตรประจำ�ตัวนิสิตมาแสดงเป็นหลักฐานด้วย
กลุ่มงานบริการการศึกษา มีหน้าที่รับผิดชอบสนับสนุนงานวิชาการ ด้านการจัดการเรียน
การสอน หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร การประเมินผลการศึกษาของนิสิต งานทะเบียน สถิติ
งานทะเบียน สถิติและหนังสือรับรอง กิจกรรมนานาชาติ และงานอื่นที่ได้รับมอบหมายปัจจุบัน การลงโทษนิสิตที่กระทำ�ผิดระเบียบในการสอบ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ทำ�การเรียนการสอนในหลักสูตรระดับรัฐศาสตรบัณฑิต บัณฑิตศึกษา และ
ดุษฎีบัณฑิต จำ�นวน 13 หลักสูตร ดังนี้ การดำ�เนินการกรณีนิสิตกระทำ�ผิดเกี่ยวกับการศึกษา มี 2 ข้อ ตามระเบียบจุฬาฯ ว่าด้วยระบบ
การศึกษา สำ�หรับขั้นปริญญาตรี พ.ศ.2556 ข้อ 15 ดังนี้
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต 1 หลักสูตร ประกอบด้วย 2 สาขาวิชา ได้แก่
15.1 ทุจริต โทษขั้นต่ำ� ได้รับ F ในวิชาที่ทุจริตในการสอบและพักการศึกษา ไม่ต่ำ�กว่า 1 ภาคการ
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต - 1) สาขาวิชาการปกครอง, 2) สาขาวิชาความสัมพันธ์
ศึกษา และ อาจตัดคะแนนความประพฤติ ตามข้อบังคับจุฬาฯ ว่าด้วยวินัยนิสิตโทษขั้นสูง
ระหว่างประเทศ, 3) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ แบ่งเป็น 3 สายวิชา คือ สายบริหารงานบุคคล,
อาจให้พ้นสภาพการเป็นนิสิต
สายบริหารงานคลัง, สายนโยบายและการวางแผน, 4) สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
15.2 ถ้าเป็นความผิดอย่างอื่นที่ระบุไว้ในข้อปฏิบัติของนิสิตในการสอบ นิสิตจะถูกลงโทษตามควร
แบ่งเป็น 2 กลุ่มวิชา คือ กลุ่มวิชาพัฒนาสังคม, กลุ่มวิชาวิจัยทางสังคมศาสตร์
แก่ความผิดนั้น แต่จะต้องไม่เกินกว่าระดับโทษต่ำ�สุดของความผิดประเภททุจริตตามข้อ 1
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จำ�นวน 12 หลักสูตร แบ่งเป็น หลักสูตรภาษาไทย 6 (F และพักการศึกษา 1 ภาคการศึกษา)
หลักสูตร, หลักสูตรนานาชาติ 2 หลักสูตร และระดับดุษฎีบัณฑิต 4 หลักสูตร

18 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 19
ฝ่ายวิชาการ
กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ
ด้านการบริการวิชาการ
1) ประสานงานและดำ�เนินการการให้บริการวิชาการ เช่น การจัดทำ�โครงการบริการ
1 2
วิชาการด้านการวิจัย ด้านการจัดประชุม / สัมมนา / อบรม ทั้งโครงการที่ดำ�เนินการจัดโดยงาน
3 ด้านบริการวิชาการ และโครงการที่ดำ�เนินการภายใต้ศูนย์ / สถาบัน / และ/หรือภาควิชา โดยคำ�นึง
ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดต่างๆ ประกอบด้วย โครงการบริการวิชาการด้านวิจัย จากงบประมาณแหล่ง
ทุนภายนอน (หน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ), โครงการประชุม / สัมมนา / อบรมแบบเก็บ
ค่าลงทะเบียน, โครงการประชุม / สัมมนา / อบรมแบบว่าจ้าง, โครงการประชุม / สัมมนา / อบรม
แบบให้เปล่า (บริการวิชาการแก่ชุมชน/สังคม)
2) งานด้านการให้บริการวิชาการแก่สังคมในรูปแบบต่างๆ เช่น การเป็นกรรมการ
การให้ความรู้ทางวิชาการ การเชิญสอน บรรยาย
4 5
1) รศ.ดร.จุลนี เทียนไทย รองคณบดี การเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มของนิ สิ ต ปริ ญ ญาตรี ใ นด้ า นกิ จ กรรมทางวิ ช าการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
2) ผศ.ดร.ปกรณ์ ศิริประกอบ รองคณบดี
3) นางสุรีย์ สุทธาโรจน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ
กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ สามารถทำ�ได้ในรูปแบบดังต่อไปนี้
4) น.ส.นันทิยา มณีวงศ์ หัวหน้างานกลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ
งานส่งเสริมการวิจัย
5) นายธฤษณุ แสงจันทร์ เจ้าหน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ
คณะรัฐศาสตร์ทำ�งานวิชาการที่เกี่ยวกับการวิจัยโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
ทั้งจากแหล่งทุนภายนอนและแหล่งทุนภายในของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีนิสิตที่มีความ
สนใจเกี่ยวกับงานวิจัยสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้เช่น
กลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ เป็นกลุ่มงานย่อยภายในฝ่ายวิชาการ - การเป็นผู้ช่วยนักวิจัย โดยสามารถช่วยเขียนโครงร่างวิจัย รวบรวมเอกสารทางวิชาการ
คณะรัฐศาสตร์มีหน้าที่รับผิดชอบสนับสนุนงานวิชาการ ด้านงานส่งเสริมการวิจัย งานส่งเสริมบริการ ในแต่ละหัวข้อของโครงการวิจัยนั้นๆ เก็บข้อมูลภาคสนาม การคีย์ข้อมูลวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล
วิชาการและงานวิชาการอื่นที่ได้รับมอบหมาย เบือ้ งต้น ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั อาจารย์ ทีม่ าแสดงความจำ�นงในการเปิดรับสมัครนิสติ ปริญญาตรีมาเป็นผูช้ ว่ ย
ทั้งนี้ในการดำ�เนินการดังกล่าวกลุ่มงานส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการได้รับมอบ วิจัยในแต่ละปี
หมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังต่อไปนี้ - การจัดทำ�ฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับงานวิจยั เช่น ช่วยสร้างฐานข้อมูลให้แต่ละโครงการวิจยั
ฐานข้อมูลผลงานวิชาการ ฐานข้อมูลแหล่งทุนวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น
ด้านการวิจัย
1) ประสานงานวิจัยจากทุกแหล่งทุน ได้แก่ โครงการจากงบประมาณแผ่นดิน, โครงการ
จากงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย, โครงการจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก (หน่วยงานใน
ประเทศและต่างประเทศ), โครงการจากงบประมาณรายได้คณะรัฐศาสตร์ (โครงการวิจัย โครงการ
วิจัยเพื่อเขียนตำ�รา ทุนตีพิมพ์ และการให้รางวัลนักวิจัย)
2) รวบรวมข้อมูลผลงานทางวิชาการ / วิจยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ / เผยแพร่ในฐานข้อมูลต่างๆ
3) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่การให้ทุนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านวิจัยและบริการ
วิชาการเพื่อ กระตุ้นให้บุคลากรผลิตผลงานวิชาการ

20 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 21
ฝ่ายวิชาการ
ปีการศึกษา, 3) ทุนการศึกษาละ 3,000 บาท/คน สำ�หรับนิสิตที่มีผลการเรียนลำ�ดับที่ 1 ของภาค
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนากิจการนิสิต วิชาและได้คะแนนเป็นลำ�ดับที่ 1 ของชั้นปี, 4) ทุนการศึกษาละ 2,000 บาท/คน สำ�หรับนิสิตที่มีผล
การเรียนลำ�ดับที่ 1 ของภาควิชา ยกเว้นนิสิตที่มีผลการเรียนลำ�ดับที่ 1 ของชั้นปี, 5) ทุนการศึกษานี้
จะมอบให้นิสิตทุกสิ้นปีการศึกษา
1 คุณสมบัติของนิสิตทุนประเภทเรียนดีเด่น - 1) เป็นนิสิตที่กำ�ลังศึกษาอยู่และเป็น
ผู้มีความประพฤติดี, 2) เป็นผู้ที่ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมเป็นอันดับที่ 1 ของแต่ละภาควิชาและชั้น
2 3 4 ปี และมีคะแนนสะสมตั้งแต 3.60 ขึ้นไปเมื่อสิ้นปีการศึกษา, 3) เป็นผู้ที่ลงทะเบียนเรียนในภาค
การศึกษาปลายไม่ต่ำ�กว่า ๑๕ หน่วยกิต โดยไม่มีสัญลักษณ์ F หรือ W, 4) เป็นผู้ที่ไม่เคยถูกตัด
คะแนนความประพฤติ
บริการและสวัสดิการแก่นิสิตในส่วนของมหาวิทยาลัย
3) ประกันอุบัติเหตุกลุ่ม - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำ�ประกันชีวิตและอุบัติเหตุกลุ่ม
ให้กับนิสิตทุกชั้นปี
ขอบเขตของการคุ้มครอง - กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ 200,000 บาท/คน, กรณีเสียชีวติ จากเหตุอน่ื 10,000 บาท/คน, กรณีบาดเจ็บ
1) ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี รองคณบดี 3) น.ส.อุบลรัตน์ วรรณขาว หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนากิจการนิสิต ทัว่ ไป ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกินครัง้ ละ 30,000 บาท, กรณีบาดเจ็บจากการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย จะได้ตามจ่ายจริง ครั้งละไม่เกิน 40,000 บาท
2) นางสุรีย์ สุทธาโรจน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ 4) นางจันทร์จิรา ทองเจริญ เจ้าหน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนากิจการนิสิต โดยสามารถเข้ารับการรักษาได้ทง้ั โรงพยาบาลของรัฐและเอกชน ภายในวงเงินทีร่ ะบุ กรณีทพุ พลภาพเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำ�หนดในกรมธรรม์
วิธีการเบิกค่ารักษาพยาบาล (เนื่องจากอุบัติเหตุ) - นิสิตจะต้องยื่นหลักฐานดังต่อไปนี้ ภายในระยะเวลา 45 วัน นับจากวันที่เกิด
อุบตั เิ หตุครัง้ นัน้ ๆ : ใบรับรองแพทย์ของสถานพยาบาล, ใบเสร็จรับเงินตัวจริง ซึง่ ระบุคา่ ใช้จา่ ยต่างๆ ทีน่ สิ ติ ชำ�ระไป, สำ�เนาหน้าสมุดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์
กลุม่ งานส่งเสริมและพัฒนากิจการนิสติ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ
กิจกรรมนอกหลักสูตร บริการและสวัสดิการ สร้างความผูกพันระหว่างศิษย์เก่ากับศิษย์ปัจจุบัน 4) ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์) - นอกเหนือจากการจัดให้บริการ
รวมถึงการพัฒนา “ชีวิตผู้เรียน” ในรั้วมหาวิทยาลัยให้ตรงตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และ ดูแลสุขภาพนิสิต ณ ศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่อาคารจามจุรี 9 ชั้น 2
งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังจัดให้มีบริการด้านสุขภาพ เพื่อให้ครอบคลุมความต้องการและความ
จำ�เป็นในการรักษาพยาบาล โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายให้กับนิสิตทุกคน ด้วยการเข้าร่วมโครงการหลัก
บริการและสวัสดิการแก่นิสิตในส่วนของคณะรัฐศาสตร์ ประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
1) ทุนการศึกษา (ทุนขาดแคลน) - คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีนโยบายที่
จะสนับสนุนทุนการศึกษาแก่นิสิตระดับปริญญาตรีที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทา 5) โครงการจ้างนิสิตทำ�งานพิเศษ - มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือนิสิตในระดับปริญญา
ความเดือนร้อนของนิสิตให้สามารถเล่าเรียนจนสำ�เร็จการศึกษาตามมาตรฐานของหลักสูตร โดย บัณฑิต ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และประสงค์ที่จะหารายได้ช่วยเหลือตนเองหรือนิสิตที่ประสงค์ทำ�งาน
คณะรัฐศาสตร์ได้จดั สรรงบประมาณในลักษณะของทุนอุดหนุนการศึกษาประเภท ค่าเล่าเรียน ค่าทีพ่ กั พิเศษ เพื่อหาประสบการณ์ในการทำ�งาน เป็นการส่งเสริมให้นิสิตมีทัศนคติที่ดีในการพึ่งตนเอง
ค่าเดินทาง และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา อัตราค่าตอบแทนชั่วโมงละ 50 บาท โดยขอให้นิสิตที่ประสงค์จะทำ�งานพิเศษสามารถติดต่อดูราย
หลักการให้ทุนการศึกษา - 1) เป็นทุนการศึกษา ปีตอ่ ปี, 2) มุง่ เน้นให้กบั นิสติ ทีข่ าดแคลน ละเอียดและยื่นความจำ�นงสมัครทำ�งานพิเศษได้ที่ฝ่ายกิจการนิสิตคณะที่ตนสังกัด หรือที่สำ�นักงาน
ทุนทรัพย์ เพื่อสามารถใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยโดยไม่ลำ�บาก นิสิตสัมพันธ์ ตั้งแต่เปิดภาคการศึกษาเป็นต้นไป
คุณสมบัติของผู ้ ส มั ครขอรั บทุ น - 1) เป็ นนิ สิ ต ระดั บ ปริ ญญาตรี คณะรั ฐ ศาสตร์ 6) บริการด้านสุขภาวะสำ�หรับนิสิต - บริการให้การปรึกษาปัญหาโดยนักจิตวิทยาและ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2) เป็นผูท้ ศี่ กึ ษาเต็มเวลาตามหลักสูตรและต้องลงทะเบียนเรียนไม่น้อยกว่า จิตแพทย์ นิสิตที่ประสบปัญหาต่างๆ เช่นปัญหาด้านการเรียน การปรับตัว ครอบครัว บุคลิกภาพ
9 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษา, 3) เป็นนิสิตที่มีความเดือดร้อนด้านการเงินจนเป็นอุปสรรคต่อ เป็นต้น โดยเปิดให้บริการฝ่ายพัฒนานิสิต สำ�นักงานบริหารงานกิจการนิสิต อาคารจุลจักรพงษ์
การศึกษาเล่าเรียน, 4) มีความประพฤติดี โดยมีผู้รับรองความประพฤติ ชั้น 2 ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 17.00 น. ทั้งนี้ นิสิตสามารถนัดหมายวันและเวลาได้ที่
2) ทุนเรียนดี - เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมให้นสิ ติ มีความขยันหมัน่ เพียรและตัง้ ใจในการศึกษา หมายเลขโทรศัพท์ 02-218-7054, 02-218-7052 ต่อ 601-2 หรือปรึกษาปัญหาผ่านเว็บบอร์ด
หลักการให้ทุนการศึกษาประเภทเรียนดีเด่น - 1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมนิสิตที่มี แล้วนักจิตวิทยาจะมาตอบคำ�ถามของนิสิตเป็นประจำ� ตั้งแต่เวลา 10.00 - 02.00 น. (ทุกวัน) ทาง
ความขยันหมั่นเพียร และตั้งใจในการศึกษาจนมีผลการเรียนดีเด่น, 2) การให้ทุนการศึกษา 1 ครั้ง/ เว็บไซต์ http://www.sa.chula.ac.th/webboard/
22 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 23
ฝ่ายวิชาการ
กลุ่มงานบริการชุมชนและสังคม
1) ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�ำที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับโลก, 2) การที่สามารถผลิต
บัณฑิตที่เป็นพลเมืองของประเทศและของโลกที่มีคุณภาพ, 3) การเป็นองค์กรแห่งปัญญาที่มีความ
1 เป็นเลิศด้านการวิจัย สามารถสร้างเสริมและต่อยอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปสู่การ
2 3 พัฒนาอย่างยั่งยืน, 4) การเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมที่สามารถเป็นตัวอย่างให้แก่องค์-
การอื่น
จากข้อความข้างต้น จึงเป็นทีม่ าของหน่วยงานบริการชุมชนและสังคม (University Social
Responsibility) หรือ USR เป็นหน่วยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ รวมพลังของบุคลากร 3 ฝ่าย คือ คณาจารย์
นิสิต ศิษย์เก่า บุคลากร เพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมและมีจิตส�ำนักรับผิดชอบต่อสังคมก่อตั้งขึ้นโดย
ด�ำริของ ศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย ยาวะประภาษ คณบดี คณะรัฐศาสตร์ เมื่อปีปลายปี 2556 ภาย
ใต้ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2555-2559) ด้านที่ 5 “เกื้อกูล” เพื่อให้ยุทธศาสตร์ มี
1) ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี รองคณบดี 3) น.ส.สุวิมล ราชธนบริบาล หัวหน้ากลุ่มงานบริการชุมชนและสังคม ความเป็นรูปธรรมน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน มีตัวชี้วัด ตลอดจนมีระบบการติดตามผลการด�ำเนิน
2) นางสุรีย์ สุทธาโรจน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ งาน ดังนั้นการด�ำเนินโครงการต่างๆ ของ USR จึงเป็นการพัฒนาคนให้มีจิตส�ำนึกความรับผิดชอบ
ต่อสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ปลูกจิตส�ำนึกให้บุคลากรในมหาวิทยาลัย แสดงออกซึ่งความรับผิด
ชอบต่อสังคมผ่านหลักสูตรการศึกษา ถือเป็นการให้บริการทางวิชาการต่อสังคมโดยไม่มุ่งหวังสิ่งที่
“จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เป็นตัวเงินหรือผลตอบแทน ปัจจุบันหน่วยงาน USR ขึ้นตรงต่อฝ่ายวิชาการ โดยมีรองคณบดีฝ่าย
เป็นผู้นำ�ทางปัญญาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” กิจการนิสิต เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ และปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานกิจการนิสิตของคณะรัฐศาสตร์
- วิสัยทัศน์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2555-2570
วัตถุประสงค์
ดังนั้น ภาพอนาคตและปัจจัยสำ�คัญแห่งความสำ�เร็จ จากการประชุมสภามหาวิทยาลัย 1) เพือ่ สร้างความมีจติ ส�ำนึกของคนในสังคมมหาวิทยาลัยให้รจู้ กั ความรับผิดชอบต่อสังคม
ครั้งที่ 739 วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 ได้กำ�หนดภาพอนาคตของจุฬาลงกรณ์ 2) เพือ่ ให้คนในสังคมมหาวิทยาลัยได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของคนในสังคม น�ำความรู้ ความสามารถ
มหาวิทยาลัยในระยะ15 ปี (2555-2570) ไว้ ดังนี้ ถ่ายทอด และช่วยแก้ไขให้สังคมไทยมีความน่าอยู่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติที่เป็นเลิศในภูมิภาค มีความเป็นนานาชาติ 3) เพื่อเป็นการให้บริการการวิชาการต่อสังคมโดยไม่มุ่งหวังก�ำไร (คืนก�ำไรให้กับสังคม)
มีความทันสมัย ธ�ำรงไว้ซึ่งความเป็นไทยและสามารถยืนหยัดได้ในกระแสโลก โดยสร้างบัณฑิตที่พึง
ปรารถนาของสังคม เป็นมหาวิทยาลัยที่สร้างองค์ความรู้อันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็น คณะรัฐศาสตร์ ได้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการบริหารคณะรัฐศาสตร์ดา้ นกิจการนิสติ และด้าน
ประโยชน์ต่อสังคมไทยและสังคมโลก มีส่วนร่วมในการสนับสนุนชุมชน พัฒนานโยบายสาธารณะ บริการชุมชนและสังคม เพือ่ วางนโยบายและแผนงานในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมนิสติ ให้สอดคล้อง
และเป็นพันธมิตรทางวิชาการกับองค์กรธุรกิจชั้นน�ำทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในขณะที่เป็น กับนโยบายของ คณะรัฐศาสตร์ ทั้งนี้ให้รวมถึงพัฒนาศักยภาพนิสิตทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและ
องค์กรแห่งปัญญาที่ช่วยชี้น�ำการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน มุ่งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นองค์กร บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะการเชื่อมโยงกิจกรรมทางวิชาการกับกิจกรรมอื่นๆ เช่น กิจกรรมการบริการ
ตัวอย่างในด้านธรรมาภิบาล ธ�ำรงไว้ซึ่งนิติธรรมและจริยธรรมทั้งด้านวิชาการและการบริหารองค์กร ชุมชนและสังคม ให้เป็นไปตามความมุ่งหมายในการผลิตบัณฑิตของคณะรัฐศาสตร์ รวมทั้งก�ำหนด
มีระบบบริหารจัดการองค์กรแบบองค์กรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) จัดการ แนวทางการบริหารการเงินและการงบประมาณในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมโครงการต่างๆ ของนิสติ
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมบุคลากรที่เป็นทั้งคนเก่งให้มีความเจริญก้าวหน้าและมีความ
มั่นคงในชีวิต พร้อมทั้งสร้างความผูกพันอย่างแน่นแฟ้นกับนิสิตเก่า เพื่อสร้างความเข้มแข็งและ
ความยั่งยืนให้มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ได้ก�ำหนดทางเลือกภาพอนาคต โดยประมวลขึ้นจากปัจจัยส�ำคัญ
แห่งความส�ำเร็จ (Critical Success Factor) ประกอบด้วย
24 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 25
ฝ่ายบริหาร เจ้าหน้าที่ประจำ�ตึก 1 เจ้าหน้าที่ประจำ�ตึก 2
กลุ่มงานบริหารทั่วไป พนักงานขับรถประจำ�คณะ
12 13 14
(สำ�ราญราษฎร์บริรักษ์)

15 16
(วรภักดิ์พิบูลย์)

17

2 3
เจ้าหน้าที่ประจำ�ตึก 3
(รัฐศาสตร์ 60 ปี - เกษม อุทยานิน)

18 19 20 21 22 23

4 5
1) รศ.วันชัย มีชาติ รองคณบดี
2) นางวีรมลล์ ละมูนกิจ ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหาร กลุม่ บริหารงานทัว่ ไปเป็นกลุม่ งานหนึ่งภายใต้การบังคับบัญชาของรองคณบดีรศ.วันชัย มชี าติ
3) นายรัตน์ กลิ่นจันทร์หอม หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป
และผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร นางวีรมลล์ ละมูนกิจ โดยมีนายรัตน์ กลิ่นจันทร์หอม หัวหน้ากลุ่ม
4) น.ส.เยาวณี นาคศรีี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
5) นางวิภาภรณ์ กงวงษ์ เจ้าหน้าที่ธุรการ สารบรรณและประชาสัมพันธ์ งานบริหารทั่วไป มีหน้าที่รับผิดชอบและสนับสนุนงานด้านบริหาร ด้านธุรการและสารบรรณ
ประชาสัมพันธ์ อาคารสถานที่และยานพาหนะ การรักษาความปลอดภัย โสตทัศนศึกษา รับรอง
พิธีการและงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายนิสิตสามารถติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ของฝ่าย
เจ้าหน้าที่อาคารสถานที่ เจ้าหน้าที่ดูแลภูมิทัศน์ เจ้าหน้าที่โสตทัศน์ บริหารได้ ดังนี้
และยานพาหนะ ช่างซ่อมวัสดุ ครุภัณฑ์ ฯลฯ อุปกรณ์ ช่างไฟฟ้า 1) งานสารบรรณและประชาสัมพันธ์ - หน่วยธุรการ สารบรรณ และประชาสัมพันธ์
1 2 3 4 5 6
ตั้งอยู่ในชั้น 2 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) นิสิตสามารถติดต่อขอรับจดหมาย พัสดุ
ที่ส่งมาทางไปรษณีย์ นิสิตมาขอรับได้ในเวลาราชการตั้งแต่ 08.00 - 16.00 น.
2) งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ - ที่ทำ�การตั้งอยู่ชั้น 2 อาคารเกษม อุทยานิน
(รัฐศาสตร์ 60 ปี) คณะรัฐศาสตร์ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบดูแลอาคารสถานทีแ่ ละภูมทิ ศั น์ของคณะรัฐศาสตร์
บริการโสตทัศน์อุปกรณ์ที่เอื้อต่อด้านการเรียนการสอน อาทิ คอมพิวเตอร์ LCD Projector เครื่อง
7 8 9 10 11 ฉายแผ่นทึบ และให้บริการด้านอื่นๆ เช่น ห้องเรียน สนาม สวนหย่อม ที่นั่งพักของนิสิตระหว่างรอ
เจ้าหน้าที่ เข้าเรียน ยานพาหนะ ไฟฟ้า ประปา ความปลอดภัย ซึ่งคณาจารย์ นิสิต เจ้าหน้าที่ และศิษย์เก่า
รักษาความ
ปลอดภัย คณะรัฐศาสตร์ สามารถติดต่อประสานงานในเวลาราชการตั้งแต่ 08.00 - 16.00 น. หรือหมายเลข
(รปภ.) โทรศัพท์ 02-218-7258
นิสิตสามารถติดต่อขอใช้ห้องประชุม ห้องเรียน โสตทัศน์อุปกรณ์ต่าง ๆ สนามฟุตบอล
1) นางเสาร์ลักษณ์ มั่งมีดี 7) นายนิวัฒน์ ทาเหล็ก 13) นายก่อเกียรติ เติมเพ็ชร 19) นางวิไลวรรณ ทาเหล็ก ลานจอดรถ ขอใช้รถ ไฟฟ้า ประปา การรักษาความปลอดภัย การท�ำเรื่องขอดูกล้องวงจรปิด
2) นายกำ�พร ภิภักกิจ 8) นายสาม จันทินมาธร 14) นางสุกันยา คำ�ภารักษ์ 20) นางสุภา สร้อยศรี
3) นายสาคร พันทวี 9) นายสมศักดิ์ ศรีตะลาลัย 15) นายสมชาย ฉายา 21) นายบุญเทียม เรืองกระโทก
และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาคารสถานที่ฯ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ประจ�ำอาคาร/ห้องเรียน
4) นายวิน วิเวกพรหมราช 10) นายสุวรรณ นารี 16) นายประนอม ทรงประดิษฐ์ 22) น.ส.ศิริลักษณ์ สร้อยศรีวรรณ เพื่อบริการอาจารย์ผู้สอน เปิด-ปิด ห้องเรียนให้พร้อมส�ำหรับการเรียนการสอนความสะอาดของ
5) นายบัณฑิต เขียนสาร์ 11) นายสุรวัตร น่าชม 17) นางสารี่ โพธิ์สุ่น 23) นายบุญพร้อม สุขพานิช
6) นายประดิษฐ์ คำ�ภักดี 12) นายสุรศักดิ์ ส่วนบุญ 18) นายจารึก ภิภักกิจ อาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน ห้องน�้ำเป็นต้น
26 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 27
ฝ่ายบริหาร
กลุ่มงานบริหารงานคลังและพัสดุ
การรับเงิน - 1) เงินรายได้ค่าบ�ำรุง ค่าปรับ ห้องสมุด, 2) เงินรายได้บ�ำรุงอาคารสถานที่,
1 3) เงินรายได้ค่าใบรับรอง, 4) เงินบริจาคสมทบทุนการศึกษานิสิต, 5) เงินบริจาคสมบททุนการซื้อ
อุปกรณ์การเรียนการสอน
2 3

การเบิกจ่าย - จากงบประมาณเงินรายได้ที่ได้รับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัย ให้แต่ละ


หน่วยงาน ประกอบด้วย 1) เงินค่าตอบแทนการสอน การสอบ และค่าตอบแทนอื่นๆ, 2) เงินค่าวัสดุ
ครุภัณฑ์ และค่าใช้สอยอื่นๆ, 3) เงินอุดหนุนการศึกษานิสิต ประจ�ำปีการศึกษา, 4) เงินอุดหนุน
กิจกรรม โครงการต่างๆ ของคณาจารย์และนิสิต

4 5 6 7 หน่วยบัญชี - มีหน้าที่จัดท�ำบัญชีต่างๆ และรายงานการเงินพร้อมรายละเอียดประกอบ


เพื่อตรวจสอบและเสนอคณะกรรมการบริหารคณะฯ ทุกเดือนประกอบด้วย 1) งบแสดงฐานทางการ
เงิน - บัญชีคณะและกองทุนรวม, 2) งบรายได้ - ค่าใช้จ่ายและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงทุนสะสม

หน่วยพัสดุ - ด�ำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ดังนี้ 1) จัดซื้อวัสดุเพื่อบริการหน่วยงานภายใน


คณะฯ ตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ, 2) จัดซื้อครุภัณฑ์จากแผนงานและงบประมาณ
ที่ได้รับอนุมัติ, 3) มีการซ่อมแซมครุภัณฑ์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา, 4) จัดจ้างบ�ำรุงรักษา
1) รศ.วันชัย มีชาติ รองคณบดี 5) น.ส.มาลา พันธุ์บุญปลูก เจ้าหน้าที่การเงิน ครุภัณฑ์และโปรแกรมต่างๆ
2) นางวีรมลล์ ละมูนกิจ ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหาร 6) นายรัตน์ กลิน่ จันทร์หอม เจ้าหน้าที่พัสดุ
3) นางจารุวรรณ เลาหตระกูล หัวหน้ากลุ่มงานบริหารการคลังและพัสดุ 7) น.ส.สุรีรัตน์ ศรีสวรรค์ี เจ้าหน้าที่พัสดุ
การให้บริการ - 1) นิสิต คณาจารย์ บุคลากร สามารถติดต่อขอรับเงินทุน ค่าตอบแทน
4) น.ส.ชนันธร โพธิกุล เจ้าหน้าที่การเงิน
ค่าใช้จ่ายในการท�ำกิจกรรมหรืออื่นๆ ได้ที่ช่องบริการงานการเงิน ชั้น M อาคารเกษม อุทยานิน
(รัฐศาสตร์ 60 ปี), 2) ให้บริการแก่ผู้บริจาคเงินทุนทุกประเภท พร้อมด�ำเนินการออกใบเสร็จรับเงิน
ให้แก่ผู้บริจาคเงินตั้งแต่ เวลา 08.00 - 16.00 น. ทุกวันท�ำการ
กลุ่มงานบริหารงานการคลังและพัสดุ เป็นกลุ่มงานหนึ่งภายใต้การบังคับบัญชาของรอง
คณบดี (รศ.วันชัย มีชาติ) และผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร (นางวีรมลล์ ละมูนกิจ) มีหน้าที่รับผิดชอบ
และสนับสนุนงานบริหารด้านการคลัง การเงินการบัญชี การพัสดุ บริการด้านจัดหาทรัพยากรตาม
ความต้องการหน่วยงาน เช่น การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์
โปรแกรมซอฟต์แวร์ การซ่อมแซมบ�ำรุงรักษาครุภัณฑ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งาน
ได้ตลอดเวลา มีการจัดท�ำทะเบียนควบคุมสินทรัพย์ มีการใช้ระบบพัสดุ การเงินและการบัญชี (CU
Enterprise Resource Planning : CU-ERP)

28 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 29
งานที่ขึ้นตรงกับผู้บริหาร
ศูนย์สารสนเทศทางสั งคมศาสตร์
(ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์)


วิสัยทัศน์ - “เป็นแหล่งบริการสารสนเทศทางรัฐศาสตร์ชั้นน�ำระดับประเทศ”
ประวัติความเป็นมา
ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือศูนย์สารสนเทศทางสังคมศาสตร์
เป็นห้องสมุดเฉพาะทางสังคมศาสตร์ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งในประเทศไทยที่มีบทบาทในการอ�ำนวย
1 ให้การเรียนการสอน และการวิจัยของคณะฯ พัฒนารุดหน้ามาโดยตลอด และเป็นแหล่งจัดเก็บ และ
บริการเอกสารสิ่งพิมพ์ด้านนี้ ที่ส�ำคัญมีนิสิตและอาจารย์ต่างคณะและนักศึกษา และคณาจารย์จาก
2 3 4
มหาวิทยาลัยอื่น ตลอดจนบุคคลทั่วไปใช้บริการเป็นจ�ำนวนมาก
ห้องสมุดแห่งนี้ก่อตั้งประมาณปี พ.ศ.2491 อยู่ที่อาคารส�ำราญราษฎร์บริรักษ์ ในระยะ
เริ่มก่อตัง้ ใน ปี พ.ศ.2494 ศาสตราจารย์ รูฟสุ แดเนียล สมิธ จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา
ซึง่ ได้รบั ทุนฟุลไบรท์ ให้มาสอนวิชาการปกครองเปรียบเทียบ ทีค่ ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้ชว่ ยเหลือกิจการห้องสมุด โดยติดต่อขอรับบริจาคหนังสือและวารสารทางด้านสังคมศาสตร์จากองค์การ
มูลนิธแิ ละมหาวิทยาลัยต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา นับเป็นการวางรากฐานกิจการห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์
5 6 7 8 ท�ำให้เป็น ห้องสมุดแห่งแรกในประเทศไทยที่เป็นแหล่งค้นคว้าส�ำคัญทางด้านสังคมศาสตร์ ต่อมา
ห้องสมุดได้ย้ายไปอยู่ที่อาคารเกษมอุทยานิน และในปี พ.ศ.2518 ได้ย้ายมาอยู่ที่ อาคารวิศิษฐ์
ประจวบเหมาะ ชั้นล่าง และวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2557 ห้องสมุดบางส่วนได้ย้ายไปที่ชั้น 3 อาคาร
เกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) และเปลี่ยนชื่อเป็น “ห้องสมุดรูฟุส ดี. สมิธ และ ช�ำนาญ ยุวบูรณ์”
ตามชื่อผู้มีอุปการคุณแก่ห้องสมุด
วัตถุประสงค์ - 1) เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย สามารถสืบค้นข้อสนเทศ ที่จัด
9 10 11 เก็บในรูปแบบต่างๆได้อย่างสะดวกและรวดเร็วด้วยระบบเครือข่าย, 2) เป็นแหล่งเก็บและรวบรวม
หนังสือ สิ่งพิมพ์ เอกสารทางวิชาการ ตลอดจนวัสดุการศึกษาอื่นๆ ได้แก่ เทปโทรทัศน์ วัสดุย่อ
ส่วน และฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ สาขารัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง รัฐประศาสนศาสตร์ ความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ
เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ นโยบายและหลักสูตรของมหาวิทยาลัย, 3) เป็นแหล่งบริการ
ทางวิชาการส�ำหรับอาจารย์ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และนิสิตคณะรัฐศาสตร์ ได้ศึกษาหาความรู้ใน
วิชาเฉพาะการเมืองการปกครอง รัฐประศาสนศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สังคมวิทยา
1) นางนฤมล กิจไพศาลรัตนา ผู้อำ�นวยการ 7) นางรัศมี แสนใหม่ บริการวิทยานิพนธ์ สิ่งพิมพ์รัฐบาลและโสตทัศนวัสดุ / และมานุษยวิทยาและสาขาที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมอยู่เสมอ, 4) เป็นแหล่งบริการ และค้นคว้าวิจัยทาง
2) น.ส.อัมพร เพ็ชรรัตน์ตานนท์ บริการวารสาร ดรรชนี วารสาร จุลสาร ห้องสมุดสีเขียว Green library / หนังสือพิมพ์ / รับและส่งคืนหนังสือในจุฬาฯ (Book delivery)
วิชาการ สาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และสังคมวิทยาและ
และกฤตภาค / จัดหมวดหมู่หนังสือ / ห้องสมุดเคลื่อนที่ LibraryAnywhere / ห้องสมุดสีเขียว 8) นางกัญญาภัค สมช่วง ดูแลความสะอาดอาคารสถานที่และตรวจทางเข้า-
Green Library / ห้องน้ำ�ประหยัดพลังงาน Green Toilet / ตอบคำ�ถามช่วยการค้นคว้า / ยืม/ ออก / บริการห้องสมุดสีเขียว / ห้องน้ำ�ประหยัดพลังงาน Green Toilet มานุษยวิทยา แก่ ประชาคมภายนอกจุฬา ทั้งในและนอกเวลาราชการ, 5) บริหารจัดการสารสนเทศ
คืนหนังสือ / Cyber Zone / จองห้องประชุมออนไลน์
3) นายพ้นพันธ์ ปิลกศิริ บริการผู้อ่าน (Hot titles / book@once) / ยืม
9) นางอรปภา โพธิ์มณี บริการวารสาร / ดรรชนีวารสาร จุลสาร และกฤตภาค ในห้องสมุดเพื่อประโยชน์ทางวิชาการและทางธุรกิจ
ระหว่างห้องสมุด (e-Delivery) / ตอบคำ�ถามช่วยการค้นคว้า / Tablet Zone 10) นางวรรณเพ็ญ บุตรละคร ดูแลความสะอาดอาคารสถานที่และตรวจ

4) นางอำ�นวยพร คงเพ็ชร บริการยืม/คืนหนังสือ / Cyber Zone / จองห้อง


ทางเข้า-ออก / บริการซ่อมแซมหนังสือ / ห้องน้ำ�ประหยัดพลังงาน Green Toilet
เวลาเปิดบริการ - เปิดเทอม : จันทร์-ศุกร์ 08.00 น. - 20.00 น. / เสาร์ 10.00 น. - 18.00 น.
ประชุมออนไลน์ 11) นางวิมล เมืองประสิทธิ์ิ ดูแลความสะอาดอาคารสถานที่และตรวจ
ทางเข้า-ออก / บริการรับและส่งคืนหนังสือในจุฬาฯ (Book delivery) / ห้องสมุดเคลื่อนที่ - ภาคฤดูร้อน : จันทร์-ศุกร์ 08.00 น. - 18.00 น. / เสาร์ 10.00 น. - 18.00 น.
5) น.ส.ฌาลิณี อรุณรัตน์ บริการ วารสาร ดรรชนี วารสาร จุลสารและกฤตภาค LibraryAnywhere / ห้องน้ำ�ประหยัดพลังงาน Green Toilet
/ วิทยานิพนธ์ สิ่งพิมพ์รัฐบาลและโสตทัศนวัสดุ / จัดหมวดหมู่หนังสือ
6) นางรัตนาวดี จั่นแก้ว บริการวิทยานิพนธ์ สิ่งพิมพ์รัฐบาลและโสตทัศนวัสดุ / _______________
ห้องสมุดเคลื่อนที่ LibraryAnywhere
รายละเอียดอื่นๆ ของห้องสมุดสุดชิค สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ในเล่ม “ของดีคณะรัฐศาสตร์” หน้า 126

30 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 31
งานที่ขึ้นตรงกับผู้บริหาร งานทางด้านการจัดการเครือข่าย, การจัดการฐานข้อมูล, การควบคุมระบบการท�ำงานของโปรแกรมต่างๆ และการ

ศูนย์คอมพิวเตอร์คณะรัฐศาสตร์ รักษาความปลอดภัยของข้อมูล ซึ่งมีความส�ำคัญเป็นอย่างมากส�ำหรับระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ของคณะรัฐศาสตร์


2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Hardware:Client) - เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Computer All in
One) ที่จัดให้บริการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนส�ำหรับนิสิตนั้นจะต้องอยู่ในห้องปฏิบัติการศูนย์คอมพิวเตอร์ โดยมี
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จ�ำนวน 3 ห้อง แบ่งเป็น มีจ�ำนวน 40, 70, 25 เครื่อง ตามล�ำดับ โดยจะมีการซื้อเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทดแทนทุกๆ 3 ปี เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพและทันสมัยอยู่เสมอ และสามารถรองรับการใช้
1 งานโปรแกรมพื้นฐาน โปรแกรมประมวลผลทางสังคมศาสตร์ และโปรแกรมชั้นสูงอื่นๆได้
2.3 ระบบปฏิบัติการและโปรแกรม (Software) - ศูนย์คอมพิวเตอร์ ได้ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Microsoft
2 3 window 8.1 รุ่น Professional ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการพื้นในการใช้งานคอมพิวเตอร์ และนอกจากนั้นยังได้ติดตั้ง
โปรแกรมเพื่อการท�ำงานเอกสารรายงาน Ms-Office 2010, โปรแกรมวิเคราะห์ผลทางสถิติ SPSS v22 และโปรแกรม
อื่นๆ ส�ำหรับนิสิตที่ต้องการใช้เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสังคมศาสตร์และโปรแกรมส�ำเร็จรูปอื่น ๆ โดยทุกโปรแกรมมี
ลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฏหมาย
2.4 เครื่องพิมพ์รวมการ (Central Printing Program : CPP) - ห้องปฏิบัติการศูนย์คอมพิวเตอร์ ได้วาง
ระบบเครื่องพิมพ์รวมการความเร็วสูงไว้บริการนิสิตส�ำหรับพิมพ์เอกสาร โดยนิสิตทุกคนจะได้สิทธิ์การพิมพ์เอกสารโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยนิสิตปริญญาตรี มีสิทธิ์ในการพิมพ์เอกสารผ่านเครื่องพิมพ์เลเซอร์ ได้คนละ 300 แผ่น ต่อปีการ
ศึกษา (ป.โท 400 แผ่น, ป.เอก 500 แผ่น) ซึ่งนิสิตสามารถตรวจสอบจ�ำนวนการพิมพ์ ได้ที่เว็บไซต์คณะรัฐศาสตร์
1) ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี ผู้อำ�นวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ 3) นางเกสร พันธ์โณภาส เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 2.5 กล้องวงจรปิด (Close Circuit Television : CCTV) - ทางคณะรัฐศาสตร์ ได้ตระหนักถึงความ
2) นายสุรชัย โนคำ� เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ (ระบบคอมพิวเตอร์) ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนิสิตทุกคน จึงได้ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) ไว้ตามจุดต่างๆ ทั้งภายในและภาย
นอกอาคารรวมทั้งหมด 76 จุด ครอบคลุมพื้นที่การให้บริการของคณะรัฐศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วย บริเวณพื้นที่อาคาร
เรียน ห้องเรียน บริเวณพื้นที่ส�ำนักงาน และบริเวณพื้นที่การท�ำกิจกรรมของนิสิตคณะรัฐศาสตร์
ศูนย์คอมพิวเตอร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีภารกิจในการส่งเสริมและ
สนับสนุนการเรียนการสอนงานทางด้านวิชาการและวิจยั ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3) ด้านการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการศึกษา
เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายที่ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตั้งไว้ ดังนั้น ศูนย์คอมพิวเตอร์ ในส่วนของบริการการศึกษานัน้ ทางศูนย์คอมพิวเตอร์มหี อ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ (Computer Laboratory)
จึงได้แบ่งภารกิจในด้านการสนับสนุนและการให้บริการออกเป็น 4 ด้านดังนี้ โดยได้เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงที่มีประสิทธิภาพสูงไว้รองรับการใช้งานและสนับสนุนการเรียนการ
สอนดังนี้ - เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย 145 เครื่อง, เครื่องพิมพ์เลเซอร์ชนิดขาว-ด�ำ 1 เครื่อง, เครื่องสแกน 1 เครื่อง
1) ด้านการให้บริการด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3.1 บริการพิมพ์เอกสารผ่านเครื่องพิมพ์รวมการ - รายละเอียดตาม 2.4
1.1 โครงสร้างเครือข่าย (Network Structure) - คณะรัฐศาสตร์ ได้น�ำสายสัญญาณใยแก้วน�ำแสง มาใช้ใน 3.2 บริการพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูลส่วนตัว (NET DISK) - นิสติ ทุกคนจะได้รบั พืน้ ทีใ่ นการเก็บข้อมูลความจุ 100 MB
การเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างอาคารต่างๆ ของคณะรัฐศาสตร์เข้ากับเครือข่ายของส�ำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ หลังจากนิสติ ได้ท�ำการลงทะเบียนเข้าสูร่ ะบบการใช้งานภายในห้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ซึง่ จะแสดงสัญลักษณ์ DRIVE Z:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นเครือข่ายหลักของมหาวิทยาลัย และได้ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ นิสติ สามารถบันทึกเอกสาร หรือไฟล์ขอ้ มูลเก็บไว้ในพืน้ ทีส่ ว่ นนี้ได้ โดยมีระดับรักษาความปลอดภัยด้วยบัญชีผใู้ ช้และรหัสลับ
สูงสามารถรองรับจ�ำนวนผู้ใช้งาน นอกจากนั้นยังมีการท�ำสัญญาการบ�ำรุงรักษาระบบเครือข่ายในรูปแบบ Non-stop 3.3 บริการเชื่อมโยงสื่อการเรียนการสอน สื่อการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา - ส่งเสริมและสนับสนุนให้
Maintenance จึงเป็นการรับประกันได้ว่าผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยปราศจากข้อบกพร่องตลอดเวลา บริการ ผลิตสือ่ การเรียนการสอน ซึง่ เป็นสือ่ การเรียนการสอนทีน่ ิสติ สามารถศึกษาเรียนรูว้ ชิ าทีส่ นใจด้วยตัวเองได้โดยง่าย
1.2 บริการเครือข่ายไร้สาย (WiFi Access Point) ความเร็วสูง 24 ชั่วโมง - การให้บริการเครือข่ายไร้ และประสานงานการใช้นวัตกรรมการศึกษา เช่น ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน Blackboard ระบบ e-Learning
สายความเร็วสูง 24 ชั่วโมง เป็นการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ้นของนิสิต และบุคลากร ของคณะ 3.4 การแสดงความจ�ำนงการขอใช้บริการ - นิสิตชั้นปีที่ 1 สามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับรหัสในการเข้าใช้
รัฐศาสตร์ มีการติดตั้งจุดให้บริการเครือข่ายไร้สาย โดยได้ติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ซึ่งสามารถ บริการศูนย์คอมพิวเตอร์ ได้ที่เว็บไซต์ของคณะ (www.polsci.chula.ac.th) ทั้งนี้สามารถดูคู่มือและวิธีการลงทะเบียน
ส่งสัญญาณได้ไกล 50-100 เมตร ระบบเครือข่ายไร้สายความเร็วสูงนี้มีชื่อ Chula WiFi หลังจากนิสิตได้ท�ำการเชื่อม ได้ที่เว็บไซต์ของคณะ
ติดต่อสัญญาณและลงทะเบียนเพื่อขอใช้งานแล้ว จะสามารถใช้เครือข่าย Chula WiFi ได้ทันทีตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี
จุดให้บริการทั้งหมด 45 จุด ดังนี้ - ตึก 1 จ�ำนวน 8 จุด, ตึก 2 จ�ำนวน 6 จุด, พื้นที่ชั้น 1 ของอาคารวิศิษฐ์ ประจวบ 4) ด้านการให้บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
เหมาะ (ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์เดิม) จ�ำนวน 4 จุด, ตึก 3 จ�ำนวน 30 จุด โดยครอบคลุมการให้บริการทั้งภายใน และ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ได้เตรียมช่องทางในการให้บริการผ่านทางเว็บไซต์ของคณะรัฐศาสตร์ และเว็บไซต์อื่นๆ
ภายนอกอาคาร ทุกชั้น นิสิตสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://wwww.it.chula.ac.th/chulawifi ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน, การค้นคว้า และการสืบค้นเอกสารต่างๆ (ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์คณะ)

2) ด้านการให้บริการอุปกรณ์และนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ตั้งอยู่ที่อาคารเกษมอุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) ชั้น 7


2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Hardware Server) - ศูนย์คอมพิวเตอร์มีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เปิดให้บริการ วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 08.30 - 18.45 น. โทร: 02-218-7274
(Computer Server) ที่มีประสิทธิภาพสูงจ�ำนวน 5 เครื่อง เพื่อการบริหารงานทางด้านการจัดการข้อมูลต่าง ๆ เช่น _______________
รายละเอียดอื่นๆ ของห้องคอมหมดโควต้า สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ในเล่ม “ของดีคณะรัฐศาสตร์” หน้า 130
32 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 33
สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ 7) น.ส.สายลำ�ภุญชย์ โปธิบาล (แตงกวา IR#3)
เหรัญญิก 091-435-6754
8) น.ส.ณิชา ตั้งวรชัย (ฝ้าย IR#2)
16) น.ส.สุเมยี ฤทธิ์นำ�ศุข (เมย์ IR#4)
ประธานฝ่ายวิชาการ 083-278-2828
17) น.ส.ณัฐชนก สาคุณ (สะออน SOC#3)
ประธานฝ่ายทรัพยากรบุคคล 090-412-3456 ประธานฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม 083-225-4761
9) น.ส.โยษิตา ทองศรี (นินิว SOC#2) 18) นายอภิชาติ สีมี (เบียร์ PA#3)
1 ประธานฝ่ายสวัสดิการ 084-346-7895 ประธานฝ่ายพัฒนาสังคม 086-555-0577
2 3 4 5 10) นายกสิดิส วงศ์เมือง (กร GOV#2) 19) นายรัชพล ผะอบเหล็ก (ใหม่ IR#4)
ประธานฝ่ายสถานที่ 094-552-7724 ประธานฝ่ายนิสิตสัมพันธ์ 089-546-1430
11) น.ส.อภิชญา เสงี่ยมรัตน์ (ป๊อบ SOC#3) 20) นายเหมภาส เทียนจวง (เหม SOC#3)
ประธานฝ่ายพัสดุ 081-919-9437 ประธานฝ่ายกีฬา 084-165-1659
12) นายธาม ธีระกำ�จาย (พู่กัน SOC#3) 21) น.ส.พรรธนฉัตร การุญกร (อาย SOC#3)
ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ 080-227-0490 ประธานเชียร์ 089-167-0542
13) น.ส.อัญธิชา เล็กแหลมหลัก (แป้ง IR#3) 22) นายธนัสธรณ์ กังวาลสงค์วงษ์ (ชู้ต SOC#2)
ประธานฝ่ายครีเอทีฟ 081-398-4618 หัวหน้านิสิตชั้นปีที่ 2 085-569-7670
6 7 8 9 10 14) นายปฐม เจริญวานิช (พีค PA#3) 23) นายธนการณ์ ไชยโส (กิ้ก SOC#3)
ประธานฝ่ายครีเอทีฟ 085-071-9181 หัวหน้านิสิตชั้นปีที่ 3 080-402-5323
15) นายคณากร กานต์ธีรดา (เคเค IR#2) 24) นายธนาธย์ หลิมพานิช (มิวลิม PA#4)
ประธานฝ่ายสาราณียกร 089-929-6754 หัวหน้านิสิตชั้นปีที่ 4 089-790-2178

สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มีนิสิตคณะรัฐศาสตร์ทุกคนเป็นสมาชิก โดยมีหน่วย


งานบริหารกิจกรรมที่ได้รับการเลือก เรียกว่า “คณะกรรมการบริหารสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์” เรียนสั้นๆ ว่า
11 12 13 14 15 กกบ. เป็นตัวแทนในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนิสิตและบริหารงานในคณะ โดยมีจุดมุ่งหมาย
คือ สร้างความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ให้กบั นิสติ คณะรัฐศาสตร์ทกุ คนผ่านกิจกรรมทีถ่ กู จัดขึน้ และ
ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้นิสิตคณะรัฐศาสตร์มีคุณลักษณะตรงตามความประสงค์ของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ยังเป็นกลไกในการส่งเสริมภาวะผู้น�ำ ความเสียสละ และ
ความรับผิดชอบให้นิสิตผู้ปฏิบัติงานซึ่งถือว่าเป็นคุณลักษณะที่นิสิตรัฐศาสตร์พึงมี
โดยกิจกรรมทั่วไปที่มีสโมสรนิสิตรัฐศาสตร์ ได้จัดขึ้นแต่ละปีนั้น จะช่วยส่งเสริมศักยภาพของนิสิต
16 17 18 19 20 ทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นบุคลิกภาพ ความรู้ และมโนธรรม ซึ่งกิจกรรมที่ถูกจัดขึ้นสามารถแบ่งออกเป็น 6 ด้าน
ได้แก่ ด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ, ด้านบ�ำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อม, ด้านสติปัญญาวิชาการ,
ด้านนันทนาการและพัฒนาจิตใจ, ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และด้านบริหารและกิจกรรมอื่นๆ
การด�ำเนิน กิ จ กรรมและนโยบายหลั ก ในการท�ำงานของสโมสรนิสิ ต รั ฐ ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2558 นี้ เป็นไปตามแนวคิดหลักของสโมสรนิสิต คือ “เสรีภาพวิชาการ ผสาน
ความสัมพันธ์ สร้างสรรค์แอคธิวิธี่” อันเป็นการผสมผสานความส�ำคัญของ 3 ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการด�ำเนิน
21 22 23 24 ชีวิตของนิสิตในคณะทั้งนิสิตใหม่และนิสิตปัจจุบันที่ก�ำลังจะก้าวออกไปเป็นนักรัฐศาสตร์ให้กับสังคมไทย โดย
สามารถอธิบายขอบเขตการด�ำเนินงานของปีนี้ ได้ดังนี้
เสรีภาพวิชาการ - พัฒนาการน�ำเสนอความคิดและการต่อยอดทางวิชาการให้กับนิสิตในคณะ
ผ่านช่องทางกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ อันน�ำไปสู่การสร้างองก์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ให้สามารใช้ได้จริงและ
แก้ไขปัญหาสังคมได้ อาทิ เสวนาวิชาการ การเสนอบทความหรือการแข่งขันตอบปัญหาวิชาการทางรัฐศาสตร์
ที่ขยายขอบเขตไปยังเด็กมัธยมศึกษาอีกด้วย / ผสานความสัมพันธ์ - สร้างกิจกรรมรูปแบบใหม่เพื่อเน้นการ
1) น.ส.ธนพร มาลีเลิศ (น้ำ�โซดา SOC#4) 4) นายภาณุพงศ์ วสันต์ศิริ (มาร์ท GOV#4) สร้างความสัมพันธ์อันดีของนิสิตในคณะทั้งชั้นปีเดียวกัน ระหว่างชั้นปี ไปจนถึงนิสิตต่างคณะ ผ่านการค�ำนึงถึง
นายกสโมสรนิสิต 087-359-7501 อุปนายกฝ่ายบริหาร 086-368-9353
2) น.ส.ณิชาพรรณ ทองพุ่ม (น้ำ�หวาน IR#4) 5) น.ส.กัลยรัตน์ ตรีสัตย์ (ปาล์ม PA#4) ความส�ำคัญของความแตกต่างและความสนใจที่หลากหลายของนิสิตเป็นหลัก ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการ
อุปนายกฝ่ายกิจการภายใน 086-388-3151 อุปนายกฝ่ายกิจการมหาวิทยาลัย 080-789-5474 พื้นที่ของคณะรัฐศาสตร์ในการท�ำกิจกรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุดอีกด้วย / สร้างสรรค์แอคธิวิธี่ - ACTIVITY
3) น.ส.สรารัตน์ ชีวะเกตุ (ซาร่าห์ SOC#3) 6) น.ส.เจกิตาน์ ศรีวัฒนา (ยีน SOC#2) หรือ กิจกรรมในปีนี้เน้นความส�ำคัญในการพัฒนารูปแบกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจของนิสิตให้หลาก
อุปนายกฝ่ายกิจการภายนอก 084-975-7572 เลขานุการ 084-199-9795
หลายมากที่สุด ทั้งกีฬา ดนตรี วิชาการ และจิตอาสา เพื่อเปิดพื้นที่ในการแสดงตัวตนและพัฒนาศักยภาพที่
34 คู่มือสิงห์ดำ� 68 มีอยู่ในตัวนิสิตให้ดียิ่งขึ้น คู่มือสิงห์ดำ� 68 35
พี่น้ำ�โซดาบอกว่า... ภายนอก เดี๋ยวงานสิงห์ดำ�สิงห์แดงมา พี่แตงกวาบอกว่า... พี่พู่กันบอกว่า... ทั้งกิจกรรมและการเรียน ความรู้สึกของการเป็นเฟรชชี่ที่จะได้เข้าห้อง
เชียร์จะมีเพียงครั้งเดียวเท่านั้น และแม้ว่าจะ
เจอกัน มีอะไรก็มาทักมาปรึกษาได้ นะคะ ขอให้โชคดีค่ะ
สวัสดีน้องๆ สิงห์ดำ�รุ่นที่ 68 ทุกคน สวัสดีจ้า พี่แตงกวาขอต้อนรับน้องๆ 68 อยากแก้ขา่ วว่าพีไ่ ม่ได้ชอ่ื ณเดชน์ พีช่ อ่ื
ตลอดเลยน้าา ขอให้เป็น ปรึกษาพี่ได้ทุกเมื่อเลยจ้า จบห้องเชียร์ ไปแล้ว หน้าที่ของประธานเชียร์
นะคะ ก่อนอื่นพี่ขอเป็นตัวแทนพี่ๆ ทุก ทุกๆ คนที่จะมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ พูก่ นั นะ สังคมปี 3 เป็นคนคุมแสงเสียง อาจจะหมดลงไป แต่หน้าที่พี่ที่เป็นพี่ของ
คน กล่าวแสดงความยินดีกับน้องๆ อีก 4 ปีที่มีแต่สิ่งดีๆ ยินดี สิงห์ด�ำ ในปีนน้ี า้ ประสบการณ์ ตอนรับน้อง บอกเลยว่า ประทับใจน้อง น้องๆ ยังคงอยู่เสมอ ไม่ว่าน้องจะมีปัญหา
ครั้งที่ได้เข้ามาอยู่ในคณะที่เเสนอบอุ่น ต้อนรับน้องๆ สิงห์ดำ� 4 ปีนับจากนี้ รับรองเลยว่า รุน่ นีม้ ากๆ จัดเต็มกันทุกคน มีอะไรอยาก พี่สะออนบอกว่า... หรือข้อสงสัยใดๆ พี่ทุกคนพร้อม
เต็มไปด้วยความเข้าใจ รวมไปถึงความ รุ่นที่ 68 ทุกคนค่ะ น้องจะหาที่ไหนไม่ได้แล้ว เข้ามาคุยกับพีก่ เ็ ข้ามาได้นะ ไม่ตอ้ งกลัว อยากให้น้องๆลองทำ�กิจกรรม เป็นที่ปรึกษาให้เสมอนะคะ ยินดี
หลากหลายที่ทุกคนพร้อมที่จะรับฟังกัน แน่แน่ แล้วเจอกัน รักทุกคน แล้วก็ขอให้นอ้ งๆ มีความ มหาลัย ลองทำ�อะไรใหม่ๆที่ ต้อนรับสิงห์ดำ�รุ่น 68 ทุกคน...
เเละกัน ครอบครัวของเราพร้อมเสมอที่ จูบบ <3 สุขในคณะรัฐศาสตร์ของเรา เราไม่เคยทำ�ดู เพราะมันได้ พี่อายคนสวยคนเดิม เพิ่มเติม
เดี๋ยวบอกเอง
จะอยู่ข้างๆ น้องๆ ไม่ว่าจะในช่วงเวลา พี่มาร์ทบอกว่า... ตลอด 4 ปีทอ่ี ยูท่ น่ี ่ี รักน้อง อะไรมากกว่าการนั่งเรียน
แบบไหน ช่วงเวลาที่มีรอยยิ้ม ช่วงเวลา คณะนี้อาจไม่ได้ตอบโจทย์ใครหลายๆ นะ :) ในห้องจริงๆ :)
คน ทั้งด้านอาชีพการงาน วิชาเรียน หรือ
พี่ฝ้ายบอกว่า... พี่ชู้ตบอกว่า...
ที่มีความเศร้า ช่วงเวลาที่มีความเครียด ยินดีต้อนรับน้องๆ 68 ทุกคนเข้าสู่คณะ สวัสดีครับน้องๆ ผม พี่ชู้ตนะครับ ในฐานะ
รวมไปถึงช่วงเวลาที่มี paper 55555... ความใฝ่ฝันครั้งยังอยู่มัธยม แต่คณะนี้
ของเรานะคะ มีไรก็มาปรึกษา พี่แป้งบอกว่า... พี่เบียร์บอกว่า... ประธานฝ่ายถ่ายภาพ พี่ๆ ฝ่ายถ่ายภาพเรา
สำ�หรับชีวิต 4 ปีที่น้องๆ จะได้ใช้ในรั้ว ก็สอนเราให้ใช้ชีวิตอย่างอิสระ มีระบบ พี่ชื่อแป้ง อยู่ไออาร์ปีสามนะคะ ยินดี อายุมากเค้าว่าเป็นพี่ อายุน้อย
หรือมาคุยเล่นได้เลยนะ เรา ก็ถ่ายภาพด้วยความตั้งใจเเหละเนาะเท่าที่จะ
บ้านของครอบครัวแห่งนี้ น้องๆ จะได้ ความคิดเป็นเหตุเป็นผล เข้าใจซึ่งความ ต้อนรับน้องๆ สิงห์ดำ� รุ่น 68 เค้าว่าเป็นน้อง อายุเท่ากันเค้า
ไม่ดไุ ม่เหวีย่ งนะจะบอก เยิบ้ พอมีเวลาว่างมาช่วยกัน ตั้งใจว่าจะเก็บเหตุ
เรียนรู้เรื่องราวต่างๆ มากมาย จะได้ แตกต่างของผู้คน และก้าว ทุกคนนะคะ เจอเราก็ทกั ทาย ว่าเป็นเพื่อน แล้วอายุเท่าไหร่ การณ์สำ�คัญๆ ของรุ่น 68 ให้ไว้ได้มากที่สุด
มองเรื่อมเดิมๆ ในมุมมองใหม่ๆ ได้ ออกไปเป็นพลเมืองที่มีคุณ- กันได้นะ ถึงหน้าจะเหวี่ยง เราถึงจะได้เป็นแฟนกัน? ยังไง เห็นกล้องก็ช่วยยิ้มเยอะๆ เน้อ ภาพ
เข้าใจที่มาของความคิดต่างๆ รวมถึงที่ ภาพในอนาคตได้ ... 4 ปีมัน แต่จริงๆแล้วเราใจดีน้า :) จะได้สวยๆ ขอบคุณคร้าบ. ส่วนถ้าในฐานะ
สำ�คัญที่สุดคือการได้ทบทวนและเรียน สั้นใช้ให้คุ้มนะครับ ^ ^ พี่นินิวบอกว่า... หัวหน้านิสิตชั้นปีที่ 2 สงสัยอะไรเกี่ยวกับ
รู้ตัวเอง... สุดท้ายนี้พี่อยากขอให้น้องๆ สวัสดีน้องๆ สิงห์ดำ� 68 ทุกคนจ้า ขอให้ พี่เหมบอกว่า... การใช้ชีวิตในจุฬาฯ ไม่สิ ทุกเรื่องในชีวิตเลย
น้องๆ ใช้ชีวิต 4 ปีในมหาวิทยาลัยอย่าง สวัสดีและยินดีตอ้ นรับน้องๆ เข้าสูค่ รอบครัว
ได้ใช้เวลาให้คุ้มค่าที่สุดนะคะ 4 ปีผ่าน พี่พีคบอกว่า... ของเรานะครับ คณะของเรานั้นเปิดกว้างให้
เเหละ ถามพี่พี่หัวภาค ปี 2 หรือพี่พี่ปี 2 ทุก
ไปเร็วมากกกก ไขว่ขว้าความรู้และ พี่ปาล์มิโก้บอกว่า... มีความสุข มีอะไรปรึกษาพีๆ่ Hello 68 ถึงภายนอกพี่จะดูเป็นหยิ่งๆ แต่ กับทุกๆ มุมมองและการแสดงออก แต่สิ่ง
คนได้หมดเลยนะ พี่พี่ทุกคนพร้อมช่วยเหลือ
ดีใจที่ได้น้องๆ 68 มาเป็นครอบครัว ได้เสมอเลยจ้า ยินดีตอ้ นรับ พร้อมให้คำ�ปรึกษาทุกเรื่องจ้า
ประสบการณ์ดีๆ รวมถึงมิตรภาพดีๆ ที่ จริงพี่ใจดีมากเลยนะ เจอกัน ก็ทักคุยเล่น ที่พี่อยากบอกคือการแสดงออกของน้องๆ
สิงห์ดำ�ด้วยกันนะ ขอให้ครอบครัวนี้เป็น น้องๆ ทุกคนนะคะ <3 ปล. โดยเฉพาะพีเ่ คเค รองหัวปี
จะเกิดขึ้นให้ได้มากที่สุด และที่สำ�คัญ กันได้ หรือจะปรึกษาก็ได้นะ มี ก็ต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพของคนอื่นๆ
อีกครอบครัวทีอ่ บอุน่ ของน้องๆ ตอบได้ทุกคำ�ถามชัวว พี่เขาทำ�
มากๆ ที่สุดอย่างนึงคืออย่าเรียนอย่าง อะไรอีกเยอะทีน่ อ้ งๆ ต้องเรียน ด้วยเช่นกันนะครับ จุดนี้สำ�คัญมาก ในการ
ทุกคนน้า มีอะไรถามพี่ได้ รู้จากการเรียนและกิจกรรม หนังสือเล่มนีก้ บั มือ -0- เทพโคตรรร
เดียว ทำ�กิจกรรมด้วย เชื่อพี่ว่าเราจะได้ ที่เราจะอยู่ร่วมกันได้อย่างไม่
ประสบการณ์ต่างๆ มากมายเลย ถึงหน้าพี่จะดูวีนเหวี่ยงแต่ พี่กรบอกว่า... ขอให้สนุกกับชีวิตเฟรชชี่นะ เกิดปัญหา 4 ปีในรัว้ มหาวิทยา-
และสุดท้ายจริงๆ พี่ก็ใจดีนะ ฮ่าๆ ยินดีต้อนรับสู่คณะรัฐศาสตร์ครับ ไหนๆ ลัยมันสั้นมากนะครับ ใช้มันให้ พี่กิ้กบอกว่า...
ก็เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวสิงห์ อยากบอกว่าชอบ nature ของสิงห์ดำ�รุ่น 68
ท้ายที่สุดมีอะไรพี่ๆ พี่เคเคบอกว่า... คุ้มค่า แล้วเจอกันครับ
มาก น่ารัก บ้าพลัง เเละก็ภูมิใจมากที่ได้มี
ก็พร้อมที่จะอยู่กับ พี่ยีนบอกว่า... ดำ�แล้วก็มาช่วยกันทำ�กิจกรรมเยอะๆ นะ ชีวติ มหาวิทยาลัยเป็นเหมือนสนามให้เราลอง
คณะเราขาดคน หวังว่าน้องๆ ทุกคนจะ คนกลุ่มนี้เข้าร่วมบ้านหลังน้อยๆ แต่อบอุ่นนี้
น้องๆ เสมอนะคะ สวัสดีค่า ยีน ปี 2 ภาคสังคมฯ ตำ�แหน่ง
ใช้เวลาในรัว้ มหาลัยอย่างเต็มที่
ผิดลองถูก ถ้าทำ�ถูกได้กด็ ไี ป ถ้าผิดสักหน่อย พี่ใหม่บอกว่า... ด้วยกัน ขออวยพรละกัน ให้น้องๆ ทุกคนมี
มาปรึกษาได้เสมอ เลขานุการ ยินดีตอ้ นรับน้องสิงห์ด�ำ รุน่ ที่ 68 ก็ไม่เป็นไร ทุกคนมีปญ ั หา แต่ขน้ึ ชือ่ ว่าปัญหา สำ�หรับพี่คำ�ว่าสิงห์ดำ�มันไม่เคยมีนิยาม ไม่ ความสุขมากๆ กับการเข้ามาเรียน
เลย ด้วยรัก ทุกคนน้า เราก็ขอให้นอ้ งทุกคนโชคดีกบั ชีวติ นะ เพราะนี่คือช่วงเวลา มันต้องมีทางออก แค่เวลาของมันยังมาไม่ เคยมีใครกำ�หนด สี่ปีต่อจากนี้อยู่ที่น้องๆ ทีน่ ่ี เเละมีความสุขกับการใช้ชวี ติ
ในรัว้ มหาวิทยาลัยนะ เวลามันผ่านไปไวมาก 4 ปีที่อาจจะมีอิสระที่สุด ถึงแค่นั้นเอง ล้มได้ก็ลุกได้ เวลาอีก 4 ปีที่ ทุกคนแล้วว่าจะเลือกเป็นสิงห์ ในรั้วมหาวิทยาลัย สี่ปีมันสั้น
เหมือนเราเองก็เพิ่งเข้ามาเป็นน้องปี 1 ได้ แล้ว ถ้าเจอกันก็ทักได้นะ จะถึงนี้ใช้ชีวิตให้เต็มที่ ค้นหา ดำ�แบบไหน เวลามีจำ�กัด ใช้ มาก ดังนั้น ใช้มันให้คุ้มค่านะ :)
พี่น้ำ�หวานบอกว่า... ไม่นานแต่รู้ตัวอีกทีก็มีน้องใหม่เข้ามาแล้ว ตัวเองให้เจอ คนเราเกิดมาทัง้ ที ชีวิตในคณะให้คุ้มที่สุดนะคะ...
ยินดีต้อนรับน้องๆ สิงห์ดำ� 68 ทุกคน อยากให้ทุกคนเต็มที่กับทั้งการเรียนแล้วก็ ไม่ลองใช้ชีวิตให้คุ้มค่าหน่อย เอ่อ ครับ...
นะคะ พี่ดีใจที่ได้น้อง ลองมาหาประสบการณ์ใหม่ๆ กับการทำ� พี่ป๊อปบอกว่า... หล่ะ โชคดีนะเด็กๆ ;) พี่มิวลิมบอกว่า...
มาเป็นส่วนหนึ่งใน กิจกรรมดู บางทีมันอาจจะสอนให้เรามอง ตอนแรกหัวใจพี่อยู่ข้างซ้าย แต่พอเจอ พี่มิวลิมเองนะ ท่องจำ�ชื่อพี่ไว้เร็ว หัวปี 4 นะ
ในมุมมองใหม่ มองเห็นในมุมทีก่ ว้างขึน้ จากที่ พี่เมย์บอกว่า... พี่อายบอกว่า... ก่อนอื่นยินดีต้อนรับน้องของพี่เข้าถ้ำ�สิงห์ดำ�
ครอบครัวสิงห์- น้องๆ แล้วหัวใจพี่นี่ย้ายไปอยู่ข้างน้อง ตำ�แหน่งประธานเชียร์นี้มีเวลาจัดกิจกรรม
เราเคยเป็น เต็มที่ไปเลยเวลาจะทำ�อะไรซัก ขอให้น้องปีหนึ่งเก็บเกี่ยวประสบการณ์และ แล้วก็ แม้วา่ พีช่ น้ั ปีจะห่างไกล แต่ใจพีใ่ ห้นอ้ งนะ
ดำ�ของเรา เลยนะรู้ยัง ยินดีต้อนรับน้องๆ ทุกคน ให้น้องๆ รุ่น 68 จริงๆ เพียงแค่ 1 เดือน
อย่าง เพื่อที่วันนึงเราจะไม่นึก ความรู้ในคณะให้มากที่สุด คณะนี้เปิดความ ค่าเทอมไม่มี มีไรจะคุยจะปรึกษา
ย้อนกลับมาแล้วเสียใจกับ เข้าสูค่ ณะรัฐศาสตร์คะ่ ดีใจ เท่านั้น ระยะเวลาของกิจกรรมห้องเชียร์ กดโทรศัพท์หาพี่เลย โดยเฉพาะ
ที่เราได้มาร่วมเติบโตและ คิดใหม่ๆ ที่น้องอาจไม่เคยให้ความสำ�คัญ ถือว่าสั้นมาก พี่จึงอยากให้น้องๆ เก็บเกี่ยว
การกระทำ�นี้ ขอให้ทุกคน เพราะมันถูกทำ�ให้เลือนลางไปในสังคม น้อง..... //ได้หมดจ้าา ;)
พี่ซาร่าห์บอกว่า... โชคดีน้า มีอะไรก็ถามได้ เติมเต็มกันและกันในบ้าน
และขอให้น้องๆทุกคนใช้ชีวิตในคณะควบคู่
ช่วงเวลาในห้องเชียร์ ไว้ เพราะมันจะไม่
ปล.พี่ๆ 65 ก้อรัก 68 นะ
พี่ชื่อซาร่าห์ ปี 3 เป็นอุปนายกกิจการ ตลอดดดดดด ^____^ สิงห์ดำ�หลังนี้นะคะ กลับมาอีกแล้วตลอด 4 ปีในคณะรัฐศาสตร์

36 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 37
ภาควิชาการปกครอง รศ.ดร.พิษณุ เสงี่ยมพงษ์
B.A. (American), M.P.A. (Ohio), Ph.D.(Saint Louis)
ห้องอาจารย์: ห้อง 209 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
งานด้านบริหารและพัฒนาภาควิชา - การปฏิบัติงานด้านการบริหารและการพัฒนางาน โทรศัพท์: 02-218-7230
ของภาควิชา มีหวั หน้าภาควิชาเป็นผูด้ แู ลนโยบายของภาควิชาโดยความร่วมมือของคณาจารย์ ซึง่ รับผิดชอบ
ภารกิจต่างๆ มีการประชุมคณาจารย์ประจ�ำภาควิชา เพื่อพบปะและพิจารณาการด�ำเนินนโยบาย
การบริหาร และการเรียนการสอนอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และมีการสัมมนาภาควิชาประจ�ำปี
รศ.ดร.เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา
คณบดีคณะรัฐศาสตร์
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Essex), Ph.D.(Essex)
คณาจารย์ภาควิชาการปกครอง ห้องอาจารย์: ห้อง 208 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7228, 02-218-7269

รศ.ดร. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี


หัวหน้าภาควิชาการปกครอง / ประธานหลักสูตรรัฐศาสตร-
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง
ร.บ.เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.A. (The Johns Hopskins), รศ.ดร.ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว
Ph.D. (Kyoto University) ร.บ. (จุฬาฯ), M.Sc. (AIT), Ph.D. (Waterloo)
ห้องอาจารย์: ห้อง 104/2 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) ห้องอาจารย์: ห้อง 210 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7201 โทรศัพท์: 02-218-7231

รศ.ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง
ศ.ดร.อนุสรณ์ ลิ่มมณี ผู้อำ�นวยการหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
ร.บ. เกียรตินิยม (ธรรมศาสตร์), ร.ม.(ธรรมศาสตร์), สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง
Ph.D.(Northwestern) ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม. (จุฬาฯ), Ph.D. (จุฬาฯ)
ห้องอาจารย์: ห้อง 102 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) ห้องอาจารย์: ห้อง 113 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7238 โทรศัพท์: 02-218-7222

รศ.ดร.ไชยันต์ ไชยพร
รางวัลผลงานวิจัยประจำ�ปี พ.ศ.2555 (รางวัลระดับดี) ผลงานวิจัยเรื่อง “ประกาศ รศ.ดร.แก้วคำ� ไกรสรพงษ์
กระแสโต้ : ความคิดทางการเมืองของปัญญาชนไทยใน “มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน” ใน ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
วิกฤติความชอบธรรมทางการเมืองไทย พ.ศ.2549” ร.บ.เกียรติยม (จุฬาฯ), M.Sc. (Japanese – America Institute of
ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.A. (Wisconsin), Ph.D. (LSE) Management Science, Japan), Ph.D. (British Columbia)
ห้องอาจารย์: ห้อง 101 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) ห้องอาจารย์: ห้อง 205 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7220 โทรศัพท์: 02-218-7227

38 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 39
อ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล
รศ.ตระกูล มีชัย รองผู้อำ�นวยการหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการจัดการ
เลขานุการคณะกรรมการบริหารคณะรัฐศาสตร์ ปกครอง / ผู้ประสานงานตารางสอบตารางสอนภาควิชา
ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม. (จุฬาฯ) ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Leeds), Ph.D. (LSE)
ห้องอาจารย์: ห้อง 114 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) ห้องอาจารย์: ห้อง 211 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7224 โทรศัพท์: 02-218-7232

อ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย
กรรมการเลขานุการคณะกรรมการบริหารภาควิชา / กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ น.บ. (อัสสัมชัญ), นม.บ. (อัสสัมชัญ), M.L.I (Wisconsin-Madison),
ร.บ.เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (จุฬาฯ), M.Phil (Cantab), Ph.D. (Cal.) S.J.D. (Wisconsin-Madison)
ห้องอาจารย์: ห้อง 105 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) ห้องอาจารย์: ห้อง 104/1 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-218-7202 โทรศัพท์: 02-218-7203

ผศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล อ.ดร.ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์


ผู้อำ�นวยการหลักสูตร MAIDS ผู้แทนฝ่ายบริหารการประกันคุณภาพภาควิชา
ร.บ. (ธรรมศาสตร์), M.A. (Leeds), Ph.D. (Leeds) ร.บ.(จุฬาฯ), M.A. (Chicago), Ph.D. (Houston)
ห้องอาจารย์: ห้อง 211 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2) ห้องอาจารย์: ห้อง 115 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7232 โทรศัพท์: 02-218-7324

ผศ.เวียงรัฐ เนติโพธิ์ เจ้าหน้าที่ภาควิชาการปกครอง


ศศ.บ. (เกษตรศาสตร์), ร.ม.(ธรรมศาสตร์), LL.M. ( Kyoto Univ. Japan)
ห้องอาจารย์: ห้อง 202 ชั้น 2 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7222

นางนันทนา ลิมปิโกวิท
ติดต่อภาควิชาการปกครอง: ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
อ.ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ โทรศัพท์: 02-218-7204
ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.A. (Kent, Canterbury),
Ph.D. (Kent, Canterbury)
ห้องอาจารย์: ห้อง 114 ชั้น 1 อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ (ตึก 2)
โทรศัพท์: 02-218-7223

40 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 41
รศ.ดร.ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์์
ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผู้อำ�นวยการสถาบันความมั่นคงและนานาชาติ / รางวัลชมเชย สาขารัฐศาสตร์
และรัฐประศาสนศาสตร์ (เกียรติคุณประกาศรางวัลวิทยานิพนธ์ วิกฤติจากภายใน :
การเมืองว่าด้วยการจัดการเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทย พ.ศ.2490-2550)
B.A. (California), M.A. (Johns Hopkins), Ph.D. (LSE)
งานด้านบริหารและพัฒนาภาควิชา - หัวหน้าภาควิชาเป็นผู้ประสานงานให้การด�ำเนิน ห้องอาจารย์: ห้อง 907/18 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
งานของภาควิชาให้เป็นไปด้วยดีและมีประสิทธิผล ด้วยความร่วมมือของคณาจารย์ในภาควิชา ทั้ง โทรศัพท์: 02-218-7306
ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ตลอดจนส่งเสริมให้คณาจารย์ในภาควิชา
สร้างสรรค์งานวิชาการ และงานวิจัย เสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ และความสัมพันธ์ระหว่าง
คณาจารย์และนิสิต อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าที่ของคณาจารย์ในภาควิชา เน้นการเสริม
สร้างให้คณาจารย์มีจริยธรรมและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่นิสิต รศ.ดร.ปณิธาน วัฒนายากร
ศศ.บ. (รามคำ�แหง), M.A. (Akron), Ph.D. (Northern Illinois)
คณาจารย์ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ห้องอาจารย์: ห้อง 907/20 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7277

ผศ.ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์
หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ / ผู้อำ�นวยการโครงการหลักสูตร
รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภาคนอกเวลาราชการ รศ.ดร.วีระ สมบูรณ์
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A.I.A. (American Univ.), Ph.D. (จุฬาฯ) ร.บ. (ธรรมศาสตร์), M.A. (Michigan), Ph.D. (Michigan)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/6 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/22 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7288 โทรศัพท์: 02-218-7280

ศ.ดร.สุรชาติ บำ�รุงสุข
ผลงานวิจัยดีเด่น สกว.ประจำ�ปี พ.ศ.2551
ผลงานวิจัยเรื่อง “โครงการความมั่นคงศึกษา” รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Cornell), Ph.D. (Columbia) ร.บ.(ธรรมศาสตร์), Ph.D. (University of Wollongong)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/23 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/12 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7275 โทรศัพท์: 02-218-7278

ศ.ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำ�ชู
อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / ผลงานวิชาการดีเด่น
TIF AWARD ประจำ�ปี พ.ศ.2551 รางวัลสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ร.บ.เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.A. (University of Washington), รศ.ดร.ชูเกียรติ พนัสพรประสิทธิ์
Ph.D. (University of Washington) ร.บ.เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.A. (ANU.), Ph.D. (Aberystwyth)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/19 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/9 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7282 โทรศัพท์: 02-218-7276

42 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 43
รศ.สรวิศ ชัยนาม
รักษาการแทนรองผู้อำ�นวยการหลักสูตรศิลปศาสตร- อ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ (MAIDS) ร.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 (จุฬาฯ), M.L. (Hitotsubashi Univ. Tokyo,
B.A. (Paris), M.Sc. (LSE) Japan), Ph.D. (Waseda Univ. Tokyo, Japan)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/8 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/10 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7279 โทรศัพท์: 02-218-7244

ผศ.ดร.ปราณี ทิพย์รัตน์ อ.ดร.กษิร ชีพเป็นสุข


ร.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง (จุฬาฯ), ร.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง (จุฬาฯ), M.Phil.(Cambridge),
M.A. (ANU.), Ph.D. (Princeton) Ph.D. (LSE)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/13 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/11 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7281 โทรศัพท์: 02-218-7285

ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ อ.กัลยา เจริญยิ่ง


ผู้อำ�นวยการหลักสูตรยุโรปศึกษา ผู้อำ�นวยการหลักสูตรยุโรปศึกษา
ร.บ. เกียรตินิยม (ธรรมศาสตร์), M.A. (Leeds), Ph.D. (Leeds) B.A. (Northwestern), M.A. (American Univ.), M.A. (จุฬาฯ)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/14 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 907/15 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7284 โทรศัพท์: 02-218-7283

ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล
ผู้อำ�นวยการศูนย์อินเดียศึกษา เจ้าหน้าที่ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ศศ.บ. (ม.พายัพ), M.Sc (LSE), M.A. (London Guildhall)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/7 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) นางวันทนี ตระแก้วจิตต์
โทรศัพท์: 02-218-7286 น.ส.ธัญดา ชีวิตไทย
ติดต่อภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: ชั้น 9
อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7266
ผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล
ผู้อำ�นวยการศูนย์จีนศึกษา
ศศ.บ. (รามคำ�แหง)
ห้องอาจารย์: ห้อง 907/21 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7287

44 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 45
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
รศ.ดร.นิติ ภวัครพันธุ์
ศศ.บ. (ศิลปากร), M.A. (Otago), Ph.D. (ANU)
งานด้านบริหารและพัฒนาภาควิชา - งานราชการของภาควิชามีทั้งงานของภาควิชาเอง ห้องอาจารย์: ห้อง 908/12 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
และงานที่ต้องด�ำเนินการตามนโยบายของคณะรัฐศาสตร์และของมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นงานที่ โทรศัพท์: 02-218-7289
ต้องร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก หรืองานในส่วนของภาควิชา รวมทั้งงานบริการสังคมอื่นๆ ที่เกี่ยว
ข้อง หัวหน้าภาคและคณาจารย์จะเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน ถ้าหากเป็นราชการส�ำคัญ ภาควิชาจะ
ใช้วิธีเชิญประชุมภาควิชาเพื่อก�ำหนดนโยบาย วางมาตรการก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งตัดสินใจ
ปัญหาต่างๆ รศ.ดร.ศิริรัตน์ แอดสกุล
ค.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), สค.ม. (จุฬาฯ), Ph.D. (รามคำ�แหง)
คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ห้องอาจารย์: ห้อง 908/10 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7307

ผศ.ดร.สุมนทิพย์ จิตสว่าง
หัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
นธ.บ. (ธรรมศาสตร์), ศศ.บ. (ธรรมศาสตร์), ผศ.ดร.ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์
ร.ม. (ธรรมศาสตร์), Ph.D. (มหิดล) ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.Sc. (LSE), Ph.D. (Warwick)
ห้องอาจารย์: ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 908/14 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7265 โทรศัพท์: 02-218-7297

รศ.ดร.จุลนี เทียนไทย ผศ.ดร.อุนิษา เลิศโตมรสกุล


รองคณบดี ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.S. (Michigan State Univ.),
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Oregon State Univ.), Ph.D. (Univ. of Oregon) Ph.D. (Sam Houston State Univ.)
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/5 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 908/6 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7292, 02-218-7271 โทรศัพท์: 02-218-7267

ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี
รศ.ดร.จุฑารัตน์ เอื้ออำ�นวย รองคณบดี / รองผู้อำ�นวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
รองคณบดี สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ
ค.บ. (จุฬาฯ), สค.บ. (มหิดล), Ph.D. (ธรรมศาสตร์) ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (ม.เชียงใหม่), Ph.D (ANU)
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/11 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) ห้องอาจารย์: ห้อง 908/9 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-2187-240, 02-218-7262 โทรศัพท์: 02-218-7298

46 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 47
ผศ.ดร.บุญยง ชื่นสุวิมล
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Toyo Univ.), Ph.D. (Toyo Univ.)
ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/8 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7291
คณาจารย์ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.ดร.อมร วาณิชวิวัฒน์
ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม.(ธรรมศาสตร์),
M.S. (Florida State Univ.), Ph.D. (Oxford)
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/7 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) ผศ.อร่าม ศิริพันธุ์
โทรศัพท์: 02-218-7293 หัวหน้าภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์
ร.บ. (จุฬาฯ), M.P.A. (NIDA)
ห้องอาจารย์: ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-218-7208
อ.ดร.ฐิติยา เพชรมุนี
น.บ. (ธรรมศาสตร์), สค.ม. (ธรรมศาสตร์), Ph.D. (มหิดล) ศ.ดร.ศุภชัย ยาวะประภาษ
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/19 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) อดีตคณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / นายกสมาคม
โทรศัพท์: 02-218-7296 รัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย / นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำ�ปี 2548
ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.P.A. (Syracuse), Ph.D. (Virginia
Polytechnic Institute and State)
อ.จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ ห้องอาจารย์: -
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (ISS.Netherlands) โทรศัพท์: -
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/13 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
โทรศัพท์: 02-218-7295
ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา
อดีตคณบดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย /
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำ�ปี 2554
อ.ศิริพงศ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ร.บ. (จุฬาฯ), ศ.ม. (จุฬาฯ), พบ.ม. (NIDA), Ph.D. (Northern Illinois)
ร.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง (จุฬาฯ), M.A. (จุฬาฯ) ห้องอาจารย์: ห้อง 808/10 ชั้น 8 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
ห้องอาจารย์: ห้อง 908/22 ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี) โทรศัพท์: 02-2187-209
โทรศัพท์: 02-218-7252

เจ้าหน้าที่ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รศ.ดร.ดำ�รงค์ วัฒนา


ผู้อำ�นวยการสถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ
นางพรทิพย์ บัวรับพร ร.บ. (จุฬาฯ), พบ.ม. (NIDA), M.P.S. (Saitama, Japan),
น.ส.ศุพัชรณัณท์ เจริญจิตต์ Ph.D. (Northern Illinois)
ติดต่อภาควิชาสังคมวิทยาฯ: ชั้น 9 อาคารเกษม อุทยานิน ห้องอาจารย์: ห้อง 204 ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
(รัฐศาสตร์ 60 ปี) / โทรศัพท์: 02-218-7299 โทรศัพท์: 02-2187-239

48 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 49
ผศ.ดร.ศิริภัสสร วงศ์ทองดี
รศ.ดร.ชนิดา จิตตรุทธะ ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม. (ธรรมศาสตร์), Ph.D. (NIDA)
ศ.บ. (ม.ศิลปากร), รป.ม. (จุฬาฯ), Ph.D. (จุฬาฯ) ห้องอาจารย์: ห้อง 212 ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
ห้องอาจารย์: ห้อง 109 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) โทรศัพท์: 02-218-7218
โทรศัพท์: 02-218-7206
ผศ.ดร.อัครเดช ไชยเพิ่ม
ร.บ. เกียรตินิยม (ธรรมศาสตร์), รป.ม. (จุฬาฯ), Dr.rer.pu.bl. (Deusch
Hochschule fuer Verwaltungswissenschaften Speyer, Germany)
รศ.วันชัย มีชาติ ห้องอาจารย์: ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
รองคณบดี
โทรศัพท์: 02-2187-210
ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), รป.ม. (จุฬาฯ)
ห้องอาจารย์: ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-218-7212, 02-218-7261
ผศ.ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา
ร.บ. (จุฬาฯ), M.D.A. (Western Michigan)
ห้องอาจารย์: ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-218-7217
ผศ.ดร.กฤษณา กิติยาศัย
B.Sc. (Wales), M.Sc. (LSE), Ph.D. (LSE)
ห้องอาจารย์: ห้อง 109 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-2187-216 ผศ.ฉัตรมงคล แน่นหนา
ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (ISS.Netherlands)
ห้องอาจารย์: ห้อง 204 ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
ผศ.ดร. วีระศักดิ์ เครือเทพ โทรศัพท์: 02-218-7295
รางวัลบทความวิจัยดีเยี่ยมด้าน พัฒนบริหารศาสตร์ประจำ�ปี 2557
ระดับชาติ สาขารัฐประศาสนศาสตร์
ร.บ. เกียรตินิยมอันดับ 1 (จุฬาฯ), รป.ม. (จุฬาฯ), M.P.A (GRIPS,
JAPAN), Ph.D. (University of New Jersey) Rutgers Newark อ.ชญานุช จาตุรจินดา
ห้องอาจารย์: ห้อง 808/17 ชั้น 8 อาคารเกษม อุทยานิน(รัฐศาสตร์ 60 ปี) ร.บ. (จุฬาฯ), M.A. (Wisconsin-Madison)
โทรศัพท์: 02-2187-259 ห้องอาจารย์: ห้อง 109 ชั้น 1 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-218-7205

ผศ.ดร.ปกรณ์ ศิริประกอบ
รองคณบดี เจ้าหน้าที่ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์
ร.บ. เกียรตินิยม (จุฬาฯ), M.P.A. (Arizona State Univ.),
Ph.D. (Arizona State Univ.) นางมนฤดี ยิ้มเป็นใย
ห้องอาจารย์: ห้อง 212 ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) ติดต่อภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์: ชั้น 2 อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1)
โทรศัพท์: 02-2187-235, 02-218-7272 โทรศัพท์: 02-218-7213, 02-218-7214, 02-218-7219

50 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 51
52 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 53
ทำ�ไมต้องสิงห์?
เคยสงสัยกันบ้างไหมว่า ทำ�ไมคณะรัฐศาสตร์ของเราถึงมีชื่อเรียกว่า “สิงห์” แล้ว
มันมีที่มาอย่างไร วันนี้ในฐานะที่น้องๆ ก้าวเข้ามาเป็นสมาชิกของครอบครัวสิงห์ดำ�แล้ว
รุ่นพี่สิงห์ก็จะมาเล่าความเป็นมาของครอบครัวสิงห์ดำ�ให้น้องๆทุกคนได้รู้กัน...

จริงๆแล้วความเป็นครอบครัวสิงห์ของเรานั้นไม่ได้มีเพียง “สิงห์ดำ�” เท่านั้น


เพราะรัฐศาสตร์ในแต่ละสถาบันล้วนแล้วแต่มีสัญลักษณ์ว่า “สิงห์” ด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้น
เรายังมีพี่น้อง สิงห์แดง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) สิงห์เขียว (มหาวิทยาลัยเกษตร-
ศาสตร์) สิงห์ขาว (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) เป็นต้น แล้วทำ�ไมเราถึงใช้สัญลักษณ์แทน
ตัวเองว่าเป็น “สิงห์” หรือ “ราชสีห์” เหตุผลก็คือการเป็น “ราชาแห่งสัตว์ป่า” นั้นเป็น
สัญลักษณ์แห่งอำ�นาจและกำ�ลัง จึงนำ�ไปเปรียบกับนักปกครองแบบนักรัฐศาสตร์ อีกทั้ง
ยังเป็นสัญลักษณ์ของกระทรวงมหาดไทย ที่เป็นเป้าหมายของชาวรัฐศาสตร์ ดังนั้นจึงได้
ถูกนำ�มาเป็นสัญลักษณ์ประจำ�คณะนั่นเอง

ตอนนี้น้องๆก็รู้ความเป็นมาของ
ครอบครัวเราแล้ว แต่คงมีน้องๆอีกไม่
น้อยที่ยังสงสัยอยู่ว่า แล้วท�ำไมสีประจ�ำ
ครอบครัวของเราถึงได้เป็น “สีด�ำ” การที่
ครอบครัวเราแทนตนเองว่าเป็น “สิงห์ด�ำ”
ก็เพราะว่า “สีด�ำ” คือ สีแห่งศอของพระ
ศิ ว ะที่ ดื่ม ยาพิ ษ เพื่ อ ปกป้ อ งมวลมนุ ษ ย์
ดังนั้น “สิงห์ด�ำ” จึงมีหมายความว่า การ
เป็ น นั ก ปกครองจะต้ อ งเสี ย สละเพื่ อ
มวลชน “Black is Devotion” นั่นเอง

54 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 55
ถ้าจะถามว่าเรียนรัฐศาสตร์กี่ปี ก็ตอบยากครับ จริงๆ แล้วก็คือ 4 ปี แต่การเรียน
มหาวิทยาลัยคือการเก็บหน่วยกิต หากเราสามารถเก็บหน่วยกิตได้ครบตามจำ�นวนแล้วก็อาจ
จะจบเร็วขึ้นนิดนึง (หรือจบช้ากว่าเพื่อนก็ได้นะ) โดยเราจำ�กัดว่าสามารถเรียนได้สูงสุด 8 ปี
ซึ่งหมายความว่าเราอาจจะดรอปไว้แล้วมาเรียนต่อก็ได้ คณะเรากำ�หนดหลักสูตร 4 ปีไว้ว่า

ALL ABOUT ต้องเรียนไม่ต่ำ�กว่า 7 ภาคการศึกษา และนานสุด 16 ภาคการศึกษา


ACADEMICS
อีกคำ�นึงที่เราอาจจะได้ยินบ่อย ก็คือระบบทวิภาค ง่ายๆ ครับ ทวิแปลว่า 2 คือใน
ปีนึงเราเรียนกัน 2 เทอม ภาคต้น-ภาคปลาย (บางหลักสูตรของคณะอื่นอาจจะมีตรีภาคหรือ
เรียน 3 เทอมต่อปี) ฉะนั้นเวลาที่เราจะไปเช็คตารางสอนหรืออะไร ก็ไปกดตรงทวิภาค

ส่วนอีกคำ�ที่จะคุ้นๆ หู คือ วิชาเอก-วิชาโท
วิชาเอกคือวิชาหลักที่เราได้มาตั้งแต่สอบแอดมิชชั่นเข้า
วิชาการเน้นๆ มาครับ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Major โดยคณะเราแบ่ง
ออกเป็น 4 ภาควิชา คือ การปกครอง (GOV - Govern-
ment), ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (IR - International
Relations), สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (SOC - So-
ciology and Anthropology) และรัฐประศาสนศาสตร์
(PA - Public Administration) เข้ามาแล้วเปลี่ยนไม่ได้
แล้วนะ แอบนอกเรื่องนิดนึงดีกว่า แต่ก่อนนั้นคณะเราจะ
สวัสดีน้องๆ กันอีกครั้ง หลังจากที่เราไปตะลุยทัวร์แนะนำ�คณะ หน่วยงาน รวมถึง ให้เข้ามาเป็นรัฐศาสตร์เฉยๆ โดยที่ยังไม่เลือกภาค แล้ว
อาจารย์ ไปคร่าวๆ แล้ว มาถึงส่วนสำ�คัญที่สุดที่หนังสือเล่มนี้ เพื่อให้ 4 ปีในคณะรัฐศาสตร์ ค่อยมาเลือกกันตอนปี 2 ตามความสนใจของแต่ละคน
แห่งนี้ กลายเป็น 4 ปีที่ดีที่สุดในชีวิต ราบรื่นปลอดภัยไร้กังวล หลับสนิทตลอดคืน (ไม่เกี่ยว) จนกระทั่งช่วงหนึ่งเกิดเหตุการณ์บ้านเมืองที่มีการจำ�กัด
เกทเอๆ กันถ้วนหน้าาาาา #สาธุ การเข้ารับราชการ จนทำ�ให้ รปศ.เป็นพระรองที่ไม่มีคน
สนใจ และเทใจไปให้ภาคอื่นๆ อย่าง IR กันหมด เมื่อ
เอาหล่ะ มาเข้าเนื้อหากันเลย หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรที่ใช้กับ เกิดปัญหาอย่างนี้ขึ้น จึงต้องบังคับให้เลือกภาคกันตั้งแต่
ปริญญาตรี เวลาที่เราเรียนจบไปแล้ว เวลาไปสมัครงานหรือเค้าถามวุฒิการศึกษาก็จะระบุ สมัครเข้าเรียนตั้งแต่ต้นด้วยประการเช่นนี้
ตัวนี้ไป โดยมีชื่อย่อว่า ร.บ. ส่วนชื่ออังกฤษอาจจะแอบสับสนนิดนึง เพราะมันคือ Bachelor
of Arts (Political Science) หรือ B.A. ถึงจะขึ้นชื่อว่าอาร์ต แต่ไม่ใช่ของอักษรนะ ส่วน ส่วนคำ�ว่าวิชาโท เราจะมาอธิบายอีกที แต่ก็จะ
หลักสูตรที่เราใช้กันอยู่คือ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558 หรือเรากำ�ลังใช้หลักสูตรใหม่แกะ บอกคร่าวๆ ว่าเป็นวิชาที่เราสามารถเลือกได้เอง เรียกกัน
กล่องกันเลยทีเดียว ถ้าจะพรีเซนต์ความเก๋ของหลักสูตร คือน้องจะเรียนยากขึ้น... เอ๊อะ ยัง ว่า Minor เป็นวิชารอง เลือกตามความสมัครใจของตัวเอง
ไง... หลักๆ เลยคือเราจะนำ�จุดเด่นของทั้ง 4 ภาควิชามาจัดสรรให้น้องๆ ได้เรียนกันก่อน อาจจะเลือกวิชาโทในภาคของตัวเอง, เลือกวิชาโทนอก
ทำ�ให้ครอบคลุมสุด จะได้เอาไปปรับใช้กันได้ในอนาคต ภาค (ไปเลือกภาคอื่นในคณะรัฐศาสตร์) หรือเลือกวิชาโท
นอกคณะไปเลย (ไปเรียนวิชาของคณะอื่นๆ ในจุฬาฯ)
56 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 57
01
การลงทะเบียนเรียน สเตตัสทุกครั้งหลังหมดเวลาลงทะเบียน (ว่าลืมกดยืนยัน) คือปุ่มนี้ที่จะทำ�ให้เราลงทะเบียน
ไปแล้วจริงๆ กดยืนยันทุกครั้ง แล้วระบบจะบอกว่า ลงทะเบียนเรียบร้อยยยยย อย่าลืมกด
ยืนยันเด็ดขาด เข้าใจมั้ย! พอยืนยันไปแล้วเราก็ไม่สามารถแก้ไขได้

ยินดีต้อนรับสู่ www.reg.chula.ac.th ระบบการลงทะเบียนเรียนของจุฬาลงกรณ์ การลงทะเบียนวิชาคณะ หรือวิชาที่เป็นวิชาบังคับ เรามั่นใจได้เลยว่าลงไปยังไงก็


มหาวิทยาลัยครับ ต้องได้เรียน เพราะเขาจ�ำกัดคนมาก่อนแล้ว แต่บางทีการลงทะเบียนไปก็อาจจะไม่ได้เรียน
เหมือนกัน โดยเหตุการณ์เหล่านี้มันจะเกิดกับวิชาที่ต้องแย่งกันลง หรือคนลงมากกว่า
ต้องอธิบายก่อนว่าการเรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยจะไม่ได้เลือกวิชาเรียน โควต้านิสิตที่รับจ�ำนวนมาก อย่างวิชา Gen-Ed (อ่านว่า เจน-เอ็ด เดี๋ยวมีอธิบายต่อนะ) ซึ่ง
แล้วจัดตารางสอนให้เราแบบมัธยมฯ แล้วนะ เราเองที่จะเป็นคนจัดตารางสอนด้วยตัวเอง ระบบจะท�ำการสุ่มนิสิตที่จะได้เรียนด้วยระบบอัลกอริทึ่มขั้นสูง (มั่ว) แปลว่าจะลงก่อน
โดยที่คณะรัฐศาสตร์รวมถึงคณะอื่นๆ จะเปิดรายวิชาเอาไว้ และจำ�กัดว่าวิชานี้สามารถลงได้ ลงหลังก็ไม่มีผลครับ ต้องดวงดีเท่านั้น ไหว้พระขอพร ขอให้บุญที่ท�ำมาเมื่อชาติปางก่อนดล
สูงสุดกี่คน และเราก็กางปฏิทินกันมา จันทร์-ศุกร์ แล้วนั่งลงกันเลยว่าจะเรียนวิชาไหนกันวัน บันดาลให้ลูกช้างลงทะเบียนติด ไม่มีเด้งสักตัวด้วยเถิดดดด... ไปกันใหญ่ละ
ไหน เช้า สาย บ่าย ค่ำ� และด้วยความไฮเทคของโลกศตวรรษที่ 21 เราก็จะลงทะเบียนกัน
ผ่านเครือข่ายไร้สาย ที่เชื่อมโยงผู้คนทั่วโลกเข้าด้วยกัน!! (ลงในเน็ต - จะพูดยาวๆ ทำ�ไม) เกิดอะไรขึ้นถ้าลงทะเบียนไม่ติด ก่อนอื่นต้องร้องไห้ก่อน แล้วก็ไปบ่นในเฟซบุ๊ค
ทวิตเตอร์ และช่องทางโซเชียลเน็ตเวิร์คอื่นๆ พอคร่ำ�ครวญเสร็จแล้ว ก็ไม่มีอะไรมาก รอเปิด
ก่อนอื่นเลย และคิดว่าน้องๆ คงจะมีกันแล้ว คือ User Name (เลขประจำ�ตัว เทอมเลยจ้า... เช้าวันเปิดเทอม เวลา 08.00 น. นี่แหล่ะคือจุดพีคของชีวิตนิสิตจุฬาลงกรณ์
นิสิต) และ Password รหัสลับเอเลี่ยนที่ตอนแรกก็จำ�ไม่ได้ แต่ก็จะจำ�ได้ไปเอง เอาหล่ะ เริ่ม! มหาวิทยาลัย เราเรียกช่วงเวลามหาวิปโยคนี้ว่า “Reg War” เป็นสมรภูมิรบ ที่มีคนตาย มีคน
รอด (ส่วนใหญ่ตาย) เป็นวันที่เราจะทำ�การ “ลงทะเบียนเพิ่ม” เพื่อมาทดแทนรายวิชาที่เราลง
การลงทะเบียนทุกๆ ท้ายภาคการศึกษา (สำ�หรับภาคการศึกษาต่อไปนะ) ต้อง ทะเบียนไม่ได้ ในวันนี้มีหลายกรณี อย่างแรกคือความพยายามถึงขั้นดื้อดึง คือตั้งตารอว่าวิชา
ไปเอารหัสการลงทะเบียนที่อาจารย์ที่ปรึกษาก่อน แล้วเรามาเข้าระบบ www.reg.chula. ที่มันเต็มไปแล้ว ว่าจะมีคนลดไป และเปิดว่างเป็นที่นั่งสวยๆ ให้เราเข้าไปจับจอง หรือกรณีที่
ac.th ไปที่ “ลงปกติ” แล้วใส่รหัสวิชาที่เราจะลงทะเบียนเข้าไปโลด หลังจากนั้นก็มีให้กรอก สอง จับจ้องวิชาอื่นที่ยังไม่เต็ม เป็นที่ว่างแค่ 2-3 ที่ ให้ลุ้นกันเล่นๆ ว่าหนึ่งในนั้นจะเป็นเรา
ตอนเรียน (Section) ถ้าจะเลือกแค่ตอนเรียนเดียวก็เขียนตอนเรียนนั้น ช่องฝั่งขวาก็เว้นว่าง ได้ไหม ใครแย่งชิงที่นั่งนั้นได้ก่อน ก็มีสิทธิ์ได้เรียนไป แหม่ ยิ่งกว่าเก้าอี้ดนตรี
ไว้ หรือจะเลือกแบบบุฟเฟ่ต์ ก็ใส่ตอน 1 หรือ/และ/ถึง 2 ก็แล้วแต่กันไป แล้วก็กดบันทึก!
(ลงได้มากสุด 22 หน่วยกิต) แต่ Reg Chula ก็ดับฝันพวกเรานิสิตหน้าใสด้วยปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “เว็บล่ม”
หรือบอกเป็นนัยว่าคุณคือผู้แพ้ Reg War ตั้งแต่ยังไม่ได้ก้าวเท้าลงสนามรบ แต่ไม่เป็นไร ชีวิต
จุดนี้เป็นความพีค คือด้วยความน่ารักของระบบอยากให้นิสิตเลือกไว้ก่อน แล้วเผื่อ ยังมีพรุ่งนี้เสมอ การเพิ่ม/ลดรายวิชาเรียน จะมีประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากเปิดเทอมครับ
เช้นจ์มายมายด์กะทันหัน นิสิตก็สามารถกลับมาแก้ไขที่ตัวเองลงทะเบียนไว้ก็ได้ โดยคำ�ว่า (ดูตารางของแต่ละเทอมเพื่อความแน่ใจ) ก็รอสักพัก ไปจิบกาแฟก่อน แล้วก็ค่อยลงเรียนกัน
“บันทึก” คือบันทึกเอาไว้ว่าเราลงทะเบียนอะไรไว้ เหมือนปุ่ม Save ใน Microsoft Word ใน ใหม่
หนึ่งวันเราสามารถบันทึกแบบคนหลายใจได้แค่ 10 ครั้งเท่านั้น ไม่งั้นระบบเค้าจะไม่ save
แล้ว หลังจากนั้น ภายในเวลาที่เขากำ�หนด อย่าลืม “ยืนยัน” ปุ่มอัศจรรย์ที่จะมีคนออกมาตั้ง

58 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 59
เมื่อครู่เราพูดถึงการเพิ่ม/ลด แต่เรายังไม่ได้อธิบายเรื่อง “ลด” เนอะ ลดก็เหมือน สำ�หรับคณะสายศิลป์ ภาคการศึกษาต้น ปี 1 เราจ่ายเงินผ่านหน้าเคาน์เตอร์ธนาคาร แต่ภาค
กับเพิ่ม แต่ต่างกันที่เพิ่มจะเพิ่มวิชา แต่ลดจะลดวิชา (งงป่ะ) คือยกเลิกการลงทะเบียนวิชา การศึกษาปลายเป็นต้นไป เราจะจ่ายค่าเทอมแบบหักบัญชีธนาคาร โดยฝากเงินเข้าบัญชี
ที่เรากด ลด ไป เหตุผลที่มีการลดนี้เกิดขึ้น ก็สำ�หรับนิสิตที่เรียนวิชานั้นไปได้ 2-3 สัปดาห์ ธนาคารไทยพาณิชย์ประจำ�ตัวที่มหาวิทยาลัยออกให้ ฝากเกินไว้นิดนึงเผื่อหักค่าธรรมเนียม
แล้วมีความรู้สึกเล็กๆ ขึ้นมาในหัวใจห้องซ้ายล่างว่า “เอ้ย เราว่าเราไม่ได้เกิดมาเพื่อสิ่งนี้” เรา ต่างๆ แล้วระบบจะหักเงินไปเองโดยอัตโนมัติ
ก็เข้าไปใน Reg Chula แล้วก็กด ลด เลย การลดรายวิชานั้นเป็นเหมือนทริคมายากล เพราะ
มันจะกลายเป็นเหมือนเราไม่เคยลงทะเบียนวิชานั้นมาก่อนในชีวิต หายไปอย่างไร้ร่องรอย อีกปุ่มที่ขอแนะนำ�คือ “สอบถามตารางสอน/ตารางสอบ” มีไว้ให้สำ�หรับค้นหา
ยิ่งกว่าหมึกล่องหน ไม่มีไปโผล่อยู่ในใบจบของเราแน่นอน รายวิชาที่ต้องการจะลงทะเบียนเรียน วิธีการใช้ก็ง่ายๆ เลือกทวิภาค ภาคเรียน ปีการศึกษา
แล้วก็ค้นหาวิชาที่ต้องการ เราสามารถค้นหาด้วยส่วนเสี้ยวของรหัสวิชา หรือชื่อย่อ ระบบก็จะ
แต่ยังมีอีกปุ่มนึง เป็นปุ่มยอดฮิตไม่แพ้ปุ่มลด คือปุ่ม “ถอน” เป็นปุ่มที่จะกดเมื่อ ไล่วิชาที่มีความเกี่ยวข้องออกมาให้หมด เช่นอยากจะหาวิชาคณะ ก็พิมพ์ตรงช่องรหัสว่า
เกิดเหตุการณ์คล้ายๆ ข้างบน แต่หมดช่วงเวลาโปรโมชั่นซัมเมอร์เซลล์ ไม่ให้เพิ่ม/ลดได้แล้ว 24 ระบบก็จะเอารายวิชาที่ขึ้นด้วย 24 ทั้งหมด ร้อยเรียงออกมาแบบอ่านง่ายได้ใจความ เรา
โดยเหตุการณ์ที่จะมาพร้อมกับการถอนรายวิชา คือเมื่อเราเรียนไปได้สักพักใหญ่ๆ แล้วมา ก็ต้องมานั่งไล่กันดูว่าวิชาที่เราอยากเรียนมันตรงกับเวลาที่เราว่างอยู่ไหม ดูตอนเรียนที่
ตรัสรู้ว่า “เฮ้ย เราว่าเราไม่ได้เกิดมาเพื่อสิ่งนี้” และหลังจากการสอบกลางภาคผ่านไป คะแนน ต้องการจะลง และจำ�นวนนิสติ ทีเ่ ขาจะรับ (หากลงวิชาทีเ่ วลาซ้�ำ กัน ระบบจะแจ้งเราหลังจากลง
ที่ออกมาก็ได้ย้ำ�เตือนประโยคข้างต้น อาจารย์ก็จะแนะนำ�ให้เราถอนซะ (ส่วนใหญ่คะแนน ทะเบียนไปแล้ว สุดท้ายก็เรียนไม่ได้ ต้องไปแก้ไขกันอีก อย่าจับปลาสองมือเลยนะ อิอ)ิ ถ้าหาวิชา
น้อยกว่า 40 เต็ม 100 จะแนะนำ�ให้ถอน แต่ก็แล้วแต่วิชานะ) เพื่อไม่ให้เราติด F ซึ่งการติด เจอแล้วก็กดลงทะเบียนได้เลย!
F นั้นเป็นหายนะเล็กๆ ให้กับชีวิต คือเราอาจจะต้องมาเรียนวิชานี้ใหม่ โดยไม่มีสิทธิ์ได้เกรด
ดีๆ อีกแล้ว และเราก็จะไม่มีสิทธิ์ได้เกียรตินิยมด้วย การถอนก็จะมีตัวอักษรน่ารักๆ ห้อยไว้
(W - Withdrawal) แต่มันก็ดีกว่าการได้ F นะ (การถอนเองก็มีเวลากำ�หนดนะครับ ถ้าเลย
เวลาไปแล้วไม่ได้ถอน แล้วคิดว่าเกรดเน่าแน่ๆ ก็ต้องยอมรับชะตากรรมเนอะ)

ย้อนกลับไปสักเล็กน้อย ไปถึงตอนที่เรากดบันทึก แล้วลืมกดยืนยัน (หรือไม่ได้


แม้แต่จะบันทึก) หลังจากที่เราร้องไห้และตั้งสติได้แล้ว เราก็รอไปตอนเปิดเทอมเพื่อไปเข้าสู่
Reg War และเข้ากระบวนการ “ลงทะเบียนสาย” การลงทะเบียนทั้งหมดทั้งมวลตอนเปิด
เทอม นอกจากเราจะไม่มีสิทธิ์แย่งชิงวิชาดีๆ ที่เต็มไปแล้ว เรายังต้องชำ�ระค่าปรับ 300 บาท
อีกด้วย (ติดต่อจามจุรี 5 ชั้น 2)

แนะนำ�ปุ่มสำ�คัญๆ ไปหมดแล้ว อีกปุ่มที่ไม่น่าพลาดคือปุ่ม “ผลการศึกษา” ก็ตาม


ชื่อเลย เกรดของเราก็จะมาปรากฏอยู่ตรงนี้แหล่ะคร้าบ ยังไม่ขอแนะนำ�เรื่องเกรดมาก แต่ก็
บอกไว้ก่อนว่าปุ่มนี้แหล่ะ

เรี ย นปริ ญ ญาตรี จะเรี ย นๆ เล่ น ๆ แต่ เ วลาเก็ บ ตั ง ค์ นี่ ไ ม่ เ ล่ น นะจ๊ ะ การจ่ า ย
ค่าเทอม นั้นตอนนี้เป็นการเก็บแบบเหมาจ่าย ไม่ว่าเราจะลง 3 หน่วยกิต หรือจะลง MAX
22 หน่วยกิต เราก็ต้องจ่ายราคาเดียว หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะอยู่ที่ 17,000 บาท

60 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 61
02 03
เกรด รหัสวิชา
เกรดจะเป็นเหมือนการวัดประเมินผลความรู้ที่เราได้เรียนมาในรายวิชานั้นๆ แหล่ะ อ่านมาถึงตรงนี้ยังไหวมั้ย ยังไม่เริ่มรายวิชาเลย มาต่อกันเลยดีกว่า นอนสต๊อป!
ซึ่งเกรดที่เราจะได้มานั้น ไม่ได้ได้มาง่ายๆ แบบมัธยมแล้วแน่ๆ การจะได้มาซึ่งคะแนนแต่ละ สำ�หรับการเรียกรายชื่อวิชานั้น ส่วนใหญ่เราจะเรียกด้วยตัวย่อภาษาอังกฤษกัน ที่เป็นอย่าง
วิชา โอย มันช่างยากเย็นเหลือเกิน (ต้องไปเจอเองครับ สปอยล์แค่นี้พอ) เกรดของจุฬาฯ ใช้ นี้อาจจะเพราะเรียกง่ายได้ใจความดี อย่างวิชาประจำ�อย่าง EXP ENG ก็เรียกว่า เอ็ก-อิ้ง
ตัวอักษรคิ้วท์ๆ มาเป็นเกรด โดยเริ่มที่เกรดสูงสุดที่ A ก่อนจะไล่ลงมาเป็น B+, B, C+, C, (เสียงแบบไทยๆ บ้านๆ) จะให้เรียก ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วัน หรือ Experimental
D+, D แล้วก็ไป F ซึ่งการตัดเกรดนั้นก็มีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือการตัดอิงเกณฑ์ ก็ไม่น่า English ก็อาจจะเหนื่อยไปหน่อย ส่วนรหัสวิชานั้นมันยาวมาก จำ�ไม่ได้ จึงมักจะเรียกกัน
ยาก เป็นแบบเดียวกับตอนเรียนที่โรงเรียนเลย คะแนน 80 อัพ ได้เกรด A แต่ละวิชาก็มีเกณฑ์ ด้วยชื่อย่อวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งตัวย่อนี้ก็สามารถเจอได้ง่ายๆ ใน Reg Chula เลยนะ
ที่ต่างกันนะ บางวิชา 90 อัพถึงจะ A บางวิชาก็ตั้งไว้ที่ 40 เป็นต้น ส่วนใหญ่จะใช้กับวิชาที่
เป็นการเรียนตอนเรียนย่อยๆ มากกว่า ส่วนการตัดเกรดอีกแบบคือการตัดอิงกลุม่ อันนี้จะมี ชื่อย่อไม่มีหลักการนะ ไม่ต้องถาม แต่รหัสวิชามีหลักการ รหัสวิชาเป็นการรวม
ความแอดว๊านซ์มากขึน้ โดยจะเอาคะแนนของทุกคนในตอนเรียนมาเรียงกัน แล้วก็ตัดว่า 10 กันของตัวเลข 7 ตัว ขอยกตัวอย่างวิชาที่น้องๆ จะได้เรียน อย่าง 2400118 ตรรกะวิทยา
คนแรก (หรือ 10% แรก) ได้ A แล้วก็ลดหลั่นกันไปครับ คนส่วนมากในตอนเรียนก็จะอยู่ และการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ สำ�หรับ 2 ตัวแรกเป็น 24 คือรหัสคณะ ถ้าเป็นคณะอักษร
กันที่ C+ หรือ B นัน่ เอง ถ้าได้เกรดเหล่านี้ไปก็ปลอบใจตัวเองได้ว่าเราเป็นคนส่วนมากของ ศาสตร์ก็จะเป็น 22 ถ้าเป็นจิตวิทยา ก็เป็น 38 ประมาณนี้ สองตัวมาคือ 00 เป็นภาควิชา
ประเทศโน๊ะ วิชาส่วนใหญ่ที่ใช้การตัดเกรดแบบอิงกลุ่มก็จะเป็นตอนเรียนใหญ่ เรียนกัน หรือสาขาของวิชาเรียน เอาไว้แทนวิชาที่ไม่สังกัดภาควิชาไหน หรือเป็นวิชาทั่วไปของคณะ
200-300 คน หรือวิชาภาษาอังกฤษ (EXP ENG) ก็ใช้การตัดเกรดอิงกลุ่ม โดยครอบคลุม หากเลขสองตัวนี้เป็น 01 ก็จะเป็นวิชาของภาคปกครอง 02 ภาควิชา IR 03 ภาควิชาสังคม
ไปถึงทั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งระดับของกลุ่มที่จะมีอยู่ก็ขึ้นอยู่กับแต่ละวิชาอีกละครับ นอกจากนี้ยัง และ 04 ภาควิชารปศ. หลักต่อมาคือระดับชั้นปี ถ้าเป็นเลข 2 ก็จะให้ปี 2 เรียน ถ้าเลข 3
มีการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม บางวิชาก็จะตั้งเกณฑ์คะแนนส�ำหรับ A ไว้ แล้วค่อย ก็ให้ปี 3 เรียน แต่ตอนนี้ด้วยความที่วิชาใหม่ๆ มันผุดขึ้นมาเยอะ ทำ�ให้รหัสวิชาไม่สามารถ
เอาคะแนนมาเรียงเพื่อตัดเกรดเป็นกลุ่ม แต่ละวิชาก็มีเหตุผลของตัวเองครับ ก็ต้องศึกษากัน ลงล็อคได้เหมือนเดิม ก็อย่าไปสนใจมาก ส่วนเลข 2 หลักสุดท้าย 18 เป็นตัวรายวิชา
ไปตาม Course Syllabus แต่ความจริงแล้ว ไม่ต้องไปสนใจการตัดเกรดรูปแบบต่างๆ หรอก
ครับ แค่เราตั้งใจเรียน อ่านทบทวนทุกครั้ง ท�ำงานให้ครบ เตรียมตัวสอบให้ดี ก็ได้เกรด A มา รหัสคณะ - 01 สถาบันภาษาไทยสิรินธร / 02 ศูนย์การศึกษาทั่วไป / 20 บัณฑิต
นอนกอดเล่นอย่างง่ายดายแล้วครับ แค่พยายามสักอย่าง ไม่มอี ะไรทีเ่ ราท�ำไม่ได้!!! (จบสวยซะงัน้ ) วิทยาลัย / 21คณะวิศวกรรมศาสตร์ / 22 คณะอักษรศาสตร์ / 23 คณะวิทยาศาสตร์ / 24
คณะรัฐศาสตร์ / 25 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ / 26 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี /
อย่างที่กล่าวไว้ก่อนหน้าว่าเกรดเราสามารถดูได้ที่ “ผลการศึกษา” ใน Reg Chula 27 คณะครุศาสตร์ / 28 คณะนิเทศศาสตร์ / 29 คณะเศรษฐศาสตร์ / 30 คณะแพทยศาสตร์
แต่ด้วยความที่คณะรัฐศาสตร์เป็นสายอินดี้ ไม่เกรงใจใคร คณะเราจะออกเกรดช้ากว่าชาว / 31 คณะสัตวแพทยศาสตร์ / 32 คณะทันตแพทยศาสตร์ / 33 คณะเภสัชศาสตร์ / 34
บ้านครับ ช้ากว่ามากๆ ด้วย วันที่เขาประกาศว่าเกรดจะออก วันนั้นจะออกแค่ Gen-Ed กับ คณะนิติศาสตร์ / 35 คณะศิลปกรรมศาสตร์ / 36 คณะพยาบาลศาสตร์ / 37คณะสห
Gen-Lang ครับ วิชาคณะจะยังไม่ออกแน่ๆ ไม่ต้องหวังเลย ทั้งนี้ก็เพราะว่าข้อสอบคณะเรา เวชศาสตร์ / 38 คณะจิตวิทยา / 39 คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา / 40 สำ�นักวิชาทรัพยากร
ส่วนใหญ่เป็นข้อสอบเขียนแล้วต้องตรวจด้วยมือ เกรดก็เลยออกช้าไปโดยปริยาย โดยบางวิชา การเกษตร / 51 วิทยาลัยประชากรศาสตร์ / 53 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข / 55
ที่เกรดยังไม่ออก ทาง Reg Chula ก็จะขึ้น x ไว้ให้ดูเล่นไปพลางๆ ก่อน แล้วค่อยมาเจอเกรด สถาบันภาษา
จริงๆ กันอีกที

62 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 63
04 05
วิชาเรียนและหน่วยกิต หมวดการศึกษาทั่วไป
เอาหล่ะ เกริน่ มาพอสมควร (ทีผ่ า่ นมาทัง้ หมดนีเ่ กริน่ หรอ) หลังจากนีค้ อื ของจริงครับ ส่วนแรก คือหมวดการศึกษาทั่วไป เป็นวิชาที่ทั่วไปมากๆ ตามชื่อเลย เป็นวิชาที่ไม่
มาดูสิ่งที่เราต้องเผชิญตลอด 4 ปี ในรั้วจุฬาฯ กันเถอะ!!!! เกี่ยว (หรืออาจจะเกี่ยวนิดหน่อย) กับวิชารัฐศาสตร์ เป็นวิชาพื้นฐานที่จุฬาฯอยากให้น้องๆ
ได้ไปสัมผัส สำ�หรับวิชาในหมวดนี้รวมทั้งหมด 36 หน่วยกิต แบ่งเป็น 3 แบบ อย่างละ 12
วิชาเรียนของเราแบ่งออกเป็น 3 อย่างหลักๆครับ นั่นคือหมวดวิชาศึกษาทั่วไป, หน่วยกิตเท่าๆ กัน คือ Gen-Ed, ภาษาอังกฤษ และ Gen-Lang
หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี
มาดูกันแต่ละส่วน ส่วนแรกคือ Gen-Ed (อ่านว่า เจน-เอ็ด) หรือวิชาทั่วไป เป็น
ก่อนจะอธิบายว่าแต่ละหมวดวิชามีอะไรบ้าง ต้องเรียนอะไรบ้างเพื่อที่จะทำ�ให้ วิชาสุดเบสิกที่แต่ละคนจะได้เรียนกัน โดยเป็นวิชาคณะอื่นๆ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เราจบปริญญาตรีแบบครบถ้วนสมบูรณ์ไม่ตกหล่น มารู้จักคำ�ว่าหน่วยกิตกันก่อน หน่วยกิต ต้องทำ�ความเข้าใจก่อนว่าทุกคนต้องเรียนเจนเอ็ด 4 ตัว หมวดละ 1 ตัว หมวดที่มีให้เรียน
ภาษาอังกฤษคือ Credit ซึ่งอธิบายได้เป็นนัยว่าจะเป็นเครดิตที่เขาให้เรา ในการเรียนวิชา ก็จะเป็น หมวดมนุษยศาสตร์ เรียกกันแบบเข้าใจเองว่า หมวดมนุษย์ (HU - Humanities),
หนึ่ง ส่วนใหญ่รายวิชานึงจะมี 3 หน่วยกิต แต่บางวิชาก็อาจจะเป็น 2 หรือ 1 ต้องสังเกตให้ หมวดวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เรียกกันเองว่าหมวดวิทย์ (SC - Science & Maths),
ดี หน่วยกิตทั้งหมดที่กำ�หนดให้พวกเรารัฐศาสตร์รุ่น 68 (ใช้หลักสูตรปีการศึกษา 2558) หมวดสังคมศาสตร์ หรือหมวดสังคม (SO - Social Science) และหมวดสหศาสตร์ หรือ
คือ 141 หน่วยกิต เหมือนกันทั้ง 4 ภาคเลยนะ โดยแบ่งเป็นหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 36 หมวดสห (ส่ะ-ห่ะ) (IN - Interdisciplinary) < แปลว่าอะไร? ยังมีอีกหมวดที่เป็นวิชาพิเศษ
หน่วยกิต / หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต / วิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต สามารถเรียนแทน Gen-Ed หมวดอื่นๆ ได้ คือภาษาต่างประเทศ สำ�หรับหนังสือเล่มนี้ขอพูด
หลักๆ ที่ Gen-Ed 4 หมวด
ในหน้าต่อไปเราจะอธิบายหมวดวิชาต่างๆ อย่างละเอียด และดูรายวิชาที่มีอยู่
มาด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นอยากให้น้องๆ ศึกษาคู่มือการศึกษา หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต คณะ วิชา Gen-Ed ส่วนใหญ่ 3 หน่วยกิต เมื่อเก็บครบ 4 หมวด ก็จะได้มา 12 หน่วยกิต
รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 (เล่ม A4 สีชมพู) ประกอบไปด้วย ตามกำ�หนด วิชาเจนเอ็ดนั้นเราจะต้องแย่งชิงกันในการลงทะเบียน เพราะว่าแต่ละวิชาจะ
นะจ๊ะ หากน้องมีหนังสือเล่มนั้นอยู่กับตัว อยากให้หยิบขึ้นมาดูก่อนเลย แล้วพลิกไปหน้า จำ�นวนจำ�กัดนิสิต บางวิชาก็รับแค่ 10 คน บางวิชาก็มีจำ�นวนถึง 200 คน เราก็ต้องเช็คกัน
หลังสุด (หน้า 40-43) แล้วน้องจะเห็นตาราง แบบตรวจสอบรายวิชาเรียนหลักสูตรรัฐ ให้ดีใน Reg Chula และต้องจัดตารางเรียนเองด้วย รีบเก็บวิชา Gen-Ed ตั้งแต่ ปี 1-2 เผื่อ
ศาสตรบัณฑิต ดูภาควิชาของตัวเอง แล้วใช้เป็นเหมือนไกด์ส่วนตัวในการลงวิชาเรียน เพราะ ไว้ว่าอนาคตจะต้องเผชิญกับวิชาคณะที่โหดหินจนเราไม่สามารถเรียนไหว และวิชา Gen-Ed
จะเอาไว้ตรวจสอบว่าเราลงเรียนวิชาครบตามเงื่อนไขหรือยัง เราสามารถนำ�ไปใส่เป็นวิชาเลือกเสรีได้

สำ�หรับวิชาเรียนทั้งหมด (การศึกษาทั่วไป, วิชาเฉพาะ, วิชาเลือกเสรี) ให้อ่านตาม น้องๆ สามารถไปดูรีวิวของวิชา Gen-Ed เจนเอ็ดได้ตามเว็บต่างๆ เสิร์ชกูเกิ้ล
หน้าที่กำ�หนดเป็นหลัก เพราะเกี่ยวข้องกับภาควิชาของนิสิตโดยตรง เลย ไม่งั้นก็สามารถดูได้ที่ http://polscireview.wordpress.com/ เป็นเว็บของพวก
ภาคปกครอง อ่านหน้า - 65-69, 70-71, 75, 76-77 และ 82-91 เราชาวรัฐศาสตร์ ส่วนวิชา Gen-Ed ที่มีเปิดให้เรียนอยู่ในตอนนี้ สามารถดูได้ที่ www.
ภาคความสัมพันธ์ฯ อ่านหน้า - 65-69, 70, 72-74, 75, 78-80 และ 82-91 gened.chula.ac.th
ภาคสังคมฯ อ่านหน้า - 65-69, 70, 72-74, 75 และ 82-91
ภาครปศ. อ่านหน้า - 65-69, 70, 75, 80-81 และ 82-91

64 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 65
อีก 12 หน่วยกิตต่อไปคือวิชาภาษาอังกฤษ เป็นวิชาบังคับ ต้องเรียนให้ครบ มาที่ 12 หน่วยกิตสุดท้ายของหมวดวิชาทั่วไป คือ
ประกอบไปด้วย 4 ตัว คือ EXP ENG 1 & 2 และ EAP 1 & 2 เรียนกันไปเรือ่ ยๆ ตั้งแต่ ปี ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม หรือ Gen-Lang (เจน-แล็ง) แบ่ง
1 เทอม 1 จนถึงปี 2 เทอม 2 ซึ่งก่อนจะเรียนตัวที่แอดว้านซ์ เราต้องเรียนผ่านตัวก่อนหน้า ย่อยๆ ออกเป็น 2 ส่วน คือ 6 หน่วยกิต ส�ำหรับภาษาต่างประ
เรียงกันแบบไม่สามารถข้ามขั้นได้นะ แปลว่าถ้าเราเกิดจะ F วิชา EXP ENG 1 เราก็ไม่มีสิทธิ์ เทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ และอีก 6 หน่วยกิตส�ำหรับ
ที่จะเรียน EXP ENG 2 ได้ ภาษาอังกฤษที่เป็นวิชาเพิ่มเติมของสถาบันภาษา (CULI)

EXP ENG (อ่านว่า เอ็ก-อิ้ง) หรือ Experimental English คือภาษาอังกฤษที่ ส่วนแรกคือภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม หรือ Gen-
ใช้ในชีวิตประจำ�วัน จะถูกแบ่งออกเป็นตอนเรียนละ 50-60 คน เป็นวิชาที่เรียนเหมือนกัน Lang ตัวจริง เป็นภาษาที่เราต้องเรียนเพิ่มเติม โดยมีเงื่อนไข
ทั้งจุฬาฯ ซึ่งความโหดของวิชานี้คือตัดเกรดแบบแบ่งกลุ่มทั้งจุฬาฯ แปลว่าจะถูกคณะท็อปๆ ว่าเราต้องเรียนภาษานั้นด้วยรหัสเบอร์ 1 แล้วต้องเรียนตัว 2
อย่างคุณหมอแย่ง A เราไปได้ง่ายๆ อีกอย่างของวิชานี้คือการเรียนการสอน (โดยเฉพาะ ต่อ อย่างไม่มีทางเลือก อย่างเช่นถ้าเราเรียนภาษาพม่า 1 เรา
Writing) ที่จะต้องทำ�ตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ให้แบบดิ้นไม่ได้ เพราะเขาถือว่าเราใช้กฎเดียว ก็ต้องเรียนภาษาพม่า 2 ต่อด้วย จนครบ 6 หน่วยกิต (วิชาละ
กันทั้งมหาวิทยาลัย 3 หน่วยกิต)

หลังจากที่เราร่วมชะตากรรมกับเพื่อนร่วมตอนเรียนมาทั้ง 2 เทอม เมื่อจบ EXP วิชาที่เปิดสอนจะเป็นของคณะอักษรศาสตร์ ภาษา


ENG 2 คะแนนของน้องๆ จะถูกนำ�มาเรียงกัน แล้วตัดทีละ 30 กว่าคนเพื่อเรียงตอนเรียน ที่เปิดให้เรียนก็อย่างเช่น ภาษาเขมร จีน ฝรั่งเศส เยอรมัน
วิชา EAP (อ่านว่า อี-แอ่พ) แปลว่าถ้าน้องอยู่ตอนเรียนที่ 1 น้องๆ ก็จะอยู่กับระดับตัวท็อป อิตาเลียน ญี่ปุ่น เกาหลี มาเลย์ บาลี โปรตุเกส รัสเซีย สเปน
คณะ และถ้าน้องอยู่ตอนเรียนที่ 8 น้องก็เป็นตัวท็อปของคณะเหมือนกัน (จากล่างสุด) เวียดนาม ฮินดี อินโดนีเซีย พม่า และลาว บางวิชาก็ต้องมีพื้น
ฐานมาก่อนถึงจะเรียนได้ บางวิชาสามารถเรียนได้เลยโดยไม่
EAP มาจาก English for Academic Purpose คือเราจะเรียนเจาะลึกกันไปใน ต้องมีพื้นฐานมาก่อน หากสนใจภาษาไหนสามารถไปศึกษา
แนวรัฐศาสตร์มากขึ้น แต่ละคณะก็จะเรียนไม่เหมือนกัน และความยากก็ทวีคูณขึ้นจาก EXP ได้ที่ทะเบียนของคณะอักษร
ENG (น่ากลัวมาก) ทั้ง 4 วิชาจะเป็นวิชาของสถาบันภาษา (CULI - อ่านว่า คูลี่ ชื่อดูคูลล์)
แปลว่าอาจารย์ที่จะสอนเราก็เป็นอาจารย์จากสถาบันภาษา อีก 2 วิชา (6 หน่วยกิต) เป็น Gen-Lang ตัวปลอม
คือเป็น วิชาภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษา อันนี้เป็นปีแรกที่
มีการบังคับเรียนแบบนี้นะ แต่ก็ยังมีให้เลือกได้บ้าง เราก็ต้อง
รายวิชาภาษาอังกฤษ (12 หน่วยกิต) เรียน 2 ตัวเหมือนกันกับ Gen-Lang ที่เป็นภาษาที่ 3 วิชา
1. 5500111 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 1 Experiential English I 3(2-2-5) ที่เปิดสอนบางตัวก็มีเงื่อนไขว่าต้องเรียนวิชาบางวิชาจบก่อน
2. 5500112 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 Experiential English II 3(2-2-5)
3. 5500223 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 1 English for Academic Purposes I 3(3-0-6)
ต้องศึกษากันก่อน วิชาที่เปิดสอนก็จะมี LISTEN ENG, SPK
4. 5500224 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 2 English for Academic Purposes II 3(3-0-6) COMM, ENG ACT, PROF ENG TRAV, ENG ACT
ครบ 12 หน่วยกิต! (น้องๆ สามารถตรวจสอบวิชาเรียนได้ที่
Reg Chula หรือเว็บ/ทะเบียนของ CULI)

66 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 67
06
วิชาบังคับคณะ
รายวิชาบังคับคณะ (36 หน่วยกิต)
1. 2400105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0-6)
Introduction to Law (INTRO LAW)
2. 2400111* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองและการปกครอง 3(3-0-6)
Introduction to Politics and Government (INTRO POL GOV)
3. 2400112* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
Introduction to International Relations (INTRO IR)
4. 2400113* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3(3-0-6)
Introduction to Sociology and Anthropology (INTRO SOC ANTHRO)
5. 2400114* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6)
Introduction to Public Administration (INTRO PUB ADMIN)
6. 2400115* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองและสังคม 3(3-0-6)
Introduction to Social and Political Theory (INTRO SOC POL THEO)
7. 2400116* การเมืองและการปกครองของไทย 3(3-0-6)
Politics and Government of Thailand (POL GOVT THAI)
มาส่วนที่ยากละ หมวดวิชาเฉพาะ ส่วนนี้รวมแล้วมี 99 หน่วยกิต เป็นวิชาหลักๆ 8. 2400117* การต่างประเทศของไทยในการเมืองโลกสมัยใหม่ 3(3-0-6)
ที่เรียนโดยเฉพาะ ก็แบ่งกันออกเป็นอีก 3 ส่วน คือ วิชาบังคับคณะ, บังคับสาขา และวิชา Thai Foreign Relations in Modern World Politics (THAI FORGN REL)
เลือก/วิชาโท 9. 2400118* ตรรกะวิทยาและการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ 3(2-2-5)
Logics, Reasoning and Social Inquiry (LOG REA SOC INQY)
10. 2400119* การวิจัยและสถิติเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ 3(2-2-5)
อะไรเราจะถูกบังคับมากมายขนาดนี้ ไม่มีความอิสระในชีวิตเลยจริงๆ... มาเริ่มจาก Research and Basic Statistics for Social Sciences (RES STAT SOC SCI)
บังคับคณะ คือวิชาที่ทุกคนทั้งคณะเรียนรวมกัน เรียนด้วยกันทุกคน (บางวิชาอาจจะมีแบ่ง 11. 2900111 เศรษฐศาสตร์ 1 3(3-0-6)
ตอนเรียนนิดหน่อย) มีด้วยกัน 36 หน่วยกิต หรือ 12 รายวิชา รายวิชาละ 3 หน่วยกิต ทุก Economics I (ECONOMICS I)
วิชาเราต้องเรียนทัง้ หมดอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ไม่งน้ั ไม่จบ และก็เรียนกันไปตามชัน้ ปีทก่ี �ำ หนด 12. 2900112 เศรษฐศาสตร์ 2 3(3-0-6)
Economics II (ECONOMICS II)
______________
สำ�หรับรายวิชาบังคับคณะ ส่วนใหญ่ที่จะเรียนก็จะเป็นการปูความรู้พื้นฐานให้กับ
*รายวิชาใหม่
นิสิตคณะรัฐศาสตร์ การวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทฤษฎีการเมืองต่างๆ และสิ่งที่เพิ่มเข้ามา
สำ�หรับหลักสูตรของเราคือการปูพื้นฐานความรู้เบื้องต้นของทั้ง 4 ภาควิชาให้นิสิตได้เรียนทุก
คนไปด้วยกัน ทั้งนี้ก็เพื่อนำ�ความรู้ที่ได้จากวิชาบังคับคณะ ไปใช้ต่อยอดความรู้กับวิชาอื่นๆ
ของคณะต่อไปนั่นเอง โดยเราจะเรียนวิชาบังคับคณะเหมือนกันตั้งแต่ ปี 1 เทอม 1 จนถึง ปี
2 เทอม 2 แล้วหลังจากนั้นแยกภาคกันตอน ปี 3 (เรียนวิชาเฉพาะของภาควิชาตัวเอง) -
แต่มี IR ที่จะเริ่มเรียนวิชาภาคกันตอน ปี 2 เทอม 2

68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 69
07 รายวิชาบังคับสาขา - สาขาวิชาการปกครอง (39 หน่วยกิต)
วิชาบังคับสาขา 1. รายวิชาบังคับสาขา (36 หน่วยกิต)
1. 2400206 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ 3(3-0-6)
Introduction to Comparative Politics (INTRO COMPA POL)
2. 2401212 กฎหมายปกครอง 3(3-0-6)
Administrative Law (ADMIN LAW)
3. 2401216 รัฐและสังคม 3(3-0-6)
State and Society (STATE/ SOCIETY)
4. 2401217 การเมืองไทยสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Modern Thai Politics (MODERN THAI POL)
5. 2401300 ปรัชญาการเมือง 3(3-0-6)
Political Philosophy (POL PHILO)
6. 2401301 ความคิดทางเศรษฐกิจการเมือง 3(3-0-6)
Politico-Economic Thought (POLI-ECON THOU)
7. 2401303 ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ 3(3-0-6)
Comparative Democratic Regimes (COMPA DEM REGI)
8. 2401304 การเมืองเรื่องการพัฒนา 3(3-0-6)
Politics of Development (POL DEV)
9. 2401305 การเมืองการปกครองท้องถิ่นและภูมิภาค 3(3-0-6)
Local and Regional Politics and Governments (LOC REGIO POL GOV)
10. 2401306 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3(3-0-6)
Constitution and Political Institutions (CON/POL INST)
ส่วนต่อไปคือวิชาบังคับสาขา เป็นวิชาเรียนที่จะแยกออกไปแต่ละภาคจะเรียนไม่ 11. 2401307 ขบวนการทางการเมืองและสังคม 3(3-0-6)
เหมือนกัน ภาคปกครอง, สังคม และ รปศ. จะเรียนวิชาบังคับสาขาทั้งหมด 39 หน่วยกิต Political and Social Movements (POL/SOC MOVE)
(13 รายวิชา) และ IR จะเรียน 36 หน่วยกิต (12 รายวิชา) รายวิชาที่จะได้เรียนก็บอกด้วย 12. 2401309 ศึกษาวรรณกรรมพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ 3(3-0-6)
ตัวของมันเองแล้วว่าจะเป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาขาของเราโดยเฉพาะ มีความเฉพาะทางและ Basic Readings in Political Science BASIC READ POL SCI
ยาก-ง่ายแตกต่างกันไปตามรายวิชา ขึ้นชื่อว่าบังคับสาขาแต่ก็ยังเปิดโอกาสให้เราได้เลือก 2. รายวิชาบังคับเลือก (3 หน่วยกิต)
รายวิชาอีก ฉะนั้นด้วยความยากของมัน เราจะแบ่งให้น้องๆ ดูกันไปตามภาคเลยดีกว่า 1. 2401308 สัมมนาขอบข่ายและวิธีศึกษาทางรัฐศาสตร์ 3(3-0-6)
Seminar in Scope and Methods in Political Science (SEM SCO MET POL SC)
ภาคการปกครอง เราเรียนวิชาบังคับสาขาทั้งหมด 39 หน่วยกิต โดยใน 39 2. 2401454 สัมมนาการเมืองการปกครอง 3(3-0-6)
หน่วยกิตนี้ ยังแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ รายวิชาบังคับสาขา และรายวิชาบังคับเลือก... Seminar on Problems of Government and Politics (SEM PROB GOV&POL)
3. 2401481 สัมมนาลัทธิการเมืองปัจจุบัน 3(3-0-6)
รายวิชาบังคับสาขา น้องๆ จะต้องลงทั้งภาคโดยไม่สามารถเลือกได้ ประกอบไปด้วย 36 Seminar on Contemporary Political Thoughts (SEM CONT POL THO)
หน่วยกิต (12 รายวิชา) ส่วนรายวิชาบังคับเลือกอีก 3 หน่วยกิตนั้น เราจะมีช้อยส์ให้ทั้งหมด 4. 2401482 สัมมนาการเมืองกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 3(3-0-6)
4 รายวิชา แปลว่าเราสามารถเลือกลงวิชาไหนก็ได้ในกรอบ 4 ตัวเลือกนี้ เพื่อให้เก็บออกมา Seminar on Politics and Social Change (SEM POL SOC CHANGE)
ได้ 3 หน่วยกิตที่ขาดไป โดยวิชาบังคับสาขาของภาคปกครองนั้นจะเรียนกันตอน ปี 3 เทอม
**หมายเหตุ: ถ้านิสิตเรียนรายวิชาสัมมนา (บังคับเลือก) เกินกว่า 3 หน่วยกิต
1 จนถึง ปี 4 เทอม 1 สามารถนับเป็นวิชาเลือกของภาควิชาได้
70 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 71
รายวิชาบังคับสาขา - สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (39 หน่วยกิต)
ภาคความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะเรียนวิชาบังคับสาขาน้อยกว่าภาควิชาอื่นๆ 1. รายวิชาบังคับร่วม (24 หน่วยกิต)
1 ตัว คือ 36 หน่วยกิต (12 รายวิชา) โดยเรียนไปเลยไม่ต้องรีรอ มีวิชาเดียวที่เราจะเริ่ม 1. 2403313 อาชญาวิทยา 3(3-0-6)
เรียนกันตอน ปี 2 เทอม 2 และวิชาอื่นๆ จะเริ่มกันที่ ปี 3 เทอม 1 จนถึง ปี 4 เทอม 1 Criminology (CRIMINOLOGY)
2. 2403315 สถิติสำ�หรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3(3-0-6)
รายวิชาบังคับสาขา - สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (36 หน่วยกิต)
Statistics for Social Science Research (STAT SOC SCI RSCH)
1. 2402222* การเมืองระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 19 และ 20 3(3-0-6)
3. 2403317 ทฤษฎีสังคมวิทยา 3(3-0-6)
International Politics in the 19th and 20th Centuries (INTL POL 19/20C)
Sociological Theories (SOCIO THEO)
2. 2402223* เอเชียตะวันออกในการเมืองโลก 3(3-0-6)
4. 2403318 ทฤษฎีมานุษยวิทยา 3(3-0-6)
East Asia in World Politics (EASIA WRLD POL)
Anthropological Theories (ANTHROP THEO)
3. 2402224* เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการเมืองโลก 3(3-0-6)
5. 2403319 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3(3-0-6)
Southeast Asia in World Politics (SEA WRLD POL)
Social Science Research Methods (SOC SCI RSCH METH)
4. 2402300* นโยบายต่างประเทศวิเคราะห์ 3(3-0-6)
6. 2403327* มนุษยมิติ 3(3-0-6)
Foreign Policy Analysis (FGN POL ANAL)
Human Dimensions (HUM DIM)
5. 2402305 การเมืองระหว่างประเทศ: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา 3(3-0-6)
7. 2403328* ข้อถกเถียงว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 3(3-0-6)
International Politics: Theories and Approaches (INTL POL THEO APP)
Debates in Contemporary Social and Cultural Changes (DEB CONT SOC/CULT CHG)
6. 2402309 ทฤษฎีการเมืองกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
8. 2403480 สัมมนาประเด็นสังคมร่วมสมัย 3(3-0-6)
Political Theory and International Relations (POL THEORY & IR)
Seminar on Contemporary Social Issues (SEM CONT SOC ISS)
7. 2402310 เศรษฐกิจการเมืองโลก 3(3-0-6)
Global Political Economy (GLOB POL ECON) 2. รายวิชาบังคับเลือก (15 หน่วยกิต)
8. 2402315 องค์การระหว่างประเทศ 3(3-0-6) ให้นิสิตเลือกกลุ่มรายวิชาบังคับเลือกดังต่อไปนี้เพียง 1 กลุ่ม และลงทะเบียนเรียนวิชาในกลุ่มนั้นๆ ให้
International Organization (INTER ORG) ครบทุกวิชา
9. 2402316 กฎหมายระหว่างประเทศ 3(3-0-6) ก. กลุ่มวิชาสังคมวิทยา
International Law (INTER LAW) 1. 2403352 สังคมวิทยาพัฒนาการ 3(3-0-6)
10. 2402401* การอ่านวรรณกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 1 3(3-0-6) Sociology of Development (SOCIO DEV)
Reading in International Relations Series I (RDG IR I) 2. 2403360* สังคมจิตวิทยา 3(3-0-6)
11. 2402402* การอ่านวรรณกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 2 3(3-0-6) Psycho Sociology (PSYCH SOCIOL)
Reading in International Relations Series II (RDG IR II) 3. 2403361* สังคมพ้นพรหมแดน 3(3-0-6)
12. 2402403* การอ่านวรรณกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 3 3(3-0-6) Beyond Society (BEYOND SOC)
Reading in International Relations Series III (RDG IR III) 4. 2403362* การอ่านวรรณกรรมทางสังคมวิทยา 3(3-0-6)
Reading in Sociology (RDG SOCIO)
5. 2403465 การสำ�รวจประชามติและการวิจัยตลาด 3(2-3-4)
ภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา วิชาบังคับสาขา 39 หน่วยกิต หรือ 13 Public Opinion Survey and Market Research (PUB OPN SURV/MKT)
ข. กลุ่มวิชามานุษยวิทยา
รายวิชา แบ่งออกเป็น 2 พาร์ต พาร์ตแรกคือวิชาบังคับร่วม จะต้องเรียนวิชาเหล่านี้ร่วมกัน
1. 2403363* อัตลักษณ์ทางสังคมและความหลากหลายของวัฒนธรรม 3(3-0-6)
มีทั้งหมด 24 หน่วยกิต (8 รายวิชา) เรียนตั้งแต่ ปี 3 เทอม 1 ไปจนถึง ปี 4 เทอม 2 ส่วน Social Identity and Cultural Diversity (SOC ID/CULT DIV)
พาร์ทที่สอง คือ วิชาบังคับเลือก มี 2 กลุ่มวิชา โดยน้องๆ ต้องเลือกเพียง 1 กลุ่มวิชา คือ 2. 2403364* มานุษยวิทยาการเมือง 3(3-0-6)
กลุ่มวิชาสังคมวิทยา หรือกลุ่มวิชามานุษยวิทยา และลงทะเบียนให้ครบทุกวิชาตามที่กำ�หนด Political Anthropology (POL ANTHRO)
ส่วนนี้มี 15 หน่วยกิต หรือ 5 รายวิชา 3. 2403365* มานุษยวิทยาประวัติศาสตร์ 3(3-0-6)
Historical Anthropology (HIST ANTHRO)

72 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 73
4. 2403366* มานุษยวิทยาองค์การ 3(3-0-6) 08
Organizational Anthropology (ORG ANTHRO)
5.

2403367*

การอ่านวรรณกรรมทางมานุษยวิทยา
Reading in Anthropology (RDG ANTHRO)
3(3-0-6) วิชาโท (เพียว ver.)
ภาครัฐประศาสนศาสตร์ วิชาบังคับมีความเรียบง่ายแบบเดียวกับภาคความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ แต่ต่างกันตรงที่ต้องเรียน 39 หน่วยกิต (13 รายวิชา) มีวิชามาให้เรียบร้อย โอเค จบวิชาบังคับสาขาไป เราเก็บไปได้ 108 / 111 หน่วยกิตแล้วนะทุกคน
เหลือแค่ลงเรียนให้ครบ เหลืออีกนิดเดียว อย่าเพิ่งท้อใจจจจจ... มาต่อกันที่วิชาเลือกหรือวิชาโท... โอโห ยากมาก ตั้ง
รายวิชาบังคับสาขา - สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (39 หน่วยกิต) สตินะทุกคนนนน
1. 2404213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลังสาธารณะ 3(3-0-6)
Introduction to Public Finance Administration (INTRO PUB FIN ADM)
วิชาเลือกหรือวิชาโท เป็นกลุ่มวิชาที่เราสามารถเรียนได้ตามความสนใจ นอกเหนือ
2. 2404220 ระบบการบริหารงานของไทย 3(3-0-6)
Thai Administration System (THAI ADM SYSTEM) จากภาควิชาที่เราเลือกเป็นวิชาเอก วิชาโทจะเปิดโอกาสให้น้องๆ ได้เลือกเรียนบางวิชาที่มี
3. 2404310 การบริหารและสังคม 3(3-0-6) ความสนใจรองลงมาจากภาคออริจินอลของตัวเอง (บางทีอาจจะสนใจมากกว่าด้วยซ้ำ� แต่...
Administration and Society (ADMIN/SOCIETY) เอ๊อะ ไม่พูดดีกว่า)
4. 2404312 การบริหารงานบุคคล 3(3-0-6)
Personnel Administration (PERSON ADM) จริงๆ แล้วที่เราเห็นว่าวิชาเลือกหรือวิชาโท วิชาเลือกนั้นเป็นค�ำสวยๆ งงๆ ที่แปล
5. 2404324 นโยบายสาธารณะ 3(3-0-6)
Public Policy (PUBLIC POLICY)
ว่า เราคิดไม่ออกว่าจะโทภาคไหน หรือโทคณะไหนดี ก็เลยเลือกโทในภาคของตัวเองนั่นแหล่ะ
6. 2404364 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0-6) โดยการตัดสินใจแบบนี้เรียกอีกแบบว่า เพียวxxx (xxx = ชื่อภาค ประกอบไปด้วย เพียว
Quantitative Analysis (QUANT ANALYSIS) ปกครอง, เพียวไออาร์, เพียวรปศ.) มีแค่สังคมที่จะไม่มีเพียวแบบตรงๆ แต่จะเป็นการเลือก
7. 2404368 สถิติสำ�หรับนักบริหาร 3(3-0-6) 3 กลุ่มวิชา ซึ่งเดี๋ยวเราจะมาคุยกันในบทต่อไป
Statistics for Administrators (STAT FOR ADM)
8. 2404411 เทคนิคและวิธีการปรับปรุงการบริหาร 3(3-0-6)
ส่วนวิชาโท คือการเรียนนอกภาคของตัวเอง แบ่งออกเป็น 2 แบบหลักๆ คือโท
Techniques and Method for Administration Improvement (TECH / METH ADM IMP)
9. 2404412 รัฐประศาสนศาสตร์ปฏิบัติการ 3(3-0-6) นอกภาค แปลว่า เราเป็นเด็กไออาร์ แต่ใจของเรารักการเมืองไทยมากๆ ก็เลยโทปกครอง
P.A. Workshop (P.A. WORKSHOP) หรือเราเป็นเด็กปกครอง แต่อยากจะรู้ว่างานราชการเป็นอย่างไร ก็เลยไปโท.รปศ. และ
10. 2404414 การอ่านวรรณกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6) อีกแบบนึงคือการโทนอกคณะ แปลว่าเราจะไปเรียนวิชาของคณะอื่นกัน ซึ่งคณะที่เปิดให้เรา
Readings in Public Administration (READ PA) ได้ไปโทกับเขาได้ก็มี คณะจิตวิทยา, นิเทศศาสตร์, อักษรศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และเศรษฐ-
11. 2404415 กฎหมายกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6) ศาสตร์ เวลาเรียนก็จะต้องเรียนตามวิชาที่เขากำ�หนดมาให้
Law and Public Administration (LAW / PA)
12. 2404419 ขอบเขตและวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6)
Scope and Methods of Public Administration (SCOP / METH P.A.) วิชาเลือกหรือวิชาโทนั้นมีด้วยกัน 27 หน่วยกิตสำ�หรับไออาร์ และ 24 สำ�หรับอีก
13. 2404436* ทฤษฎีองค์การสาธารณะ 3(3-0-6) ทั้ง 3 ภาค รายละเอียดอะไรก็ยุบยับไปหมด ฉะนั้นเรามาตะลุยไปด้วยกัน แบบแยกตามภาค
Public Organization Theories (PUB ORG THEO) วิชาโทเลยนะครับ
______________
*รายวิชาใหม่

74 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 75
เพียวปกครอง (ไม่เลือกวิชาโท สาขาวิชาการปกครอง) (24 หน่วยกิต) 20. 2401413 ปรัชญาการเมืองร่วมสมัย 3(3-0-6)
สำ�หรับนิสิตภาคปกครองเท่านั้น ให้นิสิตเลือกเรียนรายวิชาจำ�นวน 24 หน่วยกิต Contemporary Political Philosophy (CONT POL PHIL)
1. 2400302 การเมืองกับการสื่อสารทางการเมือง 3(3-0-6) 21. 2401414 ปรัชญาการเมืองที่ไม่ใช่ตะวันตก 3(3-0-6)
Politics and Political Communication (POL & POL COM) Non-Western Political Philosophy (NON-WEST POL PHIL)
2. 2400303 การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ 3(3-0-6) 22. 2401415 ปรัชญาสังคมศาสตร์ 3(3-0-6)
Politics and Public Opinions (POL & PUB OPI) Philosophy of Social Science (PHIL SOC SCI)
3. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3) 23. 2401416 ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง 3(3-0-6)
Internship (INTERNSHIP) History of Political Thought (HIST POL THOUGHT)
4. 2401213 การปกครองและการเมืองยุโรป 3(3-0-6) 24. 2401417 หัวข้อคัดสรรทางการเมือง 3(3-0-6)
Government and Politics of European Countries (GOV/POL EU) Selected Topics in Politics (SEL TOP POL)
5. 2401214 การปกครองและการเมืองของสหราชอาณาจักร 3(3-0-6) 25. 2401418 นักคิดทางการเมืองและสังคม 3(3-0-6)
Government and Politics of the United Kingdom (GOV & POL OF U.K.) Social and Political Thinkers (SOC POL THINKERS)
6. 2401215 การปกครองและการเมืองของสหรัฐอเมริกา 3(3-0-6) 26. 2401419 สถาบันพระมหากษัตริย์กับการเมืองไทยสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Government and Politics of the United States of America (GOV & POL OF U.S.) Monarch and Modern Thai Politics (MONARCH MOD TH POL)
7. 2401351 กระบวนการทางการปกครองของไทย 3(3-0-6) 27. 2401453 การปกครองและการเมืองของเอเชีย 3(3-0-6)
Thai Administrative Processes (THAI ADMIN PROC) Government and Politics of Asia (GOV / POL ASIA)
8. 2401356 การปกครองและการเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) 28. 2401456 การปกครองและการเมืองของญี่ปุ่น 3(3-0-6)
Government and Politics of Southeast Asia (GOV & POL SE ASIA) Government and Politics of Japan (GOV/POL JP)
9. 2401359 พฤติกรรมทางการเมือง 3(3-0-6) 29. 2401467 ชนชั้นนำ�ทางการเมือง 3(3-0-6)
Political Behavior (POL BEHAVIOR) Political Elites (POL ELITE)
10. 2401360 ความคิดทางการเมืองของไทย 3(3-0-6) 30. 2401491 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(3-0-6)
Thai Political Thoughts (THAI POL THOUGHTS) Individual Studies (INDIVIDUAL STUDIES)
11. 2401401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฏีการเมืองแนวมาร์กซิสต์ 3(3-0-6) 31. 2401492 ปรัชญา การเมือง และปรัชญามานุษยวิทยา 3(3-0-6)
Introduction to Marxist Political Theory (INTRO MARX POL THE) Philosophy, Politics and Philosophical Anthropology (PHILOS POL ANTHROP)
12. 2401402 การวิเคราะห์การเมืองแนวมาร์กซิสต์สมัยใหม่ 3(3-0-6) 32. 3006431 นิติเวชศาสตร์ 2(2-0-4)
Modern Marxist Political Analysis (MOD MARX POL ANA) Introduction to Forensic Medicine (INTRO TO FOREN MED)
13. 2401403 การเมืองกับธุรกิจ 3(3-0-6) 33. 3401122 กฎหมายลักษณะบุคคลและครอบครัว 3(3-0-6)
Politics and Business (POL/BUS) Persons and Family Law (PERSON FAMILY LAW)
14. 2401405 เพศกับการเมือง 3(3-0-6) 34. 3402111 กฎหมายอาญา 1 3(3-0-6)
Gender and Politics (GEND / POL) Criminal Law: I for Political Science (CRIM LAW I (POL))
15. 2401406 การเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อมและนโยบาย 3(3-0-6) 35. 3402114 กฎหมายอาญา 2 3(3-0-6)
Environmental Politics and Policy (ENVI POL / POLITICAL) Criminal Law II for Political Science (CRIM LAW II (POL))
16. 2401407* การแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง 3(3-0-6) 36. 3403303 กฎหมายลักษณะพยาน 2(2-0-4)
Conflict Transformation (CONF TRANSFOR) Evidence (EVIDENCE)
17. 2401408 การเมืองกับการนำ�นโยบายไปปฏิบัต ิ 3(3-0-6) 37. 3403315 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(3-0-6)
Politics and Policy Implementation (POL / POLI IMP) Criminal Procedure (CRIMINAL PROCEDURE)
18. 2401409 การเมืองกับนโยบายการพัฒนาเมือง 3(3-0-6) 38. 3403484 การสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา 2(2-0-4)
Politics and Urban Development Policy (POL/URB DEV POLI) Investigation and Inquiry (INVEST INQUIR)
19. 2401412 ปรัชญาการเมืองยุคกลาง 3(3-0-6) 39. 3404470 กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการที่ดิน 2(2-0-4)
Medieval Political Philosophy (MED POL PHIL) Law on Land Management LAW LAND MGT
76 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 77
เพียว IR (ไม่เลือกวิชาโท สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) (27 หน่วยกิต) 19. 2402373* นโยบายต่างประเทศศึกษาตามประเด็นหรืออาณาบริเวณคัดสรร 3(3-0-6)
สำ�หรับนิสิตภาคความสัมพันธ์ฯเท่านั้น ให้นิสิตเลือกเรียนรายวิชาจำ�นวน 27 หน่วยกิต ประกอบไปด้วย Foreign Policy Studies in Selected Issues/Areas (FPS SEL ISS/AREA)
วิชาในลิสท์ด้านล่างนี้ เลือกมา 21 หน่วยกิต (7 รายวิชา) ซึ่งใน 21 หน่วยกิตนี้ต้องเป็นวิชาสัมมนาอย่างน้อย 20. 2402374* ภูมิรัฐศาสตร์ 3(3-0-6)
1 รายวิชา นอกจากนี้อีก 6 หน่วยกิตที่เหลือ ให้เรียนรายวิชาของคณะรัฐศาสตร์วิชาใดก็ได้ ในภาคไออาร์ หรือ Geopolitics (GEOPOLITICS)
นอกภาคก็ได้ 21. 2402375* ภูมิภาคนิยมและการอภิวัตน์เป็นภูมิภาคเปรียบเทียบ 3(3-0-6)
1. 2400212 ความรุนแรงในการเมืองโลกยุคใหม่ 3(3-0-6) Regionalism and Regionalization in Comparative Perspective (REGN COMP PERSP)
Violence in Modern World Politics (VIOL MOD WLD POL) 22. 2402376* เพศสภาพกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
2. 2400307 การเจรจาต่อรองระหว่างประเทศ 3(3-0-6) Gender and International Relations (GENDER & IR)
International Negotiation (INTL NEG) 23. 2402377* เรื่องคัดสรรในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
3. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3) Selected Topics in International Relations (SEL TOP IR)
Internship (INTERNSHIP) 24. 2402404* ความขัดแย้งระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
4. 2402322 ประเด็นปัญหาความมั่นคงในกลุ่มประเทศกำ�ลังพัฒนา 3(3-0-6) International Conflict (INTL CON)
Regional Security Issues in Developing Countries (REG SEC ISS DVCs) 25. 2402405* เศรษฐกิจการเมืองโลกในชีวิตประจำ�วัน 3(3-0-6)
5. 2402337 ยุทธศาสตร์ศึกษา 3(3-0-6) Global Political Economy in Everyday Life (GPE EVERYDAY LIFE)
Strategic Studies (STRATEGIC STUDIES) 26. 2402431* สัมมนาแนวคิดและแนวปฏิบัติด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
6. 2402341 อาเซียนในการเมืองโลก 3(3-0-6) Seminar in Concepts and Practices of International Relations (SEM CONCEP/PRAC IR)
ASEAN in World Politics (ASEAN WRLD POL) 27. 2402432* สัมมนาอาเซียนศึกษา 3(3-0-6)
7. 2402342 การเมืองการปกครองของจีน 3(3-0-6) Seminar in ASEAN Studies (SEM ASEAN STUD)
Chinese Government and Politics (CHINESE GOVT&POL) 28. 2402433* สัมมนาการต่างประเทศจีน 3(3-0-6)
8. 2402347 นโยบายต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) Seminar in Chinese Foreign Relations (SEM CHIN FGN REL)
Foreign Policies of Southeast Asian States (FGN POLI SEASIA) 29. 2402434* สัมมนาการต่างประเทศของสหภาพยุโรปและรัสเซีย 3(3-0-6)
9. 2402348 นโยบายต่างประเทศของจีน 3(3-0-6) Seminar in Foreign Relations of the European Union and Russia (SEM FGN REL EU/RUS)
Chinese Foreign Policy (CHINESE FORGN POL) 30. 2402435* สัมมนาเรื่องสิทธิมนุษยชนและความมั่นคงมนุษย์ 3(3-0-6)
10. 2402349 นโยบายต่างประเทศของญี่ปุ่น 3(3-0-6) Seminar in Human Rights & Human Security (SEM HUM RT/SEC)
Japanese Foreign Policy (JAPAN FORGN POL) 31. 2402436* สัมมนาประเด็นวาระในการเมืองโลก 3(3-0-6)
11. 2402350 นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา 3(3-0-6) Seminar in Global Politics Agenda (SEM GLOB POL AGDA)
United States Foreign Policy (US FOREIGN POLICY) 32. 2402437* สัมมนาเศรษฐกิจการเมืองโลกและโลกาภิวัตน์ 3(3-0-6)
12. 2402352 นโยบายต่างประเทศของกลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง 3(3-0-6) Seminar in Global Political Economy and Globalization (SEM GPE/GLOBN)
Foreign Policies of Middle East States (FORGN POL MIDEAST) 33. 2402480 สัมมนาปัญหาความมั่นคงของไทย 3(3-0-6)
13. 2402353 ความมั่นคงในการเมืองโลก 3(3-0-6) Seminar in Thai Security Problems (SEM THAI SECURITY)
Security in World Politics (SECURITY WRLD POL) 34. 2402481 สัมมนาการต่างประเทศของไทย 3(3-0-6)
14. 2402355 นโยบายต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียใต้ 3(3-0-6) Seminar in Thai Foreign Relations (SEM THAI FRN REL)
Foreign Policies of South Asian States (FORGN POL S ASIA) 35. 2402482 สัมมนาการต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6)
15. 2402356 การเมืองในความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 3(3-0-6) Seminar in Foreign Relations of Southeast Asian States (SEM FRN REL SEA)
Politics of International Economic Relations (POL INTL ECON REL) 36. 2402483 สัมมนาการต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออก 3(3-0-6)
16. 2402357 การเมืองโลกผ่านสื่อภาพยนตร์ 3(3-0-6) Seminar in Foreign Relations of East Asian States (SEM FRN REL EASIA)
Global Politics through Film (GLOBAL POL FILM) 37. 2402484 สัมมนาการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา 3(3-0-6)
17. 2402371* ภูมิภาคนิยมอาเซียน 3(3-0-6) Seminar in United States Foreign Relations (SEM US FRN REL)
ASEAN Regionalism (ASEAN REGIONALISM) 38. 2402486 สัมมนาการต่างประเทศของกลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง 3(3-0-6)
18. 2402372* นโยบายต่างประเทศของประเทศในยุโรปและรัสเซีย 3(3-0-6) Seminar in Foreign Relations of Middle East States (SEM MIDEAST REL)
Foreign Policies of European Countries and Russia (FGN POL EUR/RUS)
78 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 79
ค. กลุ่มวิชานโยบายและการวางแผน (18 หน่วยกิต)
39. 2402487 สัมมนาการต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียใต้ 3(3-0-6) 1. 2404318 การกำ�กับติดตามและประเมินผล 3(3-0-6)
Seminar in Foreign Relations of South Asian States (SEM FRN REL SASIA) Monitoring and Evaluation (MONITOR / EVAL)
40. 2402492 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(3-0-6) 2. 2404422 กระบวนการจัดการงบประมาณของรัฐ 3(3-0-6)
Individual Studies (INDIV STUD) Public Budgetary Management Process (PUB BUD MGT PROC)
3. 2404429 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะชั้นสูง 3(3-0-6)
เพียวรปศ. (ไม่เลือกวิชาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์) (24 หน่วยกิต)
Advanced Public Policy Analysis (ADV PUB POLI ANAL)
สำ�หรับนิสิตภาครปศ.เท่านั้น เมื่อชาว PA เลือกที่จะอยู่ ไม่คิดจะไปไหน ภาคของเราก็จะให้ตัวเลือกน้อง
4. 2404431 กระบวนการวางแผนนโยบายระดับชาติ 3(3-0-6)
แค่ 3 อย่าง นั่นคือให้เลือกว่าจะเรียนกลุ่มวิชาไหน ระหว่าง กลุ่มวิชาการบริหารงานคลัง, กลุ่มวิชาการบริหาร
National Policy Planning Process (NAT POLI PLAN PROC)
งานบุคคล และกลุ่มวิชานโยบายและการวางแผน เมื่อเราเลือกได้แล้ว เราจะต้องเรียนวิชาที่เขาจัดมาให้ รวม
5. 2404470 การวางแผนและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 3(3-0-6)
สิริ 18 หน่วยกิต (6 รายวิชา) นอกจากนี้อีก 6 หน่วยกิตที่เหลือ เราได้รับอิสระเสรีในการเลือกวิชาเลือกอื่นๆ
Project Planning and Feasibility Study (PROJECT PLAN / FS)
ของภาควิชา อีก 6 หน่วยกิต (เป็นวิชาสัมมนาอย่างน้อย 1 ตัว) รวมทั้งสิ้น 24 หน่วยกิต
6. 2601112 การบัญชีการเงินเบื้องต้น 3(2-3-4)
1) วิชาเลือกตามกลุ่มวิชา เลือกเพียง 1 กลุ่มวิชา Introduction to Financial Accounting (INTRO FIN ACCTG)
ก. กลุ่มวิชาการบริหารงานคลัง (18 หน่วยกิต) **หมายเหตุ: หากนิสิตที่เลือกเรียนกลุ่มรายวิชาบริหารการคลัง ได้ลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา
1. 2404422 กระบวนการจัดการงบประมาณของรัฐ 3(3-0-6) 2601115 การบัญชีการเงินแล้วประสงค์จะเปลี่ยนกลุ่มวิชา ไม่ต้องลงทะเบียนเรียนวิชา
Public Budgetary Management Process (PUB BUD MGT PROC) 2601112 การบัญชีเบื้องต้น อีก
2. 2404426 การบริหารภาษีอากร 3(3-0-6)
2) วิชาเลือกอื่นๆ (สำ�หรับทุกกลุ่มวิชา) (6 หน่วยกิต) โดยต้องเป็นรายวิชาสัมมนา 1 วิชา
Tax Administration (TAX ADMINISTRATION)
1. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3)
3. 2404428 การบริหารนโยบายเศรษฐกิจและการเงินการคลังของรัฐ 3(3-0-6)
Internship (INTERNSHIP)
Economic, Fiscal and Monetary Policy Management (ECON FIS MON)
2. 2404316 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(3-0-6)
4. 2404429 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะชั้นสูง 3(3-0-6)
Introduction to Management Information Systems (INTRO MGT INFO SYS)
Advanced Public Policy Analysis (ADV PUB POLI ANAL)
3. 2404319 กระบวนการนโยบายการพัฒนาประเทศ 3(3-0-6)
5. 2404430 ระบบข้อมูลการบริหารการเงินการคลังของรัฐ 3(3-0-6)
National Development Policy Process (NATION DEV POL PRO)
Governmental Financial Management Information System (GFMIS)
4. 2404417 ระบบธนาคารกลางและธนาคารพาณิชย์ 3(3-0-6)
6. 2601115 การบัญชีการเงิน 3(2-3-4)
Central and Commercial Banking Systems (CEN COM / BANK SYS)
Financial Accounting (FIN ACCTG)
5. 2404433 การวางแผนและการบริหารนโยบายด้านสังคม 3(3-0-6)
ข. กลุ่มวิชาการบริหารงานบุคคล (18 หน่วยกิต)
Social Policy Planning and Management (SOC POL PLAN MGT)
1. 2404315 แรงงานสัมพันธ์ 3(3-0-6)
6. 2404434 การวางแผนและการบริหารนโยบายด้านเศรษฐกิจ 3(3-0-6)
Labour Relations (LABOUR RELATIONS)
Economic Policy Planning and Management (ECON POLI PLAN MGT)
2. 2404317 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
7. 2404435 การวางแผนและการบริหารนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Human Resource Planning (HUMAN RESOURCE PLAN)
Environmental Policy Planning and Management (ENVI POLI PLAN MGT)
3. 2404353 การวัดและประเมินบุคคล 3(3-0-6)
8. 2404452 การบริหารรัฐวิสาหกิจ 3(3-0-6)
Personnel Measurement and Evaluation (PERSON MEA / EVA)
Public Enterprise Administration (PUBLIC ENTERPRISE)
4. 2404416 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
9. 2404480 สัมมนารัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6)
Human Resources Development (HUM RES DEV)
Seminar in Public Administration (SEM PA)
5. 2404425 การบริหารค่าตอบแทน 3(3-0-6)
10. 2404467 การศึกษาค้นคว้าอิสระ 3(3-0-6)
Reward Management (REWARD MANAGEMENT)
Independent Studies (IND STUDIES)
6. 2601112 การบัญชีการเงินเบื้องต้น 3(2-3-4)
11. 2601255 การบัญชีบริหาร 3(3-0-6)
Introduction to Financial Accounting (INTRO FIN ACCTG)
Managerial Accounting (MNGL ACCTG)
______________
80 คู่มือสิงห์ดำ� 68 *รายวิชาใหม่ คู่มือสิงห์ดำ� 68 81
09
โทปกครอง (สำ�หรับนิสิตนอกภาควิชาการปกครอง) (18 หน่วยกิต)
วิชาโท (นอก ver.) เลือกจากรายวิชาจากด้านล่าง 18 หน่วยกิต
1. 2401216 รัฐและสังคม 3(3-0-6)
State and Society (State/Society)
2. 2401217 การเมืองไทยสมัยใหม่ 3(3-0-6)
สำ�หรับการเรียนวิชาโทนอกภาควิชาหรือนอกสาขา เราจะต้องเรียนด้วยกัน 18 Modern Thai Politics (MODERN THAI POL)
หน่วยกิต เหมือนกันทุกๆ ภาค แต่ในการเรียนวิชาโทก็จะยังมีเงือ่ นไขเฉพาะของแต่ละภาคด้วย 3. 2401300 ปรัชญาการเมือง 3(3-0-6)
Political Philosophy (POL PHILO)
4. 2401303 ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ 3(3-0-6)
สำ�หรับนิสิตภาคปกครอง นอกจากวิชาโทนอกภาค/คณะ 18 หน่วยกิตแล้ว จะ Comparative Democratic Regimes (COMPA DEM REGI)
ต้องเรียนวิชาเลือกอื่นๆ ในคณะ (นอกหรือในภาคก็ได้) อีก 6 หน่วยกิต 5. 2401304 การเมืองเรื่องการพัฒนา 3(3-0-6)
Politics of Development (POL DEV)
นิสิตภาคไออาร์ เรียนวิชาโทนอกภาคหรือคณะ 18 หน่วยกิต บวกกับวิชาเลือกใน 6. 2401305 การเมืองการปกครองท้องถิ่นและภูมิภาค 3(3-0-6)
ภาควิชา 9 หน่วยกิต ซึ่งในนั้นต้องเป็นวิชาสัมมนาอย่างน้อย 1 รายวิชา Local and Regional Politics and Governments (LOC REGIO POL GOV)
7. 2401306 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง 3(3-0-6)
Constitution and Political Institutions (CON/POL INST)
นิสิตภาคสังคมฯ เราไม่มีเพียว แต่เราเรียกว่าโทในสาขาวิชา ซึ่งเป็นตัวเลือก 8. 2401356 การปกครองและการเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6)
เดียวกันกับการโทนอกภาคหรือโทนอกคณะ ทั้งหมด 18 หน่วยกิต อีก 6 หน่วยกิตสามารถ Government and Politics of Southeast Asia (GOV & POL SE ASIA)
เรียนวิชาเลือกทั้งในภาคสังคมฯเอง หรือนอกภาคสังคมฯ ก็ได้ 9. 2401359 พฤติกรรมทางการเมือง 3(3-0-6)
Political Behavior (POL BEHAVIOR)
นิสิตภาครปศ. เรียนวิชาโทนอกภาคหรือนอกคณะ 18 หน่วยกิต อีก 6 หน่วยกิต 10. 2401405 เพศกับการเมือง 3(3-0-6)
Gender and Politics (GEND/POL)
ให้เลือกวิชาเลือกอื่นๆ ของภาควิชา 3 หน่วยกิต และอีก 3 หน่วยกิตไปให้วิชาสัมมนา ***หรือวิชาอื่นๆ ในภาคโดยความยินยอมของผู้สอนเป็นลายลักษณ์อักษร
รัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งไปอยู่ในหมวดวิชาเลือก (ส่วนไหนบอกให้เลือก?)

อย่างที่บอกกันว่าการเลือกเรียนวิชาโทนั้น สามารถเลือกได้ว่าจะโทในคณะ หรือ


โทนอกภาคของตัวเอง หรือจะโทนอกคณะก็ได้ ในหนังสือเล่มนี้จะขอกล่าวถึงการโทนอก
ภาคเป็นหลัก เพราะรายวิชาของการโทนอกคณะนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้เสมอ เราไม่
สามารถฟันธงโป๊ะเชะได้ ฉะนั้นเพื่อความเมคชัวร์ หากน้องต้องการจะโทนอกคณะ ให้ไป
ปรึกษาทะเบียนของคณะนั้นๆ ด้วยนะ จะได้ไม่พลาด (บางทีข้อมูลในเว็บไซต์คณะอาจจะไม่
อัพเดทนะ เตือนไว้ก่อน)

82 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 83
โทไออาร์ (สำ�หรับนิสิตนอกภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) (18 หน่วยกิต) โทสังคมฯ (สำ�หรับนิสิตทั้งในและนอกภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) (18 หน่วยกิต)
นิสิตภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และภาควิชาอื่นๆ สามารถเลือกลงทะเบียนเรียนตามกลุ่ม
เลือกเรียนรายวิชาเลือกต่างๆ ของภาควิชา 18 หน่วยกิต (ดูหน้า 78-80 สำ�หรับรายวิชา) รายวิชาต่างๆ จำ�นวน 1 กลุ่มวิชา (18 หน่วยกิต) จากจำ�นวน 3 กลุ่มวิชา ดังต่อไปนี้

**ยกเว้นรายวิชา การเมืองระหว่างประเทศ: ทฤษฎีและปฏิบัติ และวิชาการอ่านวรรณกรรมด้าน ก. กลุ่มวิชาสังคมวิทยาสภาวะสมัยใหม่


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 1, 2, 3 ที่ต้องขออนุมัติจากภาควิชาฯ เป็นรายกรณี 1. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3)
Internship (INTERNSHIP)
หมายเหตุ ข้อแนะนำ�สำ�หรับการเรียนวิชาเลือกของภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือสำ�หรับผู้ 2. 2403408 สังคมวิทยาการเมือง 3(3-0-6)
ที่สนใจเลือกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นวิชาโท Political Sociology (POL SOCIO)
3. 2403409 สถาบันครอบครัวและความมั่นคงของมนุษย์ 3(3-0-6)
1) นิสิตอาจเลือกรายวิชาให้ครอบคลุมแขนงย่อยต่างๆ ของสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อ Family Institution and Human Security (FAM INT HUM SEC)
ให้เกิดความรู้รอบในพื้นที่และมิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทุกฝ่าย และประเด็นปัญหาในความสัมพันธ์ระหว่าง 4. 2403419* สังคมวิทยาว่าด้วยสื่อสารมวลชน 3(3-0-6)
ประเทศและการเมืองโลก Sociology of Mass Media
5. 2403420* สังคมวิทยาสุขภาวะและความเจ็บป่วย 3(3-0-6)
2) นิสิตที่ประสงค์จะพัฒนาความรู้เชิงลึกในแขนงวิชาของสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แขนง Sociology of Health and Illness
หนึ่งแขนงใดเป็นพิเศษ (IR subfield) สามารถเลือกลงกลุ่มวิชาที่จัดอยู่ในแขนงนั้นได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ 6. 2403421* สังคมวิทยาว่าด้วยชีวิตและความตาย 3(3-0-6)
เป็นไปได้ในการจัดตารางเรียนและการวางแผนการเรียนรายวิชาของนิสิตแต่ละคนเอง เพราะด้วยข้อจำ�กัด Sociology of Life and Death
ของเวลาเรียนตามตารางสอน ทำ�ให้บางรายวิชาที่ภาควิชาฯ เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาต้องเปิดซ้อน 7. 2403422* สังคมวิทยาพิบัติภัย 3(3-0-6)
เวลากันหรือซ้อนเวลากับรายวิชาอื่นๆ นอกภาควิชาฯ ปัญหาในการลงทะเบียนเช่นนี้เกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้น Sociology of Disaster
นิสิตควรวางแผนการเรียนล่วงหน้า 8. 2403423* สังคมวิทยาว่าด้วยความมีชื่อเสียง 3(3-0-6)
Sociology of Celebrity
3) รายวิชาของสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในหลักสูตรนี้ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ 9. 2403424* ความเป็นท้องถิ่นและความเป็นสากล 3(3-0-6)
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียนศึกษา (Southeast Asian and ASEAN Studies) / นโยบายต่าง Localism and Cosmopolitanism
ประเทศศึกษา (Foreign Policy Studies) / ความมั่นคงศึกษา (Security Studies) / เศรษฐกิจการเมือง 10. 2403425* สังคมวิทยาประชากร 3(3-0-6)
โลก (Global Political Economy) / โลกาภิบาล (Global Governance) Sociology of Population
11. 2403491 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(3-0-6)
นิสิตที่สนใจรายวิชาของกลุ่มวิชาเหล่านี้ สามารถหารือกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ประสานงานตาราง Individual Studies (INDIVIDUAL STUDIES)
สอนตารางสอบของภาควิชาฯ เพื่อวางแผนการลงทะเบียน หรือขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ภาควิชาความสัมพันธ์ ข. กลุ่มวิชามานุษยวิทยาวัฒนธรรม
ระหว่างประเทศ 1. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3)
Internship (INTERNSHIP)
2. 2403426* สตรีนิยมและเพศสภาวะ 3(3-0-6)
Feminism and Gender (FEM/GENDER)
3. 2403427* ศาสนาในสังคมสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Religion in Modern Society (RELIG MOD SOC)
4. 2403428* นิเวศวิทยาวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Cultural Ecology (CULT ECOL)
5. 2403429* การเปลี่ยนแปลงเมือง/ชนบท 3(3-0-6)
Urban-Rural Transformations (URB/RURAL TRANS)

84 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 85
6. 2403412 มานุษยวิทยาธุรกิจ 3(3-0-6) โทรปศ. (สำ�หรับนิสิตนอกภาครัฐประศาสนศาสตร์) (18 หน่วยกิต)
Business Anthropology (BUSI ANTHRO) เลือกจากรายวิชาต่อไปนี้ 18 หน่วยกิต
7. 2403430* มานุษยวิทยาสื่อสังคม 3(3-0-6)
Anthropology of Social Media (ANTHRO SOC MEDIA) 1. 2404213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลังสาธารณะ 3(3-0-6)
8. 2403431* ภาพยนตร์กับสังคม 3(3-0-6) Introduction to Public Finance Administration (INTRO PUB FIN ADM)
Films and Society (FILMS/SOC) 2. 2404220 ระบบการบริหารงานของไทย 3(3-0-6)
9. 2403432* ชายแดนศึกษา 3(3-0-6) Thai Administration System (THAI ADM SYSTEM)
Border Studies (BORDER STUDIES) 3. 2404310 การบริหารและสังคม 3(3-0-6)
10. 2403433* ท้องถิ่นกับโลกาภิวัตน์ 3(3-0-6) Administration And Society (ADMIN/SOCIETY)
Locality and Globalization (LOC/GLOBAL) 4. 2404312 การบริหารงานบุคคล 3(3-0-6)
11. 2403491 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(3-0-6) Personnel Administration (PERSON ADM)
Individual Studies INDIVIDUAL STUDIES 5. 2404324 นโยบายสาธารณะ 3(3-0-6)
ค. กลุ่มวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม Public Policy (PUBLIC POLICY)
1. 2400308 การฝึกงาน 3(0-6-3) 6. 2404368 สถิติสำ�หรับนักบริหาร 3(3-0-6)
Internship (INTERNSHIP) Statistics for Administrators (STAT FOR ADM)
2. 2403185 การกระทำ�ผิดของเด็กและเยาวชน 3(3-0-6) 7. 2404411 เทคนิคและวิธีการปรับปรุงการบริหาร 3(3-0-6)
Juvenile Delinquency Techniques and Method for Administration Improvement (TECH/ METH ADM IMP)
3. 2403358 ปัญหาสังคม 3(3-0-6) 8. 2404416 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
Social Problems Human Resources Development (HUM RES DEV)
4. 2403359 ความขัดแย้งทางสังคมและสันติวิธี 3(3-0-6) 9. 2404422 กระบวนการจัดการงบประมาณของรัฐ 3(3-0-6)
Social Conflict and Peace Making Public Budgetary Management Process (PUB BUD MGT PROC)
5. 2403402 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา 3(3-0-6) 10. 2404436 ทฤษฎีองค์การสาธารณะ 3(3-0-6)
Criminal Justice Process Public Organization Theories (PUB ORG THEO)
6. 2403434* สังคมวิทยากฎหมาย 3(3-0-6)
Sociology of Law
7. 2403435* สังคมวิทยาการปฏิบัติต่อผู้กระทำ�ผิด 3(3-0-6)
Sociology of Corrections
8. 2403436* เหยื่อวิทยา 3(3-0-6)
Victimology
9. 2403437* การก่อการร้าย 3(3-0-6)
Terrorism
10. 2403438* อาชญากรรมทางธุรกิจ 3(3-0-6)
Business Crime
11. 2403491 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(3-0-6)
Individual Studies (INDIVIDUAL STUDIES)

86 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 87
โทจิตวิทยา (วิชาโทคณะจิตวิทยา สำ�หรับนิสิตนอกคณะจิตวิทยา) โทนิเทศ (วิชาโทคณะนิเทศศาสตร์ สำ�หรับนิสิตนอกคณะนิเทศศาสตร์)

ถ้าอยากจะโทจิตวิทยาเราต้องไปแจ้งที่คณะจิตวิทยาก่อนอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา ว่าเราจะโท วิชาโทของนิเทศง่ายมากๆ เพราะแค่เราต้องการจะโทนิเทศ เราจะต้องเรียนวิชาเบสิก 6 รายวิชา


คณะเขานะครับ ใน 18 หน่วยกิตที่เราต้องเรียนนั้น ประกอบด้วยวิชาบังคับคือ จิตวิทยาทั่วไป 3 หน่วยกิต ที่เขาจัดมาให้แบบคอมโบเซ็ต ความยากของเรามีเพียงแค่การหาตารางเวลาที่เหมาะสมเพื่อจะลงเรียนวิชา
และอีก 6 หน่วยกิต จะต้องเรียนวิชาบังคับเลือก ซึ่งมีมาให้เลือก 4 รายวิชาด้วยกัน ส่วน 9 หน่วยที่เหลือเป็น เหล่านี้
วิชาเลือกอื่นๆ สามารถเลือกได้จากลิสท์ด้านล่าง ซึ่งเขามีแบ่งให้เป็นกลุ่มวิชา ติดต่อคณะจิตวิทยาได้ที่ฝ่าย
1. 2800310 การรู้เท่าทันข่าวและสารสนเทศ
ทะเบียนของคณะ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2218-1197 หรือไปที่ฝ่ายวิชาการ คณะจิตวิทยา ชั้น 7 อาคารบรม
2. 2800311 สื่อมวลชนศึกษา
ราชชนนีศรีศตพรรษจ้า
3. 2800313 หลักและปรัชญาการสื่อสารของมนุษย์
4. 2800410 การประชาสัมพันธ์ร่วมสมัย
1. วิชาบังคับ (3 หน่วยกิต) - 3800101 จิตวิทยาทั่วไป
5. 2800411 โฆษณาในโลกสมัยใหม่

6. 2800413 โลกภาพยนตร์
2. วิชาบังคับเลือก (6 หน่วยกิต) - 3802201 จิตวิทยาการปรึกษาขั้นนํา / 3803303 ทฤษฎีและงาน
วิจัยทางจิตวิทยาสังคม / 3804101 จิตวิทยาพัฒนาการขั้นนํา / 3805301 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์ เพื่อความมั่นใจ ติดต่อคณะนิเทศศาสตร์ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2218-2205 หรือไปที่คณะที่
การขั้นนํา นิเทศศาสตร์ ฝั่งจุฬาฯเล็ก ติดกับคณะนิติศาสตร์และคณะครุศาสตร์ ฝั่งถนนพญาไท

3. วิชาเลือก (9 หน่วยกิต) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มวิชา


3.1 จิตวิทยาทั่วไป - 3800201 พื้นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ / 3800204 จิตวิทยาการรู้คิด / 3800216 โทอักษร (วิชาโทคณะอักษรศาสตร์ สำ�หรับนิสิตนอกคณะอักษรศาสตร์)
จิตวิทยาบุคลิกภาพ / 3801101 จิตชีววิทยา
3.2 จิตวิทยาการปรึกษา - 3802205 จิตวิทยาการปรับตัวและสุขภาวะ / 3802307 พัฒนาการทาง วิชาโทของคณะอักษรศาสตร์เปิดให้เราโทได้ 28 รูปแบบ โอโห เยอะมาก... ส่วนมากก็จะเป็นการ
อาชีพ / 3802323 ทฤษฎีและเทคนิคเบื้องต้นในการปรึกษา / 3802405 การปรึกษาเชิงจิตวิทยาครอบครัว เรียนภาษาที่สามแบบจัดเต็มทุกเม็ด หรือจะเป็นวิชาที่อิงประเทศเป็นหลัก อย่างยุโรปศึกษาหรืออเมริกา
ขั้นนํา / 3802313 จิตวิทยาเชิงบวกและความงอกงามส่วนบุคคล ศึกษา และอะไรเล็กๆ น้อยๆ ตามสาขาวิชาดังต่อไปนี้

3.3 จิตวิทยาสังคม - 3803280 จิตวิทยาความเป็นหญิงและชาย / 3803306 การจูงใจมนุษย์ / 1. ภาษาไทย 11. ภาษาฝรั่งเศส 21. ภาษาโปรตุเกส
3803332 จิตวิทยาการโฆษณา / 3803334 จิตวิทยาผู้บริโภค / 3803350 พลวัตกลุ่มขั้นนํา 2. ภาษาอังกฤษ 12. ภาษาเยอรมัน 22. ภาษาเขมร
3. ประวัติศาสตร์ 13. ภาษาสเปน 23. อารยธรรมไทย
3.4 จิตวิทยาพัฒนาการ - 3804211 จิตวิทยาวัยทารก / 3804221 จิตวิทยาเด็ก / 3804225 4. ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ 14. ภาษาอิตาเลียน 24. ไทยศึกษา
จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ / 3804231 จิตวิทยาวัยรุ่น / 3804300 พัฒนาการอปกติในเด็กและ 5. สารนิเทศศึกษา 15. ภาษารัสเซีย 25. ยุโรปศึกษา
วัยรุ่น / 3804341 จิตวิทยาผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ / 3806221 จิตวิทยาสุขภาพ / 3806222 จิตวิทยาการ 6. ปรัชญา 16. ภาษาศาสตร์ 26. อเมริกาศึกษา
ส่งเสริมสุขภาวะ 7. ศิลปการละคร 17. วรรณคดีเปรียบเทียบ 27. บรรณาธิการศึกษา
3.5 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ - 3805302 จิตวิทยาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8. ภาษาบาลีและสันสกฤต 18. ภาษามาเลย์ 28. อาเซียนศึกษา
9. ภาษาจีน 19. ภาษาเกาหลี
10. ภาษาญี่ปุ่น 20. ภาษาเวียดนาม

เวลาเราจะโทอักษรเรามักจะเรียกกันว่า โท...ของอักษร (เช่น โทอิ้ง (ภาษาอังกฤษ) ของอักษร) (วงเล็บ


เยอะมาก) จะดูว่าวิชาไหนเป็นยังไงก็สามารถไปสอบถามกันได้ที่ทะเบียนของคณะอักษร จะอยู่ที่ตึกมหา
วชิราวุธ ชั้น 1 (เป็นอาคารหลังเก่า เวลาน้องๆ อยู่ที่ตึกมหาจักรีสิรินธรแล้ว หันหลังให้กับตึก เดินข้ามถนน
ตรงยาวๆ ก็จะเจอเอง คลำ�ๆหน่อย) หรือโทรศัพท์ 02-218-4878

88 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 89
โทวิทยา (วิชาโทคณะวิทยาศาสตร์ สำ�หรับนิสิตนอกคณะวิทยาศาสตร์) 10
น้องๆ ที่เข้ามาเรียนคณะรัฐศาสตร์ และต้องการจะโทคณะวิทยาศาสตร์ ขอกราบเบญจางคประดิษฐ์ วิชาเลือกเสรี
3 ครั้ง และมอบโล่ให้เลย หนูเทพมาก แต่ถ้าเป็นความสนใจของเราจริงๆ นี่เป็นทางเลือกของเรานะ

วิชาโทของวิทยา มีด้วยกัน 17 กลุ่มวิชา แต่ละกลุ่มวิชาก็จะมีความเฉพาะทางต่างกันไป น้องๆ ที่


สนใจควรศึกษาเพิ่มเติม ติดต่อทะเบียนคณะวิทยาศาสตร์ ห้อง 103-104 อาคารแถบนีละนิธิ (งานวิชาการ 6 หน่วยกิต อยากเรียนอะไรก็เรียนได้เลย จะในภาค นอกภาค นอกคณะ นอกโลก
และจัดการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์) หรือหมายเลขโทรศัพท์ 02-218-5006-10 , 44 , 54
(ไม่ใช่ละ) ฟรีด้อมมมมมมมมมมมมมม
1. คณิตศาสตร์ 10. วิทยาศาสตร์ทางทะเล
2. วิทยาการคอมพิวเตอร์ 11. ชีวเคมี
3. เคมี 12. วัสดุศาสตร์ (เซรามิกส์และวัสดุศาสตร์)
4. ชีววิทยา 13. วัสดุศาสตร์ (พอลิเมอร์และสิ่งทอ)
5. สัตววิทยา 14. จุลชีววิทยา
6. ฟิสิกส์ 15. เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์
7. พฤกษศาสตร์ 16. เทคโนโลยีชีวภาพ
8. พันธุศาสตร์ 17. เทคโนโลยีทางอาหาร
9. เคมีวิศวกรรม

โทเศรษฐศาสตร์ (วิชาโทคณะเศรษฐศาสตร์ สำ�หรับนิสิตนอกคณะเศรษฐศาสตร์)

หากน้องยังไม่จุใจกับวิชาบังคับ ECON 1 และ 2 น้องๆ สามารถเรียนวิชาโทน้องใหม่ (เปิดปีนี้เป็น


ปีแรก) คือวิชาเศรษฐศาสตร์ จัดหนักจัดเต็มมาก จริงๆ แล้วเขาจะให้เราเรียน 18 หน่วยกิต โดยมี 6 หน่วยกิต
บังคับ (ECON 1 และ 2) และ 12 หน่วยกิตที่เหลือให้เลือกได้จาก 6 รายวิชาที่เปิดสอน แต่ด้วยความฮาร์ด
คอร์ของคณะเรา ได้ทำ�ให้ ECON 1 และ 2 เป็นวิชาบังคับคณะไปเรียบร้อยแล้ว พวกเราเหล่ารัฐศาสตร์หาก
จะโทเศรษฐศาสตร์ จะต้องเรียนวิชาที่เขาออฟเฟอร์มาให้ครบทั้ง 6 รายวิชาโดยไม่มีทางเลือก ประกอบไปด้วย

1. 2900152 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย
2. 2900301 เศรษฐศาสตร์สาธารณะเบื้องต้น
3 2900302 เงิน การธนาคาร และตลาดเงิน
4. 2900403 เศรษฐศาสตร์การจัดการ
5. 2900404 โลกาภิวัฒน์และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
6. 2900405 เศรษฐศาสตร์การเมืองเบื้องต้น

ทั้งนี้ทั้งนั้น น้องๆ สามารถปรึกษาทะเบียนคณะเศรษฐศาสตร์ ตึกทัพหน้าก่อนถึงตึกมหิตฯ หมายเลข


โทรศัพท์ 02-218-6255

90 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 91
11
ทำ�ไมต้องวางแผนการเรียน แน่นอนว่าเกรดไม่ใช่พระเจ้า ไม่ใช่ตัวชี้วัดถึงความสำ�เร็จในหน้าที่การงานหรือชีวิต
บางคนเกรดดีก็ไม่ได้หมายความว่าทำ�งานดี หรือเป็นที่ยอมรับในสังคม แต่เกรดนั้นเป็น
เหมือนใบเบิกทางไปสู่อนาคตที่ดีกว่า มันเป็น Head Start ครับ คนที่เกรดดีกว่าจะได้รับ
โอกาสที่ดีกว่าหลังจากเรียนจบไปแล้ว เป็นที่เชิดหน้าชูตา แต่หลังจากนั้นก็ขึ้นอยู่กับความ
อย่างที่เคยบอกกันไปแล้วว่าการเรียนระดับปริญญาตรีเป็นการเรียนแบบเก็บ สามารถส่วนบุคคลแล้ว ถามว่าเกรดสำ�คัญมั้ย สำ�คัญนะ แต่เกรดไม่ใช่ทุกอย่าง
หน่วยกิต แปลว่าไม่มีใครมาบังคับเราว่าเทอมนี้ต้องเรียนแบบนี้ แบบนั้น แบบโน้น แบบนู้น
(หลายแบบมาก) และไม่มใี ครมายืน่ ตารางสอนให้เราทุกๆ เทอม ฉะนัน้ หากไม่มกี ารวางแผน การเรียนๆ เล่นๆ พบเห็นได้ทั่วไปตามท้องถนน บางทีอาจจะไม่ได้ตั้งใจเล่น แต่
การเรียนที่ดี เราอาจจะเรียนไม่ครบหน่วยกิตตอนจบปี 4 แล้วก็ได้ อาจจะต้องต่อปี 5 ปี 6 หัวมันก็ไปไม่ถึงจริงๆ การเรียนแบบนี้ไม่ต้องวอรี่ว่าจะได้หมาได้แมวมารับประทาน มันเป็น
อย่างน่าเสียดาย... การวางแผนการเรียนจึงถือเป็นเรือ่ งสำ�คัญทีส่ ดุ (รองจากการหาแฟน - ล้อเล่น) สัจธรรมของชีวิตเนอะ สำ�คัญที่สุดคือเรามีกฎเกณฑ์ขั้นต่ำ�ที่ห้ามฝ่าฝืนนะครับ ถ้าเกรดสอง
เรื่องหนึ่งที่พวกเราต้องให้ความสนใจกับมัน เทอมรวมกันไม่ถึง 1.50 โดนรีไทร์นะ ส่วน 1.50 - 1.99 ก็จะตกอยู่ในสภาพวิทยาทัณฑ์ แต่
ก็ไม่ต้องเครียดมาก ทำ�ให้สุดความสามารถ จะได้ไม่ต้องมีเสียใจภายหลังก็พอครับ
การวางแผนการเรียนระยะยาวสามารถดูได้จากแผนการเรียน ปี 1 - ปี 4 หนังสือ
คู่มือเล่มนี้ได้จำ�แนกวิชาต่างๆ ให้น้องศึกษาและทำ�ความเข้าใจอย่างถี่ถ้วนแล้ว เหลือแค่เรา การเรียนแบบเอาเกียรตินิยม ก็ตามชื่อเลย เรียนเพื่อจะเอาเกียรตินิยมมาเสริม
เองว่าจะใส่ใจมันแค่ไหน หยิบกระดาษและปากกาออกมาร่างแผนการเรียนของเราสักหน่อย บารมี ในกรณีนี้น้องๆ ก็ต้องตั้งใจเรียนกันหน่อยครับ เขาบอกว่าการเรียนที่ดีที่สุดคือ อ่าน
นอกจากนี้ก็ยังต้องวางแผนกันว่าเราจะเรียน Gen-Ed, Gen-Lang, วิชาเลือก และวิชาโท ล่วงหน้า, ตั้งใจเวลาเรียน, ทำ�งานให้ครบ และอ่านทบทวนทุกครั้งครับ... ทำ�ได้หมด ให้ 10
อะไรดี เพื่อให้ตรงตามความสนใจของเราที่สุด และสามารถนำ�ความรู้ไปต่อยอดเพื่อใช้ใน กะโหลก (แต่พูดจริงนะ ถ้าทำ�ได้อย่างงี้ก็เอาไปเลยเกียรตินิยม อ๊ะ ให้)
หน้าที่การงานในอนาคตอีกด้วย
สำ�หรับการเรียนแบบรายวิชานั้น มีการเรียนทั้งแบบเก็บเกรด คือเรียนวิชาง่ายๆ ที่
การลงทะเบียนเรียนแต่ละภาคการศึกษานั้น สามารถลงได้สูงสุด 22 หน่วยกิต แต่ ไม่ค่อยได้ความรู้เท่าไหร่ หรือมีความรู้ด้านนั้นอยู่แล้ว เรียนไปเพื่อขอ A มาประดับในใบเก
ด้วยความที่วิชาของคณะเราจะเป็น 3 หน่วยกิตเสียส่วนใหญ่ จึงมักจะมีคำ�พูดประมาณว่า รดสวยๆ หน่อยเถอะ ส่วนอีกรูปแบบคือการเรียนแบบเอาความรู้ครับ ความรู้อะได้แน่ๆ แต่
ลง 15 หน่วยกิต / 18 หน่วยกิต หรือ MAX 21 หน่วยกิต... การลงทะเบียนเรียนวิชามาก เกรดนี่ไม่ค่อยมั่นใจ แต่คนจริงเขาก็ได้ทั้งเกรด ได้ทั้งความรู้เหมือนกันนะครับ ว่าไม่ได้
หรือน้อยก็ต้องขึ้นอยู่กับความสามารถเฉพาะตัวว่าเราสามารถรับมือมันได้แค่ไหน นอกจาก
สัญชาตญาณดิบและการดูดวงที่จะช่วยน้องตัดสินใจว่าควรจะเรียนกี่หน่วยกิต ควรดูองค์ประ ส�ำหรับเรื่องเกียรตินิยมนั้น จุฬาฯมีเกียรตินิยม 2 แบบ คือเกียรตินิยมอันดับ 1
กอบอื่นๆ เช่นความยาก-ง่ายของวิชาที่เรียน, ความเกี่ยวข้องของแต่ละวิชาที่เรียน (ถ้าวิชา จะให้กับนิสิตที่ได้เกรด 3.60 ขึ้นไปครับ ส่วนเกียรตินิยมอันดับ 2 นั้น จะให้กับนิสิตเกรด
มันไปในทางเดียวกันมากๆ ความรู้จะตีกันมั้ย หรือว่ามันจะแน่นหัวมากจนระเบิดตู้มหรือไม่ 3.25 ถึง 3.59 เนอะ และที่เก๋สุดคือเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง จะให้แค่คนที่ได้
หรือว่ามันหลากหลายเกินไปจนเราไม่สามารถแยกแยะสมองได้ทัน), การสอบและการเก็บ คะแนนสูงที่สุดเพียงคนเดียวในคณะเท่านั้น และอีกอย่างคือคนที่จะได้เกียรตินิยมนั้น ต้อง
คะแนน และสำ�คัญที่สุดคือตารางเรียนไม่ชนกัน และทำ�ร้ายสุขภาพมากจนเกินไป, ตาราง ไม่มี F ในใบเกรดนะจ๊ะ
กิจกรรมประจำ�เทอมที่อาจจะทำ�ให้เราไขว้เขวจากการเรียน ฯลฯ
มาถึงจุดนี้ก็คิดว่าคงจะครอบคลุมเรื่องของวิชาการหมดแล้ว อีกแค่นิดเดียวเท่านั้น
รูปแบบการเรียนของเด็กรัฐศาสตร์หลักๆ แล้วมีอยู่ 2 แบบครับ คือ เรียนๆ เล่นๆ คืออยากจะแนะนำ� CU-CAS เป็นเว็บไซต์ประเมินอาจารย์ผู้สอน ที่นิสิตทุกคนจะถูกบังคับ
และ เรียนเอาเกียรตินิยม ให้ท�ำ ทุกๆ สิน้ ภาคการศึกษา ก็อย่าลืมไปประเมินด้วยนะ https://www.cas.chula.ac.th/

92 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 93
12
ส่งท้าย แผนการศึกษา ปี 1 - ปี 4
สาขาวิชาการปกครอง
โอเคครับ จบแล้วส�ำหรับความเป็นวิชาการสุดๆ ของหนังสือคู่มือ สิงห์ด�ำ 68
ปรบมืออออออ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต
2400111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง 3
มาสู่ช่วงตอบคำ�ถามดีกว่า 2400113 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3
2400118 ตรรกะวิทยาและการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ 3
น้อง: พี่คะ ที่พี่อธิบายมาทั้งหมด หนูไม่เข้าใจเลยค่ะ 2900111 เศรษฐศาสตร์ 1 3
พี่: พี่ก็ไม่รู้จะช่วยหนูยังไงแล้วค่ะ (ตอบในใจ) / น้องๆ ควรจะศึกษาเพิ่มเติมจากแหล่ง 5500111 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 1 3
ต่างๆ, ถามอาจารย์ที่ปรึกษา หรือพี่รหัส แต่พี่ของเราจะใช้หลักสูตรไม่เหมือนกับ xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
น้อง ฉะนัน้ อาจจะช่วยได้ไม่มาก และสุดท้ายก็ตดิ ต่อฝ่ายทะเบียนคณะ ชัน้ M ตึก รวม 18
3 ขอให้น้องสู้ๆ เก็ทเอๆ นะ (อันนี้ที่ตอบจริง) ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
2400105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3
ก่อนที่จะจากไปสำ�หรับพาร์ทวิชาการ ขอให้น้องๆ ศึกษาส่วนนี้แบบจริงจังนะ 2400116 การเมืองและการปกครองของไทย 3
ครับ เผื่อผลประโยชน์ของน้องเอง ถามเพื่อนระวังจะชวนกันงงไม่รู้เรื่องมากขึ้นไปใหญ่ หาก 2900112 เศรษฐศาสตร์ 2 3
มีคำ�ถามสงสัยถามพี่ๆ ก็ได้ แต่ไม่แนะนำ� อยากให้น้องๆ ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา หรือฝ่าย 5500112 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 3
ทะเบียนของคณะมากกว่า เพื่อความมั่นใจไม่มีผิดพลาด ขอให้น้องๆ ลงทะเบียนเรียนครบ xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
ได้วิชาตามที่ต้องการ ได้ความรู้กลับไป ถึงไม่ได้ความรู้ก็ขอให้ได้แนวคิดดีๆ ของชีวิตกลับไป xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
ครับ โชคดีกับ 4 ปีในรั้วรัฐศาสตร์ ตั้งใจเรียน โชคดีค้าบ <3 (น้อยกว่าสาม) รวม 18
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2400112 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3
2400114 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3
2400119 การวิจัยและสถิติเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ 3
5500223 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 1 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
รวม 18

*หมายเหตุ xxxxxxx ภาษาต่างประเทศ : เลือกวิชาจากคณะอักษรศาสตร์


xxxxxxx ภาษาอังกฤษ : เลือกวิชาจากสถาบันภาษาที่กำ�หนดให้เลือก
94 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 95
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย หน่วยกิต สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2400115 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองและสังคม 3
2400117 การต่างประเทศของไทยในการเมืองโลกสมัยใหม่ 3 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต
5500224 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 2 3 2400111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3 2400113 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3
xxxxxxx วิชาเลือก หรือ วิชาโท 3 2400118 ตรรกะวิทยาและการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 2900111 เศรษฐศาสตร์ 1 3
รวม 18 5500111 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 1 3
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
2401217 การเมืองไทยสมัยใหม่ 3 รวม 18
2401212 กฎหมายปกครอง 3 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
2401216 รัฐและสังคม 3 2400105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3
2401300 ปรัชญาการเมือง 3 2400116 การเมืองและการปกครองของไทย 3
2401303 ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ 3 2900112 เศรษฐศาสตร์ 2 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 5500112 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 3
รวม 18 xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
2400206 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ 3 รวม 18
2401301 ความคิดทางเศรษฐกิจการเมือง 3 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2401304 การเมืองเรื่องการพัฒนา 3 2400112 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3
2401305 การเมืองการปกครองท้องถิ่นและภูมิภาค 3 2400114 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3
2401309 ศึกษาวรรณกรรมพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ 3 2400119 การวิจัยและสถิติเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ 3
xxxxxxx วิชาเลือกหรือวิชาโท 3 5500223 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 1 3
รวม 18 xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
2401306 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3 รวม 18
2401307 ขบวนการทางการเมืองและสังคม 3 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2401xxx วิชาสัมมนา 3 2400115 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองและสังคม 3
xxxxxxx วิชาเลือกหรือวิชาโท 6 2400117 การต่างประเทศของไทยในการเมืองโลกสมัยใหม่ 3
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 2402222 การเมืองระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 19 และ 20 3
รวม 18 5500224 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 2 3
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
xxxxxxx วิชาเลือกหรือวิชาโท 12 xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 รวม 18

96 คู่มือสิงห์ดำ� 68 รวม 15 คู่มือสิงห์ดำ� 68 97
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2402305 การเมืองระหว่างประเทศ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา 3
2402309 ทฤษฏีการเมืองกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต
2402224 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการเมืองโลก 3 2400111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง 3
2402401 การอ่านวรรณกรรมทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 1 3 2400113 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 2400118 ตรรกะวิทยาและการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ 3
xxxxxxx วิชาเลือก หรือ วิชาโท 3 2900111 เศรษฐศาสตร์ 1 3
รวม 18 5500111 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 1 3
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
2402310 เศรษฐกิจการเมืองโลก 3 รวม 18
2402402 การอ่านวรรณกรรมทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 2 3 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
2402315 องค์การระหว่างประเทศ 3 2400105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3
2402223 เอเชียตะวันออกในการเมืองโลก 3 2400116 การเมืองและการปกครองของไทย 3
xxxxxxx วิชาเลือก หรือ วิชาโท 6 2900112 เศรษฐศาสตร์ 2 3
รวม 18 5500112 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 3
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
2402403 การอ่านวรรณกรรมทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที่ 3 3 xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
2402300 นโยบายต่างประเทศวิเคราะห์ 3 รวม 18
2402316 กฎหมายระหว่างประเทศ 3 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
xxxxxxx วิชาเลือก หรือ วิชาโท 6 2400112 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 2400114 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3
รวม 15 2400119 การวิจัยและสถิติเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ 3
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย 5500223 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 1 3
xxxxxxx วิชาเลือกหรือวิชาโท 12 xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
รวม 15 รวม 18
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
*หมายเหตุ xxxxxxx ภาษาต่างประเทศ : เลือกวิชาจากคณะอักษรศาสตร์ 2400115 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองและสังคม 3
xxxxxxx ภาษาอังกฤษ : เลือกวิชาจากสถาบันภาษาที่กำ�หนดให้เลือก 2400117 การต่างประเทศของไทยในการเมืองโลกสมัยใหม่ 3
5500224 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 2 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
รวม 15

98 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 99
แผนการศึกษา สำ�หรับนิสิตที่เลือกวิชาบังคับสาขา กลุ่มวิชาสังคมวิทยา แผนการศึกษา สำ�หรับนิสิตที่เลือกวิชาบังคับสาขา กลุ่มวิชามานุษยวิทยา
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต
2403313 อาชญาวิทยา 3 2403317 ทฤษฎีสังคมวิทยา 3
2403317 ทฤษฎีสังคมวิทยา 3 2403318 ทฤษฎีมานุษยวิทยา 3
2403319 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3 2403319 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
2403318 ทฤษฎีมานุษยวิทยา 3 2403313 อาชญาวิทยา 3
2403360 สังคมจิตวิทยา 3 xxxxxxx วิชาโท 3
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
รวม 18 รวม 18
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
2403315 สถิติสำ�หรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3 2403315 สถิติสำ�หรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3
2403352 สังคมวิทยาพัฒนาการ 3 2403327 มนุษยมิติ 3
2403327 มนุษยมิติ 3 2403365 มานุษยวิทยาประวัติศาสตร์ 3
2403362 การอ่านวรรณกรรมทางสังคมวิทยา 3 2403366 มานุษยวิทยาองค์การ 3
xxxxxxx วิชาโท 6 xxxxxxx วิชาโท 6
รวม 18 รวม 18
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
2403328 ข้อถกเถียงว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 3 2403328 ข้อถกเถียงว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 3
2403465 การสำ�รวจประชามติและการวิจัยตลาด 3 2403364 มานุษยวิทยาการเมือง 3
24xxxxx วิชาเลือกอื่นๆ ในคณะ 3 2403367 การอ่านวรรณกรรมทางมานุษยวิทยา 3
xxxxxxx วิชาโท 6 xxxxxxx วิชาโท 9
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 รวม 18
รวม 18 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย 2403363 อัตลักษณ์ทางสังคมและความหลากหลายของวัฒนธรรม 3
2403361 สังคมพ้นพรหมแดน 3 2403480 สัมมนาประเด็นสังคมร่วมสมัย 3
2403480 สัมมนาประเด็นสังคมร่วมสมัย 3 24xxxxx วิชาเลือกอื่นๆ ในคณะ 6
24xxxxx วิชาเลือกอื่นๆ ในคณะ 3 xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 6
xxxxxxx วิชาโท 6 รวม 18
xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3
รวม 18
*หมายเหตุ xxxxxxx ภาษาต่างประเทศ : เลือกวิชาจากคณะอักษรศาสตร์
*หมายเหตุ xxxxxxx ภาษาต่างประเทศ : เลือกวิชาจากคณะอักษรศาสตร์ xxxxxxx ภาษาอังกฤษ : เลือกวิชาจากสถาบันภาษาที่กำ�หนดให้เลือก
xxxxxxx ภาษาอังกฤษ : เลือกวิชาจากสถาบันภาษาที่กำ�หนดให้เลือก
100 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 101
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น หน่วยกิต 2404213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลังสาธารณะ 3
2400111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง 3 2404310 การบริหารและสังคม 3
2400113 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3 2404324 นโยบายสาธารณะ 3
2400118 ตรรกะวิทยาและการค้นคว้าทางสังคมศาสตร์ 3 2404364 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3
2900111 เศรษฐศาสตร์ 1 3 2404419 ขอบเขตและวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
5500111 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 1 3 xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3 รวม 18
รวม 18 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย 2404220 ระบบการบริหารงานของไทย 3
2400105 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3 2404368 สถิติสำ�หรับนักบริหาร 3
2400116 การเมืองและการปกครองของไทย 3 2404312 การบริหารงานบุคคล 3
2900112 เศรษฐศาสตร์ 2 3 xxxxxxx วิชาเลือก/วิชาโท 3
5500112 ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในชีวิตจริง 2 3 xxxxxxx วิชาเลือกอื่นๆ (2404422 / 2404353 / 2404422) 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3 รวม 15
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
รวม 18 2404411 เทคนิคและวิธีการปรับปรุงการบริหาร 3
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น 2404415 กฎหมายกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3
2400112 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3 xxxxxxx วิชาเลือก/วิชาโท 6
2400114 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ 3 xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3
2400119 การวิจัยและสถิติเบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ 3 xxxxxxx วิชาเลือกอื่นๆ (2404426, 2404429 / 2404315, 2404317 / 2404429, 2404470)
5500223 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 1 3 2404480 สัมมนารัฐประศาสนศาสตร์ 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3 รวม 18
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
รวม 18 2404412 รัฐประศาสนศาสตร์ปฏิบัติการ 3
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย 2404414 การอ่านวรรณกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3
2400115 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองและสังคม 3 2404436* ทฤษฏีองค์การสาธารณะ 3
2400117 การต่างประเทศของไทยในการเมืองโลกสมัยใหม่ 3 xxxxxxx วิชาเลือก/วิชาโท 6
5500224 ภาษาอังกฤษสำ�หรับสาขาวิชารัฐศาสตร์ 2 3 xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3
xxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไป 3 (2404428, 2404430 / 2404425, 2404416 / 2404318, 2404431)
xxxxxxx ภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม (ภาษาอังกฤษ/ภาษาต่างประเทศ) 3 รวม 18
2601115 การบัญชีการเงิน (สำ�หรับกลุ่มบริหารงานคลัง) 3 *หมายเหตุ xxxxxxx ภาษาต่างประเทศ : เลือกวิชาจากคณะอักษรศาสตร์
2601112 การบัญชีการเงินเบื้องต้น (สำ�หรับกลุ่มบริหารงานบุคคลและนโยบายฯ) 3 xxxxxxx ภาษาอังกฤษ : เลือกวิชาจากสถาบันภาษาที่กำ�หนดให้เลือก
102 คู
่มือสิงห์ดำ� 68 รวม 18 คู่มือสิงห์ดำ� 68 103
x
UNIFORM
เครื่องแบบนิสิตเป็นองค์ประกอบหลักของนิสิตจุฬาฯ
เพราะเป็นการแสดงออกง่ายๆ ถึงความเป็นสถาบัน
x
และสำ�คัญที่สุดคือเป็นการแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
ของพวกเรา นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SUIT & TIE


นิสิตปี 1 ผู้ชายทุกคน
104 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิใช้งเห์นคไทสี
ดำ� 68กรมท่
105 าสกรีน
ตราพระเกี้ยว
WE R FRESHY
เราเฟรชชี่ เราเฟรชชี่
ดีที่สุด ผู้ชายเวลาเรียนทั่วไป
สวมเสื้อแขนยาว ผูกเนคไท
และสวมรองเท้าหนัง
ส่วนน้องผู้หญิงสวม
กระโปรงพลีท รองเท้าขาว
(เปเปอร์มิ้นท์)
SOPHOMORE+ อย่าลืมติดตราพระเกี้ยว
นิสิตผู้หญิง เมื่อขึ้นปี 2 ที่อกขวาด้วยนะ
สามารถใส่กระโปรงสอบ
แต่ก็ใส่กระโปรงพลีทได้นะ
ส่วนรองเท้าเป็นรองเท้าคัทชู

106 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 107


108 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 109
PEPPERMINT
นิสิตผู้หญิง ปี 1 สวม
รองเท้าสีขาว ไม่จำ�เป็นต้อง
110 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คูเป็่มนือยีสิ่หง้อห์เปเปอร์
ดำ� 68มิ้น111
ท์ แต่ขอ
ให้เป็นสีขาวไว้ก่อน
THE LADY
ชุดพิธีการของนิสิตหญิง
เมื่อเป็นชุดพิธีการ
ใส่ชุดปกติแค่เพียง
ติดกระดุมบนก็เรียบร้อย

BLACK TIE
เมื่อนิสิตชายขึ้นปี 2
เปลี่ยนเนคไทเป็นสีดำ�
ติดตราพระเกี้ยวสีเงิน
กลางเนคไท

112 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 113


CEREMONIAL
นิสิตชาย เครื่องแบบ ALL IN WHITE
พระราชพิธี สวมเสื้อราช- ชุดพิธีการของนิสิตชาย
ปะแตนสีขาว แผงคอสีดำ� ใส่เสื้อนิสิต (เชิ้ตขาว)
ซึ่งเป็นสีประจำ�คณะ เหมือนเดิม ส่วนกางเกง
กางเกงสีขาว เปลี่ยนเป็นกางเกงสีขาว
ขาวจั๊วะจริงๆ
114 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 115
ชุดเครื่องแบบปกติ ชุดเครื่องแบบพิธีการ ชุดเครื่องแบบพระราชพิธี
ชุดเครื่องแบบนิสิตชาย ชั้นปีที่ 1 ชุดเครื่องแบบนิสิตหญิง ชั้นปีที่ 1 ชุดเครื่องแบบนิสิตชาย ชุดเครื่องแบบนิสิตชาย
เสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาว ผูกเน็คไทตราพระเกี้ยว กางเกง เสื้อสีขาวแขนสั้นติดเครื่องหมายพระเกี้ยว กระโปรงจีบ เสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาว กางเกงสีขาว รองเท้าหนังหุ้มส้น เสื้อราชปะแตนสีขาว ติดแผงคอสีประจำ�คณะ
สีดำ� รองเท้าหนังหุ้มส้นสีดำ� เข็มขัดหนังสีดำ� ถุงเท้าสีดำ� รอบสีกรมท่าหรือสีดำ� ความยาวคลุมเข่า เข็มขัดหนังกลับ สีดำ� ถุงเท้าสีดำ� เข็มขัดหนังสีดำ� ผูกเน็คไทตราพระเกี้ยว กางเกงยาวสีขาว รองเท้าหนังหุ้มส้นสีดำ� ถุงเท้าสีดำ�
สีน้ำ�ตาลเข้ม รองเท้าหุ้มส้นสีขาว ถุงเท้าสีขาว
ชุดเครื่องแบบนิสิตหญิง ชุดเครื่องแบบนิสิตหญิง
ชุดเครื่องแบบนิสิตชาย ชั้นปีที่ 2 ขึ้นไป ชุดเครื่องแบบนิสิตหญิง ชั้นปีที่ 2 ขึ้นไป เสื้อสีขาวแขนสั้นติดเครื่องหมายพระเกี้ยว ติดดุมที่คอเสื้อ เหมือนกับชุดเครื่องแบบพิธีการ (หญิง)
เสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาวหรือแขนสั้น เสื้อสีขาวแขนสั้นติดเครื่องหมายพระเกี้ยว เข็มขัดหนังกลับสีน้ำ�ตาลเข้ม... รองเท้าหุ้มส้นสีขาว ถุงเท้า
ผูกเน็คไทตราพระเกี้ยว กางเกงสีดำ� กระโปรงทรงตรงสีกรมท่าหรือสีดำ� ความยาวคลุมเข่า สีขาว กระโปรงจีบรอบสีกรมท่า ความยาวคลุมเข่า (ปี 1)
รองเท้าหนังหุ้มส้นสีดำ� เข็มขัดหนังสีดำ� ถุงเท้าสีดำ� เข็มขัดหนังกลับสีน้ำ�ตาลเข้ม รองเท้าหุ้มส้นสีดำ� / กระโปรงทรงตรงสีกรมท่า ความยาวคลุมเข่า
รองเท้าหุ้มส้นสีดำ� สวมถุงน่องสีเนื้อ (ปี 2 ขึ้นไป)
116 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 117
ของดี#1
อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์
ของดีคณะรัฐศาสตร์ อาคารเรียนแรกของคณะรัฐศาสตร์ของเรา ก็คืออาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ หรือ
จะเรียกว่า อาคารรัฐศาสตร์ 1 หรือ ตึก 1 คณะรัฐศาสตร์ คนส่วนใหญ่ก็จะเรียกกันสั้นๆ
ย่อๆเป็นที่รู้กันว่า ตึก 1 หรือในเว็บไซต์น้องๆ จะเห็นตัวย่อ POL 1 ก็ให้น้องๆ รู้ไว้ว่าเป็น
อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ จะสังเกตเห็นได้ง่ายเพราะจะอยู่บริเวณหลังป้ายคณะรัฐศาสตร์
อาคารรูปทรงก็จะดูคล้ายๆ กับสถานที่ราชการ พี่มีความรู้สึกว่าอาคารนี้มีความเก่าที่ดูเท่ห์
คณะรัฐศาสตร์อยู่คู่ฟ้าเมืองไทยมาเป็นเวลา 67 ปี ก็ย่อมผลิตของดี และก็ขลังเอามากๆ อาคารเรียนเรามีความเป็นเอกลักษณ์ที่ดูรัฐศาสตร์ ไม่เหมือนคณะอื่นนะ
มาให้เราได้ประจักษ์แน่นอน ปี 2558 มีของดีประจำ�คณะอะไรบ้าง จ้ะ มาเล่าประวัติกันนิดหน่อยดีกว่า อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์นี้ เป็นอาคารเรียนหลังแรก
ของคณะถูกสร้างขึ้นหลังจากที่คณะรัฐศาสตร์ ได้รับการก่อตั้งขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่จะให้เราได้ไปท้าพิสูจน์ ไปดูกันเลย! อีกครั้งหนึ่ง อาคารนี้เก่าแก่มากถูกใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2495 จากสิงห์ดำ�รุ่นสู่รุ่น (อันนี้พี่ก็เกิด
ไม่ทันหรอกนะ ไปหาในเว็บมา 555) ภายในอาคารมี 2 ชั้น ชั้นบนก็จะเป็นห้องพักอาจารย์
ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์และภาควิชาการปกครอง ซึ่งน้องๆ คงคุ้นตากันบ้าง เพราะได้
เข้ามาสัมภาษณ์กันในวันสัมภาษณ์ได้จัด ณ ตึกนี้ ส่วนชั้นล่างเป็นห้องโถงกลาง ที่น้องๆได้
ทำ�กิจกรรมร่วมกันไปบ้างแล้วและห้องบรรยายในการเรียนในบางรายวิชา ซึ่งก่อนที่จะมีการ
ก่อสร้างอาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี - ตึก 3) นิสิตรัฐศาสตร์ทุกคนก็จะต้องมา
เรียนที่ห้องบรรยายในอาคารนี้ แต่ในปัจจุบนั มีเพียงบางรายวิชาเท่านัน้ ทีน่ อ้ งๆ จะได้เข้ามา
เรียน เพราะการเรียนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะเรียนกันที่อาคารเกษม อุทยานิน หรือตึก 3 มาก
ขึ้น และพวกพี่ๆ ที่ศึกษาระดับปริญญาโท ส่วนใหญ่เขาก็จะมาเรียนกันที่ตึก 1

118 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 119


120 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 121
ของดี#2 ของดี#3
อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)
อาคารล่าสุดใหม่เอี่ยมของคณะรัฐศาสตร์ ที่พึ่งเปิดใช้งานไปยังไม่ถึงปี ซึ่งก็อาคาร
เป็นอาคารหลังที่สองของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มี 2 ชั้น อยู่บริเวณถัดจากอาคาร นี้ก็เป็นอาคารหลังที่ 3 ของคณะรัฐศาสตร์ คนส่วนใหญ่จึงเรียกกันสั้นๆ ว่า ตึก 3 มี 13 ชั้น
สำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) สามารถเดินเชื่อมกันได้ ภายในอาคารก็จะมีห้องบรรยายใน แต่ละชั้นก็จะมีห้องต่างๆ ดังนี้
การเรียนที่ใช้สำ�หรับการเรียนในระดับปริญญาโทมากกว่า รูปทรงอาคารก็คล้ายๆ กับอาคาร ชั้น M - ฝ่ายวิชาการ อาคารสถานที่ และห้องสโมสรนิสิตรัฐศาสตร์
สำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) เป็นตึกเก่าแก่ประจำ�คณะของเราเหมือนกัน ซึ่งน้องๆ สามารถ ชั้น 2 - สำ�นักคณบดี รองคณบดี และฝ่ายบริหาร
เดินลัดจากตึก 1 ไปยังตึก 2 ซึ่งจะไปทะลุถึงป้ายรถป๊อป หรือเดินเลี้ยวขวาไปยังอาคารเปรม ชั้น 3 - ห้องสมุดรูฟุส ดี สมิธ และชำ�นาญ ยุวบูรณ์
บุรฉัตรได้สบายๆ เลยจ้า ชั้น 4 - ห้องสมุดรูฟุส ดี สมิธ และชำ�นาญ ยุวบูรณ์ (กำ�ลังก่อสร้าง)
ชั้น 5-6 - ห้องบรรยายในการเรียน
ชั้น 7 - ห้องคอมพิวเตอร์
ชั้น 8-9 - ห้องพักอาจารย์ประจำ�ภาควิชาต่างๆ
ชั้น 10 - EBA
ชั้น 13 - ห้องประชุมเกษม สุวรรณกุล หรือห้องบรรยายเรียนรวม 13081

122 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 123


ของดี#4
ห้องประชุมเกษม สุวรรณกุล (13081)

ห้องประชุมเกษม สุวรรณกุล ตั้งอยู่ที่อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ปี)


หรือตึก 3 ชั้น 13 ห้องนี้ใช้สำ�หรับจัดพิธีการต่างๆ เช่น พิธีคารวะอาจารย์ พิธีไหว้ครู พิธีมอบ
ทุนการศึกษา และกิจกรรมเสวนาวิชาการต่างๆ เพราะเป็นห้องประชุมขนาดใหญ่ นอกจาก
จะใช้เป็นห้องประชุมแล้ว ยังใช้เป็นห้องสำ�หรับบรรยายการในการเรียนการสอนและการสอบ
อีกด้วย ซึ่งในวิชาเรียนรวมหรือการสอบในวิชานั้นๆ น้องๆ ก็จะต้องมาเรียนและสอบรวมกัน
ที่ห้องนี้ โดยน้องๆ จะเห็นได้ในตารางเรียน จะเขียนว่าห้อง 13081 การจะมาถึงห้องนี้ได้
น้องๆ จะต้องใช้ความอดทนในการรอลิฟต์นิดนึง เพราะเมื่อถึงคาบเรียนช่วงเช้าหรือบ่าย ก็
จะมีคนใช้บริการลิฟต์เป็นจำ�นวนมาก แต่ก็จะไม่ต้องห่วงเพราะในตึกนี้บันไดหนีไฟให้น้องๆ
ได้ใช้ เผื่อน้องคนไหนขี้เกียจรอ ก็เชิญได้เลยค่ะ (แต่พี่แนะนำ�ว่าให้รอดีกว่านะ 555)

124 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 125


ของดี#5 - มุมกาแฟ จากร้าน Cafe’ Amazon ไว้ให้น้องๆ ได้ดื่มกาแฟ จิบชากันเบาๆ ซึ่งก็มีหลาก

ห้องสมุดรูฟุส ดี สมิธ และชำ�นาญ ยุวบูรณ์ หลายเมนูเครื่องดื่มคอยให้บริการ แต่ไม่มีเมนูปั่นนะจ๊ะ เพราะว่าเดี๋ยวจะไปส่งเสียงดัง


รบกวนคนอื่นเอาได้ ที่ส�ำคัญถ้าน้องๆ แสดงบัตรนิสิตจะได้รับส่วนลดทุกเมนูอีก 10 %
- มุมนอนหลับ ความจริงเขาก็ไม่ได้ระบุว่าเป็นมุมนอนหลับ แต่นิสิตส่วนใหญ่ก็จะไป
งีบหลับกันตรงนี้ เป็นมุมสบายๆ ไว้อ่านแมกกาซีน (แต่เท่าที่เห็นก็ไม่มีใครอ่านนะ ทุกคนก็
เขาว่ากันว่าห้องสมุดที่เลอค่าที่สุดในจุฬาฯ ต้องที่ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์นี่แหละ หลับ 555) นั่งเอนบนโซฟานุ่มๆ มีหมอนให้กอด เป็นมุมไว้พักสายตาสำ�หรับน้องๆ คนไหน
ค่ะ (เขาไหนไม่รู้เหมือนกันนะ 555) ถ้าไม่เชื่อต้องเข้าไปดูให้เห็นกับตาที่ชั้น 3 ตึก 3 (เกษม ที่ต้องการพักผ่อนก็ไปหามุมนี้กันเอาเอง
อุทยานิน) พี่ขอเล่าประวัติย่อๆ ของห้องสมุดเก่าแก่ของคณะเรานี้คร่าวๆ กันก่อนนะคะ ห้อง - มุมเงียบ ก็จะเป็นมุมสำ�หรับอ่านหนังสือที่เงียบสมชื่อ เพราะเป็นโซนที่ไม่พลุกพล่าน มีโต๊ะ
สมุดแห่งนี้ก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2491 อยู่ที่อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) ใน ไม่กี่โต๊ะเท่านั้น โต๊ะจะเต็มเร็วมาก ถ้าต้องการใช้สมาธิในการอ่านหนังสือต้องมามุมนี้เลยจ้า
ระยะเริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 ศาสตราจารย์รูฟุส แดเนียล สมิธ จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ค - มุมอ่านหนังสือ (เอ๊ะ มันต่างกับมุมเงียบยังไง ก็ใช้อ่านหนังสือเหมือนกัน?) ต่างจ้า ต่าง
สหรัฐอเมริกา ได้ช่วยเหลือกิจการห้องสมุดโดยติดต่อขอบริจาคหนังสือ และวารสารทางด้าน เพราะเป็นมุมสำ�หรับอ่านหนังสือที่มีทั้งโต๊ะรวมและโต๊ะเดี่ยว แต่ก็จะไม่ได้เงียบเหมือนมุม
สังคมศาสตร์จากองค์การมูลนิธิและมหาวิทยาลัยต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา ทำ�ให้เป็นห้องสมุด เงียบ เพราะบางทีก็มีคนเดินไปเดินมา มีเสียงคนคุยกันบ้าง ก็อาจจะทำ�ให้เราเสียสมาธิ
แห่งแรกในประเทศไทยที่เป็นแหล่งค้นคว้าสำ�คัญทางด้านสังคมศาสตร์ ต่อมาห้องสมุดได้ ได้ โดยอย่างยิ่งถ้ามีหนุ่มหล่อๆ หรือสาวสวยๆ เดินผ่านไปผ่านมา อิอิ ยิ่งช่วงใกล้ๆ สอบก็
ย้ายไปสองครั้ง ไปยังอาคารเกษม อุทยานิน และย้ายไปยังอาคารวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ ในปี จะมีคนมาใช้บริการอ่านหนังสือที่นี่กันอย่างล้นหลาม ทั้งนิสิตในคณะหรือต่างคณะ แต่ไม่
พ.ศ. 2518 ก่อนจะย้ายห้องสมุดบางส่วนมาที่ชั้น 3 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60 ต้องห่วงว่าเด็กคณะอื่นเขาจะมาแย่งที่เรานะคะ เพราะป้าๆ ที่ดูแลห้องสมุดได้กันที่ไว้ให้นิสิต
ปี) และเปลี่ยนชื่อเป็น “ห้องสมุดรูฟุส ดี. สมิธ และชำ�นาญ ยุวบูรณ์” ตามชื่อผู้มีอุปการคุณแก่ รัฐศาสตร์ก่อนสัปดาห์สอบ 1 สัปดาห์ งดบริการแก่นิสิตนอกคณะรัฐศาสตร์
ห้องสมุด - มุมไซเบอร์ เป็นมุมสำ�หรับการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าน้องๆต้องการจะใช้ ก็สามารถไปขอ
ใช้บริการได้ที่เคาน์เตอร์ ป้าเจ้าหน้าที่เขาก็จะให้น้องกรอกชื่อและหมายเลขเครื่องที่น้องใช้
เมื่อไปถึงห้องสมุด ขั้นแรกก็จะต้องทำ�การสแกนบัตรนิสิต จากนั้นน้องก็จะโดน แต่พอน้องใช้งานไปได้สักพัก ระบบก็จะตัดอัตโนมัติ น้องๆ ก็ต้องเดินไปกรอกใหม่อีกรอบ
สแกนน้ำ�ดื่ม หรืออาหารต่างๆ จากเจ้าหน้าที่ที่ดูแลห้องสมุด เพราะกฎของสมุดคือห้ามนำ� (ซึ่งอาจจะสร้างความรำ�คาญให้แก่น้องๆ ได้ 555) หรือคนส่วนใหญ่เขาก็จะพกแล็ปท็อปมา
อาหารและเครื่องดื่มเขามาภายในห้องสมุด (น้ำ�เปล่าก็ไม่ได้นะคะ) ซึ่งถ้าน้องๆ แอบเอาเข้า กันเอง เพราะที่ห้องสมุดมีปลั๊กไว้ให้น้องๆ เสียบชาร์จกันได้ อีกทั้งยังมี iPad ไว้บริการ ซึ่ง
มาแล้วป้าห้องสมุดจับได้ น้องก็จะ… (ถ้าอยากรู้ว่าเป็นยังไงก็ลองทำ�ดู 555) มาดูกันดีกว่าว่า พี่ก็ไม่เห็นมีใครใช้เท่าไหร่ ถ้าอยากรู้ว่าทำ�ไม ก็ต้องไปลองกันนะ
ภายในห้องสมุดมีอะไรบ้าง โดยแยกเป็นมุมต่างๆ ดังนี้ - มุมเม้าท์มอย ห้องสมุดเรามีห้องประชุมไว้ให้น้องๆ ได้เม้าท์มอย ติวหนังสือ ประชุมหรือ
คุยงานต่างๆ มีกันอยู่ 4 ห้อง ซึ่งก็จะเป็นห้องที่สามารถใช้เสียงได้ สามารถติดต่อขอใช้บริการ
ได้ที่เคาน์เตอร์ โดยจะต้องจองห้องก่อนใช้ แต่หากน้องใช้เสียงเกินมาตรฐานเดซิเบลที่ป้าห้อง
สมุดได้กำ�หนดไว้ น้องๆ ก็จะโดนดุ เพราะห้องประชุมนี้ไม่ได้เก็บเสียง จึงต้องใช้เสียงที่ดังพอ
ประมาณกัน (เท่าที่ผ่านมาพี่ก็โดนดุตลอด 555)
นอกจากมุมต่างๆ ที่ได้พี่ได้เล่าไปแล้ว ห้องสมุดก็มีหนังสือมากมายหลายประเภท
ให้น้องๆ ได้อ่าน ได้ศึกษากัน และสามารถยืมกลับไปอ่านได้ โดยห้องสมุดเป็นห้องสมุดแห่ง
แรกในประเทศไทยที่เป็นแหล่งค้นคว้าสำ�คัญทางด้านสังคมศาสตร์อีกด้วย เลอค่าจริงๆ ถ้า
อยากรู้ว่าห้องสมุดคณะเราจะเป็นอย่างที่พี่โม้ไปรึเปล่า ก็ต้องมาลองใช้บริการกัน

126 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 127


128 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 129
ของดี#6 ของดี#7
ห้องคอมพิวเตอร์ ชั้น M อาคารเกษม อุทยานิน
ภายในชัน้ M จะประกอบไปด้วยห้องทะเบียน ห้องกิจการนิสติ และฝ่ายอาคารสถานที่
ห้องคอมพิวเตอร์ คณะรัฐศาสตร์ อยู่ที่ชั้น 7 อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60
ปี - ตึก 3) โดยให้บริการใช้คอมพิวเตอร์และพิมพ์งาน เอกสารต่างๆ ได้โดยไม่เสียค่าบริการ ห้องทะเบียน
(ส�ำหรับนิสิตคณะรัฐศาสตร์) โดยมีโควต้าพิมพ์เอกสารกันได้คนละ 300 แผ่นต่อเทอม ถ้าน้องๆต้องการติดต่อเกี่ยวกับเรื่องทะเบียนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การติดต่อลง
น้องๆ คงคิดว่า 300 แผ่นนี่เยอะมาก แต่บางวิชาที่ต้องใช้เอกสารหรือชีท ไว้เรียนหรืออ่าน ทะเบียนเรียน ในกรณีที่ลงทะเบียนสายหรือลงทะเบียนไม่ได้ การลดถอนรายวิชาสาย การลง
ก่อนสอบ บางที 300 แผ่นก็ไม่พอ (ขู่ไว้ก่อน 555) ทะเบียนผิดตอนเรียน เป็นต้น ซึ่งถ้าน้องๆ มีปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนก็มา
ปรึกษาข้อคำ�แนะนำ�จากเจ้าหน้าที่ห้องทะเบียนได้ค่ะ หรือไม่ว่าจะเป็นการขอหนังสือรับรอง
หรือเอกสารต่างๆ ที่น้องๆ ต้องการ ก็สามารถมาติดต่อเจ้าหน้าที่ได้โดยตรงที่ห้องทะเบียน
ชั้น M ตึก 3

ห้องกิจการนิสิต
ห้องนีจ้ ะใช้เป็นทีท่ �ำ งานของพีๆ
่ ทีม่ ตี �ำ แหน่งต่างๆ ในสโมสรนิสติ คณะของเรา ถือได้
ว่าถ้าไม่มีห้องนี้ ก็ไม่มีกิจกรรมงานต่างๆ เกิดขึ้น เพราะพี่ๆ ทุกคนเขาก็ใช้ห้องนี้เป็นที่ประชุม
คุยงานกันตลอดแทบทุกสัปดาห์ ไม่วา่ จะเป็นกิจกรรมรับน้อง หรือกิจกรรมต่างๆ ภายในคณะ
ถ้าน้องๆ คนไหนได้มาเป็นสมาชิกในสโมฯ ก็จะได้มาทำ�งานกับพี่ๆ ที่ห้องนี้แหละจ้า

130 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 131


ของดี#8
หลวงพ่อสิงห์ดำ�

หลวงพ่อสิงห์ดำ�เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ�คณะรัฐศาสตร์มาตั้งแต่สิงห์ดำ�รุ่นแรก
จนถึงปัจจุบัน รวมถึงบุคลากรฝ่ายต่างๆ องค์หลวงพ่อสิงห์ดำ�จะอยู่บริเวณข้างหน้าอาคาร
สำ�ราญราฎร์บริรกั ษ์ หรือ ตึก 1 อยูใ่ กล้กบั ป้ายรถป๊อปสาย 1 ทีจ่ ะไปสูท่ างออกฝัง่ ถนนอังรีดนู งั ต์
ซึ่งทุกคนในคณะหรือคนที่เดินผ่านไปผ่านมาก็จะให้ความเคารพ เพราะเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่
คุ้มครองคณะรัฐศาสตร์ เมื่อเดินผ่านหรือมองเห็นท่าน ทุกคนก็จะยกมือไหว้ หรือน้องๆ จะ
ไปฝากเนื้อฝากตัวเป็นสิงห์ดำ�รุ่นที่ 68 และขอพรแก่ท่านให้ช่วยในเรื่องการเรียน จะได้เกท A
กันถ้วนหน้าเลย

132 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 133


ของดี#9 ของดี#10
ต้นไทร และศาล ดาดฟ้า (ลานจอดรถ)
ต้นไทรและศาลในคณะของเรา อยู่ใกล้ๆ กับหลวงพ่อสิงห์ดำ� จะเป็นต้นไทรขนาด ดาดฟ้าทีว่ า่ นีเ้ ป็นของดีรฐั ศาสตร์อกี อย่างหนึง่ ทีส่ �ำ คัญเลยก็วา่ ได้ เพราะเป็นสถานที่
ใหญ่มาก และศาลพระภูมิอยู่ติดกัน ก็เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในคณะของเราเหมือนกัน เพราะเขา ยอดฮิตที่เด็กรัฐศาสตร์เองหรือเด็กคณะอื่นก็จะต้องมาเยี่ยมชมกัน ดาดฟ้าในที่นี้อยู่ที่ชั้นบน
เล่าสืบต่อกันมาว่ากันว่ามีสิงห์ดำ�รุ่นก่อนๆ (นานมาแล้ว) มาไหว้และขอเกรดกับศาลพระภูมิ สุดของอาคารลานจอดรถของคณะ (บนโรงอาหารนั่นเองค่ะ) น้องๆ คนไหนอยากขึ้นไปดูก็
ที่นี่ และได้บนไว้ว่าถ้าได้เกรดสวยสมปารถนา ก็จะนำ�ผ้ามาผูกกับต้นไทร แล้วพอเขาได้ สามารถขึ้นลิฟต์หรืออยากออกกำ�ลังกายเดินขึ้นไปดูก็เชิญทางบันไดหนีไฟได้เลยจ้า พอขึ้นไป
จริงๆ ก็นำ�ไปผูก และก็มีคนทำ�ตามเรื่อยๆๆ มากขึ้น ทำ�ให้มีผ้ามาผูกกับต้นไทรเยอะขึ้น แล้ว เปิดประตูออกไปข้างนอกปุ๊บ น้องๆ ก็จะพบกับรังสีความร้อนที่แผ่กระจายออกมาจน
เหมือนปัจจุบัน (เรื่องนี้มีรุ่นพี่เล่ามาอีกทีนะจ้ะ) เอาเป็นว่ายังไงถ้าน้องๆ เดินผ่านบริเวณนี้ก็ ต้องหยี่ตา (ถ้าขึ้นไปตอนกลางวันนะคะ) ร้อนมากค่ะ แต่รับประกันวิวดี วิวสวย เหมาะแก่
เคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่กับคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ของเราเอาไว้ก็ได้ ไม่เสียหายนะจ้ะ การถ่ายรูป ถ้าจะให้ดีพี่แนะนำ�ให้ขึ้นไปสักประมาณ 4-5 โมงเย็นจะเป็นเวลาที่เหมาะ ไม่รอ้ น
จนเกินไป หรือน้องจะไปนัง่ ชมวิวพระอาทิตย์ลบั ขอบฟ้าก็ได้นะคะ บรรยากาศดีจริงๆ
ส่วนทีส่ �ำ คัญท่ส่ี ดุ คือน้องต้องระวังความปลอดภัยให้ดี อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้ทกุ เมือ่ ระมัด
ระวังตัวเองเสมอ อย่าเล่นพิเรนท์กนั นะคะ

134 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 135


ของดี#11
ลิฟต์ตึก 3 & บันไดหนี ไฟ
ลิฟต์ตึก 3 นี้อยู่ในอาคารเกษมอุทยานินหรือตึก 3 นั่นเองจ้า มีลิฟต์ที่ให้บริการ
อยู่ทั้งหมด 3 ตัว ค่ะ น้องคงสงสัยว่ามันก็แค่ลิฟต์ จะพิเศษยังไง ทำ�ไมต้องพูดถึง แน่นอนว่า
ลิฟต์ทั้ง 3 ตัวนี้มันไม่ธรรมดาค่ะ เพราะเมื่อน้องๆ เข้าไปในลิฟต์แล้ว น้องๆ จะได้ยินเสียง
อัตโนมัติจากลิฟต์ที่คอยบอกเลขชั้นต่างๆ อยู่ หรือกระทั่งลิฟต์เปิด-ปิด นางก็จะพูดอยู่ตลอด
เวลาว่า “ลิฟต์กำ�ลังเปิดค่ะ” “ลิฟต์กำ�ลังปิดค่ะ” และลิฟต์คณะของเรามารยาทดีมากๆ แม้ว่า
น้องจะรอลิฟต์แค่แป๊บเดียว แต่นางก็จะขอโทษด้วยประโยคที่ว่า “ขอโทษที่ทำ�ให้ต้องรอค่ะ”
ที่ได้ยินแล้วน่าเอ็นดูซะเหลือเกิน

ส่วนบันไดหนีไฟ ก็จะอยู่ติดกับลิฟต์ ทางคณะของเราก็รณรงค์กัน เมื่อขึ้นลงชั้น


เดียวให้ใช้บนั ไดหนีไฟ แต่นอ้ งๆ จะขึน้ ลงกีช่ น้ั ก็ใช้บนั ไดหนีไฟได้ ไม่จ�ำ เป็นแค่ชน้ั เดียวค่ะ 555
ช่วยคณะประหยัดแถมได้ออกกำ�ลังกายด้วย แล้วยิ่งช่วงสอบที่คนรอลิฟต์เยอะๆ แถวยาวๆ
แล้วน้องๆดันมาสายละก็ บันไดหนีไฟนี่แหละที่จะเป็นที่พึ่งให้น้องๆ ได้

136 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 137


ของดี#12 ของดี#13
สนามฟุตบอล สนามบาสเกตบอล
สนามฟุตบอลคณะรัฐศาสตร์ ตั้งอยู่บริเวณหลังตึก 1 เป็นสนามหญ้าจริงๆ เลย สนามบาสคณะรัฐศาสตร์เดิมทีเคยเป็นคลองที่กั้นระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์
นะ และคุณภาพสนามนี่ก็อยู่ในเกณฑ์ดี ดูแลโดยชมรมฟุตบอล แต่ขอเตือน!! เวลาเดินผ่าน กับรัฐศาสตร์ ไว้ แต่ได้มีการถมและปรับปรุงให้กลายเป็นสนามบาสอย่างที่เราเห็นในช่วงไม่กี่
ตอนเขาซ้อมบอลกันต้องระวังลูกบอลด้วยนะ เพราะตะข่ายที่ล้อมรอบสนามก็เก่ามากแล้ว ปีที่ผ่านมานี้ แม้สนามบาสแห่งนี้ของเราอาจจะไม่เก่าแก่นักแต่ก็มากไปด้วยความทรงจ�ำของ
อาจจะมีลูกบอลลอยมาใส่ได้ ปกติก็จะถูกใช้เพื่อซ้อมบอลคณะ ช่วงเย็นๆ ถึง 2-3 ทุ่ม แทบ เหล่าชมรมบาสที่ได้ท�ำกิจกรรมที่แสนอบอุ่นและร่วมใช้ชีวิตด้วยกันเหมือนครอบครัวตลอด
ทุกวัน น้องๆ สามารถมาเล่นบอลด้วยกันได้ ไม่ต้องอยู่ชมรมนี้ก็มาเล่นได้ แต่ก็มีบางครั้งบาง ทั้งปี ในบางครั้งอาจจะได้เห็นปาร์ตี้ปิ้งหมูของพวกเขาซึ่งถ้าหากหิวก็สามารถที่จะเข้าไป
กิจกรรมมาขอใช้พื้นที่ หรือนัดเพื่อนๆ คณะอื่นมาเตะบอลก็ทำ�เรื่องขอใช้สถานที่กับคณะได้ ทักทายและร่วมวงด้วยได้อย่างเป็นมิตร ในช่วงเย็นๆ จะมีการเล่นบาสและซ้อมบาสในบาง
เลย ป.ล. ตอนเย็นๆ พี่ๆ ชมรมบอลเขาชอบถอดเสื้อซ้อมกันด้วยนะสาวๆ อิอิ วัน หากเจอจังหวะดีๆ อาจได้พบกับเหล่าหนุ่มรูปงามถอดเสื้อเล่นบาสให้เป็นอาหารตาและ
อาหารใจก็เป็นได้

138 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 139


ของดี#14
โรงอาหารคณะรัฐศาสตร์
โรงอาหารคณะรัฐศาสตร์ของเรามีร้านอาหารทั้งหมด 5 ร้าน ร้านน้ำ� 2 ร้าน และมี
ร้านสิงห์ดำ�คาเฟ่ ที่นี่จะเป็นสถานที่ฝากท้องให้กับน้องๆ รับประกันความอร่อยบวกกับราคา
ประหยัดและปริมาณที่อิ่มท้องค่ะ มีอาหารมากมายหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็น อาหารตาม
สั่ง ข้าวราดแกง บะหมี่ ก๋วยเตี๋ยว ข้าวขาหมู ก๋วยจั๊บ ของทอดต่างๆ เป็นต้น ถ้าอยากรู้ว่าร้าน
ไหนรสชาติเป็นอย่างไร ก็ต้องไปลองชิมกันเอง แต่ในช่วงกลางวันนั้นที่นั่งอาจจะเต็มเร็วและ
คนต่อคิวรอซื้ออาหารกันเยอะ ถ้าไม่อยากพลาดมื้อกลางวันดีๆ อาหารอร่อยๆ ก็ต้องรีบมา
สำ�รองที่นั่งกันโดยเร็ว นอกจากร้านอาหารก็มีร้านน้ำ�อีก 2 ร้าน ที่คอยบริการขายน้ำ�และขนม
ให้แก่น้องๆ บริเวณมุมซ้ายสุดและขวาสุด ที่ต้องไปลองกันคือเมนูน้ำ�ปั่น และขนมปังปิ้งหน้า
ต่างๆ ของร้านเบอร์ 7 คอนเฟิร์มความเด็ดของรสชาติและราคาค่ะ

140 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 141


ของดี#15 ของดี#16
ก๋วยเตี๋ยวอดทน ลานโจก้า
ของดี ของเด็ด ของคณะรัฐศาสตร์ทไี่ ม่พดู ถึงไม่ได้กค็ อื “ก๋วยเตีย๋ วอดทน” นีแ่ หละค่า ลานโจก้า น้องๆ คงจะคุ้นๆ เพราะเป็นสถานที่ท่ีพ่ีๆ เขาได้ใช้จัดกิจกรรมรับ
ร้านนี้ที่เขาชื่อก๋วยเตี๋ยวอดทน ก็เพราะว่าเราจะต้องใช้ความอดทนสูงมากในการรอซื้อ น้องให้น้องๆ กันไปแล้ว อยู่บริเวณหลังอาคารส�ำราญราฎร์บริรักษ์ หรือตึก 1 เป็นลาน
เพราะขั้นตอนในการท�ำก๋วยเตี๋ยวของป้าเจ้าของร้าน แกจะพิถีพิถันมากเป็นพิเศษ ใส่ใจใน กว้างๆ ที่ใช้ท�ำกิจกรรมต่างๆ กลางแจ้ง ซึ่งพอเปิดเทอมมา น้องๆ ก็จะได้ร่วมกิจกรรมกัน
ทุกขั้นตอน ลวกไปลวกมา หยิบเข้าหยิบออก พี่ว่าคงเป็นเคล็ดลับความอร่อยของร้านนี้ ตรงนี้มากขึ้น อาจใช้เป็นสถานที่ที่เรียกน้องๆ มารวมนัดหมายกัน ก่อนเริ่มกิจกรรมห้องเชียร์
ที่ท�ำให้ทุกคนติดใจแน่ๆ คือถ้าน้องๆ อยากทานก็จะต้องใช้เวลารอนิดนึงนะคะ ยิ่งถ้าคิวยาว หรือพีร่ อ้ งเพลง หรือน้องๆ สามารถใช้พนื้ ทีล่ านโจก้านี้ในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ภายในชัน้ ปี
คนเยอะ น้องท�ำใจไว้ได้เลย ถ้าใครหิวมากๆ พี่แนะน�ำให้ไปทานร้านอื่นก่อน เพราะน้องอาจ ของน้องๆ เอง เช่น การฝึกซ้อมสันโต้ เป็นต้น
จะต้องทนหิวนานเป็นพิเศษหน่อย แต่ก็ไม่ต้องห่วง พี่รับประกันความอร่อยของร้านนี้ว่าสุด
ยอดจริงๆ มีหลายเมนู ทั้งก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ ต้มย�ำ เย็นตาโฟต่างๆ เด็กคณะอื่นยังต้องมา
ทานที่คณะเราเลย ต้องลอง ห้ามพลาดเด็ดขาด !!!

142 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 143


ของดี#17 ของดี#18
ลานเฟรชชี่ + ลานอื่นๆ ห้องเชียร์ + ห้องชมรม
ลานเฟรชชี่ เป็นลานสำ�หรับน้องๆ เฟรชชี่ปี 1 ทุกคน ลานนี้จะอยู่บริเวณข้างหน้า ห้องเชียร์คือกิจกรรมช่วงเย็น ที่จัดขึ้นสำ�หรับเฟรชชี่ทุกคน ห้องเชียร์ของเราแตก
อาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์หรือตึก 1 ซึ่งจะมีโต๊ะ เก้าอี้ ลานนี้ใช้สำ�หรับทำ�กิจกรรมกลาง ต่างจากคณะอื่นตรงที่ การสอนร้องเพลงโดยพี่ร้องเพลงสุดคูลล์ เปิดโอกาสให้นิสิตทุกคนได้
แจ้งเช่นเดียวกันค่ะ เป็นลานที่น้องๆ ปี 1 สามารถใช้เพื่อทำ�กิจกรรมหรือนัดหมายต่างๆกัน แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ในสังคมที่เต็มไปด้วยกรอบและข้อจำ�กัดมากมาย ห้อง
ได้ ส่วนลานอื่นๆ บริเวณคณะของเราได้แก่ ลานบริเวณชั้นล่างของอาคารเกษม อุทยานิน เชียร์คณะรัฐศาสตร์จึงถือเป็นพื้นที่เล็กๆ ที่น้องจะได้แสดงความคิดเห็น ในขณะเดียวกันก็มี
หรือตึก 3 ที่มีร้าน Cafe’ Amazon อยู่ ลานนี้ก็เป็นลานกว้างโล่งที่ใช้สำ�หรับนัดหมาย หรือ คนที่พร้อมจะรับฟังความคิดเห็นของน้องๆ ไม่ว่ามันจะสุดโต่งแค่ไหน ขอรับรองว่าห้องเชียร์
ทำ�กิจกรรมเล็กๆ น้อยๆ ได้ในคณะ นี้คือห้องเชียร์ที่สร้างขึ้นเพื่อนิสิตรัฐศาสตร์ที่แท้จริง ห้องเชียร์ที่อยู่ร่วมกันด้วยเหตุผล และ
การเคารพซึ่งสิทธิและเสรีภาพทั้งของตนเองและผู้อื่น มามะ มาเข้าห้องเชียร์กันเถอะพี่ๆ
พร้อมว๊าก เอ๊ย! ว๊ายกันเต็มที่แล้วววววว โดยห้องเชียร์จะอยู่ที่โรงอาหารเก่าของคณะเรา แต่
ก่อนเป็นแหล่งเชื้อโรคชั้นดีแต่ตอนนี้ปรับปรุงแล้ว ใสวิ้งวับ พร้อมต้อนรับน้องๆ แล้วจ้า

144 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 145


ของดี#19 ของดี#20
Café Amazon ร้านพี่ลี่
ร้าน Cafe’ Amazon นี้มีอยู่ด้วยกันอยู่ 2 ร้านในคณะรัฐศาสตร์ ร้านแรกจะอยู่ ร้านนี้มี “พี่ลี่” เป็นเจ้าของร้าน สาววัยกลางคนหุ่นมีน้ำ�มีนวลผมยาวหน้าคมเข้ม พี่
บริเวณชั้นล่างของตึก 3 และร้านที่สองจะอยู่บนห้องสมุดของคณะที่ชั้น 3 ตึก 3 ซึ่งจะคอย เขาก็จะคอยควบคุมการถ่ายเอกสารชีทต่างๆ ให้น้องๆ ที่มาใช้บริการ โดยที่ร้านตั้งอยู่ ณ โถง
ให้บริการเครื่องดื่มและขนมให้น้องๆได้ดื่มได้ทานกัน พิเศษสำ�หรับนิสิตนักศึกษาจะได้รับ ตึก 1 อยู่บริเวณตรงข้ามห้องน้ำ�ชาย ที่นี่ยังเป็นแหล่งรวบรวมคลังชีทต่างๆ หลากหลายวิชา
ส่วนลดเมนูต่างๆ อีก 10 % เมื่อแสดงบัตรนิสิต เพราะฉนั้นเวลาไปซื้อกาแฟ อย่าลืมพกบัตร ของทุกชั้นปี ชีทบางตัวพี่ยังไม่มีเลยค่ะ ต้องไปขอซื้อมาจากร้านพี่เขานี่แหละ เพราะพี่ลี่เขา
นิสิตไปด้วยนะ ไม่อย่างนั้นอดได้ส่วนลด ทางร้านก็มีโต๊ะให้น้องๆ ได้นั่งดื่ม เม้าท์มอย หรือ รอบรู้มาก รู้หมด วิชาไหนอ่านชีทอะไร อาจารย์คนนี้เน้นสอบเรื่องอะไร เคยออกสอบอะไรไป
อ่านหนังสือกัน แต่อาจหาที่นั่งยากนิดนึง เพราะบางช่วงคนจะเยอะ โต๊ะมีจำ�นวนไม่มาก บ้าง ถ้าน้องๆ คนไหนต้องการหาชีทเรียนไว้อ่านเพิ่มเติม ก็สามารถสอบถามจากพี่ลี่ที่ร้านได้
น้องๆ สะดวกใช้บริการร้านชั้นบนหรือชั้นล่างก็แล้วแต่เลยนะคะ แต่ร้านบนห้องสมุดจะไม่มี เลย แต่ต้องใช้น้ำ�เสียงหวานๆ พูดเพราะๆ นะคะ เพราะไม่อย่างนั้นน้องอาจจะได้อย่างอื่น
บริการเครื่องดื่มเมนูปั่น เพราะอาจส่งเสียงดังรบกวนในห้องสมุด โดยทางห้องสมุดก็อนุญาต กลับมาอย่าหาว่าพี่ไม่เตือน อิอิ
ให้ดื่มหรือทานได้เพียงบริเวณโซนกาแฟเท่านั้นและน้องๆ เม้าท์มอยกันได้แต่ต้องก็ห้ามเสียง
ดังเกินมาตรฐานเดซิเบลที่ป้าห้องสมุดกำ�หนดไว้ด้วยนะคะ เดี๋ยวจะโดนดุเอา อิอิ ร้านถ่ายเอกสารร้านที่ 2 - ร้านนี้ตั้งอยู่ที่ห้องสมุดใหม่ของคณะ ชั้น 3 ตึก 3 มีพี่
นวลคอยบริการ อยู่บริเวณใกล้ๆ ห้องประชุมที่ใช้เสียงได้ ให้บริการถ่ายเอกสารชีทต่างๆ
เหมือนกันเลยค่า ร้านนีส้ ะดวกตรงทีน่ อ้ งๆ สามารถรอถ่ายเอกสาร ตากแอร์ในห้องสมุดเย็นๆ
หรือจะนั่งอ่านหนังสือรอ พอได้ชีทปุ๊ปน้องๆ ก็สามารถมานั่งอ่านต่อในห้องสมุดได้

146 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 147


พี่สิงห์ น้องเสือ ชาติเชื้อรัฐศาสตร์ พี่รัก จักรพันธ์ รัตนเสถียร (สิงห์ดำ� รุ่น 57)
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) เกียรตินิยม
อันดับ 2 จุฬาฯ / ปริญญาโท สาขา Human Resource and Develop-
ment Management University of Birmingham ประเทศอังกฤษ
คำ�คมโดนๆ หรือคำ�ขวัญปลอบใจอาจจะเป็นแรงบันดาลใจที่ดี แต่แรงบันดาลใจไหนจะดีไปกว่า อาชีพปัจจุบัน: รับราชการตำ�แหน่ง เจ้าพนักงานปกครองชำ�นาญการ กอง
การเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
คำ�บอกเล่าจากพี่สิงห์ตัวจริง ศิษย์เก่าคณะรัฐศาสตร์ที่ออกจากถ้ำ�สิงห์ดำ� แล้วได้กลายเป็น
สุดยอดในสาขาต่างๆ มาฟังพี่เก่าเล่ากันว่า คณะรัฐศาสตร์ได้ให้อะไรกับพี่บ้าง... “คณะรัฐศาสตร์ให้สิ่งที่สำ�คัญ 3 สิ่งในชีวิตพี่คือ 1.ได้ความรู้คู่ปริญญา ที่
เป็นใบเบิกทางให้ประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้มาถึงทุกวันนี้ การบริหาร
ราชการที่ใช้ในการทำ�งานอยู่ทุกวันนี้ ล้วนได้รับมาจากอาจารย์ที่เป็นกูรู
ระดับประเทศ 2.ได้ทักษะการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ
นายชยาวุธ จันทร (สิงห์ดำ� รุ่น 34) จะคิดและไตร่ตรองก่อนที่จะตัดสินใจ 3.ไม่คิดว่าจะหาสังคมเพื่อนที่ดีแบบนี้
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์)
ได้จากที่ไหน แต่สำ�หรับพี่ พี่ได้เพื่อนแท้จากที่นี่จริงๆ สุดท้ายอยากจะบอก
เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาฯ
น้องๆ ว่า ทุกคนต่างก็เกิดมาเพื่อที่จะประสบความสำ�เร็จในแบบของตัวเอง
อาชีพปัจจุบัน: ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม
กันทั้งนั้น ไม่ต้องไปเอาอย่างใคร หรืออิจฉาใคร หาตัวเองให้เจอ แล้วรีบทำ�
“การเรียนการสอนของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ให้ทั้งองค์ความรู้ทาง มันให้สำ�เร็จครับ”
รัฐศาสตร์-รัฐประศาสนศาสตร์อย่างแข็งแกร่งแก่ผม จนสามารถนำ�ไปใช้
สอบแข่งขันหรือเรียนต่อในระดับบัณฑิตศึกษาอย่างสบายๆ ตลอดจนการ
พี่แมน อภินันท์ รุดดิษฐ์ (สิงห์ดำ� รุ่น 58)
สอนให้นิสิตรู้จักคิด-วิเคราะห์-ถ่ายทอดเป็นข้อความอย่างเป็นระบบ รวม
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) จุฬาฯ /
ทั้งการเปิดโอกาสให้นิสิตทำ�กิจกรรมอย่างกว้างขวาง ช่วยพัฒนาการทำ�งาน
กำ�ลังศึกษาปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เหล่านี้ล้วนเป็นพื้นฐานสำ�คัญในการ
อาชีพปัจจุบัน: นักลงทุนอิสระ
ประกอบอาชีพการงานทั้งสิ้น”
“รัฐศาสตร์สอนให้เข้าใจ ยอมรับ และปรับตัว... คือเข้าใจสิ่งที่เป็น ยอมรับ
ความต่างและการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำ�ไปสู่การปรับตัวและสร้างสรรค์สิ่ง
พี่แต้ว กมลวรรณ วิปุลากร (สิงห์ดำ� รุ่น 34) ใหม่ที่ดีและมีคุณค่า”
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)
จุฬาฯ / ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) มหาวิทยาลัยเวส-
เทิร์น อิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา พี่เต้ สุรชัย เจริญสุข (สิงห์ดำ� รุ่น 58)
อาชีพปัจจุบัน: กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ดิ เอราวัณ กรุ๊ป การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) จุฬาฯ
อาชีพปัจจุบัน: ดำ�รงตำ�แหน่ง ปลัดอำ�เภอ (เจ้าพนักงานปกครองชำ�นาญ
“ใฝ่ฝันอยากเป็นนักการทูตมาตั้งแต่เด็กคะ ถึงแม้วันนี้จะเบนเข็มมาทำ�งาน
การ) ปฏิบัติหน้าที่ในตำ�แหน่ง รองผู้บังคับกองร้อยบังคับการและบริการ
เอกชนและก้าวขึ้นมาเป็นผู้บริหารสูงสุดขององค์กร ความสำ�เร็จในวันนี้คือ
(ท่าสาป) กองบัญชาการกองอาสารักษาดินแดน จังหวัดชายแดนภาคใต้
สิ่งที่ได้มาจากความเป็นนักรัฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ให้เรามีอิสระทางความคิด
อย่างมีตรรกะ ไม่คิดเพ้อฝันไปเรื่อยเปื่อย ความหลากหลายของสาขาวิชา “รู้เท่าทัน เข้าใจ และปรับตัวได้อย่างกลมกลืนต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลง
ในคณะนอกจากจะทำ�ให้เกิดมุมมองและโลกทัศน์ที่กว้างไกล ทุกวันนี้มีพี่ๆ ภายใต้บริบทต่าง ๆ ทางสังคม ในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะปัจจุบันที่การ
เพื่อนๆน้องๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ไปไหนก็เจอสิงห์ดำ� อบอุ่นค่ะ เปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นทำ�ให้เรามีมุมมองที่
ขอให้น้องๆสิงห์ดำ� 68 เรียนด้วย เล่นด้วย หาความรู้ เพิ่มพูนทักษะ สั่งสม เปิดกว้างสามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะ เรื่องต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุมีผล ถึง
ประสบการณ์ ความสำ�เร็จอยู่ที่ตัวเราค่ะ ไม่ว่าในอนาคตเราจะประกอบ แม้ในท้ายที่สุดเราหรือใครหลาย ๆ คน จะค้นพบว่า ไม่มีอะไรที่เป็นความ
อาชีพอะไรก็ตาม ขอให้ตอบแทนคณะ ด้วยการเป็นคนดีของสังคมนะคะ” จริงแท้แน่นอนในสังคมหรือโลกใบนี้ก็ตาม”

148 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 149


พี่คิงส์ พีระวัฒน์ อัฐนาค (สิงห์ดำ� รุ่น 59)
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (การปกครอง) เกียรตินยิ มอันดับ 2 จุฬาฯ / พี่ออม นันท์นภัส กุญจนาทคุณาวุฒิ (สิงห์ดำ� รุ่น 61)
กำ�ลังศึกษาปริญญาโท คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาฯ การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) จุฬาฯ
อาชีพปัจจุบัน: ผู้ประกาศข่าว ไทยรัฐทีวี อาชีพปัจจุบัน: พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน บ.การบินไทย
“ในมุมมองของพี่ คณะนี้เป็นที่บ่มเพาะทั้งความรู้ ทักษะต่างๆ และ “จากใจคนที่ตอนแรกยังสงสัยว่าเราเรียนอะไร จบไปจะมีงานมั้ย ซึ่งมอง
ประสบการณ์ชีวิต สอนให้พี่รู้จักคิด วิเคราะห์ แยกแยะ ถกเถียงด้วยเหตุผล ย้อนกลับไปสิ่งที่ได้จากคณะ นอกจากมิตรภาพที่ได้จากรุ่นพี่รุ่นน้องเพื่อนๆ
และกล้าแสดงออก ซึ่งเป็นพื้นฐานสำ�คัญในการใช้ชีวิตและการทำ�งานทุก แล้ว ก็คือรูปแบบกระบวนการคิด ซึ่งสำ�หรับหนู หนูคิดว่ามันเป็นสิ่งสำ�คัญ
สาขาอาชีพ พี่ขอให้น้องๆ ลองเปิดใจเรียนรู้ และอย่าเพิ่งย่อท้อกับปัญหา เรากลายเป็นคนมองอะไรสองด้าน มองที่เหตุและผล ก็อยากบอกน้องๆ รุ่น
อุปสรรคที่พบเจอระหว่างทาง พี่เชื่อว่าคณะนี้จะช่วยทำ�ให้ทุกคนได้ดึง ใหม่ว่า ถ้ายังไม่แน่ใจว่าคณะนี้ใช่หรือไม่ ก็ขอให้ลองให้เวลากับคณะนี้ รวม
ศักยภาพในตัวออกมาใช้อย่างเต็มที่แน่นอนครับ สุดท้ายนี้ พี่ขอต้อนรับน้อง ถึงลองศึกษาความรู้ภายนอกคณะ ซึ่งคณะก็เปิดกว้างให้กับนิสิตในการเลือก
สิงห์ดำ�รุ่น 68 เข้าสู่ถ้ำ�สิงห์แห่งนี้ หวังว่าน้องๆ ทุกคนจะสนุกกับการเรียน เรียน รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ นอกตำ�รา เพราะสิ่งเหล่านี้มันจะช่วยสร้างเสริม
และการทำ�กิจกรรม เก็บเกี่ยวประสบการณ์ชีวิตทั้งในห้องเรียนและนอก ประสบการณ์ที่ดีให้กับตัวเราได้ค่ะ”
ห้องเรียนให้เต็มที่ครับ โชคดีครับ”
พีบ่ อล สิทธิพล พาเจริญ (สิงห์ด�ำ รุน่ 61)
พี่โจ๊ะ พันธ์ุพงศ์ อัศวชัยโสภณ (สิงห์ดำ� รุ่น 59) การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (การปกครอง) จุฬาฯ / ได้รบั ทุน ก.พ.
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (การปกครอง) เกียรตินิยม (UIS) รับราชการทีก่ รมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ปัจจุบนั กำ�ลังศึกษาระดับ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / MSc. International Management ปริญญาโทในสาขา Comparative Politics ณ LSE สหราชอาณาจักร
(Distinction in Dissertation), University of Bath, UK
อาชีพปัจจุบัน: ดำ�รงตำ�แหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ “การศึกษาทางรัฐศาสตร์ ได้ท้าทายวิธีคิดเกี่ยวกับตนเอง และวิธีการในการ
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย / เคยดำ�รงตำ�แหน่ง ปลัดอำ�เภอ มองโลกไม่ว่าจะในระดับสังคมชุมชนจนกระทั่งการเมืองโลก รัฐศาสตร์ ไม่
(จ.จันทบุรี จ.ระยอง จ.ฉะเชิงเทรา) ได้สอนแค่ใช้เครื่องมือ แต่ต้องรู้เท่าทันการใช้และสามารถพัฒนาเครื่องมือ
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นสิ่งสำ�คัญในการทำ�งานทุกสาขาวิชาชีพ
“รัฐศาสตร์ คือ เครื่องมือสำ�คัญในชีวิตที่ช่วยจุดประกายและส่องแสงทาง นอกจากนี้ ในฐานะพลเมืองรัฐศาสตร์ ได้ขยายปริมณฑลทางจิตใจให้ยอม
ความคิด ให้มองเห็นในหลายมิติ หลายมุมมอง เห็นในมุมที่คนอื่นไม่เคย ความความแตกต่าง เข้าใจบุคคลอื่น รู้จักการถกเถียงอย่างเป็นเหตุเป็นผล
มอง ตั้งคำ�ถามกับสิ่งรอบตัว ไม่หลงตามกระแส ไม่ดราม่า เป็นพื้นฐานของ และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งเป็นคุณสมบัติในการอยู่ร่วมกันโดยไม่
กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนควรมี แล้วสังคม กีดกันหรือลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์ของใครออกไป”
จะอยู่ได้อย่างมีหลักคิด ไม่มั่วไปตามอารมณ์”
พีเ่ ดียร์ ภัทริน องอาจอิทธิชยั (สิงห์ด�ำ รุน่ 61)
อ.ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ (สิงห์ดำ� รุ่น 60) การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาฯ / ปัจจุบนั รับทุนกพ.มาศึกษาต่อปริญญาโท สาขาจิตวิทยาองค์กร
เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาฯ / ปริญญาโท วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษา มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา
ชั้นสูง พอล เอช. นิทซ์ มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปกินส์ วอชิงตัน ดีซี สหรัฐฯ
อาชีพปัจจุบัน: อาจารย์สาขาวิชาการระหว่างประเทศ ม.ธรรมศาสตร์ “รัฐศาสตร์สอนอะไรมากกว่าแค่ความรู้เกี่ยวกับรัฐ สอนให้เรารู้จักและหัด
วิเคราะห์ผู้คน ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวขับเคลื่อนที่สำ�คัญที่สุด สอนให้เปลี่ยนความ
“คณะรัฐศาสตร์ต่างกับคณะอื่นๆ ตรงที่ไม่ใช่วิชาที่เป็นสาขาวิชาชีพ ไม่ คิดและมุมมองหลายๆอย่างที่เคยมีต่อสิ่งๆหนึ่งไปเลย เลิกมองอะไรเป็นขาว
เหมือนคณะบัญชีที่ผลิตคนเป็นนักบัญชี หรือคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ผลิต ดำ� แต่พยายามเข้าใจสาเหตุและที่มาว่าแท้จริงแล้วปัญหานี้เกิดเพราะอะไร
คนเป็นวิศวกร คณะรัฐศาสตร์ปลูกฝังความคิดที่เป็นระบบให้กับผู้เรียน สอน ก่อนจะด่วนสรุปไปตามกระแส ที่สำ�คัญคือเป็นสังคมคณะที่เพื่อนๆอยู่กัน
ให้ตั้งคำ�ถามและมองปรากฏการณ์ทางการเมืองและสังคมต่างๆ อย่างพินิจ ได้ท่ามกลางความแตกต่างในความคิดเห็นและการกระทำ� ซึ่งคิดว่ามันเป็น
พิเคราะห์ สุดท้ายไม่ว่าผู้ที่จบจากคณะรัฐศาสตร์จะเลือกทำ�อาชีพอะไร ทักษะสำ�คัญมากที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมชีวิตจริง”
ทักษะการตั้งคำ�ถาม วิเคราะห์ และสังเคราะห์จะยังอยู่ติดตัวเราเสมอ”

150 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 151


พี่ปลาซิว อรรถชัย หาดอ้าน (สิงห์ดำ� รุ่น 63) พี่อิทธิ์ อิทธิ์ ธีรรัฐ (สิงห์ดำ� รุ่น 64)
การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)
เกียรตินิยม จุฬาฯ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง (ทุนภูมิพล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาชีพปัจจุบัน: ผู้สื่อข่าว/ผู้ประกาศข่าว/ผู้ดำ�เนินรายการวิทยุ คะแนนเฉลี่ยสะสม 4.00
สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
“สำ�หรับพี่ ‘รัฐศาสตร์’ ให้การคิดอย่างเป็นระบบ การเข้าใจและยอมรับใน
“‘รัฐศาสตร์จะให้อะไรกับเรา’ คือคำ�ถามที่ผมคิดมาตั้งแต่สอบติดคณะนี้ แต่ ความหลากหลาย และที่สำ�คัญคือ การมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมครับ
ทุกวันนี้พอทำ�งานจึงได้รู้ว่า รัฐศาสตร์ ไม่ใช่วิชาชีพที่เอามาทำ�งานหาเงินได้ แต่นั่นเป็นเพียงแค่ความคิดของพี่เท่านั้น นักรัฐศาสตร์แต่ละคนอาจได้อะไร
เลย แต่มนั คือ การสอนให้เราอยูร่ ว่ มกับสังคมจริงๆทีเ่ ต็มไปด้วยผลประโยชน์ จากรัฐศาสตร์แตกต่างกันออกไป และนั่นเป็นคำ�ตอบที่น้องๆ จะต้องค้นหา
และความแตกต่าง ได้อย่างเข้าใจ โชคดีที่ 4 ปีในรั้วมหาวิทยาลัย ผมไม่ได้ ต่อไปด้วยตนเองในคณะรัฐศาสตร์นี้ อย่างไรก็ก็ตาม ในท้ายสุดแล้วสิ่งหนึ่ง
เฝ้ารอที่จะได้รับอะไรจากที่นี่ ตรงกันข้ามผมพยายามกอบโกยความรู้ และ ที่ ‘รัฐศาสตร์’ น่าจะให้กับทุกคนก็คือ ความพร้อมในการเป็นสมาชิกที่ดีของ
ประสบการณ์ที่มันหาไม่ได้จากโลกข้างนอก จนวันนี้ผมกล้าเดินออกไปท่อง สังคมครับ”
โลกแห่งความจริง ไม่ใช่ในฐานะบัณฑิตรัฐศาสตร์ แต่ในฐานะ ‘สิงห์ดำ�’”

พี่เกมส์ ปิยังกูร ทวีผล (สิงห์ดำ� รุ่น 64)


การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาฯ
อาชีพปัจจุบัน: Research Assistance (Asia Institution
Chulalongkorn University)
“สำ�หรับพี่ รัฐศาสตร์ให้มากกว่าแค่ความรู้ในห้องเรียน นั่นคือ การได้รู้จักกับ
เพื่อนๆ ที่เรียนและโตมาด้วยกันในรุ่น, โอกาส, และภาพการมองโลกของ
เราที่กว้างและหลากหลายจากสังคมในคณะ และวิชาที่ได้เรียน พี่นึกไม่ออก
เลยว่าถ้าไม่เรียนที่นี่ พี่จะสามารถเป็นคนที่เข้าใจ และยอมรับในความหลาก
หลายของสังคมได้เท่าที่เป็นอยู่ไหม”

พี่แก๊ป จักริน ศรส่ง (สิงห์ดำ� รุ่น 64)


การศึกษา: ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาฯ
อาชีพปัจจุบัน: ครีเอทีฟ เอไทม์มีเดีย คลื่นวิทยุ 94 EFM
บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน)
“ก่อนอื่นเลยต้องบอกว่าคณะรัฐศาสตร์ให้อะไรกับพี่มากมายจนอธิบายเป็น
คำ�พูดไม่หมด แต่สิ่งที่ได้จากคณะนี้คือ “ความคิด” คณะรัฐศาสตร์สอนให้พี่
เป็นคนที่คิดอย่างมีเหตุผล และเป็นระบบและเปิดโลกใบใหม่ทางความคิด
ทำ�ให้เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้มากขึ้น และที่สำ�คัญคณะรัฐศาสตร์ ได้
ให้ครอบครัวที่อบอุ่นอีกครอบครัวหนึ่ง ได้มิตรภาพดีๆ จากเพื่อน พี่น้อง
อาจารย์ รวมถึงพี่ๆ บุคลากรทุกท่าน และนี่คือเสน่ห์ของการเป็น “สิงห์ดำ�””

152 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 153


1 • เปิดสายรหัส - มาดูเฉลยสายรหัสกันเร็ววว ใช่พี่คนนี้รึเปล่าน้าาา

YEAR • เปิดงานกีฬาน้องใหม่ CU Freshy Games - กีฬาเฟรชชี่เป็นเทศกาลกีฬาที่ให้เฉพาะ


น้องปี 1 เท่านั้น น้องๆสามารถสมัครเข้าแข่งขันกีฬาต่างๆ แล้วคว้าเหรียญกลับมาให้คณะ

IN เราเยอะๆเลยน้า ส่วนในวันนี้เราจะมีประกวดผู้นำ�เชียร์ กับประกวดสแตนด์กันนะ

POLSCI
• เชียร์โต้ 4 เส้า - เป็นการร้องเพลงแอ๊วกัน เอ๊ย ร้องเพลงแข่งกัน4คณะ มีคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะจิตวิทยาและคณะรัฐศาสตร์
• เปิดโลกกิจกรรม - งานเปิดโลกกิจกรรมชมรมต่างๆ รอบจุฬาฯ มีชมรมน่าสนใจมากมาย
รอน้องๆ อยู่ อย่าพลาดกันนะ
J U N E / 6 / มิ ถุ น า ย น
• วันสัมภาษณ์คณะรัฐศาสตร์ - ก่อนที่น้องๆจะเข้ามาในคณะรัฐศาสตร์อย่างเต็มตัวจะ S E P T E M B E R / 9 / กั น ย า ย น
ต้องผ่านการสัมภาษณ์จากคณาจารย์คณะรัฐศาสตร์ก่อน
• สันโต้ครุ - เป็นการสันโต้ที่สนุกมาก ปีที่แล้วมีสิ่งที่มีและไม่มีชีวิตมาเพียบ! ปังมาก!!!
• ปิดงานกีฬาน้องใหม่ CU Freshy Games - งานกีฬาจบแล้ว เย่ๆ ไหนใครได้เหรียญบ้าง
JULY / 7 / กรกฎาคม • Freshy Day Freshy Night - เทศกาลต้อนรับเฟรชชี่จบตรงนี้ มาสนุกส่งท้ายกัน!
• สอบกลางภาคการศึกษาต้น - เตรียมตัวอ่านหนังสือสอบกันได้แล้วจ้าาา
• รับน้องสิงห์ดำ� 68 - รับน้องที่ผ่านมาสนุกมั๊ยย ใครไม่มาพลาดมากนะบอกเลย
• พิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่และพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนเป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย - น้องๆนิสิตใหม่ทุกคนจะต้องเข้าพิธีนี้เพราะถือเป็นพิธีอันศักดิ์สิทธิ์และ O C T O B E R / 1 0 / ตุ ล า ค ม
สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน อย่าลืมใส่ชุดพิธีการด้วยนะ
• รับน้องก้าวใหม่ - เป็นการรับน้องของมหาวิทยาลัยนะ น้องๆจะต้องเลือกบ้านรับน้องเอง • วันปิยมหาราชานุสรณ์ - จัดขึ้นเพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ
ซึ่งแต่ละบ้านก็จะมีความสนุกแตกต่างกันไป พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เนื่องในวันปิยมหาราช

A U G U S T / 8 / สิ ง ห า ค ม N O V E M B E R / 1 1 / พ ฤ ศ จิ ก า ย น
• ปฐมนิเทศคณะ - เป็นครัง้ แรกที่ น้องๆจะพาผูป้ กครองเข้ามาทีค่ ณะเพือ่ พบอาจารย์ทป่ี รึกษา • วันลอยกระทง - เค้าบอกว่าใครที่ยังไม่มีแฟนแล้วไปลอยกระทงด้วยกันจะได้เป็นแฟนกัน
• จับสายรหัส & สันโต้-พี่น้อง - ถ้าอยากมีพี่รหัสต้องมา การจับสายรหัสสำ�คัญมาก แต่ถ้าเป็นแฟนกันแล้วไปลอยด้วยกันจะเลิกกัน T^T
เพราะนอกจากน้องๆจะมีพี่รหัสที่น่ารักแล้ว ยังมีคนเลี้ยงข้าวอีกด้วย ส่วนสันโต้ เตรียมตัว • วันมหาธีรราชานุสรณ์ - จัดขึน้ เพือ่ น้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ
ุ ของพระบาทสมเด็จ
ให้พร้อมแล้วมาเต้นแข่งกัน #DancewithmeSD68 พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั ผูท้ รงก่อตัง้ มหาวิทยาลัย
• เปิดเรียนภาคการศึกษาต้น - เปิดเทอมแล้วนะ พร้อมเรียนรึยัง • งานสยามานุสสติ - “สยามานุสสติ” คืองานคอนเสิร์ตเทิดพระเกียรติพระบาท
• สันโต้ศิลปกรรม - ศิลปกรรมมาเต็ม FINE....ART กำ�สลัม กำ�สลา กำ�สลามานำ� ซีกำ�กำ� สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ภายในงานพบกับการแสดงของนิสิต จาก
ซีกำ�กา ซีกำ�มากำ�กำ� ศิลปา ศิลปา ศิลปาอึมอำ� ศิลปา ศิลปา ศิลปามากำ� ศิลปามากำ� ทั้ง๑๑ชมรมฝ่ายศิลปะและวัฒนธรรม จุฬาฯ รับรองว่าน่าประทับใจ และห้ามพลาดจริงๆ
• ไหว้ครูมหาวิทยาลัย - เพื่อแสดงความเคารพ ความกตัญญูกตเวทีต่อครูบาอาจารย์ผู้ อ้อ! งานนี้ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าชมนะคะ
ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้และสืบสานคุณค่าประเพณีไหว้ครูอันดีงาม
154 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 155
D E C E M B E R / 1 2 / ธั น ว า ค ม ชมรมรัฐศาสตร์ ฟังทางนี้!
• สอบปลายภาคการศึกษาต้น - เตรียมตัวอ่านหนังสือสอบกันได้แล้วจ้าาา

Singhdam Digital Media ได้เป็นสมาชิกจะต้องได้รับประสบการณ์ที่


JANUARY / 1 / มกราคม (สิงห์ดำ�ดิจิตอลมีเดีย) ดี และที่สำ�คัญชมรมของเราเปรียบเสมือน
ชมรม Singhdam Digital Media ครอบครัวที่ดูแลซึ่งกันและกัน น้องๆจะได้รับ
• เปิดภาคการศึกษาปลาย - เปิดเทอมอีกแล้วววว มาเรียนกันบ้างนะ เป็นชมรมที่รวบรวมผู้ที่มีความชื่นชอบใน การดูแลและความอบอุ่นอย่างแน่นอน
• กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย - เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ ใน การถ่ายภาพ และการทำ�งานเกี่ยวกับสื่อ
ประเทศไทย โดยเริ่มต้นจัดการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ภายใต้การควบคุมดูแล ดิจิตอลชนิดอื่นๆ เช่น งานตัดต่อภาพถ่าย ดนตรีสากล
ของคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (จุฬาฯ หยุดภายในนะจ๊ะ) และภาพเคลื่อนไหว งานสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น หากคุณมีดนตรีในหัวใจ หากคุณรักใน
โดยเป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิดการแลก เสียงดนตรี หากคุณคันไม้คันมืออยากจะโชว์
เปลี่ยนทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ ให้ ฝีมืออย่าช้า โปรดก้าวเข้าสู่ครอบครัวของพวก
F E B R U A R Y / 2 / กุ ม ภ า พั น ธ์
กับสมาชิกในชมรม ให้มีความรู้ความเข้าใจ เรา ชมรมดนตรีสากลคณะรัฐศาสตร์พร้อม
• งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ - มาแปรอักษรกันเยอะๆนะน้อง ถุงยังชีพของ ด้านการถ่ายภาพ และสื่อดิจิตอลชนิดอื่นๆ เปิดพื้นที่สำ�หรับคอดนตรีทุกคน ครับ
เยอะเหมือนกระเป๋าโดเรมอน ตอนจบมีคอนเสิร์ตด้วยน้าาา เพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังส่งเสริมให้เกิด
การมีส่วนรวมในการแลกเปลี่ยนความรู้และ ผู้นำ�เชียร์
การทำ�งานระหว่างสมาชิกอีกด้วย หากคุณอยากเป็นผู้ที่มีความสามารถ
M A R C H / 3 / มี น า ค ม ด้านงานการแสดงและคุมจังหวะให้แก่กอง
บาสเกตบอล เชียร์บนสแตนด์ มีส่วนช่วยให้นักกีฬามีกำ�ลัง
• สอบกลางภาคการศึกษาปลาย - เตรียมตัวอ่านหนังสือสอบกันได้แล้วจ้าาา ร่างกาย ทักษะและจิตใจคือปัจจัย ใจและสร้างบรรยากาศของงานดูสนุกสนาน
• วันคล้ายวันสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำ�เนิดจาก สำ�คัญสำ�หรับกีฬาบาสเกตบอล! ชมรมบาสฯ มาเป็นผู้นำ�เชียร์คณะรัฐศาสตร์กันนะคะ
“โรงเรียนสำ�หรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า สิงห์ดำ�ขอเชิญชวนน้องสิงห์ดำ�68ที่สนใจหรือ
อยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2442 อยากเล่นบาสฯเข้าร่วมชมรมฯ นอกจากเล่น ค่ายพัฒนาอาสาชนบท คณะรัฐศาสตร์
บาสแล้วยังมีกิจกรรมในชมรมอีกมากมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ค่ายพัฒน์ฯ)
APRIL / 4 / เมษายน อยากรู้ก็มาเจอกันที่สนามบาสคณะนะครับ ค่ายพัฒนาอาสาชนบทของเรานั้น มี
จุดประสงค์ออกค่ายเพื่อสร้างประโยชน์ให้
• วันมหาสงกรานต์ - หยุดจ้าาา โต้วาทีสิงห์ดำ� แก่สังคม ซึ่งได้นำ�องค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์
“โต้วาทีไม่ได้มีดีแต่พูดเป็น” เพราะ จากสี่ภาควิชามาประยุกต์ใช้กับการลงพื้นที่
นอกจากทักษะการพูดแล้ว ชมรมเรายังมุ่ง เพื่อศึกษามุมมองต่างๆลงสู่ภาคประชาชน มี
MAY / 5 / พฤษภาคม พัฒนาทักษะการคิด เพื่อให้คิดอย่างมีระบบ กิจกรรมมากมายตลอดการออกค่าย โดยจัด
• สอบปลายภาคการศึกษาปลาย - เตรียมตัวอ่านหนังสือสอบกันได้แล้วจ้าาา คิดอย่างสร้างสรรค์ ไม่ติดอยู่ในกรอบความ ขึ้นปีละสองครั้งได้แก่ค่ายพัฒน์กลางปีช่วง
เชื่อเดิมๆ มองโลกอย่างรอบด้าน ทำ�ความ เดือนธันวาคม และค่ายพัฒน์ปลายปีช่วง
เข้าใจกับความเห็นที่หลากหลาย รวมถึง เดือนพฤษภาคม แล้วเจอกันครับ
156 คู่มือสิงห์ดำ� 68 พัฒนาทักษะการทำ�งานเป็นทีมอีกด้วย ใคร คู่มือสิงห์ดำ� 68 157
สิงห์ดำ�พลังบวก เราได้ โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันคือต้องการ
เทนนิส วัฒนธรรมอันล้ำ�ค่านี้ รวมถึงยังจะเป็นการใช้
หากคุณมีฝันอยากเปลี่ยนแปลงโลกนี้ นำ�เสนอสาระสำ�คัญทางการเมืองให้กับผู้
ชมรมเทนนิสคือชมรมสำ�หรับคนที่ชื่น เวลาซึ่งเว้นว่างจากการเรียนทำ�กิจกรรมร่วม
ให้ดขี น้ึ จงก้าวเข้ามาเป็นผูน้ �ำ สันติภาพกับเรา ชมภายใต้เอกลักษณ์ของคณะรัฐศาสตร์คือ
ชอบ สนใจในการเล่นเทนนิสมารวมตัวกัน กันอีกด้วย
คุณจะได้ค้นหาตนเองด้วยแบบทดสอบพร- การเสียดสีสังคมและรวมไปถึงการหยิบยก
หรืออย่างที่เราเรียกกันว่า “ครอบครัวเทนนิส”
สวรรค์ 6 และพบกับกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ประเด็นทางการเมืองมาตีแผ่เพื่อถ่ายทอดแง่
ซึ่งเป็นคำ�จำ�กัดความที่รุ่นพี่ให้ไว้ เนื่องจาก โครงการสหประชาชาติจำ�ลองแห่ง
ตนเองและกิจกรรมจิตอาสามากมายที่จะ คิดและคุณค่าในมุมมองทางรัฐศาสตร์ผ่าน
เราอยู่กันแบบครอบครัว และครอบครัวของ จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย (ChulaMun)
พัฒนาคุณให้เป็นผู้นำ�ที่เก่ง ดี มีสุข แล้วคุณ เรื่องราวที่นำ�เสนอในรูปแบบการแสดงละ
เราอยู่กันแบบอบอุ่น เป็นกันเอง แถมคุยกัน Kofi Annan said ‘More than ever
ล่ะพร้อมจะสร้างพลังบวกให้โลกใบนีห้ รือยัง?! คอนเวที
ได้ทุกเรื่อง ชมรมเราต้อนรับทุกคนไม่ว่าจะมี before in human history, we share a
พื้นฐานหรือไม่มีพื้นฐานก็สามารถเข้ามาอยู่ common destiny. We can master it
ละคอนเวทีรฐั ศาสตร์ (Singhdam Drama) ฮอคกี้
ด้วยกันทั้งนั้น หากน้องๆที่เล่นไม่เป็นสนใจ only if we face it together. And that,
ชมรมละคอนรัฐศาสตร์ เป็นชมรมที่ ชมรมฮอกกี้ของเรา มีดีกรีได้เหรียญมาแล้ว
พวกพี่สอนให้เอง! แล้วมาร่วมเป็นส่วนหนึ่ง my friends, is why we have the United
จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้ศาสตร์ของศิลปะการเเสดง หลายต่อหลายปีจากกีฬาเฟรชชี่ เล่นง่าย เล่น
ของครอบครัวเทนนิสกันนะ Nations.’ If you wanna a part of this
ในการถ่ายทอดเนื้อหาและข้อความเชิงรัฐ- สนุก เล่นขำ�ๆ ไม่เคยเล่นก็เล่นได้ รับรอง
legend, join us ChulaMUN where we
ศาสตร์ใปสู่ผู้ชมในช่องทางที่นอกเหนือจาก ว่าถ้าน้องได้เข้ามาแล้ว เข่าและหลังน้องจะ
แบดมินตัน สิงห์ด�ำ bring the UN closer.
ตัวหนังสือหรือรายการวิชาการทางโทรทัศน์ แข็งแกร่งขึ้นมาก เชื่อพี่
“ที่ชมรมแบดมันมีอะไร ที่ทำ�ให้คุณควร
ด้วยความที่ศาสตร์ของรัฐศาสตร์มีความซับ
สมัครไป ที่ทำ�ให้เรานั้นต้องติดใจมาชวนคุณ ฟุตบอล
ซ้อนและหลากหลายทางเนื้อหา การใช้ศิลปะ เปตอง
Oh, you want to know bout’ paradise แมนๆเตะบอลกันครัช ไม่แมนก็เตะได้
การแสดงเป็นตัวกลางในการนำ�เสนอหรือ สำ�หรับชมรมเปตองพี่พูดได้เลยว่า ได้อะไร
This time is really hard to find ครัช เพราะนอกจากจะมีฟุตบอลแล้วยังมีฟุต
ถ่ายทอดเรื่องราวจึงเป็นช่องทางหนึ่งที่ทำ�ให้ มากกว่าการเล่นกีฬาแน่นอน (จริงๆก็ไม่ได้
Friendship is brighting all the time at ซอลหญิงด้วย ซึ่งชมรมของเรามีการฝึกซ้อม
ผู้รับสารสามารถเข้าถึงเนื้อหาทางการเมือง เน้นกีฬานะเอ๊ะ?!) คือเหมือนเป็นครอบครัว
BADMINTON.” / Welcome and be part ที่ดีมาก พี่ๆใจดี เลี้ยงข้าวฟรีด้วยนะเออ มา
ได้ในรูปแบบของการแฝงเนื้อหามากับเรื่อง มากกว่าเพราะพี่ๆและน้องๆในชมรมจะ
of BADMINTON FAMILY!!! (ทำ�นองเพลง ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของชมรมฟุตบอลกันนะครับ
ราวต่างๆ ทำ�ให้ง่ายต่อการเข้าถึงในผู้รับสาร สนิทกันและเป็นกันเอง ตั้งแต่ช่วงซ้อมแข่ง
เกาะสมุยนะน้อง 555)
ที่ไม่ได้มีความถนัดหรือสนใจด้านการเมือง กีฬาเฟรชชี่ น้องๆจะได้เจอกับรุ่นพี่หลายรุ่น
ลีลาศ
ชมรมละคอนจึงจัดตังขึ้นเพื่อให้นิสิตคณะ บางทีอาจมีรุ่นพี่ที่จบไปแล้วมาช่วยสอนด้วย
ดนตรี ไทย ‘ที่นี่ ที่ๆเราได้สมานรวมกัน’ เกิดเป็นสายใย
รัฐศาสตร์ที่มีความสนใจด้านศิลปการแสดง แล้วชมรมของเรายังมีกินเลี้ยงประจำ�ปี และ
“ทุกร่องรอย ทุกลวดลาย ทุกเส้นสาย พี่น้องลีลาศสิงห์ดำ�ที่ไม่มีวันแตกสลาย
และนิเทศศาสตร์ ได้มีโอกาสและมีพื้นที่ใน แน่นอนว่าน้องๆเฟรชชี่ก็จะได้สิทธิพิเศษก็
ผสมเป็นเรา... ทุกกลิ่นอาย ดีด สี ตี เป่า คือ แข็งแกร่งยิ่งกว่าพันธะเคมีทุกอัน ที่นี่ให้เสียง
การแสดงออกทางความสามารถไม่ว่าจะ คือกินฟรี!!นั่นเอง ฮ่าๆ (พวกพี่พาไปกินร้าน
เรื่องราวในลมหายใจ คือ ราก...ให้เราเติบโต” หัวเราะและความสุข และที่นี่ บ้านลีลาศสิงห์
เป็นด้านการแสดง เขียนบท ออกแบบแสง ดังๆ นะเอออ) ถึงน้องจะเป็นคนที่ไม่มีพื้น
ชมรมดนตรีไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ดำ� พร้อมแล้วที่จะเปิดประตูต้อนรับสมาชิก
เสียง ทำ�ฉาก กำ�กับเวที ทำ�พร็อพการแสดง ฐานด้านกีฬาแต่อยากลองเล่นกีฬา อยาก
มหาวิทยาลัยเป็นชุมนุมที่เหล่านิสิตรัฐศาสตร์ ใหม่มาอยู่กับเรา ครอบครัวลีลาศสิงห์ดำ� อีก
แต่งหน้าทำ�ผม หรือชื่นชอบการออกแบบ มีส่วนร่วมลงแข่งกีฬาเฟรชชี่สักครั้งในชีวิต
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่รักและสนใจ ครั้ง I’LL WAIT YOU THERE, WHERE
โปสเตอร์และบัตร จัดทำ�สื่อโฆษณา หรือนิสิต หรืออยากมารู้จักเพื่อนๆพี่ๆในชมรม พี่ฟัน
ในดนตรีไทยรวมตัวกันจัดตั้งขึ้น เพื่อร่วม WE BOND #Leelart2558
คนใดที่ต้องการมีประสบการณ์ด้านละคอน ธงได้เลยว่าชมรมเปตองไม่ทำ�ให้น้องผิดหวัง
เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลป #DanceWithMeSD68
เวทีก็สามารถเข้ามาเป็นทีมเดียวกับ แน่นอน และไม่แน่ เหรียญทองคนต่อไปอาจ
เป็นของน้อง :)
158 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 159
68
7 รู้หรือไม่? เมื่อก่อนนั้นคณะรัฐศาสตร์ถือว่าเป็นคณะหนึ่งที่มีผีดุมาก จน
ต้องมาตั้งศาลพระภูมิ ถึง 5 ศาล

เรื่องน่ารู้ 8 รู้หรือไม่? ว่าเด็กคณะรัฐศาสตร์นั้นห้ามเดินเข้า-ออกประตูกลาง ของอาคาร


สำ�ราญราษฎร์บริรกั ษ์ เพราะมีความเชือ่ ว่าเป็นทางเดินของพระบรมวงศานุวงศ์

คณะรัฐศาสตร์ 9 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์ ไม่มีบูม แต่เราจะเรียกว่า ประกาศนาม โดยจะ


ประกาศนามว่า “นี่นัก รัฐศาสตร์นี่สิงห์สีหราช ใครใดอาจมาขวัญ เล่นใจ
นักกีฬาใครท้ากล้าจัญ เชียร์ เชียร์ เชียร์ รัฐศาสตร์”

10 รู้หรือไม่? “พี่ลี่” ถือว่าเป็นคลังข้อสอบของเด็กรัฐศาสตร์ แต่ว่าอาจจะขาย


แพงไปนิดนึง ดุไปหน่อยหน้าเหวี่ยงกับเด็กทุกคน ยกเว้นผู้ชาย แถมยังถ่าย

1
เอกสารเอียงไปมา จนได้รับฉายาว่า “ลี่ซีเอียง”
รู้หรือไม่? สัญลักษณ์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คือ สิงห์ดำ�
11 รู้หรือไม่? สุนัขประจำ�คณะมีอยู่ 2 ตัว ชื่อ หมี และ วัว (แล้วตัวไหนเป็น

2 รู้หรือไม่? สีประจำ�คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ สีดำ�


หมาล่ะ?)

3 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์เป็นหนึ่งใน 4 คณะก่อตั้ง จุฬาลงกรณ์-


มหาวิทยาลัย ซึ่งคณะก่อตั้งทั้ง 4 คณะประกอบไปด้วย
12 รู้หรือไม่? ฝั่งที่คณะรัฐศาสตร์เราอยู่ เรียกว่า ฝั่งจุฬาฯ ใหญ่

คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์


และวิทยาศาสตร์ และคณะรัฐประศาสนศาสตร์
13 รู้หรือไม่? ถนนหน้าคณะรัฐศาสตร์ เรียกว่า “Hi-So Street” ซึ่งประกอบ
ไปด้วย คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะพาณิชย์ศาสตร์และ
การบัญชี มีที่มาคือเป็น Social Street เพราะเป็นคณะสายสังคม แต่ So
Street มันเก๋ไม่พอ เลยเติม Hi เข้ามา เลยกลายเป็นชื่อถนนในปัจจุบัน
4 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยถูกยุบรวมกับคณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ.2476 เป็นเวลา 15 ปี ต่อ
มาจึงได้จัดตั้ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาอีกครั้งหนึ่ง 14 รู้หรือไม่ ? คณะรัฐศาสตร์ของเรามีสนามบอลเป็นของตัวเอง

5 รู้หรือไม่? หลังจากมีการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ใหม่อกี ครัง้ ในปี พ.ศ.2491 เราก็เริม่ การนับรุน่ ของสิงห์ด�ำ รุน่ 1 ใหม่ในปีน้ี
15 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์ มีสนามบาสที่ใช้ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์

16 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์ของเรามีลานกิจกรรม 2 ที่คือ ลานเฟรชชี่ และ

6 รู้หรือไม่? ศาลเจ้าพ่อสิงห์หนึ่งสิงห์ดำ� ศาลพระภูมิ และศาลเจ้าพ่อต้นไทร


ถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลานโจก้า ถ้าเราเป็นเฟรชชี่ก็จะได้โฉนดที่ดินตรงลานเฟรชชี่ และถือว่าเป็น
กรรมสิทธิ์ของเด็กปี1 ทุกคน โดยลานเฟรชชี่จะอยู่ตรงหน้าตึก1 ที่มีสนาม
เด็กเล่น

160 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 161


17 รู้หรือไม่? แต่เวลาทำ�กิจกรรมส่วนใหญ่ เราจะใช้พื้นที่ตรงลานโจก้าบริเวณ
หลังอาคารสำ�ราญราษฎร์มากกว่า 27 รู้หรือไม่? เด็กที่จบคณะรัฐศาสตร์มีอัตราส่วนคนที่ได้เกียรตินิยมมากกว่า
เด็กที่ไม่ได้เกียรตินิยมนะจ๊ะ เหงื่อตกกันเลยทีเดียว

18 รู้หรือไม่? ในอดีตนั้นคณะรัฐศาสตร์เป็นคณะที่มีผู้ชายเยอะมาก แต่ปัจจุบัน


เป็นคณะที่มีอัตราส่วนระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย ที่ต่างกัน คือ มีจำ�นวน 28 รู้หรือไม่? เมื่อก่อน Chula WiFi มาไม่ถึงคณะเรา แต่ตอนนี้ถึงแล้วจ้า (เมื่อ
ปีที่แล้วนี่เอง)
ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย

19 รู้หรือไม่ ? คณะรัฐศาสตร์สามารถแต่งตัวอะไรเข้ามาเรียนก็ได้ในวิชาของ 29 รู้หรือไม่? ในคณะรัฐศาสตร์นั้น จะไม่เรียกชื่อเต็มของตึกที่เรียน แต่จะเรียก


ว่า ตึก 1 ตึก 2 ตึก3 โดยตึก 1 คือ อาคารสำ�ราญราษฎรบริรักษ์ ตึก 2 คือ
คณะเอง เพราะในคณะเชื่อว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอยู่บนร่างกายของ อาคารวรภักดิ์พิบูลย์ และ ตึก 3 คือ อาคารเกษม อุทยานิน (รัฐศาสตร์ 60
ตนเอง ตราบใดที่ไม่เบียดเบียนสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น (แต่เฉพาะวิชาคณะ ปี) (ตึกใหม่) ใครเรียกชื่อเต็มก็ได้ ไม่ว่ากัน แต่หนูจะถูกจ้องมองด้วยสายตา
เท่านั้นนะ วิชาอื่นไม่ได้จ้า) ประหลาด

20 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์เป็นคณะที่คนจบไปทำ�งานตรงสายน้อยมาก เช่น


ปลัดอำ�เภอ งานราชการ ฯลฯ นั้นไม่ค่อยมีใครมาทำ�กัน
30 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์เป็นคณะที่เกรดออกช้ามากกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกก จนถึงมากที่สุด ออกช้าที่สุดในจุฬาฯเลยก็ว่าได้

21 รู้หรือไม่ ? เด็กภาคปกครอง เรียน 3 ปีครึ่ง ก็จบได้นะ


31 รู้หรือไม่? ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ เป็นห้องสมุดทางด้านสังคมศาสตร์ที่ดี
ที่สุดในประเทศไทย

22 รูห้ รือไม่? เวลามีกจิ กรรมคณะ จะต้องใส่เสือ้ สิงห์ด�


ำ หรือเสือ้ สีด�ำ บ่อยมากก
32 รู้หรือไม่? คณะรัฐศาสตร์ มีห้องสมุด 2 ที่ คือ ห้องสมุดเก่า (อยู่ที่อาคาร
23 รู้หรือไม่? ในคณะรัฐศาสตร์มีที่จอดรถอยู่ในคณะเอง แต่เงินค่าที่จอดรถไม่
ได้เป็นของคณะ แต่เป็นของมหาวิทยาลัย
วิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ) และห้องสมุดใหม่คือ ห้องสมุดรูฟุส ดี. สมิธ และ
ชำ�นาญ ยุวบูรณ์ (อยู่ชั้น 3 อาคารเกษม อุทยานิน - รัฐศาสตร์ 60 ปี)

24 รู้หรือไม่? ดาดฟ้าของตึกลานจอดรถของคณะ ถือว่าเป็น แลนด์มาร์ค เป็น


ที่ถ่ายรูปของเด็กคณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเด็กในคณะ เด็กนอกคณะ หรือ
33 รู้หรือไม่? ห้องสมุดใหม่ ความจริงมี 2 ชั้นแต่ว่าเปิดแค่ชั้นเดียว ด้วยเหตุผล
ที่ว่าชั้นที่ 2 งบไม่มี จึงทำ�ให้สร้างไม่เสร็จ
แม้แต่เด็กมหาวิทยาลัยอื่นก็มาจ้า
34 รู้หรือไม่? ในห้องสมุดมีร้านกาแฟอเมซอน แต่ว่าป้าที่คุมห้องสมุดห้ามนำ�
25 รู้หรือไม่? หลังจากกิจกรรมกีฬาเฟรชชี่เสร็จ ในคณะจะมีงาน Freshy
Day / Freshy Night ซึ่งจะมีการมอบ ติ้งสิงห์ ในวันนั้น และมีพิธีโปรยใบ
น้ำ�เปล่าเข้ามาในห้องสมุดจ้า งงกันไป

จามจุรี
35 รู้หรือไม่? ป้าคุมห้องสมุด มีอยู่ 3 คน คนแรกคือ ป้าอ้วน ดุมากๆ มีอะไร
ก็ด่าตลอด อาจจะโดนทัณฑ์บนไม่ให้เข้าห้องสมุดทั้งเทอมเลยด้วยซ้ำ� คนที่
26 รู้หรือไม่? ก่อนที่จะมีพิธีโปรยใบจามจุรี น้องๆ เฟรชชี่จะต้องมีการประกาศ
นามเท่ากับจำ�นวนรุ่นของน้องก่อนนะจ๊ะ
สอง คือ ป้าหัวแหลมหน้าเหวี่ยง ไม่พูดอะไร แค่จ้องหน้าจ้องตา นิสิตทุกคน
ก็วิ่งหนีแล้ว และคนที่สามป้าคนที่ยืมหนังสือ เรียบร้อย ใจดีที่สุดแล้วจ้า

162 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 163


36 รู้หรือไม่? สถานที่ check in ใน facebook ของห้องสมุดใหม่คือ ห้องสมุด
รูฟิต ดี ชะมัด 46 รู้หรือไม่? ที่พี่ว๊ากเราไม่มี เพราะส่วนใหญ่จะเป็นพี่ว้ายยยยยยย !!

37 รู้หรือไม่? ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ บางทีก็เหมือนเป็นห้องสมุดคณะวิศวะฯ 47 รู้หรือไม่? โรงอาหารเก่าเคยมีร้านอาหารอีสานเจ้าหนึ่งอร่อยมาก แต่เมื่อ


ย้ายโรงอาหารใหม่ ร้านอาหารอีสานก็หายไปไหน ไม่สามารถมีใครรู้ได้ T_T
เพราะว่าช่วงปกติในห้องสมุดจะมีแต่เด็กคณะวิศวะฯ จนต้องทำ�ให้ป้าคน
คุมห้องสมุดต้องห้ามเด็กคณะอื่นเข้าห้องสมุดในช่วงสอบ
48 รูห้ รือไม่? ก๋วยเตีย๋ วอดทน คือ อาหารขึน้ ชือ่ ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จริงๆ
แล้วไม่ได้ชื่อก๋วยเตี๋ยวอดทนหรอกนะ แต่เพราะป้าแกทำ�นานมากกกกกกก
38 รู้หรือไม่? ที่คณะรัฐศาสตร์มีร้านกาแฟ 3 ที่ คือ อเมซอนชั้น 1 ตึกสาม,
อเมซอนห้องสมุด (ชั้น 3) และ สิงห์ดำ�คาเฟ่
กกก จนเรานี่แหละที่ต้องอดทนต่อแถวรอ เลยได้ชื่อก๋วยเตี๋ยวอดทนมา

39 รู้หรือไม่? ตอนนี้ยังไม่รู้จุดประสงค์แน่ชัดของการมี iPad ในห้องสมุด แต่ 49 รู้หรือไม่? สมัยโรงอาหารเก่าจะมี ก๋วยเตี๋ยว “ซุปตาร์ อารตี แหกหมี” เป็น
ก๋วยเตี๋ยวที่พี่อาร์ตี้ ซุปตาร์ ซึ่งเป็นคนดังในคณะ(ลอง search หาดูใน
คนส่วนใหญ่จะใช้ไปกับการถ่ายรูปใน Photo Booth google) อยากที่จะหารายได้เสริม จึงได้มีการเปิดร้านก๋วยเตี๋ยวเพื่อแข่ง
กับก๋วยเตี๋ยวอดทนเจ้าดัง ซึ่งก็สามารถทำ�ได้อย่างดี เนื่องจากขายดีกว่า

40 รู้หรือไม่? ห้องประชุมเก็บเสียงของห้องสมุดใหม่ ไม่รู้เก็บเสียงยังไง มี


ช่องด้านบนใหญ่ขนาดนั้น คุยนิดเดียวก็ได้ยินไปถึงหน้าห้องสมุด จนป้า
ก๋วยเตี๋ยวอดทนเสียอีก

บรรณารักษ์ต้องมายืนคุมหน้าห้องกันเลยทีเดียว
50 รูห้ รือไม่? พีอ่ าร์ต้ี ซุปตาร์ มักจะแต่งตัวแปลกๆ มาขายก๋วยเตีย๋ วทุกวัน ทำ�ให้
นิสติ ทุกคณะไม่ใช่แค่รฐั ศาสตร์เฝ้ารอทีจ่ ะมากินก๋วยเตีย๋ ว ซุปตาร์ อารตี แหกหมี

41 รูห้ รือไม่? งานรัฐศาสตร์แฟร์ เคยมีการจัดงานทุกๆ ปี แต่วา่ เคยหยุดไป 4 ปี


เนื่องจากเหตุการณ์ทางการเมือง และปัญหาอื่นๆ แต่ต่อมาก็มีการจัดงาน
51 รู้หรือไม่? ปัจจุบันนี้ โรงอาหารเก่า ได้ถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นห้องเชียร์
เมื่อปี พ.ศ.2557 นี้เอง เรียบร้อยแล้ว

42 รู้หรือไม่? งานรัฐศาสตร์แฟร์ เป็นเหมือนงานนิทรรศการของคณะเรา ที่มี


กิจกรรมมากมายให้ทำ� มีของกินเยอะมาก และมีละคอนรัฐศาสตร์ที่ไม่ได้ 52 รู้หรือไม่? โควต้ากระดาษ นิสิตสามารถปริ้นฟรีได้ที่ห้องคอม ตึก 3 ชั้น 7
โดยได้คนละ 300 แผ่นต่อเทอม (แต่ปริ้นได้เฉพาะขาวดำ� นะจ๊ะ >_^)
หาดูง่ายๆ ให้ดูด้วยนะ

43 รูห้ รือไม่? รับน้องสิงห์ด�


ำ รุน่ 68 นีเ้ ป็นการนอนค้างคืนได้ครัง้ แรกในรอบ 6 ปี 53 รูห้ รือไม่? ทีส่ บู บุหรีป่ ระจำ�ของชาวสิงห์ด�
ำ คือตรงบริเวณป้ายห้ามสูบ ซะงัน้ นน

44 รู้หรือไม่? โรงอาหารเก่าของคณะรัฐศาสตร์ข้างๆ กับลานโจก้า มีหนูวิ่ง 54 รู้หรือไม่? ข้อสอบของวิชาคณะเราส่วนใหญ่จะเป็นข้อสอบอัตนัย ซึ่งจะให้


เขียนคำ�ตอบในสมุดเล่มบางๆ คล้ายสมุดลายไทย ตอนทำ�ข้อสอบแล้วมีคน
เยอะมาก และสกปรกมาก ส่วนโรงอาหารใหม่มีนกเยอะมากจนต้องสร้าง ขอเล่ม 2 นี่หันมองกันทั้งห้อง จะฟิตไปไหน ยอมใจ
กรงเพื่อไม่ให้นกเข้ามาในโรงอาหาร

45 รู้หรือไม่? คณะเราไม่มีว๊ากไม่มีโซตัสจ้าา ลืมเรื่องว๊ากไปได้เลยย ไม่มีแน่ 55 รู้หรือไม่? เด็กคณะเราเก่งภาษามากๆ ไม่ใช่แค่ภาษาอังกฤษ เก่งไม่แพ้เด็ก


อักษรแน่นอน ฉะนั้นเวลาเพื่อนๆ เมา ก็จะรัวภาษาสเปน รัสเซีย ฝรั่งเศส
น๊อนนนนนน !!! ญี่ปุ่น ฯลฯ ออกมาจนเรานึกว่าอยู่ที่ประชุม UN
164 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 165
56 รู้หรือไม่? เรื่องคิดเลข เรื่องคำ�นวณ บอกเลยมันไม่ใช่ทางของเด็กรัฐศาสตร์
เลยจริงๆ (กินข้าวกับเด็กรัฐศาสตร์ ตอนหารเงินไม่ใช่เรื่องตลก เพราะงงไป 64 รู้หรือไม่? หากมีใครเคยเห็นภาพเหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อปี พ.ศ.2519 ที่มี
ชายหนุ่มคนหนึ่งถูกทำ�ร้ายและจับแขวนคอเนื่องจากความขัดแย้งทางการ
อี๊กกก) เมือง ชายหนุ่มคนนั้นมีชื่อว่า นายเปี๊ยก หรือ นายวิชิตชัย อมรกุล ซึ่งเป็น
นิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส่วนบริเวณบันไดทางขึ้น

57 รู้หรือไม่? ประเพณีสัมพันธ์ สิงห์ดำ�-สิงห์แดง เป็นกิจกรรมที่ทำ�ให้ชาวคณะ


รัฐศาสตร์ ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้
ของอาคารสำ�ราญราษฎร์บริรักษ์ (ตึก 1) จะมีป้ายชื่อของนายวิชิตชัยติดอยู่
เพื่อเป็นการรำ�ลึกถึงความโหดร้ายในเหตุการณ์ 6 ตุลา
มาพบกัน และมีการทำ�กิจกรรมร่วมกัน เช่น แข่งกีฬา สันโต้ ทำ�จิตอาสา ฯลฯ

58 รู้หรือไม่? ประเพณีสิงห์สัมพันธ์ คือกิจกรรมที่ทำ�ให้ชาวสิงห์จากทั้ง 65 รู้หรือไม่? อีกสถานที่หนึ่งที่สามารถพบเจอเด็กรัฐศาสตร์ ได้เป็นประจำ�นั่น


ก็คือ ที่คณะอักษรศาสตร์ เนื่องจากคณะเราบังคับให้มีการเรียนภาษาที่ 3
7 มหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สิงห์ดำ�) ด้วย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สิงห์แดง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สิงห์เขียว)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (สิงห์ขาว) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สิงห์เทา)
มหาวิทยาลัยบูรพา (สิงห์คราม) และ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (สิงห์แสด) 66 รู้หรือไม่? ชมรมที่รวมประชากรชายของคณะรัฐศาตร์ ไว้มากที่สุดคือ
ชมรมฟุตบอล
ได้มาพบกันและทำ�กิจกรรมร่วมกัน เหมือนเป็นวันครอบครัวของชาวสิงห์
เลยหล่ะ
67 รู้หรือไม่? ตึกใหม่ของคณะรัฐศาสตร์มีลิฟท์แค่ 3 ตัว แต่นิสิตส่วนใหญ่จะ
ต้องขึ้นไปเรียนที่ชั้น 13 จึงทำ�ให้เวลาก่อนเข้าเรียน จะมีคนต่อแถวขึ้นลิฟท์

59 รู้หรือไม่? ประเพณีสิงห์ดำ�สัมพันธ์ เป็นงานประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อให้เหล่า


สิงห์ดำ�ตั้งแต่รุ่น 1 จนถึงปัจจุบันได้มารวมตัวพบปะสังสรรค์กัน งานนี้คน
ยาวมากกกกกก

ดังของคณะเรามากันเพียบ
68 รู้หรือไม่? มาถึงข้อสุดท้ายแล้ว ซึ่งข้อนี้เป็นเรื่องจริงที่ต้องรู้ คือ รุ่นพี่สิงห์ดำ�
ทุกคนยินดีต้อนรับรุ่นน้องสิงห์ดำ� 68 มาเป็นครอบครัวเดียวกันกับเรา
60 รู้หรือไม่? ไอเทมประจำ�ตัวของเฟรชชี่สิงห์ดำ� ก็คือ จิ๊กซอว์สิงห์ จะต้องไป
กับน้องๆ ทุกครั้งที่มีสันโต้กับคณะอื่น
มากๆ จ้าา

61 รู้หรือไม่? รับน้องของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จะมีประเพณีที่เรียกว่า ล้าง


เลือด นั่นก็คือการล้างเลือดของทุกคนจากสีแดงให้เป็นสีดำ� นั่นเอง

62 รู้หรือไม่? หลังจากพิธีล้างเลือดแล้ว เราก็จะมีการสันทนาการเปียก ซึ่งจะ


ใช้รถดับเพลิงทุกปี บรรยากาศไม่ต่างจากเล่นสงกรานต์ที่สีลมเลย

63 รู้หรือไม่? ถ้าอยากรู้ว่าเราเป็นสิงห์ดำ�รุ่นอะไร ง่ายๆ เลย แค่เอาปีที่เราเข้า


เรียนตอนปี 1 บวกเพิ่มไป 10 แค่นี้ก็รู้แล้ว (อย่างพวกเราสิงห์ดำ�รุ่น 68
เข้าปี 58 เป็นต้น)

166 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 167


สถานที่ต่างๆ ที่น่าสนใจ

รอบรั้วจุฬาฯ 1. หอประชุมจุฬาฯ - เป็นสถานทีท่ ใ่ี ช้ส�ำ หรับการพระราชทานปริญญาบัตร และเป็นสถานที่


สำ�คัญของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการจัดงานสำ�คัญต่างๆ โดยหอประชุมจุฬาฯ นั้นได้มี
การเริม่ สร้างขึน้ เมือ่ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2481 และเสร็จในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2482
2. ศาลาพระเกีย้ ว - ใช้เป็นอาคารอเนกประสงค์ในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัยโดย
บริเวณห้องโถงด้านบนของอาคารใช้เป็นสถานทีส่ �ำ หรับจัดกิจกรรมต่างๆ ส่วนด้านล่างในชัน้ ใต้ดนิ
นัน้ เป็นส่วนของร้านค้าสหกรณ์จฬุ าฯ ซึง่ เป็นร้านขายของอุปกรณ์เครือ่ งเขียน ขนม เครือ่ งแบบ
หลังจากที่เราพาทัวร์คณะรัฐศาสตร์ไปหมดทุกซอกทุกมุมแล้ว ด้วยความเป็นนิสิตจุฬาฯ
ชุดนิสิต นอกจากนี้ยังมีศูนย์หนังสือจุฬาฯ ธนาคารไทยพาณิชย์ และ CU Student Conner
รุ่น 99 ทั้งที เราออกจากโซนรัฐศาสตร์ แล้วไปสำ�รวจรอบๆ จุฬาฯ กันหน่อยดีกว่า
3. อาคารจามจุรี 9 - เป็นอาคารที่น้องๆ สามารถใช้เป็นที่ในการอ่านหนังสือสอบที่สงบๆ
ได้ดีที่หนึ่ง นอกจากนั้นแล้วอาคารจามจุรี 9 ยังประกอบไปด้วยที่ทำ�การไปรษณีย์ ร้านอาหาร
สหกรณ์จุฬาฯ อาคารจอดรถสำ�หรับนิสิตและบุคลากรอีกด้วย พร้อมทั้งมีศูนย์บริการสุขภาพ
สามารถโทรติดต่อได้ที่เบอร์ 02-218-0568
4. หอกลาง (อาคารมหาธีรราชานุสรณ์) - เป็นหอสมุดกลางของจุฬาฯ ซึ่งเป็นอีกที่
หนึ่งที่เหมาะสำ�หรับการอ่านหนังสืออย่างยิ่ง นอกจากนี้หอกลางยังประกอบไปด้วย ศูนย์
บริการสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และวิจัย ที่บริเวณเคาน์เตอร์บริการที่ชั้น 1 และชั้น 2 ศูนย์
พื้นที่ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั่นประกอบไปด้วย 2 ฝั่งใหญ่ๆ คือ จุฬาฯฝั่ง
พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่ชั้น 3 ศูนย์สารสนเทศนานาชาติที่ชั้น 4 ศูนย์
ใหญ่ และจุฬาฯฝั่งเล็ก นอกจากนั้นแล้วยังมีส่วนอื่นๆ อีกคือส่วนของคณะวิทยาศาสตร์การ
มรดกและปัญญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เอกสารแห่งประเทศไทยตั้งอยู่ที่ชั้น 6
กีฬา สหเวชศาสตร์ และจิตวิทยาที่ตั้งอยู่ในฝั่งสนามกีฬาแห่งชาติ อีกส่วนคือฝั่งตรงข้าม
และสุดท้ายคือ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ ตั้งอยู่ที่ชั้น 7
มาบุญครองที่เป็นที่ตั้งของคณะทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ และ
สุดท้ายคือฝั่งตรงถนนอังรีดูนังต์ฝั่งตรงข้ามคณะของเราก็จะเป็นคณะแพทยศาสตร์และโรง- 5. อาคารเฉลิมราชสุดากีฬาสถาน (Sport Complex) - อาคารเฉลิมราชสุดากีฬา
พยาบาลจุฬาฯ สถาน เป็นอาคารสปอร์ตคอมเพล็กซ์ 5 ชั้น ภายในอาคารประกอบด้วย สนามแบดมินตัน
สระว่ายน้ำ� 50 เมตร ฟิตเนสเซ็นเตอร์ขนาดใหญ่ สนามกีฬาประเภทกีฬาต่อสู้ สนามกีฬา
นอกจากนี้แล้วน้องบางคนอาจจะเคยได้ยินชื่อขนานนามของถนนสายต่างๆ ภาย เอนกประสงค์ ซึ่งสามารถปรับเป็นสนามแข่งขันกีฬาชนิดต่างๆ ได้หลายประเภท
ในจุฬาฯ เช่นถนน Art Street ที่เริ่นต้นตั้งแต่คณะสถาปัตย์ผ่านหน้าคณะศิลปกรรมฯและ
มาสุดที่คณะอักษรฯ ซึ่งชื่อคณะที่กล่าวมาข้างต้นก็เป็นที่มาของชื่อถนนนี้, Sci Street คือ 6. สนามกีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สนามจุ๊บ) - สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์
ถนนที่ผ่านคณะวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ส่วนอีกด้านก็คือด้านของคณะของเราคือ มหาวิทยาลัย เดิมชื่อ สนามกีฬาจารุเสถียร หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “สนามจุ๊บ” เป็นสนาม
ถนน Hi-So Street ที่เริ่มต้นจากคณะรัฐศาสตร์ของเราผ่านคณะเศรษฐศาสตร์และมาสุด ฟุตบอลหญ้าเทียมประกอบด้วย สนามหญ้าสังเคราะห์ระดับมาตรฐานที่สหพันธ์ฟุตบอล
ที่หน้าคณะบัญชีฯ นานาชาติ (FIFA) รับรอง และลู่วิ่งยางจำ�นวน 8 ลู่ สามารถจุคนได้ 20,000 - 25,000 คน

168 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 169


การเดินทางมา
คณะรัฐศาสตร์

นอกจากการเดินทางด้วย

แผนที่จุฬาฯ รถยนต์ส่วนตัว หรือรถรับจ้าง


ต่างๆ น้องๆ สามารถเดินทาง
มาคณะได้ผ่านระบบขนส่ง
มวลชน 3 ทางด้วยกัน คือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพื้นที่รวม
1,153 ไร่ โดยใช้เป็นพื้นที่เขตการศึกษา 1. ระบบรถไฟฟ้า
637 ไร่ (ที่เหลือคือหอพักและเชิงพาณิชย์) น้องๆสามารถเดินทาง
จึงไม่แปลกเลยที่เราจะเดินหลงกันง่ายๆ มาได้ทั้งรถไฟฟ้า MRT และ
แผนที่ นี้บ อกพื้ น ที่ ซ อกซอยอย่ า งคร่ า วๆ BTS โดยหากน้องๆโดยสาร
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รถไฟฟ้า MRT มา น้องๆจะ
จุฬาฯ สามารถแบ่งออกได้ 6 ส่วน โดย ต้องลงที่สถานีสามย่าน และ
ส่วนแรก คือฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท เดินเข้าคณะโดยผ่านตึกมหิตฯ
เราเรียกกันว่าจุฬาฯฝั่งใหญ่ เป็นส่วนหลัก แต่หากน้องคนไหนที่โดยสาร
ของจุฬาฯ อาคารเรียนหลังแรกก็อยู่ส่วนนี้ รถไฟฟ้า BTS มาก็จะต้องลง
สถานที่ต่างๆ เช่น คณะรัฐศาสตร์, คณะ สถานีสยาม แล้วต่อรถ CU
อักษรศาสตร์, ศาลาพระเกี้ยว POP BUS สาย1 ที่ป้ายลิโด้
ส่วนที่ 2 คือฝัง่ ตะวันตกของถนนพญาไท หน้าโรงหนังลิโด้ฝั่งตรงข้าม
หรือจุฬาฯฝัง่ เล็ก มีส�ำ นักงานของมหาวิทยาลัย, Siam Center แล้วมาลงที่
คณะนิเทศศาสตร์, สนามกีฬา ฯลฯ หน้าศาลาพระเกี้ยวแล้วเดิน
ส่วนที่ 3 คือฝัง่ ทีต่ ดิ สยามสแควร์ ประ- ต่อมาคณะ
กอบด้วยคณะทันตแพทยศาสตร์, เภสัช-
ศาสตร์ และสัตวแพทยศาสตร์ โดยส่วนนี้ 2. รถเมล์
จะเชื่อมกับ BTS สยาม รถเมล์ที่ผ่านหน้าคณะของ
ส่วนที่ 4 คือฝั่งแพทย์ อยู่ทางฝั่งตะวัน เราฝั่งถนนอังรีดูนังต์คือ สาย
ออกของถนนอังรีดูนังต์ (ตกแผนที่ไปแล้ว) 16, 21, 141
ส่วนที่ 5 คือส่วนของคณะวิทย์ฯกีฬา,
สหเวชฯ อยูเ่ หนือสุด บริเวณสนามกีฬาแห่งชาติ 3. CU POP BUS
ส่วนที่ 6 คือบริเวณโรงเรียนเตรียม- น้องๆสามารถโดยสารรถ
อุดมศึกษา และสาธิตฯปทุมวัน มีอาคารของ CU POP BUS ทุกสายของ
สถาบันการเกษตร เรียกกลุม่ อาคารจุฬาวิชช์ มหาวิทยาลัยมาลงได้ที่ศาลา
พระเกี้ยวแล้วเดินต่อมาคณะ
170 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 171
1
CU POP BUS 2
CU POP BUS หรือรถปอ.พ. 3
(อ่านว่า รถป๊อป) เป็นรถโดยสายบริการ
สำ�หรับนิสิตและบุคลากรในจุฬาฯ ฟรี
4
ประกอบด้วยรถในการบริการ 6 สาย 5
โดยสามารถ Download App สำ�หรับใช้
ในการดูตำ�แหน่งของรถ CU POP BUS 5A
ในจุฬาได้ทั้ง iOS และ Android
สาย 1 - ศาลาพระเกี้ยว >
รัฐศาสตร์ > ร.ร.สาธิตปทุมวัน >
สัตวแพทย์ > สยามกิตต์ > ลิโด้ >
ร.ร.เตรียมอุดม > สถาปัตย์ > อักษร >
วิศวะ > ศาลาพระเกี้ยว
สาย 2 - ศาลาพระเกี้ยว > สาย 5 - CU Terrace
เศรษฐศาสตร์ > วิทยา > วิทยา (เคมี) > > ธรรมสถาน > จามจุรี1
ครุ > CU Sport Complex > จามจุรี 9 > สถาปัตย์ > อักษร >
> สนามเทนนิส > ธรรมสถาน > หอใน วิศวะ > ศาลาพระเกี้ยว >
> สหเวช > สนามกีฬา > หอใน > เศรษฐศาสตร์ > วิทยา >
จามจุรี1 > สถาปัตย์ > อักษร > วิศวะ > วิทยา (เคมี) > จามจุรี 9 >
ศาลาพระเกี้ยว CU Terrace
สาย 3 - ศาลาพระเกี้ยว > สาย 5A - CU
รัฐศาสตร์ > แพทย์ > เศรษฐศาสตร์ Terrace > ธรรมสถาน >
> วิทยา > วิทยา (เคมี) > สถาปัตย์ > CU Sport Complex >
อักษร > วิศวะ > ศาลาพระเกี้ยว U-Center > นิติ > สถาปัตย์
สาย 4 - ศาลาพระเกี้ยว > > อักษร > วิศวะ > ศาลา
รัฐศาสตร์ > ร.ร.สาธิตปทุมวัน > สัตว- พระเกี้ยว
แพทย์ > สยามกิตต์ > ลิโด้ > ร.ร.เตรียม
อุดม > ครุ > CU Sport Complex >
U-Center > นิติ > สถาปัตย์ > อักษร >
วิศวะ > ศาลาพระเกี้ยว
172 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 173
CU BIKE บัตรนิสิต

CU BIKE คือ โครงการที่ให้นิสิตจุฬาสามารถยืมจักรยานเพื่อใช้ขี่ไปในสถานที่


ภายในจุฬาฯ ได้โดยทำ�ให้ไม่ต้องเสียเวลาเดินหรือคอยรถ CU POP BUS และนอกจาก
นี้ยังเป็นการลดการใช้พลังงานรวมทั้งช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย โดยน้องๆ ทุกคนจะต้อง
สมัครสมาชิกเสียก่อนจึงจะใช้ได้ ซึ่งสามารถสมัครได้ที่ชั้น 1 ตึกมหิตลาธิเบศร (คณะบัญชี)
บัตรนิสิตของน้องๆ นั้นนอกจากจะใช้เป็นบัตรประจำ�ตัวแล้ว ยังสามารถใช้ทำ�อะไร
ได้อกี มากมาย ไม่วา่ จะเป็นการใช้การเข้า-ออกสถานทีต่ า่ งภายในจุฬาฯ เช่น ห้องสมุด หอกลาง
โดยมีวิธีการสมัครดังนี้
CU Sport Complex ตึกจามจุรี 9 เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการยืมหนังสือและ
1. ต้องกรอกข้อมูล online ผ่านหน้าเว็บของ CU BIKE ก่อนตามลิงค์นี้ http://www. ใช้เป็นบัตรรถไฟฟ้า MRT ได้อีกด้วย โดยเงินค่าโดยสารในส่วนของรถไฟฟ้า MRT จะเป็น
cubike-chula.com/Mains/Application.aspx หรือสามารถไปกรอกข้อมูล online ได้ คนละส่วนกับเงินในบัญชีของเราดังนั้นหากน้องๆ ต้องการจะใช้ บัตรนิสิตในการโดยสาร
สำ�นักงาน CU BIKE ที่ตึกมหิตลาธิเบศรได้เช่นกันแต่เพื่อความรวดเร็วพี่ขอแนะนำ�ให้น้องๆ รถไฟฟ้า MRT นั้นน้องๆ ก็จะต้องเติมเงินเหมือนบัตรรถไฟฟ้าแบบเติมเงิน นอกจากนี้บัตร
กรอกผ่านหน้าเว็บไปก่อนเนื่องจากที่นั่นก็มีคอมเพียงไม่กี่เครื่องเท่านั้น นิสิตยังสามารถใช้เป็นบัตร ATM ได้อีกด้วย โดยผูกกับบัญชีที่ทางธนาคารเปิดให้ โดยในปี
2. เมื่อน้องๆ กรอกข้อมูล online เสร็จแล้วก็ก็ต้องไปติดต่อที่ตึกมหิตลาธิเบศรเพื่อกรอก แรกธนาคารจะงดเว้นค่าธรรมเนียม ATM ให้แต่ในปีถัดๆ ไปจะเรียกเก็บค่าธรรมเนียม หาก
ข้อมูลลงกระดาษอีกที และขอรับบัตร CU BIKE โดยจะต้องเตรียม บัตรประชาชนตัวจริง น้องๆ ไม่ต้องการใช้ ATM แล้วไม่อยากเสียค่าธรรมเนียมก็สามารถไปยกเลิกได้ที่ธนาคาร
และบัตรนิสิต ไปด้วย ไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสภากาชาดไทย โดยจะตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามของคณะเรา
น้องๆ สามารถเดินออกประตูฝั่งถนนอังรีดูนังต์แล้วข้ามสะพานลอยไปได้เลย ทั้งนี้หลังจาก
จุดให้บริการ CU BIKE - 1. ประตูทางเชื่อมจัตุรัสจามจุรี / 2. ลานจักรพงษ์ / 3. อาคาร การยกเลิก ATM แล้วน้องๆ ยังสามารถใช้บัตรนิสิตเป็นบัตรประจำ�ตัว และใช้บริการต่างๆ
บรมราชกุมารี / 4. อาคารจารมจุรี 9 / 5. หอใน ภายในจุฬาฯ ได้ปกติ

174 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 175


176 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 177
ขอบคุณ

แผนผังคณะรัฐศาสตร์
ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณ • ขอบคุณฝ่ายกิจการนิสิตที่มอบหนังสือเล่มนี้มาให้ทำ� •
ขอบคุณสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ที่มอบตำ�แหน่งสาราณียกรมาให้ เป็นเกียรติอย่างสูง อันเป็นเหตุ
ให้มานั่งทำ�หนังสือเล่มนี้ • ขอบคุณพี่ๆ ศิษย์เก่าที่ร่วมให้สัมภาษณ์กับทีมสาราณีฯ ครับ • ขอบคุณ
พี่มล กิจการนิสิต ที่ช่วยเหลือตลอดการทำ�หนังสือเล่มนี้ ทั้งข้อมูล รูปภาพ และแก้พาร์ทวิชาการ
อย่างเยอะ เสียใจ • ขอบคุณทีมสาราณียากร ทีมที่ทรงพลังที่สุดในคณะรัฐศาสตร์ ที่คอยอยู่ร่วมทุกข์
ร่วมสุขกันจนถึงปิดต้นฉบับ ขอบคุณเอิงเอินและตะนอยที่มาร่วมประชุมกันครั้งแรกและครั้งเดียว •
ขอบคุณเอิงเอินอีกครั้งสำ�หรับพาร์ทศิษย์เก่า ออกมาเลอค่ากว่าที่คิดไว้ 10 เท่า • ขอบคุณตะนอย
อีกครั้งสำ�หรับรอบรั้วจุฬาฯ และแผนที่รถป๊อปที่เราไม่นึกว่าจะออกมาเป็นรูปร่างแบบนี้ได้ งงไปอีก
• ขอบคุณพาร์สำ�หรับพาร์ทชมรมและกิจกรรมตลอดปี รถถังน่าร้าก • ขอบคุณบุ้งกี๋สำ�หรับ 68
เรื่องน่ารู้ เรื่องเกรดออกช้าสำ�คัญมากนะ • ขอบคุณนูนู่สาวเชียงใหม่ที่ยังไม่ลืมกัน กับพาร์ทของดี
รัฐศาสตร์ • ขอบคุณช.ชู้ตสำ�หรับรูปสวยๆ ที่เจ้าตัวบอกว่า ผมว่ามันไม่สวยหว่ะเคเค ขอให้ตาม
หาแพชชั่นให้เจอนะครับ • ขอบคุณเพื่อนปราง หลิว โน้ต และติม ที่มาร่วมถ่ายแบบกันบนสถาน
ที่สุดคลาสสิกกันแบบงงๆ และไม่มีการเตรียมการล่วงหน้าใดๆ ทั้งสิ้น • ขอบคุณพี่ใหม่ พี่มิวลิม
และพี่น้ำ�โซดา ที่ยังไม่ไล่เราออกจากสโม • ขอบคุณแก๊งอินเสิร์ทที่อยู่ด้วยกันเสมอ • ขอบคุณทุก
คนที่มีส่วนช่วยในการทำ�หนังสือเล่มนี้ • ขอบคุณสิงห์ดำ� 68 ที่น่ารัก และเป็นกำ�ลังใจให้เราอยาก
ทำ�หนังสือเล่มนี้ให้ดี หลังจากได้ไปตะลุยเกิร์ลสก๊อยกันมา • ขอบคุณคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ที่ทำ�ให้เรามาเจอกัน
หนังสือเล่มนี้จริงๆ แล้วไม่ใช่หน้าที่ของสาราณียกร สโมฯ จริงๆ แต่เรารับมาทำ�เพราะว่า
อยากทำ� ด้วยเหตุผลรองคือ หนังสือคู่มือรัฐศาสตร์เป็นเหมือนแพลทฟอร์มดีๆ ที่จะบอกเล่าถึงความ
เป็นรัฐศาสตร์ให้กับน้องๆ 68 ที่เข้ามาใหม่ จะเรียกว่าเป็นสิ่งพิมพ์ที่คอมพลีทที่สุดแล้ว เหมือนเป็น
ใบเบิกทางให้กับน้องๆ ก่อนที่จะได้มาเป็นส่วนหนึ่ง และใช้ชีวิตในคณะรััฐศาสตร์จริงๆ ส่วนเหตุผล
หลักคือ หนังสือปีที่แล้วที่เราได้มามันอ่านไม่รู้เรื่อง คือเป็นหนังสือทางการ และไม่มีการบรรยายใดๆ
ที่สำ�คัญที่สุดคือเราไม่เข้าใจเรื่องรายวิชาเรียนเลยแม้แต่น้อย (เราไม่รู้ด้วยซ้ำ�ว่าเจนเอ็ดต้องลงหมวด
ละตัว ตอนแรกเรานึกว่าลงตัวไหนก็ได้ให้ครบ 4 ตัวพอ... อาการหนัก) การศึกษาด้วยตัวเองเป็นเรื่อง
ลำ�บากมาก ฉะนั้นด้วยความรักที่มีให้ต่อน้องๆ 68 เราเลยบรรยายพาร์ทวิชาการอย่างเต็มเม็ดใน
หนังสือเล่มนี้ และก็ยังได้เพิ่มคอนเท้นต์น่ารักๆ สวยๆ น่าสนใจหลายอย่างที่ให้น้องๆ ได้ตามอ่าน
กัน อยากให้น้องๆ ใช้หนังสือเล่มนี้อย่างเต็มที่ เก็บไว้ดีๆ นะครับ อาจจะต้องใช้ถึงปี 4 “การอ่านเป็น
รากฐานที่สำ�คัญ” อย่าขี้เกียจอ่านนะ อ่านเยอะๆ เราต้องอ่านอีกเยอะคณะนี้ สู้ตาย!!

178 คู่มือสิงห์ดำ� 68 คู่มือสิงห์ดำ� 68 179


คู่มือสิงห์ดำ� 68
สำ�หรับผู้ปกครองและนิสิตชั้นปีที่ 1
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2558
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรกฎาคม 2558

จัดทำ�โดย
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนากิจการนิสิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร่วมกับ สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ที่ปรึกษา ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี


ผู้ปฏิบัติงาน นางสาวอุบลรัตน์ วรรณขาว
นางจันทร์จิรา ทองเจริญ
ประธานสาราณียกร นายคณากร กานต์ธีรดา
บทความ นางสาววิริยา งามรังสิมา (ทำ�ไมต้องสิงห์ดำ�, พี่สิงห์ น้องเสือ ชาติเชื้อรัฐศาสตร์)
นายคณากร กานต์ธีรดา (All About Academics)
นางสาวจิรัชญา วังพฤกษ์ (ของดีคณะรัฐศาสตร์)
นางสาวสุชาภา อัศวเลิศพลากร (1 Year in Polsci, ชมรมรัฐศาสตร์ ฟังทางนี้!)
นางสาวณัฐฐาวี เรือนแก้ว (68 เรื่องน่ารู้ คณะรัฐศาสตร์)
นายภูมิชาย จิตชัย (รอบรั้วจุฬาฯ)
ถ่ายภาพ นายธนัสธรณ์ กังวาลสงค์วงษ์
นายสรวิศ ตันติชูศักดิ์
จัดรูปเล่ม นายคณากร กานต์ธีรดา
จัดพิมพ์โดย บริษัทงานดี ครีเอชั่น จำ�กัด

180 คู่มือสิงห์ดำ� 68

You might also like