You are on page 1of 24

OUTLINE:

7.1 รายงานทางการเงิน (Financial Reporting):


กง.201 การเงินธุรกิจ (ภาค 1/2561) รายงานประจําปี ของกิจการ (Annual Report)
• ข้อมูลเชิงพรรณนา (Qualitative Information)
(2) รายงานการเงิน • ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Information)
และการวิเคราะห์รายงานการเงิน 7.2 การวิเคราะห์งบการเงินงบการเงิน (Financial
Financial Reporting and Financial Statements Analysis Statements Analysis)
• งบการเงินฐานร่วม (Common Size Statements)
(ใช้ทกุ กลุม่ ) • อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios Analysis)

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 1 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 2

OUTLINE: 7.1 รายงานทางการเงิน


 รายงานประจําปี ของกิจการ (Annual Report)
- ข้อมูลเชิงพรรณนา (Qualitative Information)
- ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Information)
รายงานทางการเงิน
 งบการเงิน (Financial Statements)
(Financial Reporting) - งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (Income Statement)
- งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position)
- งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Statement of Changes
in Owners’ Equity)
- งบกระแสเงินสด(Cash Flows Statement)

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 3 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 4


รายงานประจําปี ของกิจการ (Annual Report) ข้อมูลเชิงพรรณนา (Qualitative Information)

เป็ นรายงานข้อมูลสําคัญ ทีธ่ รุ กิจต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิง่ เป็ นการรายงานข้อมูล ทีเ่ กีย่ วกับเหตุก ารณ์ ที่เกิ ด ขึน้ ใน
บริษทั มหาชนทีม่ หี นุ้ ซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการ ระหว่า งปี ผลกระทบที่ม ีต ่อ กิ จ การ ไม่วา่ จะเป็ นไปในทาง
ทีด่ ี หรือไม่ดกี ต็ าม การดําเนินการเพือ่ ลดผลกระทบนัน้
จัดทําออกมาเป็ นรายปี ทุกสิน้ งวดบัญชี เพือ่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้
หรือเป็ นการให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับปั จจัยต่างๆ ทีม่ สี ว่ นทําให้
รายงานดังกล่าวจะประกอบด้วยข้อมูล 2 ประเภท กิจการประสพความสําเร็จ
ในขณะเดียวกัน ก็จะมีการให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับแผนงานใน
 ข้อมูลเชิงพรรณนา (Qualitative Information) อนาคต เพือ่ เป็ นการสร้างรายได้ และสร้างการเติบโตต่อไป
 ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Information)

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 5 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 6

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Information) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (Statement of Income)

ข้อมูลประเภทนี้จะแสดงออกมาในรูป ตัว เลข หรืองบการเงิน เป็ นงบทีส่ รุปรายได้จากการดําเนินงาน และค่าใช้จา่ ย


นันเอง
่ โดยนอกจากผูอ้ ่านงบจะได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็ นเหตุ เป็ นผลของ ประเภทต่างๆ ได้แก่ ต้นทุนขาย ค่าใช้จา่ ยในการ
เหตุการณ์ต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ในรอบปี จากข้อมูลเชิงพรรณาแล้ว ดําเนินงาน และดอกเบีย้ เงินกู้ เป็ นต้น แสดงถึงผลการ
ยังจะได้เห็นผลของเหตุการณ์ต่างๆเหล่านัน้ ออกมาเป็ นตัว ดํา เนิ น งานสํา หรับ งวดบัญ ชีน ัน้ ๆ
เลขทีส่ อ่ื ความหมายถึง ผลการดําเนินงาน (งบกําไรขาดทุน
เบ็ดเสร็จ) และฐานะทางการเงิน (งบแสดงฐานะการเงิน) ด้วย บรรทัด สุด ท้า ย (Bottom Line) แสดงถึงผลกําไรต่อหุน้
ข้อมูลทัง้ สองประเภท ทําให้ผอู้ ่านงบได้มคี วามเข้า ใจที่ เป็ นข้อมูลทีม่ คี วามสําคัญและทุกฝ่ ายให้ความสนใจ
สมบูร ณ์มากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูถ้ อื หุน้ เป็ นตัวเลขสุทธิจากค่าใช้จา่ ย
ทุกอย่างทีต่ กมาเป็ นผลตอบแทนถึงผูถ้ อื หุน้ ในทีส่ ดุ

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 7 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 8


บริษทั เพียงดาว จํากัด (หน่วย : บาท) งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position)
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี สน้ิ สุด 31 ธันวาคม 2559
ขายสุทธิ 600,000
หัก ต้นทุนขาย 460,000
กํา ไรขัน้ ต้น 140,000
เป็ นงบทีแ่ สดงฐานะทางการเงินของกิจการ
หัก ค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน ณ เวลาใดเวลาหนึ่ ง โดยข้อมูลด้านซ้ายมือ
ค่าใช้จา่ ยบริหารงานทัวไป ่ 30,000 ของงบ แสดงถึงเงินลงทุนในสินทรัพย์เพือ่
ค่าเสือ่ มราคา 30,000 60,000
กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน 80,000
การสร้างรายได้ (Investment) ในขณะทีด่ า้ น
หัก ดอกเบีย้ จ่าย 10,000 ขวามือของงบ แสดงแหล่งทีม่ าของเงินทุน
กําไรก่อนภาษี 70,000 (Financing)
หัก ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 15% 10,500
กํา ไรสุทธิ ส าํ หรับ ผูถ้ ือ หุ้น สามัญ 59,500
กํา ไรสุทธิ ต ่อ หุ้น (EPS) 3.05
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 9 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 10

บริษทั เพียงดาว จํากัด


งบแสดงฐานะการเงิน (หน่วย : บาท) ณ 31 ธันวาคม 2559
ประเด็น สํา คัญ ในงบแสดงฐานะการเงิ น ที่ค วรทํา ความเข้า ใจ
เงินสด 15,000 เจ้าหนี้การค้า 57,000
หลักทรัพย์ฯ 7,200 ตั ๋วเงินจ่าย 13,000 • เงินสด และสินทรัพย์อ่นื ๆ
ลูกหนี้การค้า 34,100 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย 5,000
สินค้าคงคลัง 82,000 หนี้ สิ น หมุน เวีย นรวม 75,000 • หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้
สิ น ทรัพย์หมุน เวีย นรวม 138,300 หนี้ สิ น ระยะยาว 150,000
ทีด่ นิ และอาคาร 150,000 หุน้ สามัญ 110,200 • ส่วนประกอบของส่วนของผูถ้ อื หุน้
เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ 200,000 กําไรสะสม 73,100
เฟอร์นิเจอร์และเครือ่ งตกแต่ง 54,000 ส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น รวม 183,300 • นโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการประเมินราคาสินค้าคงคลัง
สินทรัพย์อน่ื ๆ 11,000
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนรวม 415,000 • นโยบายการบัญชีทต่ี ่างกันในการคิดค่าเสือ่ มราคา
หัก สํารองค่าเสือ่ มราคา 145,000
สิ น ทรัพย์ไม่หมุน เวีย นสุทธิ 270,000 • เป็ นต้น
สิ น ทรัพย์ร วมทัง้ สิ้ น 408,300 หนี้ สิ น และทุน รวม 408,300

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 11 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 12


แนวคิ ด ที่น่ า สนใจ ของงบแสดงฐานะการเงิ น
งบแสดงการเปลี่ย นแปลงส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น
และงบกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ
ตัว อย่า งนี้ แสดงถึงการเปลี่ย นแปลง อัน เกิ ด จากผลการ
งบแสดงฐานะการเงิน แสดงค่าของรายการ ณ ดํา เนิ น งานของปี เกิ ด ขึน้ จากผลการดํา เนิ น งานสุทธิ และ
เวลาใดเวลาหนึ่ง การจ่า ยเงิ น ปัน ผลประจํา ปี ซึ่งเป็ น สิ่ งที่เกิ ด ขึน้ เป็ น ประจํา
ทุก ปี เท่า นัน้
- - - > Stock Concept
ตามมาตรฐานฯใหม่ ได้กาํ หนดให้มกี ารจัดทํางบฯนี้โดยละเอียด
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แสดงค่าของรายการที่ แสดงถึงการเปลีย่ นแปลงทุกอย่างทีอ่ าจเกิดขึน้ กับส่วนของผูถ้ อื
เกิดขึน้ ในรอบระยะเวลาบัญชี หุน้ โดยมีแบบฟอร์มทีห่ าดู และศึกษาได้จากมาตรฐานฯใหม่ ใน
- - - > Flow Concept ทีน่ ้ีไม่ได้นําส่วนของงบโดยละเอียดนัน้ มาแสดง เนื่องจาก
นักศึกษาได้เรียนจากวิชาการบัญชีการเงินเบือ้ งต้น และสามารถ
ทบทวนทําความเข้าใจได้ดว้ ยตัวเอง
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 13 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 14

ตัวอย่าง งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ งบกระแสเงิน สด (Cash Flows Statement)


เป็ นงบการเงินทีแ่ สดงถึงผลกระทบของกิ จ กรรมหล กั 3 อย่า งของ
บริษทั เพียงดาว จํากัด
ธุร กิ จ คือ
งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (หน่วย : บาท)
สําหรับปี สน้ิ สุด 31 ธันวาคม 2559 - การดํา เนิ น งาน (Operating)
- การลงทุน (Investing)
กําไรสะสมต้นงวด 50,200 - การจัด หาเงิ น ทุน (Financing)
บวก กํา ไรสุทธิ ข องปี 59,500 ที่ม ีต ่อ ฐานะเงิ น สดในงวดเวลาหนึ่ งของกิจการ ในทางบัญชีมกี าร
จัดทําได้ทงั ้ รูปแบบทางตรง และทางอ้อม ตัวอย่างทีแ่ สดงไว้เป็ นวิธกี าร
หัก เงิน ปัน ผลของปี 36,600 ทางอ้อม ในวิ ชานี้ ม ่งุ เน้ น ความเข้า ใจและการใช้ป ระโยชน์ จ ากงบ
กําไรสะสมปลายงวด 73,100 เป็ น หลัก ไม่ใ ช่ก ารจัด ทํา งบ ซึง่ นศ.ได้เรียนมาในวิชา AC 201 แล้ว

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 15 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 16


บริ ษทั เพีย งดาว จํา กัด
รายการเปลี่ย นแปลง ในบัญ ชีงบแสดงฐานะการเงิ น ระหว่า งปี 2559 (หน่ ว ย : บาท) ตาราง 3-4 (ต่อ )
31 ธัน วาคม การเปลี่ย นแปลง 31 ธัน วาคม การเปลี่ย นแปลง
2559 2558 แหล่งที่ม า แหล่งใช้ไป 2554 2553 แหล่งที่ม า แหล่งใช้ไป
เงินสด 15,000 16,000 1,000 เจ้าหนี้การค้า 57,000 49,000 8,000
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 7,200 8,000 800 ตั ๋วเงินจ่าย 13,000 16,000 3,000
ลูกหนี้การค้า 34,100 42,200 8,100 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย 5,000 6,000 1,000
สินค้าคงคลัง 82,000 50,000 32,000 หนี้สนิ ระยะยาว 150,000 160,000 10,000
ทีด่ นิ และอาคาร 150,000 150,000 หุน้ สามัญ 10,200 120,000 9,800
เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ 200,000 190,000 10,000 กําไรสะสม 73,100 50,200 22,900
เฟอร์นิเจอร์และเครือ่ งตกแต่ง 54,000 50,000 4,000 70,800 70,800
สินทรัพย์อ่นื ๆ 11,000 10,000 1,000
สํารองค่าเสือ่ มราคา 145,000 115,000 30,000

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 17 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 18

บริ ษทั เพีย งดาว จํา กัด


งบกระแสเงิ น สด (หน่ ว ย : บาท)
กระแสเงินสดจากการลงทุน
สํา หรับ ปี สิ้ น สุด 31 ธัน วาคม 2554
ลงทุนเพิม่ สุทธิในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (15,000)
กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน
กําไรสุทธิ 59,500 จ่ายเงินปั นผลหุน้ สามัญ (36,600)
บวก ค่าเสือ่ มราคา 30,000 ตั ๋วเงินจ่ายลดลง (3,000)
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดลดลง 800 หนี้สนิ ระยะยาวลดลง (10,000)
ลูกหนี้การค้าลดลง 8,100 หุน้ สามัญลดลง (9,800) (59,400)
เจ้าหนี้การค้าเพิม่ ขึน้ 8,000 เงินสดสุทธิเพิม่ ขึน้ (ลดลง) (1,000)
ลบ สินค้าคงคลังเพิม่ ขึน้ (32,000) เงินสดต้นงวดยกมา 16,000
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่ายลดลง (1,000) 73,400 เงินสดปลายงวดยกไป 15,000

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 19 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 20


แหล่ งทีม่ าและ ใช้ ไปของเงินสด

จากการดําเนินงาน (Operating)
จากการดํา เนิ น งาน
จากการลงทุน (Investing)
จากการจัดหาเงิน (Financing) เงิ น สดรับ จาก เงิ น สดจ่า ยเพื่อ เงินสดสุทธิจาก
การจําหน่ าย - การได้ม าซึ่ง = การดําเนินงาน
สิ น ค้า และบริ ก าร สิ น ค้า และบริ ก าร

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 21 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 22

จากการลงทุน จากการจัด หาเงิน ทุน

เงิ น สดรับ จาก เงิ น สดจ่า ยเพื่อ เงินสดสุทธิจาก เงิ น สดรับ จาก เงิ น สดจ่า ยเพื่อ เงินสดสุทธิจาก
การจําหน่ าย - ลงทุน ใน = การลงทุน การกู้แ ละการ - จ่า ยปัน ผลและ = การจัดหาเงินทุน
สิ น ทรัพย์ไม่ สิ น ทรัพย์ เพิ่ ม ทุน การชํา ระคืน หนี้ สิ น
หมุน เวีย น ไม่หมุน เวีย น

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 23 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 24


กระแสเงินสดและช่วงชีวติ ของธุรกิจ LIFE CYCLE
ตัวอย่าง รูปแบบของกระแสเงินสดของกิจการ 4 กรณี
จากตัวอย่างรูปแบบของกระแสเงินสดทัง้ 4 กรณี จะได้วา่
ปรากฏดังนี้: ให้ความหมายอย่างไรบ้าง
กิจการ ก น่าจะอยูใ่ นช่วงเริม่ ต้น มีการใช้เงินลงทุน (-15) มี
เงินสดจาก ก ข ค ง การระดมเงินทุน (+20) ในขณะทีก่ ารดําเนินงานยังไม่
สามารถสร้างกระแสเงินสดให้เป็ น + ได้ มีคา่ ใช้จา่ ยมากกว่า
การดําเนินงาน (3) 7 20 8
รายได้ ต้องอดทนรอพืชทีไ่ ด้หว่านเอาไว้
การลงทุน (15) (10) (8) (2)
กิจการ ข เริม่ มีกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน (+7) มีการ
การจัดหาเงิน 20 2 (7) (3) ลงทุนเพิม่ น้อยลง (-10) และมีการจัดหาเงินทุนเพิม่ น้อยลง
เงินสดสุทธิ 2 (1) 5 3 (+2) น่าจะแสดงถึงธุรกิจเริม่ เติบโตได้บา้ ง แต่ยงั ไม่เต็มทีน่ กั

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 25 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 26

จากตัวอย่างรูปแบบของกระแสเงินสดทัง้ 4 กรณี จะได้วา่


กิจการ ค น่าจะแสดงถึงขัน้ ตอนการเติบโต เก็บเกีย่ วผลประโยชน์จาก
สิง่ ทีไ่ ด้ลงทุนเอาไว้ สามารถสร้างกระแสเงินสดได้มากขึน้ จากการ
ดําเนินงาน (+20) มีการลงทุนเพิม่ เพือ่ รักษากําลังการผลิต (-8) การวิเคราะห์งบการเงิน
ในขณะทีเ่ ริม่ จ่ายเงินคืนให้กบั ผูล้ งทุน ไม่วา่ จะเป็ นเงินต้น หรือ
ดอกเบีย้ หรือ เงินปั นผล Financial Statements Analysis
กิจการ ง น่าจะแสดงถึงขัน้ ตอนทีก่ าํ ลังอิม่ ตัว และเริม่ ถดถอย กระแส
เงินสดจากการดําเนินงานยังมีเข้ามา แต่ลดน้อยลง มีการลงทุนเพิม่
เล็กน้อย และคืนเงินให้ผลู้ งทุนได้บา้ ง ธุรกิจทีอ่ ยูใ่ นขัน้ ตอนนี้อาจต้อง
ทบทวนนโยบายต่างๆ เพือ่ ให้อยูร่ อดได้อกี ต่อไป
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 27 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 28
OUTLINE: การวิเคราะห์งบการเงิน
 อัตราส่วนทางการเงิน
เครือ่ งมือในการวิเคราะห์งบการเงิน - ความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios)
- การใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน
- งบการเงินฐานร่วม (Common Size Statements) (Asset Utilization Ratios)
- อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios Analysis) - สภาพคล่อง (Liquidity Ratios)
- ความมันคงทางการเงิ
่ นหรือความสามารถ
งบการเงินฐานร่วม ในการชําระหนี้ระยะยาว (Leverage Ratios)
- งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จฐานร่วม - การประเมินค่า (Valuation Ratios)
- งบแสดงฐานะการเงินฐานร่วม  ข้อจํากัดของการวิเคราะห์งบ เมือ่ ใช้ในการเปรียบเทียบ
 การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอ้างอิง
 สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 29 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 30

งบการเงิน ฐานร่ว ม (Common Size Statements) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จฐานร่วม


บริ ษทั เพีย งฟ้ า จํา กัด
งบกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ ฐานร่ว ม
เป็ นงบการเงินทีจ่ ดั ทําขึน้ ใหม่ จากทีม่ หี น่วยเป็ นเงินตรา สํา หรับ ปี สิ้ น สุด วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2559
ให้มหี น่ ว ยเป็ น เปอร์เซ็น ต์แ ทน พันบาท %
ทําได้โดยเทียบทุกรายการในงบการเงิน ให้เป็ นเปอร์เซ็นต์ รายได้จ ากการขาย 2,311 100
ของรายการทีเ่ ป็ นฐานร่วมกันของงบการเงินนัน้ ๆ เช่นงบ ต้นทุนขาย 1,000 43.3
ค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน (ไม่รวมค่าเสือ่ มราคา) 14.9
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ใช้ย อดขายเป็ น ฐานร่ว ม งบแสดง ค่า เสื่อ มราคา
344
276 11.9
ฐานะการเงิน ใช้สิ น ทรัพย์ร วมเป็ น ฐานร่ว ม เป็ นต้น กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน
691 29.9
เป็ น ประโยชน์ ใ นการวิ เคราะห์เปรีย บเทีย บ ทัง้ การ ดอกเบีย้ จ่าย
ภาษี (30%) 141 6.1
เปรียบเทียบกับตัวเองข้ามปี หรือกับคูแ่ ข่ง เนื่องจากทุก 165 7.1
รายการ ต่างก็เป็ นเปอร์เซ็นต์ของฐานเดียวกันทัง้ สิน้ กํา ไรสุทธิ 385 16.7
เงินปั นผล 154 6.7%
กําไรสะสม 231 10.0%
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 31 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 32
งบแสดงฐานะการเงิน ฐานร่ว ม 2559 2558
หนี้ สิ น และส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น พัน บาท % พัน บาท %
บริ ษทั เพีย งฟ้ า จํา กัด
งบแสดงฐานะการเงินฐานร่วมเปรียบเทียบ หนี้สนิ หมุนเวียน
ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2559, 2558 เจ้าหนี้การค้า 344 9.6 312 9.2
2559 2558 ตั ๋วเงินจ่าย 196 5.5 231 6.8
สิ น ทรัพย์ พัน บาท % พัน บาท % รวมหนี้สนิ หมุนเวียน 540 15.1 543 16.0
สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้ สิ น ระยะยาว 457 12.7 531 15.7
เงินสด 98 2.7 84 2.5 รวมหนี้สนิ 997 27.8 1,074 31.7
ลูกหนี้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้
สินค้าคงเหลือ
188 5.2 165 4.9
หุน้ สามัญและส่วนเกินมูลค่าหุน้ 550 15.3 500 14.8
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 422 11.8 393 11.7
กําไรสะสม 2,041 56.9 1,799 53.3
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 708 19.7 642 19.1
ที่ดิ น อาคารและอุป กรณ์ส ทุ ธิ รวมส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น 2,591 72.2 2,299 68.1
2,880 80.3 2,731 80.9
รวมสิ น ทรัพย์ รวมหนี้ สิ น และส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น 3,588 100.0 3,373 100.0
3,588 100.0 3,373 100.0
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 33 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 34

อัตราส่วนทางการเงินแบ่งออกเป็ น 5 กลุม่
การวิเคราะห์งบการเงินมีประโยชน์อย่างมาก
1. ความสามารถในการทํา กํา ไร (Profitability Ratios)
ต่อฝ่ ายต่าง ๆ ดังนี้:
2. การใช้ป ระโยชน์ จ ากสิ น ทรัพย์ล งทุน (Asset
Turnover หรือ Asset Utilization Ratios)
ฝ่ ายผูบ้ ริหาร 3. สภาพคล่อ ง (Liquidity Ratios หรือ Short-Term
Solvency Ratios)
ฝ่ ายเจ้าหนี้
4. ความม นคงทางการเง
ั่ ิ น หรือความสามารถในการชําระ
ฝ่ ายผูล้ งทุน หนี้ระยะยาว (Leverage Ratios หรือ Long-Term
Solvency Ratios))
ฝ่ ายอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง และทีส่ นใจ 5. การประเมิ น ค่า (Valuation Ratios)
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 35 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 36
1. ความสามารถในการทํากําไร ความสามารถในการทํากําไร: อัตราผลตอบแทน (Return)

มีวธิ กี ารวัดความสามารถในการทํากําไร 2 วิธ:ี อัต ราผลตอบแทนต่อ ส่ว นของเจ้า ของ


1. วัดผลกําไรเทียบกับยอดขาย เรียกว่าอัต รากํา ไร (Margin) (ROE) = กํา ไรสุทธิ x 100 %
เป็ นการวัดภายในงบกําไรขาดทุนเอง ให้ขอ้ มูลทีส่ าํ คัญ ส่ว นของเจ้า ของ
เกีย่ วกับการควบคุมค่าใช้จา่ ยของกิจการ
2. วัดผลกําไรเทียบกับเงิ นลงทุนในสิ นทรัพย์ เรียกว่า อัต รา
ผลตอบแทน (Return) โดยวัดจากงบการเงินหลัก 2 งบคือ ROE เป็ นการวัดอัตราผลตอบแทนทีเ่ จ้าของได้รบั จากการนํา
งบกําไรขาดทุน และงบดุล ให้ขอ้ มูลทีส่ าํ คัญเกีย่ วกับการ เงินมาลงทุน เนื่องจากเจ้าของมีความเสีย่ งมากทีส่ ดุ ในการนํา
สร้างผลกําไรจากเงินทีล่ งทุนไป เป็ นการวัดประสิทธิภาพของ เงินมาลงทุน เจ้าของจึงมีความคาดหวังอัตราผลตอบแทนทีส่ งู
เงินลงทุนด้วย เพือ่ ชดเชยความเสีย่ งทีส่ งู นัน้

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 37 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 38

การวิเคราะห์ดปู องท์ (DuPont Analysis): ROA การวิเคราะห์ดปู องท์ (DuPont Analysis): ROE

เป็ นการใช้อตั ราส่วนทางการเงินหลายตัวประกอบกัน เพือ่ การวิเคราะห์ปัญหา โดยปกติ ROE = กําไรสุทธิ


โดยปกติได้วา่ ROA = กํา ไรสุทธิ ส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น
สิ น ทรัพย์ร วม
DuPont: ROE = กําไรสุทธิ * ยอดขาย * สิ น ทรัพย์ร วม
DuPont: ROA = กํา ไรสุทธิ * ยอดขาย
ยอดขาย สิ น ทรัพย์ร วม ส่ว นของเจ้า ของ
ยอดขาย สิ น ทรัพย์ร วม
อัตราส่วนทางการเงินทีใ่ ช้ในการอธิบายค่า ROE ได้แก่
= อัต รากํา ไรสุทธิ * อัต ราการหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม
อัต ราส่ว นทางการเงิ น ที่ใ ช้ใ นการอธิ บ ายค่า ROA ได้แ ก่ 1. อัตรากําไรสุทธิ (NPM)
1. อัต รากําไรสุทธิ (NPM) 2. อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (TATO)
2. อัต ราการหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม (TATO) 3. ตัวทวีคณ
ู ส่วนของเจ้าของ (EM)

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 39 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 40


ความสามารถในการทํากําไร: อัตรากําไร (Margin)
โดยสรุป DuPont Analysis ช่วยให้การวิเคราะห์เป็ นไปสมบูรณ์ โดย
ครอบคลุมทุกกิจกรรมสําคัญของธุรกิจดังนี้: อัตรากําไร (Margin) ประกอบด้วย:
อัตราส่วนทาง ใช้วดั กิจกรรมทีส่ าํ คัญของธุรกิจดังนี้:
การเงิน - อัตรากําไรขัน้ ต้น (Gross Profit Margin หรือ GPM)
กําไรสุทธิ วัดความสามารถในการดําเนินงาน
- อัตรากําไรจากการดําเนินงาน
ยอดขาย Operating Efficiency
ยอดขาย วัดความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน (Operating Profit Margin หรือ OPM)
สินทรัพย์รวม Investment Efficiency หรือ Assets Utilization
สินทรัพย์รวม วัดความสามารถในการจัดหาแหล่งเงินทุน: เงินกูห้ รือเงินทุน - อัตรากําไรสุทธิ (Net Profit Margin หรือ NPM)
ส่วนของเจ้าของ Financing Efficiency หรือ Financial Leverage
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 41 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 42

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Margin 1 อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Margin 2

อัต รากํา ไรขัน้ ต้น = กํา ไรขัน้ ต้น x 100% อัต รากําไรจากการดํา เนิ น งาน = กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน x 100 %
(GPM) ยอดขาย (OPM) ยอดขาย

จากกํา ไรขัน้ ต้น = ยอดขาย – ต้น ทุน สิ น ค้า ที่ข าย กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน = กํา ไรขัน้ ต้น – ค่า ใช้จ ่า ยในการดํา เนิ น งาน
จะได้วา่ อัตรากําไรขัน้ ต้นจะมีคา่ สูงหรือตํ่า ขึน้ อยูก่ บั ต้น ทุน สิ น ค้า จะได้วา่ อัตรากําไรจากการดําเนินงานจะมีคา่ สูงหรือตํ่า ขึน้ อยูก่ บั
ที่ข าย ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงในอัตรากําไรขัน้ ต้นเมือ่ เปรียบ ค่า ใช้จ ่า ยในการดํา เนิ น งาน ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงในอัตรากําไร
เทียบข้อมูลข้ามปี จึงให้ขอ้ มูลสําคัญเกีย่ วกับการควบคุมต้นทุน จากการดําเนินงานเมือ่ เปรียบเทียบข้อมูลข้ามปี จึงให้ขอ้ มูลสําคัญ
สินค้าทีข่ าย เกีย่ วกับการควบคุมค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 43 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 44
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Margin 3 ความสามารถในการทํากําไร: Return
อัต ราผลตอบแทน (Return) ประกอบด้ว ย:
อัต รากํา ไรสุทธิ = กํา ไรสุทธิ x 100 %
- อัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุน
(NPM) ยอดขาย
Return on Investment (ROI) หรือ Return on Assets (ROA)
กํา ไรสุทธิ = กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน – ดอกเบีย้ – ภาษี เงิ น ได้
- อัตราผลตอบแทนจากการดําเนินงาน
ถ้าธุรกิจสามารถสร้างกําไรจากการดําเนินงานได้แล้ว กําไร
สุทธิจะมีมากหรือน้อย ขึน้ อยูก่ บั ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน คือดอก Basic Earning Power (BEP)
เบีย้ จ่ายนันเอง

อย่างไรก็ตามอัตรากําไรสุทธิ แสดงผลภาพรวมในการดําเนิน - อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ
้ ือหุ้น
งานหลังจากหักค่าใช้จา่ ยทุกประเภทแล้ว Return on Equity (ROE)
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 45 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 46

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Return 1 อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Return 2

อัต ราผลตอบแทนต่อ เงิน ลงทุน


Basic Earning Power = กําไรจากการดํา เนิ น งาน x 100 %
ROA หรือ ROI = กํา ไรสุทธิ x 100 % (BEP) สิ น ทรัพย์ล งทุน
สิ น ทรัพย์ล งทุน
BEP เป็ นอัตราส่วนทางการเงิน ทีใ่ ช้กาํ ไรจากการดําเนินงานแทนกําไร
สุทธิ (ที่ ROA ใช้) ในการคํานวณอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน ทัง้ นี้
เป็ นการวัดผลกําไรซึง่ เป็ น Output จากการดําเนินงาน สินทรัพย์ลงทุนเป็ นการลงทุนทีใ่ ช้แหล่งเงินทุนทัง้ จากการกูย้ มื และจาก
เทียบกับเงินลงทุนในสินทรัพย์ซง่ึ เป็ น Input ทีไ่ ด้ลงทุนไป ส่วนของเจ้าของ ดังนัน้ การใช้ผลกําไรจากการดําเนินงานในการคํานวณ
แสดงถึงประสิทธิภาพของการบริหารการลงทุนให้เกิด น่าจะเหมาะสมกว่า เนื่องจากเป็ นกํา ไรของทัง้ เจ้า หนี้ แ ละเจ้า ของ ในขณะ
ประโยชน์ และสร้างผลตอบแทนให้กบั กิจการ ทีก่ าํ ไรสุทธิ เป็ นของเจ้าของเท่านัน้
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 47 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 48
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร: Return 3 ความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน

อัต ราผลตอบแทนต่อ ส่ว นของเจ้า ของ ธุรกิจมีการลงทุนในสินทรัพย์ เพือ่ สร้างรายได้ การวัดความสามารถ


หรือประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน จึงเป็ น
(ROE) = กํา ไรสุทธิ x 100 %
การเปรียบเทียบระหว่างยอดขาย (Output) ทีท่ าํ ได้ และเงินลงทุนใน
ส่ว นของเจ้า ของ สินทรัพย์ (Input) ทีไ่ ด้ลงทุนไป

ROE เป็ นการวัดอัตราผลตอบแทนทีเ่ จ้าของได้รบั จากการนํา การบริหารงาน


เงินมาลงทุน เนื่องจากเจ้าของมีความเสีย่ งมากทีส่ ดุ ในการนํา
เงินมาลงทุน เจ้าของจึงมีความคาดหวังอัตราผลตอบแทนทีส่ งู สินทรัพย์ลงทุน ยอดขาย
เพือ่ ชดเชยความเสีย่ งทีส่ งู นัน้

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 49 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 50

อัตราส่วนความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน 1 อัตราส่วนความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน 2

อัต ราหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม = ยอดขาย Capital Intensity Ratio = สิ น ทรัพย์ร วม
(Total Asset Turnover) สิ น ทรัพย์ร วม ยอดขาย

อัตราส่วนนี้เป็ นส่ว นกล บั ของอัต ราหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม


อัตราหมุนเวียนนี้ใช้วดั ประสิทธิภาพของเงินลงทุน
ค่าทีค่ าํ นวณได้ เช่น 1.5 ให้ความหมายทีน่ ่าสนใจว่า เพือ่ ให้
ในสินทรัพย์รวมทัง้ หมดทีไ่ ด้ลงทุนไป ว่าสามารถ
สามารถสร้างยอดขายให้ได้ 1 บาท ธุรกิจจะต้องลงทุนในสิน
สร้างยอดขายได้มากน้อยเพียงใด ธุร กิ จ ที่อ ยู่ใ นอุต
ทรัพย์ทงั ้ หมด 1.50 บาทเป็ นต้น ธุร กิ จ ที่เป็ น ประเภท Capital
สาหกรรมที่ต ้อ งใช้เงิ น ลงทุน มาก (Capital Intensive
Intensive จะมีค ่า อัต ราส่ว นนี้ ส งู ประเภท Labor Intensive จะ
Industry) ม กั มีอ ตั ราหมุน เวีย นค่อ นข้า งตํา่
มีคา่ อัตราส่วนนี้ต่าํ กว่า
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 51 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 52
อัตราส่วนความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน 3 อัตราส่วนความสามารถในการใช้ประโยชน์จากการลงทุนในลูกหนี้

อัตราหมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน = ยอดขาย อัตราส่วนนี้สามารถใช้วดั สภาพคล่องของลูกหนี้ (อัตราส่วนทาง


การเงินกลุม่ ที่ 3) ด้วย
(Non-Current Assets Turnover) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายเชือ่
(A/R Turnover) ลูกหนี้การค้า
อัตราส่วนนี้ใช้วดั การใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ จํานวนวันรับชําระหนี้ = 365 วัน (ใน 1 ปี )
ลงทุนไปเช่น โรงงาน เครือ่ งจักร เป็ นต้น ว่าสามารถสร้างยอด (A/R Days) อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้
ขายได้อย่างเหมาะสมหรือไม่ โดยทัวไปคํ่ าว่าเหมาะสมหรือไม่
เป็ นการเปรียบเทียบกับค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรมประเภท หรือจํานวนวันรับชําระหนี้ = ลูกหนี้การค้า
เดียวกัน ยอดขายเชือ่ ต่อวัน

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 53 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 54

อัตราส่วนความสามารถในการใช้ประโยชน์จากการลงทุนในสินค้า อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios)


อัตราส่วนนี้สามารถใช้วดั สภาพคล่องของสินค้า(อัตราส่วนทางการเงินกลุม่ ที่ 3)ด้วย
สภาพคล่องของธุรกิจ แสดงถึงความสามารถ
ในการจ่า ยชํา ระหนี้ ผกู พัน ระยะสัน้ มีมากหรือ
อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนสินค้าขาย
(Inventory Turnover) สินค้าคงเหลือ น้อยเพียงใด วิเคราะห์ได้จาก สิ น ทรัพย์
หมุน เวีย นที่ม ีอ ยู่ จะสามารถเปลี่ย นเป็ น เงิน
จํานวนวันสินค้าอยูใ่ นคลัง = 365 วัน (ใน 1 ปี )
(Inventory Days) อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ สดได้ต ามกํา หนดเวลาเพื่อ จ่า ยชํา ระหนี้ สิ น
หมุน เวีย นหรือ ไม่
หรือ จํานวนวันสินค้าอยูใ่ นคลัง = สินค้าคงเหลือ
ต้นทุนสินค้าขายต่อวัน

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 55 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 56


อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 1 อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 2

อัตราส่วนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน อัตราส่วนหมุนเวียนเร็ว = สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงเหลือ


(Current Ratio) หนี้สนิ หมุนเวียน (Quick หรือ Acid Test Ratio) หนี้สนิ หมุนเวียน

เป็ นการเปรียบเทียบระหว่างสิ น ทรัพย์หมุน เวีย นที่ล งทุน ไป ว่ามีมาก สินทรัพย์หมุนเวียนแต่ละประเภท มีสภาพคล่องหรือความสามารถในการ


น้อยเป็ นกี่เท่า ของหนี้ สิ น ระยะสัน้ ที่ต ้อ งชํา ระคืน ภายใน 1 ปี อัตรา เปลีย่ นเป็ นเงินสดต่างกัน สินค้าคงเหลือถือว่ามีสภาพคล่องตํ่าทีส่ ดุ ใน
ส่วนหมุนเวียนมีคา่ สูง แสดงถึงสภาพคล่องทีส่ งู และความเสีย่ งตํ่า บรรดาสินทรัพย์หมุนเวียนทัง้ หลาย การนําเอามาหักออกจึงเป็ นการ
แต่ละประเภทธุรกิจจะมีคา่ สูง หรือตํ่าทีแ่ ตกต่างกันไป วิเคราะห์สภาพคล่อง จากสินทรัพย์หมุนเวียนทีม่ สี ภาพคล่องจริงๆ

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 57 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 58

อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 3: ลูกหนี้ อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 3: ลูกหนี้


การวิเคราะห์สภาพคล่องของ ลูกหนี้การค้า ทําได้โดยอาศัย บัญชีลกู หนี้การค้า เกิดจากการขายเชือ่ ดังนัน้ อัตราหมุนเวียน
อัตราส่วนทางการเงิน 2 ตัวได้แก่:
ของลูกหนี้จงึ คํานวนจากการเปรียบเทียบ ยอดขายเชื่อ ของปี
1. อัต ราหมุน เวีย นของลูก หนี้ (A/R Turnover Ratio) บอกถึง กับ ลูก หนี้ ค งเหลือ ณ วัน สิ้ น ปี
จํา นวนครัง้ โดยเฉลี่ย ที่ล กู หนี้ เปลี่ย นเป็ น เงิ น สด หรือจํานวน
ครัง้ โดยเฉลีย่ ทีส่ ามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ ภายในรอบระยะเวลา
1 ปี ค่าทีส่ งู แสดงถึงสภาพคล่องของลูกหนี้มสี งู ด้วย ยอดขายเชือ่ ลูกหนี้
2. จํา นวนวัน ของลูก หนี้ (A/R Days หรือ Collection Period
หรือ Days Sales Outstanding) บอกถึงระยะเวลาโดยเฉลี่ย นับ
จากวันขายสินค้าเป็ นเงินเชือ่ จนถึงวันทีร่ บั ชําระเงินจากลูกหนี้ จํานวนวันของลูกหนี้คาํ นวนจากจํานวนวันใน 1 ปี หารด้วยอัตรา
หมุนเวียนของลูกหนี้

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 59 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 60


อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 3: ลูกหนี้ ตัวอย่างแสดงสภาพคล่องของลูกหนี้
ยอดขาย ลูกหนี้ ณ A/R A/R
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ = ยอดขายเชื่อ  สมมติ ยอดขายของปี ของปี วันสิน้ ปี Turnover Days
(บาท) (บาท) (ครัง้ ) (วัน)
(A/R Turnover) ลูกหนี้ก ารค้า เท่ากับ 2 ล้านบาท และ
2,000,000 200,000 10 36
1ปี ม ี 360 วัน การมี
จํานวนวันรับชําระหนี้ = 360 หรือ 365 วัน (ใน 1 ปี ) 
ลูกหนี้ ณวันสิน้ ปี จาํ นวน 400,000 5 72
(A/R Days) อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ 500,000 4 90
ต่างกัน แสดงถึงสภาพ
หรือ จํานวนวันรับชําระหนี้ = ลูกหนี้การค้า คล่องทีต่ ่างกัน ดังนี้: 800,000 2.5 144
(จากการแทนค่า ใน ) ยอดขายเชือ่ ต่อวัน 1,000,000 2 180

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 61 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 62

อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 4: สินค้าคงเหลือ อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 4: สินค้าคงเหลือ


การวิเคราะห์สภาพคล่องของ สินค้าคงเหลือ ทําได้โดยอาศัย บัญชีสนิ ค้าคงเหลือ เป็ นการลงทุนเพือ่ สร้างยอดขาย ดังนัน้ อัตรา
อัตราส่วนทางการเงิน 2 ตัวได้แก่: หมุนเวียนของสินค้า จึงคํานวณจากการเปรียบเทียบ ยอดขายของ
1. อัต ราหมุน เวีย นของสิ น ค้า คงเหลือ (Inventory Turnover ปี กับ สินค้าคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี แต่เนื่องจากยอดขายบันทึกไว้ใน
ราคาขาย ในขณะทีส่ นิ ค้าบันทึกไว้ในราคาต้นทุน จึงใช้ตน้ ทุนขาย
Ratio) บอกถึงจํานวนครัง้ ทีส่ นิ ค้า เปลีย่ นเป็ นยอดขาย หรือ
แทนยอดขาย เพือ่ ให้เป็ นการเปรียบเทียบในราคาต้นทุนเหมือนกัน
จํานวนครัง้ ภายในรอบระยะเวลา 1 ปี ทีซ่ ื้อ สิ น ค้า มาขายจน
หมด และซื้อ ใหม่มาหมุนเวียนอีกอย่างต่อเนื่อง ค่าทีส่ งู แสดงถึง
สภาพคล่องของสินค้ามีสงู ด้วย ยอดขาย ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือ
2. จํา นวนวัน ของสิ น ค้า (Inventory Days) บอกถึงระยะเวลา
เฉลีย่ นับจากวันซือ้ สินค้ามาขาย จนถึงวันทีส่ นิ ค้าขายหมด แล้ว จํานวนวันของสินค้าคํานวณจากจํานวนวันใน 1 ปี หารด้วยอัตรา
หมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ
จึงมีการสังเข้
่ ามาใหม่อกี
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 63 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 64
อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 4: สินค้าคงเหลือ ตัวอย่าง: แสดงสภาพคล่องของสิ นค้าคงเหลือ

สมมติ ยอดขายของปี ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือ Inv. TO Inv. Days


อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนสินค้าขาย  (บาท) (บาท) (ครัง้ ) (วัน)
เท่ากับ 2 ล้านบาท
(Inventory Turnover) สินค้าคงเหลือ 1,500,000 150,000 10 36
ต้นทุนขาย = 75%
และ 1ปี ม ี 360 วัน 250,000 6 60
จํานวนวันสินค้าอยูใ่ นคลัง = 360 หรือ 365 วัน (ใน 1 ปี ) 
การมีสนิ ค้าคงเหลือ
(Inventory Days) อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ 300,000 5 72
ณวันสิน้ ปี จาํ นวน
หรือ จํานวนวันสินค้าอยูใ่ นคลัง = สินค้าคงเหลือ ต่างกันแสดงถึง 600,000 2.5 144
(จากการแทนค่า ใน ) ต้นทุนสินค้าขายต่อวัน สภาพคล่องทีต่ ่างกัน
750,000 2 180
ดังนี้:
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 65 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 66

อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 5: เจ้าหนี้การค้า อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 5: เจ้าหนี้การค้า


สภาพคล่องของเจ้าหนี้การค้า วิเคราะห์โดยอาศัยอัตราส่วนทางการเงิน บัญชีเจ้าหนี้การค้า เกิดจากการซือ้ เชือ่ ดังนัน้ อัตราหมุนเวียนของ
2 ตัวได้แก่: เจ้าหนี้จงึ คํานวนจากการเปรียบเทียบ ยอดซือ้ เชือ่ ของปี กับ
1. อัต ราหมุน เวีย นของเจ้าหนี้ (A/P Turnover Ratio) บอกถึงจํา นวน เจ้าหนี้คงเหลือ ณ วันสิน้ ปี ถ้าข้อมูลยอดซือ้ เชือ่ ของปี ไม่ม ี ส่วน
ครัง้ โดยเฉลี่ย ที่จ ่า ยชํา ระเจ้า หนี้ ภายในรอบระยะเวลา 1 ปี ค่าทีส่ งู
แสดงว่าต้องจ่ายชําระเร็วและมากครัง้ ทําให้กจิ การมีสภาพคล่องทีต่ ่าํ ใหญ่จะใช้ขอ้ มูลต้นทุนขายแทน
2. จํา นวนวัน ของเจ้า หนี้ (A/P Days) บอกถึงระยะเวลาโดยเฉลีย่ นับ
จากวันซือ้ สินค้าเป็ นเงินเชือ่ จนถึงวันทีจ่ า่ ยชําระเงินให้กบั เจ้าหนี้ เจ้าหนี้
ระยะเวลายิง่ สัน้ บอกถึงสภาพคล่องทีต่ ่าํ เพราะต้องจ่ายชําระเร็ว ซือ้ ต้นทุนขาย
เนื่องจากเจ้าหนี้การค้า เป็ นหนี้สนิ ทีต่ อ้ งจ่ายชําระ การวิ เคราะห์ส ภาพ
คล่อ ง จึงต่า งจากลูก หนี้ และสิ น ค้า ซึง่ เป็ นสินทรัพย์ สินทรัพย์ยงิ่ จํานวนวันของเจ้าหนี้คาํ นวนจากจํานวนวันใน 1 ปี หารด้วยอัตรา
หมุนเร็ว บอกสภาพคล่องทีส่ งู แต่หนี้สนิ ทีห่ มุนเร็ว บอกสภาพคล่อง
ทีต่ ่าํ หมุนเวียนของเจ้าหนี้
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 67 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 68
อัตราส่วนทีใ่ ช้วเิ คราะห์สภาพคล่อง 5: เจ้าหนี้การค้า ตัวอย่าง: แสดงสภาพคล่อง เมือ่ พิจารณาถึงเจ้าหนี้การค้า

สมมติ ยอดขายของปี ต้นทุนขาย เจ้าหนี้ A/P TO A/P Days


อัตราหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า = ต้นทุนสินค้าขาย  (บาท) (บาท) (ครัง้ ) (วัน)
(A/P Turnover) เจ้าหนี้การค้า เท่ากับ 2 ล้านบาท
ต้นทุนขายเท่ากับ 75% 1,500,000 200,000 7.5 48

จํานวนวันจ่ายชําระเจ้าหนี้ = 360 หรือ 365 วัน (ใน 1 ปี ) 


และ1ปี ม ี 360 วัน การมี 500,000 3 90
(A/P Days) อัตราหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ ณวันสิน้ ปี 600,000 2.5 144
จํานวนต่างกัน แสดงถึง
สภาพคล่องทีต่ ่างกัน 800,000 1.875 192
หรือ จํานวนวันจ่ายชําระเจ้าหนี้ = เจ้าหนี้การค้า
(จากการแทนค่า ใน ) ต้นทุนสินค้าขายต่อวัน ดังนี้: 1,000,000 1.5 240

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 69 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 70

อัตราส่วนความมันคงทางการเงิ
่ น (Leverage Ratio) ความสามารถในการชําระคืนเงินต้น
อัตราส่วนทางการเงินกลุม่ นี้ เป็ นการวิเคราะห์ส ดั ส่ว นของแหล่งเงิ น ทุน ของ เมือ่ เจ้าหนี้ให้เงินกูก้ บั ธุรกิจ เจ้าหนี้ยอ่ มคาดหวังให้ธุรกิจนําไป
กิ จ การ อันประกอบด้วยแหล่งเงินทุนทีส่ าํ คัญ 2 แหล่ง ได้แก่ หนี้สนิ และเงินทุน สร้างรายได้ สร้างกระแสเงินสด และสามารถจ่ายชําระคืนเมือ่
จากเจ้าของ การทีเ่ จ้าของใส่เงินลงทุนเข้ามาในกิจการในสัดส่วนทีส่ งู ย่อมแสดง ครบกําหนด
ถึงความมันใจในศั
่ กยภาพของกิจการ และสร้างความมันคงให้
่ กบั กิจการ ในลักษณะทีธ่ รุ กิจสามารถดําเนินงาน และสร้างรายได้อย่าง
ผูเ้ กีย่ วข้องทีไ่ ด้ใช้ประโยชน์จากอัตราส่วนทางการเงินกลุม่ นี้ ได้แก่เจ้า หนี้ ผใู้ ห้
ต่อเนื่อง ความเสีย่ งกับการไม่สามารถชําระคืนเงินต้น จะมีไม่
มากนัก
เงิ น กู้ เช่นธนาคารพาณิชย์ เป็ นต้น โดยจะให้ความสนใจใน 2 ประเด็นหลัก
แต่ในยามทีธ่ ุรกิจมีปัญหา จนอาจถึงขัน้ ล้มละลาย ปั ญหาธุรกิจ
ได้แก่:
ไม่สามารถชําระคืนเงินต้น จะเป็ นเรือ่ งใหญ่ทเ่ี ผชิญกันอยู่ การ
1. ความสามารถในการจ่ายชําระคืนเงินต้น ชําระคืนเงินต้นจะมาจากการขายสินทรัพย์ทม่ี อี ยู่ แล้วนํามา
2. ความสามารถในการจ่ายชําระดอกเบีย้ แบ่งคืนให้กบั เจ้าหนี้ทงั ้ หลาย ตามสัดส่วน และเงือ่ นไขทีก่ าํ หนด

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 71 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 72


อัตราส่วนความสามารถในการชําระคืนเงินต้น 1 อัตราส่วนความสามารถในการชําระคืนเงินต้น 2

อัตราส่วนหนี้สนิ รวม = หนี้สนิ รวม อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุน = หนี้สนิ รวม


(Total Debt Ratio) สินทรัพย์รวม (Debt to Equity Ratio) ส่วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของ

สัดส่วนหนี้สนิ เทียบกับเงินทุนจากเจ้าของมีคา่ ระหว่าง 0 (เมือ่ ไม่ม ี


สัดส่วนของหนี้สนิ ต่อเงินลงทุนทัง้ หมดในสินทรัพย์ เริม่ จากค่า 0 การกูเ้ งินเลย) ค่านี้จะเพิม่ ขึน้ เมือ่ กูม้ ากขึน้ จนกระทังมี
่ คา่ สูงสุด
ถ้าไม่กเู้ งินเลย เมือ่ มีการกูเ้ งินมากขึน้ ค่านี้จะสูงขึน้ และจะมีคา่ เท่ากับ ∞ เมือ่ มีการกูเ้ งินมาใช้ทงั ้ หมดหรือไม่ใช้เงินทุนจากเจ้า
สูงสุดเท่ากับ 1 เมือ่ กูเ้ งินมาใช้ในการลงทุนทัง้ หมด ของเลย
ค่า นี้ ยิ่ งสูง ความเสี่ย งจากการที่จ ะไม่ได้ร บั คืน เงิ น ต้น จะยิ่ งสูงขึน้ สัด ส่ว นยิ่ งมีค ่า มาก ความเสี่ย งจะยิ่ งมากขึน้ ด้ว ย

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 73 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 74

อัตราส่วนความสามารถในการชําระคืนเงินต้น 3 ตารางแสดงค่า 3 อัตราส่วนหลัก ทีโ่ ครงสร้างทางการเงินต่างๆ

อัตราส่วนสินทรัพย์รวมต่อส่วนของเจ้าของ = สินทรัพย์รวม หนี้ สิ น 0 20 40 50 70 90 100


ส่วนของเจ้าของ 100 80 60 50 30 10 0
(Equity Multiplier) ส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์รวม 100 100 100 100 100 100 100
Total Debt Ratio 1 0 0.20 0.40 0.50 0.70 0.90 1.00
ถ้าแหล่งเงินทุนทัง้ หมดได้มาจากเจ้าของ (100% Equity Financing)
Debt/Equity Ratio 2 0 0.25 0.67 1.00 2.33 9.00 ∞
อัตราส่วนนี้จะ = 1 แต่ถา้ มีการกูเ้ งินมาใช้เพิม่ ขึน้ เงินทุนจากเจ้าของก็
จะใช้น้อยลง อัตราส่วนนี้จะมีคา่ เพิม่ สูงขึน้ และจะมีคา่ สูงสุด = ∞ เมือ่ Equity Multiplier 3 1.00 1.25 1.67 2.00 3.33 10.00 ∞
มีการใช้แหล่งเงินจากการกูย้ มื ทัง้ หมด (100% Debt Financing)
อัต ราส่ว นนี้ ยิ่ งมีค ่า สูง แสดงถึงความเสี่ย งที่ส งู ที่จ ะไม่ได้ร บั ชํา ระคืน 100% Equity 100% Debt
เงิ น ต้น อัตราส่วนนี้ใช้สาํ หรับ DuPont Analysis Financing Financing
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 75 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 76
ทบทวนการวิ เคราะห์ด ปู องท์ (DuPont Analysis): ROA
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการจ่ายชําระดอกเบีย้
เป็ นการใช้อตั ราส่วนทางการเงินหลายตัวประกอบกัน เพือ่ การวิเคราะห์ปัญหา
Time Interest Earned = กําไรจากการดําเนินงาน
โดยปกติได้วา่ ROA = กําไรสุทธิ
หรือ ดอกเบีย้ จ่าย สิ น ทรัพย์ร วม
(Interest Coverage) DuPont: ROA = กําไรสุทธิ * ยอดขาย
ยอดขาย สิ น ทรัพย์ร วม
= อัต รากําไรสุทธิ * อัต ราการหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม
เจ้าหนี้คาดหวังว่า เมือ่ ให้เงินกูแ้ ก่ธุรกิจ ธุรกิจควรนําไปสร้าง
อัต ราส่ว นทางการเงิ น ที่ใ ช้ใ นการอธิ บ ายค่า ROA ได้แ ก่
รายได้ มีผลกําไรจากการดําเนินงาน และสามารถนํามาชําระ
ดอกเบีย้ เงินกูไ้ ด้ อัตราส่วนนี้จงึ แสดงถึงความสามารถในการ 1. อัต รากําไรสุทธิ (NPM)
สร้างกําไรจากการดําเนินงาน ว่าเป็ นกีเ่ ท่าของภาระดอกเบีย้ 2. อัต ราการหมุน เวีย นของสิ น ทรัพย์ร วม (TATO)
จ่ายทีม่ อี ยู่ ค่า ยิ่ งสูง เจ้า หนี้ ยิ่ งชอบ
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 77 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 78

ทบทวนการวิ เคราะห์ด ปู องท์ (DuPont Analysis): ROE


โดยสรุป DuPont Analysis ช่วยให้การวิเคราะห์เป็ นไปสมบูรณ์ โดย
โดยปกติ ROE = กํา ไรสุทธิ ครอบคลุมทุกกิจกรรมสําคัญของธุรกิจดังนี้:
ส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น
อัตราส่วนทาง ใช้วดั กิจกรรมทีส่ าํ คัญของธุรกิจดังนี้:
DuPont: ROE = กํา ไรสุทธิ * ยอดขาย * สิ น ทรัพย์ร วม การเงิน
ยอดขาย สิ น ทรัพย์ร วม ส่ว นของเจ้า ของ
กําไรสุทธิ วัดความสามารถในการดําเนินงาน
อัตราส่วนทางการเงินทีใ่ ช้ในการอธิบายค่า ROE ได้แก่ ยอดขาย Operating Efficiency
1. อัตรากําไรสุทธิ (NPM) ยอดขาย วัดความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ลงทุน
2. อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (TATO) สินทรัพย์รวม Investment Efficiency หรือ Assets Utilization
3. ตัวทวีคณ
ู ส่วนของเจ้าของ (EM) สินทรัพย์รวม วัดความสามารถในการจัดหาแหล่งเงินทุน: เงินกูห้ รือเงินทุน
ส่วนของเจ้าของ Financing Efficiency หรือ Financial Leverage
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 79 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 80
การวิเคราะห์ทางการเงินโดยใช้ DuPont Analysis
ตัวอย่าง อุตสาหกรรมต่างประเภทกัน ค่า ROE อาจไม่ต่างกันมาก แต่
ส่วนประกอบทีม่ ผี ลต่อROE จะต่างกันขึน้ อยูก่ บั ลักษณะธุรกิจนัน้ ๆ เช่น: อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ROE) นับเป็ นจุดเริม่ ต้น
และเป็ นจุดศูนย์กลางของการวิเคราะห์ทางการเงิน เนื่องจากค่า
ประเภทของ Net Profit Assets Equity ROE โดยวิธกี ารของ DuPont ได้แยกส่วนประกอบสําคัญของ
อุตสาหกรรม Margin Turnover Multiplier ROE ออกมาเป็ น 3 ส่วน ซึง่ สอดคล้อง และสะท้อนให้เห็น
High Turnover ตํ่า สูง ปานกลาง กิจกรรมหลัก 3 อย่างของธุรกิจ
เช่นธุรกิจค้าปลีก
อาศัยการวิเคราะห์น้ีเปรียบเทียบกับค่าเฉลีย่ อุตสาหกรรม จะทํา
High Margin สูง ตํ่า ปานกลาง ให้เห็นได้ชดั เจน ว่าปั ญหาเกิดขึน้ ทีก่ จิ กรรมใดของธุรกิจ และจะ
เช่น ธุรกิจJewelry ได้ดาํ เนินการแก้ปัญหาให้ตรงจุดต่อไป
High Leverage ปานกลาง ตํ่า สูง ตัวอย่างในหน้าต่อไป แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์ของ DuPont
เช่นสถาบันการเงิน
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 81 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 82

ตัวอย่างการวิเคราะห์ของ DuPont ตัวอย่างการวิเคราะห์ของ DuPont


กรณี A มีคา่ ROE ทีต่ ่าํ กว่าค่าเฉลีย่ ฯมาก จากการวิเคราะห์
ROE Net Profit TA Equity
พบว่าเกิดปั ญหาขึน้ ทุกด้านใน 3 กิจกรรมหลัก ด้านการ
Margin Turnover Multiplier ดําเนินงาน มีอตั รากําไรสุทธิต่าํ กว่า ด้านการลงทุน อัตราการ
ค่าเฉลีย่ 15% 3% 2 2.5 หมุนเวียนของเงินลงทุนเพือ่ การสร้างรายได้มคี า่ ตํ่ากว่า และด้าน
อุตสาหกรรม การจัดหาเงินทุน A มีหนี้สนิ สูงกว่าค่าเฉลีย่ ฯ
A 10% 2% 1.5 3.33 กรณี B ค่า ROE ทีต่ ่าํ กว่าค่าเฉลีย่ เกิดขึน้ เพราะสาเหตุใหญ่คอื
การไม่ได้ใ ช้แ หล่งเงิ น กู้เลย ทําให้เสียโอกาสการได้ใช้แหล่งเงิน
B 12% 3% 4 1.0 ทีม่ ตี น้ ทุนทางการเงินทีต่ ่าํ กว่า และไม่ได้ร บั ประโยชน์ ทางภาษี
C 15% 3% 1 5.0 จากดอกเบีย้ จ่าย หาก B กูเ้ งินใช้บา้ ง โดยกูเ้ พียง 20%ของเงิน
ลงทุนทัง้ หมด (Equity Multiplier = 100/80 = 1.25) ก็จะมีผลทํา
D 18% 3.6% 2 2.5 ให้ ROE เพิม่ ขึน้ เป็ น 15% ทันที
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 83 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 84
ตัวอย่างการวิเคราะห์ของ DuPont อัตราส่วนการประเมินค่า (Market Value Ratios)
กรณี C แม้วา่ ROE จะมีคา่ เท่ากับค่าเฉลีย่ ฯ = 15% ก็ตาม เมือ่
วิเคราะห์แล้วพบว่า มีปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ใน 2 ด้านใหญ่คอื ด้านการลงทุนที่ เป็ นอัตราส่วนทีแ่ สดงถึงการประเมินค่ากิจการ โดยผู้
ไม่ได้ส ร้า งรายได้เท่า ที่ค วรเป็ น และมีก ารกู้ยืม มากกว่า ที่ค วรจะเป็ น ลงทุน ภายนอก อัตราส่วนนี้เป็ นเสมือนภาพสะท้อน จาก
ด้วย ทําให้มคี า่ ใช้จา่ ยดอกเบีย้ และเกิดความเสีย่ งทางการเงินเพิม่ ขึน้ มาก บุคคลภายนอกว่า มองกิจการอย่างไร หากมองกิจการ
กรณี D มีคา่ ROE ทีส่ งู กว่าค่าเฉลีย่ ฯ ซึง่ เกิดจากการมีอตั รากําไรสุทธิท่ี ในทางดี คือ มีอนาคต มีศกั ยภาพในการสร้างรายได้ มี
สูงกว่า กรณีน้ีในระยะสัน้ ถือเป็ นการดําเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพอย่าง การ บริหารงานโดยมืออาชีพ มีความโปร่งใสในด้าน
มาก แต่ในระยะยาวควรมีการติดตามว่า การทีม่ อี ตั รากําไรสุทธิทส่ี งู กว่า ข้อมูล การประเมินค่าจะสะท้อนให้เห็นในราคาตลาดของ
เกิดขึน้ เพราะเหตุใด ไม่ควรเป็ นการขายสินค้าแพงเกินคุณภาพทีใ่ ห้ หรือ หุน้ สามัญของกิจการนันเอง

การเอาเปรียบพนักงานโดยกดค่าแรง หรือสาเหตุอ่นื ๆทีท่ าํ ให้เกิดความไม่
เป็ นธรรม หาไม่แล้วธุรกิจจะไม่สามารถอยูไ่ ด้อย่างยังยื ่ น เป็ นต้น

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 85 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 86

อัตราส่วนการประเมินค่า: 1 อัตราส่วนการประเมินค่า: 2
อัตราส่วน P/E = ราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ E/P Ratio = กําไรสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ x 100 %
(Price /Earning Ratio) กําไรสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ (Earning yield) ราคาตลาดหุน้ ของหุน้ สามัญ

แสดงให้เห็นว่าผูล้ งทุน เต็มใจทีจ่ ะจ่ายซือ้ หุน้ สามัญเป็ นกีเ่ ท่าของกําไร อัตราส่วน E/P เป็ นส่ว นกล บั ของอัตราส่วน P/E แสดงถึงอัตราผล
สุทธิต่อหุน้ (EPS) ทีธ่ รุ กิจทําได้ ธุร กิ จ ที่ม ีก ารเติ บ โตสูงและมีศ กั ยภาพ ตอบแทนจากการลงทุนซือ้ หุน้ สามัญ ในราคาตลาดนัน้ เรียกว่า
ที่ด ี ค่า P/E จะสูง ในขณะทีธ่ ุรกิจทีม่ คี วามเสีย่ งมากกว่า จะมีคา่ P/E Earning Yield
ทีต่ ่าํ กว่า หุน้ สามัญทีซ่ อ้ื ขายด้วยค่า P/E สูง จะได้วา่ มีอตั ราผลตอบแทนจากการ
ถ้ากําไรสุทธิต่อหุน้ = 8 บาท ผูล้ งทุนเต็มใจซือ้ หุน้ ในราคาตลาดหุน้ ละ ลงทุนทีต่ ่าํ ตัวอย่างเช่น ถ้า P/E = 5 เท่า จะได้ Earning Yield = 20%
120 บาท จะได้คา่ P/E = 120 = 15 เท่า แต่ถา้ P/E = 12 เท่า จะได้ Earning Yield = 8.33% เท่านัน้
8
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 87 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 88
อัตราส่วนการประเมินค่า: 3 อัตราส่วนการประเมินค่า: 4
อัตราส่วน M/B = ราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ
Dividend Yield = เงินปั นผลทีค่ าดว่าจะได้รบั x 100 %
(Market / Book Ratio) ราคาตามบัญชีต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ
ราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญ
อัตราส่วนนี้แสดงให้เห็นถึงการประเมินราคาตลาดของหุน้ สามัญ
เมือ่ เทียบกับราคาตามบัญชี โดยราคาตามบัญชีได้มาจากมูลค่า อัตราผลตอบแทนจากเงินปั นผล (Dividend Yield) เป็ นส่วนหนึ่ง
ของ Equity ทีบ่ นั ทึกสะสมมาตัง้ แต่เริม่ กิจการ เพิม่ พูนด้วยผลกํา ของผลตอบแทนทีผ่ ลู้ งทุนในหุน้ สามัญคาดหวัง จากการลงทุน
ไรทีท่ าํ ได้ และนํามาลงทุนต่อจนถึงปั จจุบนั เช่น ถ้าเงินปั นผลต่อหุน้ ทีค่ าดว่าจะได้รบั เท่ากับ 6 บาทต่อหุน้
M/B ทีม่ คี า่ สูง แสดงว่าผูล้ งทุน ได้มองเห็นศักยภาพ และอนาคต และผูล้ งทุนเต็มใจลงทุนในราคาตลาดหุน้ ละ 150 บาท แสดงว่า
ของกิจการ นอกเหนือจากการยอมรับในคุณภาพของสินทรัพย์ ผูล้ งทุนคาดหวัง Dividend Yield = 6 *100 = 4%
และการบริหารงานในปั จจุบนั ทีเ่ ห็นได้จากงบการเงิน 150
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 89 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 90

ข้อจํากัดในการวิเคราะห์งบการเงินเพือ่ การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอ้างอิง

กิจการทีน่ ํามาเปรียบเทียบกัน ควรเป็ นธุร กิ จ ประเภทเดีย วกัน การเปรียบเทียบกับข้อมูลของตัวเองต่า งเวลากัน (Trend Analysis)
อัต ราเงิ น เฟ้ อ อาจทําให้ผลของการวิเคราะห์บดิ เบือน ทําให้เห็นแนวโน้มว่า “ดีขน้ึ ” หรือ “แย่ลง”
ธุรกิจทีเ่ ป็ นไปตามฤดูก าล ควรใช้คา่ เฉลีย่ ไม่ใช่คา่ ณ เวลาใด ตัวอย่าง : บริษทั เพียงฟ้ า จํากัด
เวลาหนึ่ง
ให้พจิ ารณานโยบายการบัญ ชีที่ต่างกันของแต่ละกิจการก่อน 2554 2553 2552 2551 2550
เปรียบเทียบกัน
อัตรากําไรสุทธิ 6.3% 6.5% 7.2% 7.6% 8%
ควรระวังการ " ตกแต่งบัญชี “ อาจทําให้การตีความหมาย
ผิดพลาดได้
กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 91 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 92
การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอ้างอิง การเปรียบเทียบกับอัตราส่วนอ้างอิง
การเปรียบเทียบกับข้อ มูล ค่า เฉลี่ย อุต สาหกรรมประเภท  การเปรียบเทียบกับเป้ า หมายทีเ่ หมาะสม (Target)
เดีย วกัน (Industry Average) ทําให้รวู้ า่ “ดีจริง” หรือ “แย่จริง” โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีทไ่ี ม่มคี แู่ ข่งชัดเจน เช่น
รัฐวิสาหกิจ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์หลักในการให้บริการ
สาธารณูปโภค เป็ นต้น อาจใช้วธิ กี ารกําหนดเป้ าหมายที่
ตัวอย่าง อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วมีอตั รากําไรสุทธิเฉลีย่ = 10% เป็ นไปได้ในการประเมินผลงาน
ถ้าบริษทั เพียงฟ้ า จํากัด เป็ นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจท่องเทีย่ ว  การเปรียบเทียบกับกลุม่ บริษทั ทีเ่ ป็ นผูน้ ํา ใน
เช่นกัน มีอตั รากําไรสุทธิลดลงทุกปี จนเป็ น 6.3% ในปี ปัจจุบนั เป็ น อุต สาหกรรม (Benchmarking) เช่นกลุม่ ธนาคารขนาด
ใหญ่ ซึง่ มีทรัพยากรคล้ายคลึงกัน มักต้องการ
ดังนี้ จะพบว่ามีปัญหาพบเกิดขึน้ กับ บริษทั เพียงฟ้ า จํากัด เปรียบเทียบในกลุม่ เพือ่ ให้ได้การวิเคราะห์ทด่ี ยี งิ่ ขึน้
แน่นอนในเรือ่ งของการควบคุมค่าใช้จา่ ย

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 93 กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 94

สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning Signal)

สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าด้านการเงิน สามารถใช้
เครือ่ งมือในการวิเคราะห์ทางการเงิน โดยอาศัยงบการเงิน
พืน้ ฐานได้แก่
 งบแสดงฐานะการเงิน
 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าด้านการจัดการและผูบ้ ริหาร
สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าด้านการดําเนินงาน

กง.201 การเงินธุรกิจ 1/2561 95

You might also like