You are on page 1of 44

“การวิเคราะห์งบการเงิน”

1. บทนํา

ถ้าผูบ้ ริหารของบริษัทต้องการจะทําให้มูลค่าส่วนของผูถ้ ือหุ้นของกิจการมีมูลค่าสูงสุด สิง" ทีผ" ู้บริหารต้องทํา


ก็คอื ค้นหาว่าจุดแข็งและจุดอ่อนของบริษัทอยู่ท"ใี ดบ้าง และหาทางดําเนินการนํ าจุดแข็งและจุดอ่อนมาใช้ประโยชน์ และ
แก้ไขจุดอ่อน งบการเงินของบริษทั เป็ นข้อมูลหนึ"งทีผ" ูบ้ ริหารมีอยู่ในมือซึง" สามารถนํามาใช้ตรวจสอบสุขภาพทางการเงิน
ของกิจการ (Companies Financial Health) ได้ นอกจากใช้ตรวจสอบระดับความเข้มแข็งทางการเงินภายในบริษทั แล้ว
ยัง สามารถใช้เ ปรียบเทีย บฐานะการเงิน และผลการดํา เนิ น งานกับ บริษัท อื"นๆ ในอุ ตสาหกรรมเดียวกันด้ว ย การ
ตรวจสอบด้วยการวิเคราะห์งบการเงินจะช่วยให้ผบู้ ริหารค้นหาจุดอ่อน และจุดแข็งจากผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ
ได้และนํ าไปหากลยุทธ์ทจ"ี ะใช้ประโยชน์และปรับปรุงการดําเนินงานต่อไปได้ ในบทนีEเราจะได้เรียนรู้ว่าผู้บริหารและ
นักลงทุนจะเรียนรู้วธิ วี เิ คราะห์และประเมินฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของกิจการจากงบการเงินได้อย่างไร
ทังE นีEได้กาํ หนดรายละเอียดของวัตถุประสงค์ของการศึกษาในบทนีEไว้ดงั นีE

• ศึกษากระบวนการทางบัญชีในกิจการ เพื"อเชื"อมโยงให้เห็นภาพว่างบการเงินถูกสร้างขึนE มาได้อย่างไร


• ศึกษาลักษณะของงบดุล และงบกําไรขาดทุน ซึง" เป็ นองค์ประกอบหลักของงบการเงิน โดยจะได้อธิบาย
ให้เห็นด้วยว่ารายการทีส" าํ คัญในงบการเงินทังE 2 ประเภทมีอะไรบ้าง
• ศึกษาถึงขันE ตอนและเครื"องมือต่างๆ ทีใ" ช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน เช่น การย่อส่วนตามแนวดิง" การ
วิเคราะห์แนวโน้ม การวิเคราะห์งบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน และการวิเคราะห์อตั ราส่วนทาง
การเงิน

2. กระบวนการทางบัญชีในกิ จการ

ในแต่ละวันจะมีกจิ กรรมทางเศรษฐกิจเกิดขึนE มากมายในกิจการ เช่น ขายสินค้าเป็ นเงินสดและเงินเชื"อ สังซื


" อE
วัตถุดิบเข้ามาใช้ในการผลิตโดยรับเครดิตจากเจ้าหนีEการค้า 30 วัน จ่ายค่าแรงคนงานเป็ นเงินสด ซืEอคอมพิวเตอร์
เข้ามาใช้ในสํานักงาน กู้เงินระยะยาวจากธนาคารมาใช้สร้างโรงงานใหม่ หรือ เพิม" ทุนอีก 30 ล้านบาทเพื"อขยายกิจการ
เป็ นต้น กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ เหล่านีEจะเกี"ยวข้องกับการได้มาและใช้ไปของเงินทุนและทรัพยากรอื"นๆ ของ
กิจการ ระบบบัญชีเป็ นวิธกี ารนําเอารายการของกิจกรรมเหล่านีEมาบันทึกให้เป็ นระบบ หมวดหมู่ และออกรายงานสรุป
เพื"อจะช่วยวัดหรือประเมินฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการได้

รายการบัญชีของกิจกรรมต่างๆ ทีเ" กิดขึนE ในธุรกิจ เราสามารถแบ่งออกได้เป็ น 5 หมวดใหญ่ๆ คือ


• หมวดรายได้
• หมวดค่าใช้จ่าย
• หมวดสินทรัพย์
• หมวดหนีEสนิ
• หมวดทุน

1
การบันทึกรายการทางบัญชีแต่ละรายการจะถูกบันทึกรายการในลักษณะระบบบัญชีคู่ (Double entry system)
ซึง" เป็ นวิธสี ากลทีน" ิยมมากทีส" ุดในปจั จุบนั ในวิธนี Eีเวลาบันทึกรายการบัญชีจะมีการบันทึก 2 ด้านเป็ นคู่ทุกครังE โดยแต่
ละด้านจะทําให้เกิดการเปลีย" นแปลงบัญชี 1 ใน 5 หมวดตามทีร" ะบุขา้ งต้น ตัวอย่างเช่น ถ้ากิจการซือE รถบรรทุกเข้ามา
ใช้ในกิจการด้วยเงินสด ด้านหนึ"งจะต้องบันทึกว่า กิจการมีรถยนต์เข้ามา (หมวดสินทรัพย์จะมียอดเงินเพิม" ขึนE ) ส่วนอีก
ด้านหนึ"งจะต้องบันทึกว่า เสียเงินสดไป (หมวดสินทรัพย์จะมียอดเงินลดลง) หรืออีกตัวอย่างเช่น ขายสินค้าให้กบั นาย
ก. เป็ นเงิน 10,000 บาท โดยให้เครดิตกับนาย ก. 30 วัน ก็จะต้องบันทึกในด้านหนึ"งว่า มีรายได้เกิดขึนE กับกิจการ
10,000 บาท (หมวดรายได้จะมียอดเงินเพิม" ขึนE ) ส่วนอีกด้านหนึ"งจะต้องบันทึกว่า เกิดลูกหนีEการค้า (นาย ก.) ขึนE
10,000 บาท (หมวดสินทรัพย์จะมียอดเงินเพิม" ขึนE ) ดังนีEเป็ นต้น

รายการทางบัญชีต่างๆ เหล่านีEจะถูกนําไปบันทึกโดยผ่านขันE ตอนต่างๆ ซึง" อธิบายได้ดงั รูปที" 4.1

รูปที 1
กระบวนการทางบัญชีของกิ จการ

งบกระแสเงินสด
งบกําไรขาดทุน
งบดุล
บันทึกใน
ระบบบัญชีคู่
รายการทางบัญชี
ทีเกิดขึน

สมุดแยกประเภท
สมุดรายวัน

จากรูปที" 1 เมื"อเกิดรายการทางบัญชีขนEึ รายการเหล่านีEจะถูกบันทึกเก็บเอาไว้ในระบบบัญชีคู่ ซึ"งการบันทึก


ในขันE แรกจะเก็บไว้ในสมุดบัญชีทเ"ี รียกว่า สมุดรายวัน (Journal) ในช่วงระยะเวลาทีก" ําหนด (อาจเป็ น 1 วัน 1 เดือน หรือ
1 ปี ) รายการในสมุดรายวันจะถูกรวบรวมหายอดสุทธิในแต่ละหมวดบัญชี และนํามาบันทึกในสมุดแยกประเภท (Ledger)
หลังจากนันE จะทําการจัดแยกหมวดหมู่อกี ครังE เพื"อจัดทํารายงานทีเ" รียกว่างบการเงิน ทีม" รี ูปแบบมาตรฐานทีใ" ช้กนั ทัวไป
"
ทางบัญชีและตามที"กฎหมายกําหนด เช่น รายการในหมวดรายได้และค่าใช้จ่ายก็จะถูกนํ ามาจัดทําเป็ นงบกําไรขาดทุน
รายการในหมวดสินทรัพย์ หนีEสนิ และทุ นจะถูกนํ ามาจัดทํางบดุลขึEน ส่วนงบกําไรสะสมและงบกระแสเงินสดเป็ นงบ
ทีต" ่อเนื"องหลังจากเกิดงบกําไรขาดทุนและงบดุลแล้ว

2
การบันทึกบัญชีตามกระบวนการดังกล่าวข้างต้นสามารถทําด้วยมือ หรือใช้บนั ทึกด้วยคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ ปจั จุบนั
มีโปรแกรมการบันทึกบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์แบบสําเร็วรูปจําหน่ ายอยู่มากมาย ซึ"งช่วยลดเวลาการทํางานลงไปได้มาก
อย่ างไรก็ตามมีข้อแนะนํ าว่ าผู้ประกอบการที"จะใช้ก็ต้องไปเรียนรู้ก่ อนว่ า โปรแกรมเหล่านีE มีการทํางานอย่างไรบ้าง
ถ้าเรียนรูก้ ารทําบัญชีเบือE งต้นด้วยมือก่อนก็จะเป็ นการดี เพราะถ้าเข้าใจหลักการแล้วก็จะง่ายขึนE ทีจ" ะเรียนรูโ้ ปรแกรมการ
บันทึกบัญชีดว้ ยคอมพิวเตอร์เหล่านีE และหาทางใช้ประโยชน์ในการบริหารด้านอื"นได้อย่างเต็มทีน" อกเหนือจากการออกงบ
การเงินเท่านันE เช่น การดูยอดลูกหนีE สินค้าคงเหลือ เพื"อติดตามหนีEหรือบริหารให้มขี นาดทีเ" หมาะสมของสินค้าคงเหลือ
เป็ นต้น

3. รูจ้ กั งบการเงิ น

งบการเงินเป็ นรายการทางบัญชีของกิจการ ซึง" ต้องจัดทําขึนE อย่างน้อยปี ละ 2 ครังE โดยมีวตั ถุประสงค์เพื"อทบทวน


หรือรายงานความก้าวหน้าทีเ" กิดขึนE ระหว่างช่วงเวลาหนึ"ง รายงานนีEจะแสดงเกีย" วกับฐานะการลงทุน การจัดหาเงินทุนของ
กิจการนันE และผลการดําเนินงานในช่วงนันE งบการเงินยังแยกออกไปได้หลายประเภท ตามแต่ผูเ้ กีย" วข้องจะสนใจดูตวั เลข
ทางบัญชีในด้านใด แต่งบการเงินทีท" ่านควรรูจ้ กั ในเบือE งต้นอย่างน้อยมี 2 งบคือ งบดุล และงบกําไรขาดทุน

3.1 งบดุล (The Balance Sheet)

งบดุลเป็ นงบแสดงฐานะทางการเงินของธุรกิจ ณ เวลาใดเวลาหนึ"ง ปกติแล้วมักเป็ นวันสินE งวดบัญชีของธุรกิจนันE


ฐานะทางการเงินในทีน" Eีแสดงไว้ดว้ ยมูลค่าของสินทรัพย์ หนีEสนิ และทุนของกิจการ ถ้าวิเคราะห์ลกึ ลงไป เราอาจกล่าวได้ว่า
งบดุลอาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนทีเ" ป็ นทรัพยากรทีบ" ริษทั ได้จดั หามาระหว่างดําเนินกิจการ (ซึง" หมายถึงสินทรัพย์
ต่างๆ) อีกส่วนหนึ"งแสดงถึงแหล่งของเงินทุนทีใ" ช้จดั หาทรัพยากรนันE (หมายถึงการกูย้ มื หรือหนีEสนิ และส่วนทีล" งทุนเองหรือ
จากกําไร)

ดังนันE ขณะใดขณะหนึ"งถ้าตรวจสอบว่ ากิจการมีทรัพยากรอยู่เท่าใด และใช้เงินทุนจากแหล่งใดในการจัดหา


ทรัพยากรเหล่านีEอาจแสดงได้โดยแจงรายละเอียดต่างๆ ลงในตารางข้างล่างนีE

สิ นทรัพย์ หนี5 สินและทุน

โดยหลักการแล้ว ทรัพยากรหรือสินทรัพย์ทบ"ี ริษทั ได้มาจะต้องมีทม"ี าทีไ" ปว่าได้มาโดยเอาเงินมาจากไหน หรือถ้า


ขายสินทรัพย์ไป เงินเหล่านันE จะไปอยู่ท"ไี หน เมื"อเป็ นเช่นนีEผลรวมของสินทรัพย์จะต้องเท่ากับผลรวมของหนีEสนิ และทุน
เสมอ การเท่ากันนีE ภาษาทางบัญชีเรียกว่าเป็ นการได้ดุลพอดี งบการเงินนีEจงึ ถูกเรียกว่า “งบดุล”

เพื"อให้เห็นภาพของรายการทางบัญชีท"สี ําคัญในงบดุล ลองมาดูตวั อย่างโครงสร้างของงบดุลของบริษทั Green


Hut ซึง" เป็ นธุรกิจค้าส่งสินค้า Gift Shop ตามตารางที" 1 ต่อไปนีE

3
ตารางที 1
งบดุลของบริษทั Green Hut

Green Hut Co., Ltd


งบดุล
สินE สุด ณ วันที" 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

สิ นทรัพย์ หน่ วย : บาท

สิ นทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด 200,000
ลูกหนีEการค้า 375,000
หัก สํารองหนีEสญ ู 25,000 350,000
สินค้าคงเหลือ 150,000
ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 35,000
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 735,000

สิ นทรัพย์ถาวร
ทีด" นิ 330,000
อาคาร 315,000
หัก ค่าเสือ" มราคาสะสมของอาคาร 80,000 235,000
อุปกรณ์ 410,000
หัก ค่าเสือ" มราคาสะสมอุปกรณ์ 60,000 350,000
สินทรัพย์ถาวรสุทธิ 915,000
สิ นทรัพย์รวม 1,650,000

4
ตารางที 1 (ต่อ)
งบดุลของบริษทั Green Hut

หนี5 สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

หนี5 สินหมุนเวียน
เจ้าหนีEการค้า 150,000
ตั aวเงินจ่ายค้างจ่าย 25,000
ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 75,000
หนีEระยะยาวทีค" รบกําหนดชําระใน 1 ปี 50,000
รวมหนีEสนิ หมุนเวียน 300,000

หนี5 สินระยะยาว
เงินกูร้ ะยะยาวจากธนาคาร 200,000
รวมหนีEสนิ ระยะยาว 200,000
หนี5 สินรวม 500,000

ส่วนของผูถ้ อื หุ้น
ทุนจดทะเบียน (หุน้ สามัญ 40,000 หุน้ ราคา Par หุน้ ละ 10 บาท) 400,000
กําไรสะสม 750,000
รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น 1,150,000

รวมหนี5 สินและส่วนของผูถ้ อื หุ้น 1,650,000

รายการบัญชีทส"ี าํ คัญในงบดุลซึง" แสดงไว้ในตารางที" 1 สามารถสรุปและอธิบายเพิม" เติมได้ดงั นีE

สิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets)

สินทรัพย์หมุนเวียนประกอบไปด้วยเงินสดและสินทรัพย์อ"นื ๆ ทีส" ามารถเปลีย" นเป็ นเงินสดได้ไม่ยากนัก และถูก


นํ ามาหมุนเวียนจัดหาและใช้อยู่ในกิจการในรอบการดําเนินงานปกติของธุรกิจ ซึ"งไม่เกิน 1 ปี รายการบัญชีท"สี ําคัญใน
สินทรัพย์หมุนเวียนทีค" วรอธิบายเพิม" เติม ได้แก่

• เงิ นสด (Cash) รายการนีEอาจเขียนเต็มๆ ได้ว่า เงินสดในมือและเงินสดในธนาคาร ซึง" หมายถึง เงินสดทีม" ี


อยู่ในกิจการในขณะนันE ประกอบไปด้วย เงินเหรียญ ธนบัตร และรวมไปถึงเงินฝากธนาคารประเภทต่างๆ
ซึง" สามารถเปลีย" นเป็ นเงินสดทันทีทต"ี อ้ งการ เช่น บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน และบัญชีเงินฝากออมทรัพย์
เป็ นต้น

5
• ลูกหนี5 การค้า (Accounts Receivable) เมื"อบริษทั ขายสินค้าแบบเงินเชื"อให้กบั ลูกค้า บริษทั จะยังไม่ได้รบั
ชําระค่าสินค้าในทันที ต้องบันทึกบัญชีว่าลูกค้ายังค้างชําระเงินเอาไว้ ซึ"งถือว่าเป็ นสินทรัพย์ของกิจการ
เพราะเป็ นสิทธิของบริษัทที"จะเรียกร้องเอาเงินตามมูลค่าสินค้านันE จากลูกค้า โดยปกติบริษัทมักจะมีการ
กําหนดเวลาในการให้ลูกค้าชําระหนีE เช่น ภายใน 30 วันหลังจากซือE สินค้า ซึ"งเรียกว่า ระยะเวลาในการให้
สินเชื"อ (Credit Term) ถ้าเลยกําหนดเวลานีE จะถือว่าลูกค้าชําระเงินล่าช้า ยิง" ลูกค้าชําระเงินช้าเลยเวลาที"
กําหนดไปนานเท่าใด บริษัทก็จะมีค่าเสียโอกาสมากขึนE เพราะต้องลงทุนไปในสินค้าไว้ก่อน นอกจากนีEการ
ชําระหนีEล่าช้าของลูกหนีEการค้า อาจทําให้บริษทั ขาดกระแสเงินสดหมุนเวียนในการดําเนินงาน ต้องไปก่อหนีE
เพิม" เติมทําให้บริษทั มีภาระหนีEสนิ และความเสีย" งทางการเงินของบริษทั มีระดับทีส" งู ขึนE ได้

• สํารองหนี5 สูญ (Allowance for Uncollectible Accounts) ในบรรดาลูกค้าทังE หมดทีซ" อEื สินค้าไปแบบเงินเชื"อ
ไม่ใช่ทงั E 100% ที"จะชําระหนีEทงั E หมด ผู้ประกอบการอาจพบทังE ลูกค้าที"ดี ชําระหนีEตรงเวลา และลูกค้าไม่ดี
ชําระล่าช้าบ้าง หรือไม่ชําระเลยบ้าง ซึ"งสามารถแบ่งออกได้หลายเกรด ในวิธปี ฏิบตั ิทางบัญชีอนุ ญาตให้ตงั E
สํารองเอาไว้ล่วงหน้าว่าจะมีลกู ค้าจํานวนหนึ"งทีเ" ป็ นหนีEเสียไม่ชาํ ระหนีEจนมีโอกาสสูญไปได้ เช่น 3% ของยอด
ลูกหนีEการค้า คําถามเกิดขึนE ว่าเราควรกําหนดเปอร์เซ็นต์ทจ"ี ะตังE สํารองหนีEสญ ู เท่าใด วิธกี ารอาจดูจากข้อมูล
ในอดีต หรือปจั จุบนั ของลูกหนีEหารค้า โดยแยกอายุลกู หนีEการค้าออกมา เช่น

ระยะเวลานับจากวันทีลูกค้าซื5อสิ นค้า ยอดเงิ น (บาท)


1 - 30 วัน 325,000
31 - 60 วัน 25,000
61 - 90 วัน 20,000
91 - 120 วัน 5,000
121 - 180 วัน 7,500
มากกว่า 180 วัน 17,500

ถ้าเรากําหนดเครดิตเทอมให้ลูกค้าไว้ 30 วัน ลูกค้าทีม" อี ายุลูกหนีEอยู่ใน 1-30 วัน ก็ถอื ว่ายังไม่ครบกําหนด


ชําระเงิน แต่ถ้าเลยช่วงนีEถือว่าเริม" ชําระช้ากว่ากําหนดแล้ว ยิง" นานโอกาสจะเป็ นหนีEสญู ก็จะยิง" มาก เราอาจ
กําหนดว่าถ้าอายุลกู หนีEเกินกว่า 120 วัน เราจะถือว่ามีโอกาสมากทีจ" ะเป็ นหนีEสญ ู ในกรณีตวั อย่างนีE ยอดเงิน
ของลูกหนีEทเ"ี กินกําหนดชําระมากกว่า 120 วันเท่ากับ 25,000 บาท (7,500 + 17,500) เราอาจกําหนดยอดเงิน
นีEให้ตงั E เป็ นสํารองหนีEสูญก็ได้ ซึ"งคิดเป็ น 6.67% ของยอดหนีEทงั E หมด ถ้าตัวเลขเปอร์เซ็นต์นEีท"ผี ่านมาใน
หลายๆ ปี ใกล้เคียงกัน ก็อาจกําหนดให้เป็ นอัตราการตังE สํารองหนีEสญ ู ของบริษทั ก็ได้

• สิ นค้าคงเหลือ (Inventory) เป็ นสินค้าทีซ" อEื มาเพื"อขายให้กบั ลูกค้าและคงเหลืออยู่ ณ วันทีป" ิ ดบัญชีงบดุลนีE


ไม่ ไ ด้ห มายถึง สิน ค้าที"ซEือ มาตลอดทังE ปี เช่ น ยอดสิน ค้า คงเหลือ 150,000 บาท หมายถึงในวัน ที" 31
ธันวาคม 2544 (ตามตัวอย่างนีE) มีสต็อกสินค้าทีต" รวจนับแล้วมีมูลค่าเท่ากับ 150,000 บาท ยอดทีต" รวจ
นับนีEควรจะมียอดเท่ากับยอดตามบัญชีสนิ ค้าคงเหลือซึง" คํานวณได้จาก

6
สินค้าคงเหลือต้นงวด
ซือE สินค้าระหว่างงวด +
สินค้าทีม" ไี ว้เพื"อขาย
สินค้าทีข" ายได้
สินค้าคงเหลือปลายงวด

• ค่าใช้จ่ายล่วงหน้ า (Prepaid Expenses) เป็ นค่าใช้จ่ายทีก" จิ การจ่ายเงินไปก่อนทีค" ่าใช้จ่ายนันE จะเกิดขึนE


จริง ตัวอย่างเช่น กิจการต้องจ่ายค่าเบีEยประกันภัยรถยนต์ของกิจการ ซึ"งมักจะต้องจ่ายสําหรับบริการ
ประกันภัยไป 1 ปี ล่วงหน้า ในทางบัญชีตอ้ งนําค่าใช้จ่ายนีEมาตัดเป็ นค่าใช้จ่ายรายเดือนไปอีก 12 เดือน

สิ นทรัพย์ถาวร (Fixed Assets)

สินทรัพย์ถาวรประกอบไปด้วย ทีด" นิ อาคาร เครื"องจักรและอุปกรณ์ สินทรัพย์เหล่านีEโดยหลักการก็จะใช้ในการ


ดําเนินงานของกิจการเช่นเดียวกับสินทรัพย์หมุนเวียน แต่มอี ายุการใช้งานนานกว่า 1 ปี คําอธิบายโดยสังเขปของรายการ
ต่างๆ ของสินทรัพย์ถาวรมีดงั นีE

• ทีดิน (Land) ธุรกิจขนาดย่อมบางประเภทซือE ทีด" นิ เพื"อใช้ในกิจการ เช่น ไว้เป็ นทีต" งั E ของโรงงาน การลงทุนใน
ที"ดนิ ไม่ควรที"กจิ การจะซืEอไว้เก็งกําไร เพราะไม่ใช่ธุรกิจหลักของกิจการ และถือว่าเป็ นการลงทุนแบบผิด
ประเภท ทีด" นิ จะถูกบันทึกด้วยราคาต้นทุน และไม่ตอ้ งตัดค่าเสือ" มราคา

• อาคาร (Building) ประกอบไปด้วยมูลค่าก่อสร้างโรงงาน สํานักงานของกิจการ ซึ"งควรมีบญ ั ชีย่อยเพื"อแจง


รายละเอียด เนื"องจากสินทรัพย์รายการนีEสามารถเสื"อมสภาพได้ เมื"อเวลาผ่านไปจึงต้องตัดค่าเสื"อมราคา
ตามตัวอย่างแสดงไว้ในตารางที" 4.1 จะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายต้นทุนที"บนั ทึกเริม" แรกของอาคารคือ เท่ากับ
315,000 บาท และทีผ" ่านมาตัดค่าเสือ" มราคาซึง" สะสมไปแล้ว 80,000 บาท ทําให้มยี อดสุทธิคงเหลือ 235,000
บาท โดยปกติอาคารจะถูกตัดค่าเสือ" มในอัตรา 5% ต่อปี (แสดงว่าจะตัดค่าเสือ" มราคาในเวลา 20 ปี )

• อุปกรณ์ (Equipment) คือ เครื"องจักร และอุปกรณ์ต่างๆ ทังE ในโรงงานและสํานักงาน ทังE ที"ใช้ผลิตสินค้า


และสนับสนุนการผลิตสินค้า สินทรัพย์เหล่านีEจะถูกตัดค่าเสือ" มราคาในระยะเวลา 5 ปี หรือ 10 ปี ขึนE อยู่กบั
ลักษณะการใช้งานว่าจะสึกหรอเร็วมากน้อยแค่ไหน

หนี5 สินหมุนเวียน (Current Liabilities)

หมายถึง ภาระผูกพันที"กจิ การมีต่อบุคคลภายนอกและต้องชําระคืนในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี รายการสําคัญ


ของหนีEสนิ หมุนเวียนได้แก่

• เจ้าหนี5 การค้า (Accounts Payable) เป็ นหนีEสนิ ระยะสันE ที"เกิดจากการที"บริษัทสังซื


" Eอสินค้า และได้รบั
เครดิตเทอมจากผูข้ าย บริษทั จะต้องตังE ผูข้ ายเป็ นเจ้าหนีEการค้า และจะล้างยอดหนีEนEีออกไปเมื"อชําระหนีE
แก่เจ้าหนีEการค้าแล้ว

7
• ตัว̀เงิ นจ่ายค้างจ่าย (Notes Payable) เพื"อให้มีเงินทุนมาใช้จ่ายในการดําเนินงาน บริษัทอาจออกตั aว
สัญญาใช้เงิน หรือที"เรียกว่าตั aวเงินจ่ายให้แก่บุคคลอื"น (อาจเป็ นผู้ขายสินค้า ธนาคาร หรือบุคคลทัวไป) "
แลกกับสินค้าหรือเงินทุนเพื"อมาใช้จ่าย และสัญญาว่าจะชําระคืนเงินต้นและดอกเบีEยเมื"อครบกําหนด
ขณะทีย" งั ไม่ชาํ ระคืนเงินต้นบริษทั จะต้องตังE ให้บุคคลอื"นทีซ" อEื ตั aวสัญญาใช้เงินของเราเป็ นเจ้าหนีEตั aวเงินจ่าย

• ภาษี เงิ นได้ค้างจ่าย ในแต่ละปี เมื"อบริษทั คํานวณว่าผลประกอบการมีกําไรเท่าใดแล้ว ส่วนหนึ"งของกําไร


(30%) จะต้องถูกหักเป็ นภาษีเงินได้และนําส่งให้ราชการตามทีก" ฎหมายกําหนด อย่างไรก็ตามการนําส่งภาษี
เงินได้ของปี นันE มักจะนําส่งในปี ถดั ไป (ภายในเดือนพฤษภาคมของปี ถดั ไป) เพราะกว่าเราจะรูย้ อดกําไรต้อง
รอปิ ดบัญชีในปี นันE ก่อน ซึง" จะทราบตัวเลขก็เป็ นเวลาของต้นปี ถดั ไปแล้ว ยอดภาษีทต"ี ้องจ่ายในปี นันE เมื"อเรา
ทราบว่าต้องจ่ายจริงในปี ถดั ไป เราก็ต้องตังE ยอดเงินนีEไว้เป็ นหนีEสนิ ว่า ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย และจะล้างออกไป
เมื"อชําระค่าภาษีนEใี ห้กบั ทางราชการ

• เงิ นกู้ระยะยาวทีครบกําหนดชําระใน 1 ปี ถ้าบริษทั กูเ้ งินระยะยาวมา ซึง" ใช้เวลาชําระเกินกว่า 1 ปี (เช่น


5 ปี หรือ 10 ปี ) ภาระการผ่อนชําระเงินกู้ระยะยาวในปี ใด จะถูกโอนยอดเฉพาะปี นันE มาเป็ นหนีEสนิ
หมุน เวียน เช่น จากตัวอย่ างนีE หนีE เงินกู้ระยะยาวที"ค รบกํา หนดชําระในปี 2544 เท่า กับ 50,000 บาท
ในขณะทีเ" งินกูร้ ะยะยาวทังE หมดทีย" งั ค้างต้องชําระในปี อ"นื ๆ คงเหลือเท่ากับ 200,000 บาท

หนี5 สินระยะยาว (Long – Term Liabilities)

เป็ นภาระผูกพันที"กจิ การมีต่อบุคคลภายนอกที"เป็ นเจ้าหนีE โดยภาระผูกพันนันE มีอายุเกินกว่า 1 ปี รายการที"


สําคัญของหนีEสนิ ระยะยาว ได้แก่

• เงิ นกู้ระยะยาว (Bank Loan) คือ เงินกูท้ บ"ี ริษทั กูม้ าใช้ในการดําเนินงานของกิจการจากธนาคาร ซึ"งควรจะ
เป็ นการดําเนินงานประเภทการลงทุนระยะยาว เช่น การซืEอเครื"องจักร สร้างโรงงาน เป็ นต้น เนื"องจากการ
ลงทุนประเภทนีEไม่สามารถคืนทุนในระยะเวลาสันE ๆ เพราะการที"สนิ ทรัพย์เหล่านีEจะสร้างรายได้ให้คุ้มกับ
ค่าใช้จ่ายและชําระหนีEเงินกู้ได้ต้องใช้เวลาเกินกว่า 1 ปี การกู้ยมื ประเภทนีEธนาคารจึงมักกําหนดเงื"อนไขให้
ทยอยผ่อนชําระในเวลาหลายปี

ส่วนของผูถ้ ือหุ้น (Owners’ Equity)

ถ้าเงินลงทุนในสินทรัพย์ของกิจการส่วนหนึ"งมาจากหนีEสนิ หรือการกู้ยมื จากบุคคลภายนอก ส่วนที"เหลือ เราจะ


เรียกว่ามาจากส่วนของผู้ถือหุ้น หรือส่วนของเจ้าของ ซึ"งเป็ นเงินที"ลงเป็ นค่าหุ้นไปในตอนเริม" แรก หรือตอนที"เพิม" ทุน
รวมทังE กําไรที"หามาได้จากการดําเนินงานหลังจ่ายเงินปนั ผล และค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ตามตัวอย่างในตารางที" 4.1 นีE
รายการทีส" าํ คัญในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ได้แก่

• ทุนจดทะเบียน (Common Stock) เป็ นเงินค่าหุ้นสามัญที"เจ้าของกิจการหรือผู้ร่วมลงทุนจ่ายมาในตอน


ตังE กิจการหรือตอนเพิม" ทุนหุน้ สามัญ จะทําให้ผูถ้ อื มีสทิ ธิแสดงตนเป็
k นเจ้าของกิจการ ถ้าถือครองในสัดส่วนที"
มากก็จะมีสทิ ธิอk อกเสียงมาก และอาจมีสทิ ธิเข้k าเป็ นกรรมการบริหารบริษัทเพื"อกําหนดทิศทางการบริหาร
บริษัทให้เป็ นอย่างที"ต้องการได้ ในธุรกิจขนาดย่อมเจ้าของธุรกิจที"สร้างธุรกิจขึEนมาหรือคนในครอบครัว

8
ของเจ้ า ของธุ ร กิจ นั นE มัก จะเป็ น ผู้ ◌้ ถื อ ครองหุ้ น สามัญ ในสัด ส่ ว นข้า งมาก จึง มัก จะดํ า รงตํ า แหน่ ง
กรรมการบริหารของบริษทั ด้วย หุน้ สามัญจะถูกกําหนดให้มรี าคาพาร์ (Par Value) ซึง" เป็ นราคาทีต" รา
เอาไว้เท่าๆ กัน เช่น 10 บาทต่อหุน้ หรือ 100 บาทต่อหุน้ เป็ นต้น ในตัวอย่างตามตารางที" 4.1 หุน้ สามัญ
จดทะเบียนของบริษทั Green Hut มีทงั E สินE 40,000 หุน้ ราคา Par หุน้ ละ 10 บาท รวมเป็ นเงิน 400,000
บาท ในระหว่างการดําเนินงานของบริษัทอาจมีการออกหุน้ สามัญเพิม" ทุนขายให้กบั บุคคลภายนอกเพื"อ
ระดมทุนมาขยายกิจการ แต่มูลค่าของกิจการตอนนีEถือว่ามากกว่าสมัยตังE กิจการใหม่ๆ แล้ว ดังนันE หุ้น
สามัญอาจถูกเสนอขายในราคามากกว่าราคาพาร์ ส่วนเกินนีEเราจะเรียกว่า ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ซึ"งจะถูก
บันทึกไว้เป็ นอีกรายการหนึ"งในส่วนของผูถ้ อื หุน้ นีE

• กําไรสะสม (Retained Earnings) เป็ นกําไรทีส" ะสมมาของกิจการนับตังE แต่เริม" ก่อตังE กําไรนีEเป็ นกําไรสุทธิ
ของกิจการหลังจ่ายเงินปนั ผลให้กบั ผูถ้ อื หุน้ แล้ว ส่วนทีเ" หลือจะถูกยกมาทีก" าํ ไรสะสมเพื"อเก็บไว้เป็ นเงินทุนใช้
ดําเนินงานในกิจการต่อไป ในกรณีท"บี ริษัทมีผลขาดทุนโดยตลอดหรือเป็ นจํานวนมาก อาจทําให้ยอดของ
รายการนีEเป็ นยอดขาดทุนสะสมได้

3.2 งบกําไรขาดทุน (The Income Statement)

เป็ นงบแสดงถึงผลการดําเนินงานของธุรกิจนันE ในช่วงเวลาหนึ"ง เช่น 6 เดือน หรือ 1 ปี รายการในงบกําไรขาดทุน


ประกอบด้วย รายได้ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายดําเนินงาน รายได้อ"นื ค่าใช้จ่ายอื"น และกําไรสุทธิ เป็ นต้น ตัวอย่างของงบกําไร
ขาดทุนอาจแสดงได้ดงั ตารางที" 2 ต่อไปนีE

9
ตารางที 2
งบกําไรขาดทุนของบริษทั Green Hut

Green Hut Co., Ltd


งบกําไรขาดทุน
สําหรับระยะเวลา 1 ปี สิ5 นสุด ณ วันที 31 ธันวาคม 2544

หน่วย : บาท

ขาย 1,750,000
หัก สินค้าส่งคืนและส่วนลดการค้า 50,000
ขายสุทธิ 1,700,000
ต้นทุนขาย
สินค้าคงเหลือต้นงวด (1 ม.ค. 2544) 150,000
บวก ซือE สินค้าระหว่างงวด 1,050,000
สินค้ามีไว้เพื"อขาย 1,200,000
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด (31 ธ.ค. 2544) 200,000
ต้นทุนขาย 1,000,000
กําไรขันE ต้น 700,000
หัก ค่าใช้จ่ายดําเนินงาน
ค่าใช้จ่ายในการขาย 150,000
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 100,000
รวมค่าใช้จ่ายดําเนินงาน 250,000
กําไรจากการดําเนินงาน 450,000
หัก ดอกเบียE จ่าย 20,000
กําไรก่อนภาษี 430,000
หัก ภาษีเงินได้ 129,000
กําไรสุทธิ 301,000

รายการต่างๆ ในงบการเงิน อธิบายพอสังเขปได้ดงั นีE

รายได้จากการขาย (Sales Revenue)

ทุกๆ ครังE ทีบ" ริษทั ขายสินค้าและบริการได้ จะถูกบันทึกไว้ว่ามีรายได้จากการขายเกิดขึนE อย่างไรก็ตามรายได้จาก


การขายนีE จะถูกลดยอดลง ถ้ามีการส่งคืนสินค้าที"ชํารุ ด และถ้ามีส่วนลดทางการค้าให้ก ับลูกค้า การสังเกตยอดการ

10
เคลื"อนไหวของรายการสินค้าส่งคืนจะมีประโยชน์ อย่างยิง" ต่ อบริษัท เพราะถ้ายอดนีEสูงก็แสดงว่าสินค้าของบริษัทอาจมี
ปญั หาเรื"องคุณภาพ ซึง" บริษทั จะได้เข้าไปตรวจสอบได้ทนั การณ์ รายได้จากการขายทีห" กั ด้วยยอดสินค้าส่งคืนและส่วนลด
การขาย ถูกเรียกว่า ยอดขายสุทธิ โดยปกติยอดขายสุทธินEีควรจะมีจํานวนเงินสูงเพียงพอทีจ" ะครอบคลุมค่าใช้จ่ายทังE หมด
ทีเ" กิดขึนE ในกิจการ จึงจะมีกาํ ไรเกิดขึนE จากการดําเนินงาน

ต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold)

หมายถึงต้นทุนของสินค้าทีข" ายในงวดบัญชีนนั E การคํานวณหามูลค่าของต้นทุนขายต้องใช้ยอดสินค้าคงเหลือต้น


งวด ปลายงวด และยอดซือE สินค้าระหว่างงวด ซึง" ได้แสดงไว้ในตารางที" 4.2 แล้ว แต่ควรทราบไว้ดว้ ยว่า วิธคี ดิ แบบนีEเหมาะ
กับกรณีธุรกิจแบบซือE มาขายไปเท่านันE ในกรณีธุรกิจผลิตสินค้า การคิดต้นทุนขายจะต้องคิดต้นทุนการผลิตก่อน ซึง" จะมีทงั E
ยอดวัตถุดบิ ค่าแรงงานทางตรง และโสหุย้ การผลิต แต่ไม่ขอกล่าวรายละเอียดในทีน" Eี มูลค่าต้นทุนขายนีEเมื"อนําไปหักออก
จากยอดขายสุทธิ จะทําให้ได้รายการทีเ" รียกว่า กําไรขันE ต้น (Gross Profit)

ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงาน (Operating Expenses)

นอกเหนือจากต้นทุนขายแล้ว กิจการยังมีค่าใช้จ่ายหลักๆ อีกเรียกว่า ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ซึง" แบ่งย่อยได้


เป็ น 2 ประเภท คือ

• ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expenses) เป็ นค่าใช้จ่ายทีเ" กิดจากการใช้ความพยายามทางการขายและ


การตลาด โดยปกติถา้ เราต้องการให้มยี อดขายสูงขึนE ค่าใช้จ่ายในการขายก็จะผันแปรตาม แต่อตั ราการเพิม"
ควรจะเติบโตช้ากว่ายอดขายจึงจะสร้างกําไรได้ รายละเอียดของค่าใช้จ่ายในการขาย เช่น เงินเดือนและค่า
คอมมิชชันของพนั
" กงานขาย ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายอื"นๆ เป็ นต้น

• ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Administrative Expenses) เป็ นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอื"นๆ นอกเหนือจาก


งานด้านการขายและการตลาด เช่น เงินเดือนของพนักงานในสํานักงาน (ทีไ" ม่ใช่พนักงานขาย) ค่านํEาค่าไฟ
ในสํานักงาน (ไม่รวมโรงงาน) ค่าเอกสาร ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่างๆ เป็ นต้น

ดอกเบี5ยจ่าย (Interest Expenses)

เป็ นค่าใช้จ่ายทางการเงินซึง" บริษทั ผูกพันต้องจ่ายให้แก่เจ้าหนีEเงินกู้ ไม่ว่าจะเป็ นเงินกูร้ ะยะสันE หรือเงินกูร้ ะยะ


ยาวก็ตาม ค่าใช้จ่ายนีEถอื ว่าเป็ นภาระของบริษทั ทีจ" ะหลีกเลีย" งไม่ได้ ไม่ว่าบริษทั จะมีผลกําไรหรือขาดทุนก็ตาม

ภาษี เงิ นได้

ธุรกิจขนาดย่อมทีเ" ป็ นนิตบิ ุคคลมีหน้าทีต" อ้ งเสียภาษีเงินได้จากกําไรของการประกอบธุรกิจให้แก่ภาครัฐบาล เพื"อ


นําเงินนันE ไปใช้จ่ายพัฒนาประเทศต่อไป เมื"อครบรอบระยะเวลาบัญชี บริษทั จะสรุปรายได้และหักค่าใช้จ่ายต่างๆ ออกจน
เหลือกําไรก่อนหักภาษีเพื"อเอามาเป็ นฐานในการคิดภาษีเงินได้ ซึง" อัตราปกติจะคิดที" 30% ของกําไรก่อนหักภาษี เมื"อนํ า
ภาษีรายได้นEีหกั ออกจากกําไรก่อนภาษีกจ็ ะได้กําไรสุทธิ ซึง" เป็ นยอดเงินบรรทัดสุดท้ายของงบกําไรขาดทุน กําไรสุทธินEี
หลังจากหักเงินปนั ผลจ่ายแล้ว ก็จะคงเหลือปิ ดเข้าไว้ในกําไรสะสม เพื"อใช้ดาํ เนินงานหรือลงทุนในกิจการต่อไป

11
4. การวิ เคราะห์งบการเงิ น

การที"จะวิเคราะห์งบการเงิน กิจการควรมีงบการเงินอย่างน้ อย 2 ปี ขEนึ ไป เพื"อที"จะได้เปรียบเทียบและดู


แนวโน้มการเปลีย" นแปลง เมื"อรวบรวมข้อมูลงบการเงินมาได้แล้วก็สามารถจะเริม" วิเคราะห์งบการเงินได้โดยมีขนั E ตอน
ดังต่อไปนีE

• จัดวางข้อมูลรายงานงบการเงินในงบการเงินของปี ต่า งๆ ให้อ ยู่ใ นรูป แบบเดียวกัน เพื"อ ง่า ยต่ อ การ
วิเคราะห์และเปรียบเทียบ
• เลือกเครื"องมือทีจ" ะใช้วเิ คราะห์ ซึง" ได้แก่
- การย่อส่วนตามแนวดิง" (Common – size Analysis)
- การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis)
- การวิเคราะห์งบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน (Fund Flow Analysis)
- การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน (Ratio Analysis)
• การอ่านและแปลความ
• การจัดทํารายงานและการใช้ประโยชน์

4.1 รูจ้ กั เครือ งมือทีใช้ในการวิ เคราะห์งบการเงิ น

4.1.1 การย่อส่วนตามแนวดิ ง (Common Size Analysis)

เป็ นการแปลงค่าตัวเลขของรายการต่างๆ ให้อยู่ในรูปเปอร์เซ็นต์ของรายการสําคัญในงบการเงิน ทีต" ้อง


ทําก็เพราะการดูเป็ นตัวเลขเม็ดเงินทําให้เราเปรียบเทียบยากว่าในนีEเทียบกับปี ทแ"ี ล้วโครงสร้างทางการเงินในงบดุล
หรือโครงสร้างการทํากําไรในงบกําไรขาดทุนเปลีย" นแปลงไปหรือไม่

วิ ธีการทํา Common - size อาจสรุปได้ดงั นีE

• ในงบดุล รายการต่างๆ จะคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ เมื"อเทียบกับสินทรัพย์รวม หรือเทียบกับหนีEสนิ และ


ส่วนของผูถ้ อื หุน้

งบดุล

สินทรัพย์ 100% หนีEสนิ และทุน 100%

12
• ในงบกําไรขาดทุน รายการต่างๆ จะคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์เมื"อเทียบกับยอดขาย

งบกําไรขาดทุน

ขาย 100%
ค่าใช้จ่าย
กําไร

วิ ธีใช้และอ่าน Common – size ของงบดุล

• ด้านสิ นทรัพย์ สินทรัพย์หลักได้แก่อะไร (สินทรัพย์หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวร) มีสดั ส่วน (%)


เท่ า ใด ลัก ษณะสัด ส่ ว นดัง กล่ า วเราคิด ว่ า เป็ น ปกติ ห รือ ไม่ เพราะเหตุ ใ ด และถ้ า มีส ัด ส่ ว นนีE
เปรียบเทียบกันหลายๆ ปี มีความแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด นอกจากนีEยงั อาจเจาะลึกดูต่อไป
ได้ว่า รายการใดในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวรที"เป็ นรายการสําคัญ และสัดส่วน (%)
ของรายการเหล่านีEเมื"อเทียบกับสินทรัพย์รวม เราคิดว่ามีรายการใดที"ผิดปกติไปมากบ้างหรือไม่
เพราะเหตุใด

• ด้านหนี5 สินและทุน จะพิจารณาว่า…


- โครงสร้างการจัดหาเงินทุนของบริษทั มาจากการกูย้ มื หรือจากเงินทุนภายใน (กําไร และทุนจด
ทะเบียน) และมีสดั ส่วนเท่าใด
- สัดส่วนการกูย้ มื เน้นไปในระยะสันE เพื"อใช้หมุนเวียนในการดําเนินงานหรือเน้นไปในระยะยาวเพื"อ
การลงทุน
- สัดส่วนของหนีEสนิ หมุนเวียนเมื"อเทียบกับสินทรัพย์หมุนเวียนมีความสัมพันธ์กนั อย่างไร

4.1.2 การวิ เคราะห์แนวโน้ ม (Trend Analysis)

การวิเคราะห์แนวโน้มเป็ นการวิเคราะห์ตามแนวนอน วัตถุประสงค์กเ็ พื"อทําให้เห็นการเจริญเติบหรือ


อัตราการเพิม" การลดของรายการทีเ" ราสนใจ วิธกี ารคํานวณเราอาจดูการเปลีย" นแปลงเทียบกันปี ต่อปี หรือใช้เป็ นหนึ"ง
เป็ นปี ฐาน แล้วดูว่าในปี อ"นื ๆ เปลีย" นแปลงเมื"อเทียบกับปี ฐาน เป็ นต้น ในทีน" Eีจะลองนําเสนอวิธกี ารคํานวณแบบปี ฐาน
ดังวิธกี ารและตัวอย่างต่อไปนีE
วิ ธีการคํานวณ Trend แบบปี ฐาน

ปี ท"ี 1 ปี ท"ี 2 ปี ท"ี 3 ปี ท"ี 4 ปี ท"ี 5 ปี ท"ี 6

รายการในงบดุล ปี ฐาน
หรือ = 100
งบกําไรขาดทุน แต่ละปี เป็ นกี  % ของปี ฐาน

13
ตัวอย่าง
2540 2541 2542 2543 2544
ขาย 100 105 106 148 165
ต้นทุนขาย 100 104 105 144 161
ค่าใช้จ่ายและบริหาร 100 109 113 173 194
กําไรจากการดําเนินงาน 100 102 98 123 133
กําไรสุทธิ 100 105 97 117 170

วิ ธีใช้และอ่าน Trend Analysis

• ไม่จาํ เป็ นต้องทําการวิเคราะห์ทงั E งบเหมือน Common – size เลือกเฉพาะรายการทีส" นใจ เช่น


- กรณีสงสัยว่าทําไมกําไรน้อย อาจนํารายการขายและค่าใช้จ่ายมาทํา Trend เปรียบเทียบ
- กรณีสงสัยว่าสินทรัพย์ทม"ี อี ยู่ ถูกใช้งานทําให้เกิดรายได้ ได้มากน้อยเพียงใด การเติบโตของขาย
กับสินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์รวมมาเปรียบเทียบ
• การอ่าน Trend ควรทําหลังจากอ่าน Common – size แล้ว เห็นปญั หาเป็ นจุดๆ ซึง" เราสงสัยอยู่แล้ว
จึง ดึงรายการทีส" งสัยมาวิเคราะห์ดว้ ย Trend เพื"อยืนยันว่าเป็ นปญั หาจริง เช่นถ้าทํา Common –
size แล้วเราพบว่า สัดส่วนของต้นทุนขายเทียบกับยอดขายสูงมาก ในขณะทีบ" ริษทั ยังเพิม" ยอดขาย
ได้สูง ทําไมจึงยังทํากําไรขันE ต้นได้ไม่มากขึนE เราอาจเริม" สงสัยประสิทธิภาพในการควบคุมต้นทุน
อย่างนีEเราอาจนํา Trend ของยอดขายกับต้นทุนขายมาเปรียบเทียบกัน ว่าอัตราการเพิม" ของต้นทุน
ขายเร็วกว่ายอดขายหรือไม่

4.1.3 การวิ เคราะห์งบแสดงการเคลือนไหวของเงิ นทุน (Fund Flow Analysis)

เทคนิคการวิเคราะห์โดยใช้งบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน (Fund Flow) นีEเป็ นการดูว่าในปี หนึ"งๆ


บริษทั จัดหาเงินทุนมาจากทีใ" ด และใช้ไปในทีใ" ดบ้าง เท่าใด Fund Flow มีช"อื เรียกหลายอย่าง เช่น งบแสดงแหล่งทีม" า
และใช้ไปของเงินทุน (Sources and Uses of Fund Statement) หรือ งบกระแสเงินสด (Statement of Cash Flow)
ปจั จุบนั ส่วนใหญ่จะนิยมเรียกว่า งบกระแสเงินสดซึ"งถือว่าเป็ นองค์ประกอบหนึ"งของงบการเงินที"บริษัทควรจะจัดทํา
ขึนE มา การจัดทํางบกระแสเงินสดหรือ Fund Flow นีEมวี ธิ กี ารจัดทําทีค" ่อนข้างยุ่งยากอยู่บา้ งสําหรับผูท้ ไ"ี ม่มพี นEื ฐานทาง
บัญชีมาก่อน อย่างไรก็ตามเนื"องจากงบนีEเป็ นเครื"องมือทีส" ําคัญในการวิเคราะห์งบการเงินก็จะขอสรุปโดยย่อให้ทราบ
เพื"อให้ท่านพอจะเห็นภาพ อ่านและวิเคราะห์ได้

14
โครงสร้างของงบกระแสเงิ นสด

งบกระแสเงิ นสด

2544

1. กระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงาน


กําไรสุทธิ
บวก ค่าเสือ" มราคา
บวก รายการสินทรัพย์หมุนเวียน (ยกเว้นเงินสด) ทีเ" ปลีย" นแปลงลดลง

บวก รายการหนี5 สินหมุนเวียนทีเปลียนแปลงเพิมขึน5


หัก รายการสินทรัพย์หมุนเวียน (ยกเว้นเงินสด) ทีเ" ปลีย" นแปลงเพิม" ขึนE
หัก รายการหนีEสนิ หมุนเวียนทีเ" ปลีย" นแปลงลดลง
กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน

2. กระแสเงิ นสดจากการลงทุน
บวก รายการสินทรัพย์ถาวรหรือสินทรัพย์อ"นื ลดลง
หัก รายการสินทรัพย์ถาวรหรือสินทรัพย์อ"นื เพิม" ขึนE
กระแสเงินสดสุทธิจากการลงทุน

3. กระแสเงิ นสดจากการจัดหาเงิ นทุน


บวก รายการหนีEสนิ ระยะยาวเพิม" , ทุนจดทะเบียนเพิม"
หัก รายการหนีEสนิ ระยะยาวลดลง
หัก เงินปนั ผลจ่าย
กระแสเงินสดสุทธิจากการจัดหาเงินทุน
(1) + (2) + (3) เงินสดทีเ" พิม" ขึนE (หรือลดลง) ประจํางวด
บวก เงินสดคงเหลือต้นงวด
บวก เงินสดคงเหลือปลายงวด

15
จากโครงสร้างของงบกระแสเงินสดทีแ" สดงไว้ขา้ งต้นนีE จะเห็นได้ว่างบนีEทําให้เราเห็นว่ากิจการได้เงินทุน
มาจากทางใด และใช้ไปในทางใด โดยการได้มาและใช้เงินนีEแบ่งได้ออกมาจาก 3กิจกรรม คือกิจกรรมการดําเนินงาน
การลงทุน และการจัดหาเงินทุน

วิธกี ารจัดทํางบกระแสเงินสด (สมมติสาํ หรับปี 2544) มีเงื"อนไข ดังนีE

1) ต้องมีงบดุลอย่างน้อย 2 ปี คืองบดุลปี 2544 และปี 2543 และต้องมีงบกําไรขาดทุน 1 ปี คือ งบ


ของปี 2544
2) นํางบดุล 2 ปี มาลบกัน (เอาปี 2544 ตังE ลบด้วย ปี 2543) รายการต่างๆ ในงบดุลทีเ" ปลีย" นแปลง
(ยกเว้นกําไรสะสม) จะบอกถึงแหล่งทีม" าและใช้ไปของเงินทุนของบริษทั
3) กําหนดแหล่งทีม" าและใช้ไปของเงินทุน

• กระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงาน พิจารณาจากแหล่งของเงินทุนจากผลประกอบการก่อนคือ


กําไรสุทธิประจํางวด (ของปี 2544) และบวกค่าเสื"อมราคาในปี นันE กลับเข้าไป เพื"อให้เป็ นกําไรที"
เป็ นเงินสด ผูป้ ระกอบการควรทราบว่า กําไรเงินสดนีEเป็ นแหล่งทีม" าของเงินทุนซึง" เกิดจากการออก
แรงทํามาหาได้ของกิจการ เงินทุนนีEถอื ว่าบริษทั จะเอาไปใช้ลงทุน / ชําระหนีEระยะสันE หรือระยะ
ยาวก็ได้เพราะมักจะไม่มภี าระผูกพัน

นอกจากเงิน ทุ นที"ไ ด้ม าจากกําไรแล้ว แหล่ ง เงินทุ น จากการดํา เนิ นงานจะได้จากรายการของ


สินทรัพย์หมุนเวียนที"ลดลง (ให้คดิ ว่าการลดลงของสินทรัพย์ถาวร เปรียบเสมือนหนึ"งการขาย
สินทรัพย์ออกไป แล้วได้เงินเข้ามาในกิจการจึงถือว่าเป็ นแหล่งทีม" าของเงินทุน) หรืออาจได้มาจาก
การเพิม" ขึนE ของหนีEสนิ หมุนเวียน อนึ"งถ้าสินทรัพย์หมุนเวียนเพิม" ขึนE และหนีEสนิ หมุนเวียนลดลงให้
ถือว่าเป็ นแหล่งทีใ" ช้ไปของเงินทุน เมื"อบวกลบรายการทังE ทีเ" ป็ นแหล่งทีม" าและใช้ไปของเงินทุนแล้ว
ผลสุทธิเราจะเรียกว่า กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน

• กระแสเงิ นสดจากการลงทุน ถ้ารายการในสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อ"นื เปลีย" นแปลงเพิม" ขึนE


จะถือว่าเป็ นการใช้ไปของเงินทุนทีเ" กีย" วกับการลงทุน (เพราะการลงทุนหมายถึงการได้มาหรือใช้
เงินทุนแบบระยะยาว ส่วนถ้ารายการในสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์อ"นื เปลีย" นแปลงลดลง ก็จะถือ
ว่าเป็ นการได้มาของเงินทุนประเภทระยะยาว ผลสุทธิของทังE 2 ด้านจะทําให้ได้กระแสเงินสดสุทธิ
จากการลงทุน (ถ้ายอดติดลบแสดงว่าแหล่งทีใ" ช้ไปของเงินทุนมากกว่าแหล่งทีม" าของเงินทุน)

• กระแสเงิ นสดจากการจัดหาเงิ นทุน เป็ นการจัดหาเงินทุนจากแหล่งระยะยาว ซึง" อาจได้จากการ


เพิม" ขึนE ของหนีEระยะยาว และทุนจดทะเบียน แต่ต้องหักด้วยรายการที"เป็ นด้านตรงข้ามกัน เช่น
การลดลงของหนีEระยะยาว และการจ่ายเงินปนั ผล ยอดสุทธิเราจะเรียกว่า กระแสเงินสดสุทธิจาก
การจัดหาเงินทุน

การเคลื"อนไหวของกระแสเงินสดทังE 3 ประเภท จะสะท้อนถึงพฤติกรรมการได้มาและใช้ไปของเงินทุน


ของกิจการ ซึง" เราอาจนําเอาพฤติกรรมต่างๆ เหล่านีEมาวิเคราะห์ว่าไปกระทบในทางบวกหรือลบต่อฐานะการเงินและ
ผลการดําเนินงานของกิจการได้

16
การอ่านและใช้ประโยชน์จากกระแสเงิ นสด

• เริม" ต้นดูว่า เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร ซึง" อยู่ในกลุ่มกระแสเงินสดจากการลงทุน มีขนาดเท่าใด ให้


เริม" คิดก่อนว่า การลงทุนในกลุ่มนีEถอื ว่าเป็ นการลงทุนแบบระยะยาว เพราะสินทรัพย์ถาวรมีอายุการ
ใช้งานนานกว่า 1 ปี จึงสามารถช่วยสร้างรายได้ให้เกิดขึนE ได้ในระยะยาว ดังนันE เพื"อให้จดั หาเงินทุน
ได้ถูกประเภทก็ควรจัดหาเงินทุนแบบระยะยาวมาสนับสนุ นเช่นกัน ลองดูต่อว่าในงบกระแสเงินสดนีE
อะไรทีเ" ป็ นแหล่งเงินทุนระยะยาวบ้าง กลุ่มแรกสามารถจัดหามาได้จากกระแสเงินสดจากการจัดหา
เงินทุน (กลุ่มที" 3 ดูในงบกระแสเงินสด) ถ้าดูมลู ค่าเงินแล้วว่า เอาเงินทุนจากกลุ่มนีEไม่พอ ก็ไปดึงมา
จากกําไรเงินสด (กําไรสุทธิบวกค่าเสือ" มราคา) ซึง" สามารถนํามาใช้ในระยะยาวได้ ดังนันE เขียนได้ว่า

เงินลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร = เงินทุนทีไ" ด้จากการจัดหาแบบระยะยาว +


กําไรบางส่วนจากการดําเนินงาน ……(1)

• พิจารณาว่า การใช้เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานมีลกั ษณะอย่างไร โดยดูจากกลุ่มรายการที" 1


กําหนดความสัมพันธ์ดงั นีE

เงินลงทุนเพิม" ในเงินทุนหมุนเวียน = เงินทุนทีจ" ดั หามาเพื"อใช้หมุนเวียน

การเพิม" ขึนE ในสินทรัพย์หมุนเวียน + การลดลงของหนีEสนิ หมุนเวียน


= การลดลงของสินทรัพย์หมุนเวียน
+ การเพิม" ขึนE ของหนีEสนิ หมุนเวียน
+ กําไรบางส่วนจากการดําเนินงาน .......(2)

ถ้าเงินลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร ตามสมการ (1) ทําได้ลงตัวก็หมายถึง การใช้เงินทุนระยะยาวของ


บริษทั ทําได้ถูกประเภทแล้ว แต่ถา้ รวมกําไรทีเ" ป็ นเงินสดในการดําเนินงาน กับเงินทุนระยะยาวอื"นๆ แล้ว
ยังไม่ครอบคลุมเงินลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร แสดงว่ามีการนําเงินทุนระยะสันE มาช่วยลงทุนด้วยจึงจะ
เพียงพอ อย่างนีEจะไปกระทบต่อเงินทุนหมุนเวียนในระยะสันE ซึ"งจะส่งผลต่อเนื"องยังสภาพคล่องของ
กิจการในอนาคต

ในลําดับต่อมาเราจะดู เงินทุนหมุนเวียนในสมการ (2) ว่า จัดหามาได้พอดีกบั ทีใ" ช้ไปหรือไม่ ถ้าไม่พอ


สามารถจะนํากําไรบางส่วนทีเ" หลือมาใช้ได้ ถ้าพบว่าเงินหมุนเวียนทีจ" ดั หามามากกว่าทีใ" ช้ไปเป็ นจํานวน
มากและพิสจู น์ได้ว่าเอาไปใช้ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อย่างนีEถอื ว่าเป็ นการใช้เงินทุนผิดประเภท กิจการ
ทีม" ลี กั ษณะใช้เงินแบบนีE มักจะถูกพบว่ามีการเพิม" ขึนE ของหนีEสนิ หมุนเวียน เร็วกว่าสินทรัพย์หมุนเวียน
ซึง" จะทําให้ความสามารถในการชําระหนีEแก่เจ้าหนีEระยะสันE แย่ตามไปด้วย

17
4.1.4 การวิ เคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิ น (Financial Ratios)

แม้ว่าการวิเคราะห์ Fund Flow หรืองบกระแสเงินสด จะทําให้เห็นทีม" าของปญั หาทางการเงินได้ชดั เจน


ขึนE แต่ถ้ามีเครื"องมือ Financial Ratios ไปวิเคราะห์ประกอบด้วย จะทําให้การสรุปปญั หาทําได้กระชับ แบ่งเป็ นกลุ่ม
และหัวข้อได้ง่ายขึนE เช่น

• หัวข้อเกีย" วกับความสามารถชําระหนีEระยะสันE ของกิจการ


• หัวข้อเกีย" วกับความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ของกิจการเพื"อก่อให้เกิดรายได้
• หัวข้อเกีย" วกับภาระหนีEสนิ และความเสีย" งทางการเงินของกิจการ
• หัวข้อเกีย" วกับความสามารถในการทํากําไรของกิจการ

การตอบคําถามเหล่านีEสามารถใช้ Financial Ratios เข้ามาช่วย แต่ต้องจําไว้เสมอว่าจะแปลความ


Ratios เหล่านีEได้ต้องใช้เครื"องมือ Common – size, Trend และ Fund Flow เป็ นก่อนจึงจะทําให้การแปลความทําได้
อย่างถูกต้อง

ประเภทของ Financial Ratios สรุปได้ดงั นีE

• อัตราส่วนที วดั สภาพคล่อง (Liquidity) หรือ ความสามารถในการชําระหนี5 ระยะสัน5 (Short –


term solvency)
สิ นทรัพย์ห มุนเวียน
Current Ratio =
หนี สินหมุ นเวียน
สิ นทรัพย์หมุนเวียน − สิ นค้าคงเหลือ
Quick Ratio =
หนี สินหมุนเวียน
ลูกหนี
จํานวนวันหมุนเวียนของลูกหนีE = × 360
ขายเชือ
สิ นค้าคงเหลือ
จํานวนวันหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ = × 360
ต้นทุนขาย

ทําไมอัตราส่วนทางการเงินทังE 4 ข้างต้นนีE จึงวัดสภาพคล่องได้ สภาพคล่องหมายถึงความสามารถใน


การชําระหนีEระยะสันE ถ้าความสามารถในการชําระหนีEระยะสันE สูง ก็จะสรุปว่าสภาพคล่องสูงด้วย Current Ratio
สามารถบอกถึงระดับความสามารถในการชําระหนีEระยะสันE เพราะ ถ้าสินทรัพย์หมุนเวียน สามารถครอบคลุมหนีEสนิ
หมุนเวียนได้พอดี (1 : 1) ก็แสดงว่าเจ้าหนีEระยะสันE (คือ หนีEสนิ หมุนเวียน) ได้รบั การคุม้ ครองพอดี ยิง" Current Ratio
ยิง" สูงมากกว่า 1 เท่าใด เจ้าหนีEระยะสันE ก็จะยิง" ได้รบั ความปลอดภัยมากเท่านันE ผูป้ ระกอบการควรทราบว่า เวลาไปขอ
สินเชื"อทางการค้า จากเจ้าหนีEการค้าเป็ นจํานวนเงินมากๆ เจ้าหนีEการค้ามักจะขอดูงบการเงินของกิจการท่าน และ
แน่ นอนทีเ" ขาต้องดูกค็ อื Current Ratio ว่าสูงแค่ไหน จะทําให้เขาปลอดภัยหรือไม่ อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่า
ควรจะปล่อยให้ Current Ratio สูงโดยไม่มขี ดี จํากัดเพราะสภาพคล่องทีส" งู เกินไปจะทําให้ลดความสามารถในการทํา

18
กํา ไรลง เช่ น ถ้าถือ เงิน สดที"เป็ น สิน ทรัพย์ห มุน เวีย นไว้ม ากๆ แม้จะมีสภาพคล่ อ งสูง แต่ เงิน สดก็ไม่ ไ ด้ก่ อ ให้เ กิด
ผลตอบแทนแต่อย่างใด การหาจุดทีก" จิ การจะมีสภาพคล่องทีเ" หมาะสมไม่มกี ฎเกณฑ์ทต"ี ายตัว ขึนE กับวิจารณญาณของ
ผูป้ ระกอบการแต่ละคน

ส่วนการนําเอา Quick Ratio มาพิจารณาสภาพคล่องด้วย ก็เพราะอยากจะรูว้ ่า ในสินทรัพย์หมุนเวียนที"


มีอยู่ท ังE หมดนีE ถ้าหักสินค้าคงเหลือ ซึ"งถือ ว่าเป็ นสภาพคล่องน้ อยที"สุดออกไปแล้ว เจ้าหนีEระยะสันE จะได้รบั ความ
คุม้ ครองแค่ไหน มีขอ้ ควรระวังไว้ว่าจะพบว่า Quick Ratio อยู่ในระดับตํ"า ก็อย่างเพิง" ตัดสินว่ากิจการมีปญั หาสภาพ
คล่อง เพราะถ้าสินค้าคงเหลือของท่านยังขายได้อย่างคล่องตัวเป็ นที"ต้องการของตลาด สภาพคล่องของท่านก็ยงั ไม่
น่าจะมีปญั หา

การนํ าเอาจํานวนวันหมุนเวียน ของลูกหนีEการค้าและสินค้าคงเหลือ มาร่วมพิจารณาสภาพคล่องก็


เพราะว่าทีเ" ราบอกว่า Current Ratio มากกว่า 1 แสดงว่า เจ้าหนีEระยะสันE ได้รบั การคุม้ ครองเต็มทีน" ันE เราจะยังบอกว่า
กิจการมีสภาพคล่องดีไม่ได้ จนกว่าเราจะยืนยันว่า สินทรัพย์หมุนเวียนทีเ" ป็ นตัวเศษใน Current Ratio นันE มีคุณภาพดี
ซึง" เราเลือกดูรายการสินทรัพย์หมุนเวียนทีส" าํ คัญ ได้แก่ลกู หนีEการค้า และสินค้าคงเหลือมาพิจารณาว่ากิจการเราบริหาร
2 รายการนีEได้ดเี พียงใด ในส่วนจํานวนวันหมุนเวียนของลูกหนีEนนั E ถ้ามีระดับลดลง และตํ"ากว่าระยะเวลาทีเ" ราให้เครดิต
เทอมแก่ลูกค้า ก็จะถือว่าเราบริหารลูกหนีEได้ดเี พราะมีระยะเวลาเก็บหนีEเฉลี"ยลดลง ส่วนของสินค้าคงเหลือก็เช่นกัน
การมีระยะเวลาที"หมุ น เวีย นลดลง หมายถึง การขายสินค้า เป็ น ไปอย่า งคล่อ งตัว ระยะเวลาที"นํ า สินค้า มาเก็บ ใน
คลังสินค้าจนขายออกไปได้สามารถทําได้โดยใช้เวลาน้อยลงดังนีEเป็ นต้น

• อัตราส่วนวัดประสิ ทธิ ภาพการบริหารสิ นทรัพย์ (Asset Management Efficiency)


ขาย
Fixed Asset Turnover =
สิ นทรัพย์ถาวร
ขาย
Total Asset Turnover =
สิ นทรัพย์รวม
ถ้าผู้ประกอบการต้องการวัดว่ากิจการของท่านใช้สนิ ทรัพย์ในการสร้างรายได้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพียงใด ท่านอาจใช้ 2 Ratios ข้างต้นนีEเป็ นตัวตรวจสอบได้ Total Asset Turnover ใช้วดั ว่า สินทรัพย์รวมทังE หมดของ
กิจการสามารถนํามาใช้สร้างยอดขายได้กเ"ี ท่า ถ้าอัตราส่วนนีEยงิ" สูงก็ยงิ" แสดงถึงความมีประสิทธิภาพในการใช้สนิ ทรัพย์
สําหรับ Fixed Asset Turnover ถูกสร้างขึนE มาเพื"อตรวจสอบว่าประสิทธิภาพในการใช้สนิ ทรัพย์ถาวรในการสร้างรายได้
เป็ นอย่างไรเหมือนกัน Total Asset Turnover แต่แยกดูเฉพาะสินทรัพย์ถาวร ทีเ" ป็ นเช่นนีE เพราะในกิจการบางประเภท
เช่นกิจการที"ผลิตสินค้า ต้องลงทุนในอาคาร โรงงาน เครื"องจักรเป็ นจํานวนมาก บรรดาสินทรัพย์ถาวรเหล่านีEใช้เป็ น
หลักในการสร้างหรือผลิตสินค้าขึนE มา จึงอยากรูว้ ่าประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์เหล่านีEในการสร้างรายได้เป็ นอย่างไร

19
• อัตราส่วนวัดภาระหนี5 สิน (Leverage) และความสามารถในการชําระค่าใช้จ่ายทางการเงิ น
(Coverage)
หนีสินรวม
Debt Ratio =
สิ นทรัพย์รวม
หนีสินรวม
Debt to Equity Ratio =
ส่ วนของผูถื้ อหุ น้
กําไรจากการดําเนินงาน
Times Interest Earned =
ดอกเบียจ่าย

ใน 2 อัตราส่วนแรกเป็ นการวัดดูว่ากิจการมีภาระหนีEสนิ สูงเพียงใด ถ้า Debt Ratio มีระดับทีส" งู หมายถึง


การลงทุนในสินทรัพย์ของกิจการส่วนใหญ่จดั หาเงินมาจากการกู้ การกูม้ าสะท้อนถึงภาระผูกพันที"จะต้องจ่ายให้แก่
เจ้าหนีEในอนาคตจะมีมากขึนE ถ้าปจั จุบนั กิจการมีแผนจะกูอ้ กี เจ้าหนีEต่างๆ ดูระดับ Debt ratio แล้วก็จะต้องคิดหนักว่า
ถ้าท่านเพิม" ภาระผูกพันแล้วท่านจะมีความสามารถจ่ายคืนหรือไม่ ถ้าการทํากําไรของกิจการท่านไม่ดดี ว้ ยแล้ว โอกาสที"
จะได้เงินกูเ้ พิม" จะเป็ นไปได้น้อยมาก สําหรับ Debt – to – Equity Ratio ก็มคี วามหมายไปในทางเดียวกับ Debt Ratio
เพราะถ้าท่านกูม้ าก แสดงว่าท่านใช้เงินทุนของท่านจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ น้อย อัตราส่วนนีEกจ็ ะสูง และสะท้อนถึงภาระ
หนีEสนิ ทีส" งู เช่นกัน

ส่วนใน Ratio ที"เรียกว่า Times Interest Earned เป็ นการวัดว่าบริษัทมีความสามารถในการจ่าย


ค่าใช้จ่ายทางการเงินเช่นดอกเบียE จ่าย ซึง" เป็ นภาระผูกพันทีบ" ริษทั ต้องจ่ายเช่นกันนอกเหนือจากเงินต้น จากสูตรทีเ" ห็น
ถ้าอัตราส่วนนีEยงิ" สูงเกินกว่า 1 เท่าใด แสดงว่ากิจการมีกําไรจากการดําเนินงานมากพอทีจ" ะจ่ายดอกเบียE ได้มาก ซึง" จะ
ทําให้เจ้าหนีEมคี วามอุ่นใจได้มากขึนE

• อัตราส่วนวัดความสามารถในการทํากําไร (Profitability)

กําไรขันต้น
Gross Profit Margin = × 100
ขาย
กําไรจากการดําเนินงาน
Operating Profit Margin = × 100
ขาย
กําไรสุ่ ทธิ
Net Profit Margin = × 100
ขาย
กําไรสุ ทธิ
Return on Assets (ROA) = × 100
สิ นทรัพย์รวม

20
กําไรสุ ทธิ
Return on Equity (ROE) = × 100
ส่ วนของผูถื้ อหุ น้
อัต ราส่ว นทางการเงิน ในกลุ่ ม นีE เป็ น การวัด ความสามารถในการทํา กํา ไร ซึ"ง ถ้า มีข้อ มูล หลายๆ ปี
เปรียบเทียบกันจะทําให้เห็นว่า กิจการได้ปรับปรุงขีดความสามารถในการทํากําไรดีขนEึ หรือเลวลง เช่น ตัวเลขยอดขาย
เพิม" ขึนE มาก แต่ทาํ ไม Gross Profit Margin ไม่เพิม" ขึนE ด้วย ผูป้ ระกอบการจะต้องเข้าไปหาสาเหตุว่า การบริหารต้นทุน
ผลิต ต้นทุนขาย เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ เพราะถ้ายอดขายเพิม" ขึนE แต่ต้นทุนขายเพิม" ขึนE ในอัตราทีเ" ร็วกว่า
อาจเป็ นไปได้ว่าไม่มกี ารควบคุมต้นทุนได้ดพี อ ซึง" อาจเป็ นเพราะซือE วัตถุดบิ หรือสินค้ามาแพง หรือเกิดค่าใช้จ่ายรัวไหล
"
ในขันE ตอนการผลิต เป็ นต้น

สําหรับ Operating Profit Margin และ Net Profit Margin ก็เช่นกัน เป็ นการตรวจสอบความสามารถ
ในการทํากําไรในจุดอื"นๆ แล้วกระบวนการผลิต เช่น ค่าใช้จ่ายสําหรับการตลาด การขายและบริหาร ถ้าไม่มีการ
ควบคุมให้ดกี จ็ ะมีผลต่อกําไรจากการดําเนินงาน และกําไรสุทธิ เป็ นต้น

ส่วน ROA เป็ นการวัดว่า สินทรัพย์รวมของกิจการก่อให้เกิดกําไรได้มากน้อยแค่ไหน บางครังE แม้ว่า


Total Asset Turnover จะสูงคือใช้สนิ ทรัพย์ก่อให้เกิดยอดขายได้ดี แต่ถ้าไม่ควบคุมค่าใช้จ่ายให้ดแี ล้วกําไรทีจ" ะได้จาก
การใช้สนิ ทรัพย์นEีกจ็ ะน้อยไปด้วย Ratio สุดท้ายคือ ROE เป็ นการวัดว่าเงินลงทุนทีผ" ถู้ อื หุน้ ลงไปเอาไปสร้างกําไรให้กบั
กิจการเท่าใด ถ้า ROE สูง ก็สะท้อนว่า กิจการได้ใช้เงินทุนของผูถ้ อื หุน้ อย่างคุม้ ค่า ผูถ้ อื หุน้ ก็จะพอใจเพราะมีโอกาสจะ
ได้เงินปนั ผลตอบแทนกลับมามาก โดยปกติระดับ ROE จะสูงหรือตํ"าจะเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับ ROA

ในภาพรวมทังE หมดของกลุ่ม Profitability Ratios นีE อัตราส่วนทีส" งู ขึนE ของกลุ่มนีE หมายถึง ความสามารถ
ในการทํากําไรของกิจการจะสูงขึนE

4.2 การอ่าน วิ เคราะห์ และเขียนรายงาน

หลังจากที"ท่านได้เรียนรู้ถึงเครื"องมือที"ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงินแล้ว ขันE ตอนต่ อไปก็คือการนํ างบการเงิน


มาจัดให้อยู่ในลักษณะทีพ" ร้อมจะทําการวิเคราะห์พร้อมกับคํานวณรายการต่างๆ โดยใช้เครื"องมือทีอ" ธิบายไปแล้วในหัวข้อ
4.4 ถัดจากนันE ก็เริ"มการอ่าน วิเคราะห์ และเขียนรายงานขึนE ในกระบวนการเขียนรายงานเป็ นขันE ตอนที"ยาก เนื"องจาก
จะต้องดึงประเด็นสําคัญทีเ" ป็ นจุดอ่อนและจุดแข็งของผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกิจการออกมาให้เห็นเท่านันE
การเขียนรายงานวิเคราะห์งบการเงินจึงต้องเริ"มต้นจากการอ่านงบทังE หมดก่อน ให้เห็นทังE ส่วนที"สําคัญและไม่สําคัญ
หลังจากนันE จึงวิเคราะห์ว่าส่วนที"สําคัญนันE กระทบต่ อกิจการในทางบวกและลบอย่างไร ในด้านต่างๆ ผลการวิเคราะห์
ในส่วนนีEจะชีใE ห้เห็นว่าฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการอยู่ในเกณฑ์ดเี พียงใด ในหัวข้อนีEจะได้ลองยกตัวอย่าง
งบการเงินของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด ซึง" ทําธุรกิจซือE มาขายไป เพื"อเป็ นกรณีศกึ ษาในการอ่าน วิเคราะห์ และเขียน
รายงานวิเคราะห์งบการเงิน โดยมีขอ้ มูลของงบการเงินดังต่อไปนีE

21
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด
งบดุล
ณ วันที 31 ธันวาคม

หน่วย : พันบาท

สิ นทรัพย์ 2544 2545


สิ นทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด 2,382 4,061
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 8,004 5,272
ลูกหนีEการค้า 8,350 8,960
สินค้าคงเหลือ 36,769 47,041
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 859 512
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 56,264 65,846
สิ นทรัพย์ถาวร
ทีด" นิ 811 811
อาคาร 11,928 18,273
เครื"องจักรและอุปกรณ์ 13,768 21,523
26,507 40,607
หัก ค่าเสือ" มราคาสะสม 7,530 11,528
สินทรัพย์ถาวรสุทธิ 18,977 29,079
สิ นทรัพย์อืน 668 373
สิ นทรัพย์รวม 75,909 95,298

หนี5 สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น


หนี5 สินหมุนเวียน
เจ้าหนีEการค้า 7,591 14,294
ตั aวเงินจ่าย 6,012 5,614
เงินกูร้ ะยะยาวทีถ" งึ กําหนดชําระใน 1 ปี 1,516 1,884
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5,313 5,669
รวมหนีEสนิ หมุนเวียน 20,432 27,461
หนี5 สินระยะยาว
เงินกูย้ มื ระยะยาว 16,975 21,059
เงินกูย้ มื กรรมการ 635 843
รวมหนีEสนิ ระยะยาว 17,610 21,902
รวมหนี5 สิน 38,042 49,363

22
ส่วนของผูถ้ ือหุ้น
ทุนจดทะเบียน 5,504 5,760
กําไรสะสม 32,363 40,175
รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ 37,867 45,935
รวมหนี5 สินและส่วนของผูถ้ อื หุ้น 75,909 95,298

บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด


งบกําไรขาดทุน
สําหรับปี สิ5 นสุด วันที 31 ธันวาคม
หน่วย : พันบาท

2544 2545
ขาย 153,000 215,600
หัก ต้นทุนขาย 91,879 129,364
กําไรขันE ต้น 61,121 86,236
หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริการ 49,315 66,993
กําไรจากการดําเนินงาน 11,806 19,243
หัก ดอกเบียE จ่าย 2,277 2,585
บวก รายได้อ"นื 838 422
กําไรก่อนภาษี 10,367 17,080
หัก ภาษีเงินได้ 4,457 7,686
กําไรสุทธิ 5,910 9,394
กําไรสะสมต้นงวด 28,315 32,363
บวก กําไรสุทธิประจํางวด 5,910 9,394
หัก เงินปนั ผลจ่าย 1,862 1,582
กําไรสะสมปลายงวด 32,363 40,175

23
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด
งบกระแสเงิ นสด
สําหรับปี สิ5 นสุด วันที 31 ธันวาคม
หน่วย : พันบาท
2545
1. กระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงาน
กําไรสุทธิ 9,394
ค่าเสือ" มราคา 3,998
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดลดลง 2,732
ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าลดลง 247
เจ้าหนีEการค้าเพิม" 6,703
หนีEระยะยาวทีค" รบกําหนดใน 1 ปี เพิม" 368
ค่าใช้จ่ายเพิม" 356
ลูกหนีEการค้าเพิม" (610)
สินค้าคงเหลือเพิม" (10,272)
ตั aวเงินจ่ายลดลง (398)
รวมกระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน 12,518
2. กระแสเงิ นสดจากการลงทุน
ลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร (14,100)
อื"นๆ 295
รวมกระแสเงินสดจากการลงทุน (13,805)
3. กระแสเงิ นสดจากการจัดหาเงิ นทุน
ทุนจดทะเบียนเพิม" ขึนE 256
เงินกูร้ ะยะยาวเพิม" 4,084
เงินกูก้ รรมการเพิม" 208
จ่ายเงินปนั ผล (1,582)
รวมกระแสเงินสดจากการจัดหาเงินทุน 2,966
1+2+3 กระแสเงินสดสุทธิทงั E สินE 1,679
บวก เงินสดคงเหลือต้นงวด 2,382
เงินสดคงเหลือปลายงวด 4,061

24
4.2.1 การอ่านและวิ เคราะห์งบการเงิ น

จากงบการเงิน ของบริษัท ขอนแก่ น เกริก ไกร จํา กัด เราอาจเริ"ม ต้น กระบวนการอ่ า นและวิเ คราะห์
งบการเงินได้ดงั นีE

อ่านข้อมูลดิ บของงบการเงิ น

ในขันE ตอนแรกเราจะยังไม่สนใจเครื"องมือการวิเคราะห์ใดๆ ทังE สิEน นักวิเคราะห์อาจเริม" ต้นโดยนํ างบ


การเงินซึง" มีตวั เลขมาพิจารณาว่าเกิดอะไรขึนE บ้างกับกิจการในช่วงทีผ" ่านมา โดยเรียงลําดับดังนีEคอื งบดุลด้านสินทรัพย์
งบดุลด้านหนีEสนิ และทุน งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด ลองดูตวั อย่างกรณีงบการเงินของบริษทั ขอนแก่นเกริก
ไกร จํากัด ดังต่อไปนีE

• งบดุลด้านสิ นทรัพย์ จะเริม" ดูจากรายการบรรทัดสุดท้าย (Bottom line) ทีส" าํ คัญได้แก่ สินทรัพย์รวม


พบว่าในปี พ.ศ.2544 บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวม 75.91 ล้านบาท และเพิม" เป็ น 95.30 ล้านบาทในปี พ.ศ.
2545 เหตุทต"ี ้องดูทส"ี นิ ทรัพย์รวมก่อนก็เพราะสินทรัพย์รวมบอกถึงขนาด (Size) ของกิจการ ขนาด
ของกิจการทีเ" ปลีย" นไปจากปี หนึ"งไปสูอ่ กี ปี หนึ"งบ่งบอกถึงการเติบโตของกิจการ ในกรณีตวั อย่างนีEเรา
จะเห็นภาพของขนาดของกิจการในปี แรก (2544) ว่าอยู่ในระดับประมาณ 75 ล้านบาท และเพิม" เป็ น
ประมาณ 95 ล้า นบาทในปี ต่อ มา (2545) เรายัง ได้เ ห็นด้วยวากิจ การมีการเติบโตในขนาดของ
สินทรัพย์มากขึนE ประมาณ 20 ล้านบาท ตัวเลขของมูลค่าการเติบโตของกิจการโดยทัวไปถื " อเป็ นข่าว
ดีเพราะส่งสัญญาณว่ากิจการมีความก้าวหน้า มีการเติบโต มูลค่าสินทรัพย์ทส"ี งู ขึนE สะท้อนให้เห็นถึง
โอกาสในการสร้างรายได้ให้แก่กจิ การมีมากขึนE (ถ้าสินทรัพย์ทเ"ี พิม" ขึนE นันE เป็ นสินทรัพย์ทม"ี ปี ระโยชน์
ในการดําเนินงาน)

จากขนาดของกิจการซึง" พิจารณาจากสินทรัพย์รวม เราควรจะอ่านงบต่อไปด้วยว่าเงินลงทุนทีน" ําไป


ลงทุนในสินทรัพย์นนั E อยู่ในสินทรัพย์ใดบ้าง ในกรณีบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรนีE ในปี พ.ศ.2544 การ
ลงทุ นในสินทรัพ ย์ 75 ล้า นบาท อยู่ใ นรูป สิน ทรัพย์หมุ นเวีย น 56 ล้า นบาท และสินทรัพ ย์ถ าวร
ประมาณ 19 ล้านบาท แล้วพิจารณาว่าสัดส่วนมูลค่าลงทุนนีEมอี ะไรผิดปกติหรือไม่ เนื"องจากเป็ น
ธุรกิจซือE มาขายไปการมีมลู ค่าสินทรัพย์หมุนเวียนสูงกว่าสินทรัพย์ถาวรอยู่มากในกรณีนEีไม่ได้มอี ะไร
ทีผ" ดิ ปกติ ส่วนการอ่านงบดุลด้านสินทรัพย์ในปี 2545 พบว่า การลงทุนในสินทรัพย์มูลค่า 95 ล้าน
บาท จะอยู่ในรูปสินทรัพย์หมุนเวียน 66 ล้านบาท และสินทรัพย์ถาวร 29 ล้านบาท ถามว่าโครงสร้าง
ทางการเงินด้านการลงทุนในสินทรัพย์เปลีย" นแปลงไปหรือไม่ คําตอบก็คอื มีการเปลีย" นแปลง เราจะ
เห็นได้ว่าสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ"มขึนE ประมาณ 10 ล้านบาท จากฐานในปี แรก 56 ล้านบาท และ
สินทรัพย์ถาวรเพิม" ขึEนประมาณ 10 ล้านบาทเช่นกัน แต่จากฐาน 19 ล้านบาท แสดงว่าสินทรัพย์
ถาวรมีอตั ราการเติบโตเร็วกว่าสินทรัพย์หมุนเวียน แต่โครงสร้างเงินลงทุนในสินทรัพย์ จะเปลีย" นไป
เท่าใด จากการอ่านเฉพาะตัวเลขแล้วมองเห็นภาพได้ยากเพียงแต่รูว้ ่ามีการเปลีย" นแปลง เราจะอ่าน
ภาพได้ชดั ยิง" ขึนE จะต้องใช้เครื"องมืออื"นมาช่วย ได้แก่ การย่อส่วนตามแนวดิง" (Common Size) โดย
สรุปแล้วการอ่านงบดุลด้านสินทรัพย์จากข้อมูลดิบในงบอย่างน้อยทําให้เราเห็นขนาดของกิจการ
การเติบโตของกิจการ และโครงสร้างเงินลงทุนในสินทรัพย์ว่ามีการเปลีย" นแปลงไปหรือไม่

25
• งบดุลด้านหนี5 สินและทุน การอ่านงบดุลด้านหนีEสนิ และทุนจะบอกเราว่า เงินทุนในสินทรัพย์ของ
กิจการนันE จัดหาเงินทุนมาจากทีใ" ดโดยปกติจะแยกทีม" าของเงินทุนออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ จากการกูย้ มื
และจากส่วนของเจ้าของ จากตัวอย่างกรณีบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัดนีE จะเห็นได้ว่า ในปี พ.ศ.
2544 บริษทั ฯจัดหาเงินทุนเพื"อมาลงทุนในสินทรัพย์ 75 ล้านบาทจากหนีEสนิ 38 ล้านบาท และจาก
ส่วนของผู้ถือหุ้น 37 ล้านบาท ลักษณะดังกล่าวนีEชEใี ห้เห็นว่า บริษัทฯจัดหาเงินทุนจากการกู้ยืม
ครึ"งหนึ"งและใช้เงินทุนของตนเองอีกครังE หนึ"ง ซึ"งชีEให้เ ห็นว่าอัตราส่วนหนีEสนิ ต่อทุนจะอยู่ในระดับ
ประมาณ 1 : 1 ระดับของเงินทุนจากการกูย้ มื เทียบกับเงินทุนของตัวเองเป็ นเครื"องชีถE งึ ความเสีย" ง
ทางการเงินของกิจการด้วย เนื"องจากยิง" กูจ้ ากภายนอกเท่าใดความเสีย" งทีจ" ะต้องจ่ายภาระผูกพันนีEกม็ ี
มากขึนE ด้วย สําหรับข้อมูลอื"นๆ ทีต" ้องอ่านเพิม" เติมก็คอื หนีEสนิ ทีก" ู้มานีEเป็ นหนีEสนิ ระยะสันE หรือหนีEสนิ
หมุนเวียนเท่าใด และหนีEสนิ ระยะยาวเท่าใด และต้องไปพิจารณาร่วมกับเงินทุนจากส่วนของผูถ้ อื หุ้น
ด้วย นักวิเคราะห์งบการเงินควรจะทราบไว้ดว้ ยว่า หนีEสนิ หมุนเวียนเป็ นแหล่งเงินทุนระยะสันE ซึง" ควร
ใช้เป็ นเงินทุนสําหรับหมุนเวียนในกิจการ หนีEสนิ ระยะยาวเป็ นแหล่งเงินทุนทีค" วรนําไปลงทุนระยะยาว
ส่วนทุ นจดทะเบียนและกําไรสะสมถือว่ าบริษัทสามารถใช้ได้ท งั E ระยะสันE และระยะยาว การเข้าใจ
แนวคิดนีEมปี ระโยชน์ตรงทีใ" ช้ประเมินเบือE งต้นว่ากิจการมีโอกาสทีจ" ะใช้เงินผิดประเภทหรือไม่ โดยลอง
สรุปดังนีE

ปี 2544
เงิ นทุนระยะยาว การลงทุนระยะยาว
เงินกูร้ ะยะยาว = 17.61 ล้านบาท สินทรัพย์ถาวร = 18.98 ล้านบาท
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ บางส่วน = 1.37 ล้านบาท

เงิ นทุนระยะสัน5 การลงทุนระยะสัน5


หนีEสนิ หมุนเวียน = 20.43 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน = 56.26 ล้านบาท
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ บางส่วน = 35.83 ล้านบาท

จากการสรุปข้างต้นทําให้เห็นได้ว่า การจัดหาเงินทุนเพื"อลงทุนในสินทรัพย์ทําได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ไม่มกี ารใช้เงินทุนแบบผิดประเภท (เช่น จัดหาเงินทุนระยะสันE เพื"อไปลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาว)

เมื"อเข้าใจลักษณะของงบดุลด้านหนีEสนิ และทุนในปี พ.ศ.2544 ดีแล้ว ในปี พ.ศ.2545 ก็สามารถอ่านงบนีE


ได้ ในทํานองเดียวกัน คือ ในปี 2545 บริษทั ฯจัดหาเงินทุนมาลงทุนในสินทรัพย์ 95 ล้านบาท โดยได้จากการกูย้ มื 49
ล้านบาท และจากส่วนของเจ้าของอีก 46 ล้านบาท ถ้าดูจากข้อมูลนีEจะเห็นได้ว่าอัตราส่วนหนีEสนิ ต่อทุน เริ"มจะสูง
มากกว่าอัตราส่วน 1 : 1 เล็กน้อย แสดงถึงภาระความเสีย" งทางการเงินของกิจการเริม" สูงมากขึนE ทีเ" ป็ นเช่นนีEกเ็ พราะใน
ปี ท"ี 2 นีE เงินทุนจากภาระหนีEเพิม" เร็วกว่า เงินทุนจากส่วนของเจ้าของ (หนีEสนิ เปลีย" นแปลงเพิม" ขึนE = 49 ล้านบาท –
38 ล้านบาท = 11 ล้านบาทแต่ส่วนของเจ้าของเปลีย" นแปลงเพิม" ขึนE = 46 ล้านบาท – 38 ล้านบาท = 8 ล้านบาท)
อย่างไรก็ตามถ้าตรวจสอบความเหมาะสม การใช้เงินทุนในปี 2545 สรุปผลได้ดงั นีE

26
ปี 2545

เงิ นทุนระยะยาว การลงทุนระยะยาว


เงินกูร้ ะยะยาว = 21.90 ล้านบาท สินทรัพย์ถาวร = 29.08 ล้านบาท
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ บางส่วน = 7.18 ล้านบาท

เงิ นทุนระยะสัน5 การลงทุนระยะสัน5


หนีEสนิ หมุนเวียน = 27.46 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน = 65.85 ล้านบาท
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ บางส่วน = 38.39 ล้านบาท

จากข้อมูลข้างต้นนีEกย็ งั คงแสดงให้เห็นว่าในปี 2545 กิจการนีEยงั คงจัดหาเงินทุนได้อย่างเหมาะสม และ


นําไปใช้ลงทุนในสินทรัพย์โดยไม่ผดิ ประเภท การจัดหาและใช้เงินทุนแบบทีผ" ดิ ประเภท โดยเฉพาะทีต" ้องจัดหาเงินทุน
จากระยะสันE และนําไปลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาวจะก่อให้เกิดปญั หาได้โดยเฉพาะในเรื"องสภาพคล่อง เช่น กรณีลงทุน
ซือE เครื"องจักรหรือทีด" นิ อาคารโรงงาน ซึง" ถือว่าเป็ นการลงทุนระยะยาว แต่ถา้ จัดหาเงินทุนแบบการกูย้ มื ระยะสันE อาจมี
ปญั หาได้ เพราะผูป้ ล่อยกูอ้ าจเรียกให้ชาํ ระเงินกูค้ นื และไม่ต่ออายุวงเงินให้ในขณะทีก" ารลงทุนในสินทรัพย์ถาวรต้องใช้
ระยะเวลานานกว่าจะได้กาํ ไรมาเป็ นการคืนทุน ดังนันE การเรียกเงินกูร้ ะยะสันE อาจทําให้กจิ การขาดสภาพคล่อง ไม่มเี งิน
ชําระหนีE เกิดความเสีย" งทางการเงิน บางกรณีอาจถึงขันE ล้มละลายได้

โดยสรุปแล้วการอ่านงบดุลด้านหนีEสนิ และทุนจะทําให้ทราบว่าในภาพรวมแล้ว บริษทั จัดหาเงินทุนมา


จากทีใ" ดบ้าง มีโครงสร้างของเงินทุนอย่างไร และโครงสร้างนีEเปลีย" นไปอย่างไร และการเปลีย" นแปลงนีEทําให้เกิดปญั หา
การจัดหาเงินทุนเป็ นไปอย่างไม่เหมาะสมหรือไม่ ถ้าใช่กอ็ าจกระทบต่อความเสีย" งและฐานะการเงินของกิจการต่อไปได้
ในอนาคต

• งบกําไรขาดทุน การอ่านข้อมูลดิบของงบกําไรขาดทุนมีประโยชน์ตรงที"ช่วยบอกข้อมูลเบืEองต้น
เกีย" วกับผลการดําเนินงานของกิจการ นักวิเคราะห์ควรเข้าใจเพิม" เติมด้วยว่า ผลการดําเนินงานจะดี
ได้มาจากสองส่วน ส่วนแรกคือ จากยอดขาย ซึ"งสะท้อนถึงความสําเร็จในการนํ าสินค้าและบริการ
ออกไปจําหน่าย ยอดขายทีส" งู จะมีผลทางบวกต่อกําไรของกิจการ ส่วนทีส" องคือ ต้นทุนและค่าใช้จ่าย
ของกิจการ การพิจารณาผลการดําเนินงานของกิจการจะดูจากความสามารถทีจ" ะควบคุมต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายของกิจการด้วย ถ้าควบคุมได้ดกี จ็ ะส่งผลดีต่อกําไรของกิจการด้วย เมื"อเป็ นดังนีE การเริม" ต้น
อ่านงบกําไรขาดทุนเราจะไม่ดูท"บี รรทัดสุดท้ายเหมือนในงบดุล เราจะเริม" ต้นที"ยอดขายแล้วจึงจะ
ค่อยๆ ดูทต"ี น้ ทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื"อวิเคราะห์ความสามารถในการทํากําไรด้วย

จากงบกําไรขาดทุนของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด ในปี 2544 กิจการมียอดขาย 153 ล้านบาท


ถามว่ายอดขายขนาด 153 ล้านบาทนีE ประสบความสําเร็จหรือไม่ จากข้อมูลเท่าทีม" อี ยู่บอกได้ลําบก
เพราะควรจะนําข้อมูลยอดขายในปี 2544 นีEไปเทียบกับปี 2543 เพื"อเปรียบเทียบกัน อย่างไรก็ตาม
ภายใต้ขอ้ มูลเท่าทีม" ี นักวิเคราะห์ลองพิจารณาดูว่า กิจการมีสทิ รัพย์ในปี 2544 ประมาณ 75.91 ล้าน
บาท สินทรัพย์เหล่านีEสร้างยอดขายได้ 153 ล้านบาท คิดเป็ น 2.02 เท่า (คํานวณจากยอดขาย /
สินทรัพย์รวม) อัตราส่วนที"สูงนีEจะอธิบายว่ากิจการบริหารสินทรัพย์ได้ดี สร้างรายได้ได้สูง ซึ"งจะ
สะท้อนถึงผลการดําเนินงานทีด" ี และข้อมูลในปี แรกนีEจะเป็ นฐานในการอธิบายผลการดําเนินงานที"

27
เปลีย" นแปลงในปี ต่อไปได้ หลังจากพิจารณายอดขายในปี 2544 สิง" ทีน" กั วิเคราะห์จะต้องกระทําต่อไป
ก็คอื การอ่านข้อมูลงบกําไรขาดทุนรายการสําคัญทีเ" หลือแบบบนลงล่าง โดยทีด" ูทก"ี ําไรคงเหลือในแต่
ละจุดได้แก่ กําไรขันE ต้น กําไรจากการดําเนินงานและกําไรสุทธิ ตามลําดับ จากกรณีตวั อย่างนีEจะเห็น
ได้ว่าบริษัทมีกําไรโดยตลอด โดยมีกําไรขันE ต้นในปี 2544 เท่ากับ 61.12 ล้านบาท กําไรจากการ
ดําเนินงานเท่ากับ 11.81 ล้านบาท และกําไรสุทธิ 5.91 ล้านบาท จากข้อมูลนีEจะเห็นได้ว่ากิจการยัง
ดําเนินงานได้อย่างมีกาํ ไรในทุกขันE ตอน การมีกาํ ไรเป็ นเรื"องทีบ" อกสัญญาณบวกแก่กจิ การ แต่จะเป็ น
กําไรในระดับที"น่าพอใจหรือไม่ ต้องมาวิเคราะห์กนั ต่อไป สําหรับในปี 2545 ยอดขายของบริษทั นีE
เพิ"มขึEนจาก 153 ล้านบาท เป็ น 215.6 ล้า นบาท หรือเพิ"ม ขึEน 62.6 ล้า นบาท ซึ"ง สะท้อนผลใน
ทางบวกว่าสินค้าและบริการของบริษัทยังคงได้รบั การต้อนรับจากตลาดเป็ นอย่างดี เมื"อพิจารณา
ข้อมูลกําไรในปี 2545 พบว่ากําไรขันE ต้นเท่ากับ 86.24 ล้านบาท กําไรจากการดําเนินงานเท่ากับ
19.24 ล้านบาท กําไรสุทธิ 9.39 ล้านบาท พบว่ากําไรในทุกระดับของปี 2545 เพิม" ขึนE จากปี 2544
ทุกรายการซึง" ควรจะเป็ นสิง" ทีน" ่ายินดี อย่างไรก็ตามถ้าเราลองพิจารณาดูปญั หาว่าในขณะทีย" อดขาย
ในปี 2545 เพิม" ขึนE จากปี 2544 เท่ากับ 62.6 ล้านบาท แต่กําไรขันE ต้นเพิม" ขึนE เพียง 25.12 ล้านบาท
และกําไรสุทธิเพิม" ขึนE เพียง 3.48 ล้านบาท ตรงนีEเกิดคําถามว่าเราได้ใช้ความพยายามทางการตลาด
สร้างยอดขายเพิม" ได้ถงึ 62.6 ล้านบาท แต่สร้างกําไรสุทธิได้เพิม" เพียง 3.48 ล้านบาทเท่านันE บริษทั
นีEมปี ญั หาทีก" ารควบคุมค่าใช้จ่ายหรือไม่ การตอบคําถามนีEโดยการดูจากข้อมูลดิบทีเ" ป็ นตัวเลขทําได้
ยากควรใช้เครื"องมืออื"นในการวิเคราะห์งบการเงิน เช่น การย่อส่วนตามแนวดิง" (Common – Size
analysis) เข้ามาช่วย ซึง" จะได้อธิบายถึงต่อไปในภายหลัง แต่ในขันE ตอนนีEการอ่านงบกําไรขาดทุนได้
ช่วยทําให้เราเห็นภาพว่ากิจการนีEยงั คงดําเนินงานได้ตามปกติ มีการเติบโตอยู่ในเกณฑ์ดี (การ
เติบโตของยอดขายสอดคล้องในทิศทางเดียวกับการเติบโตของสินทรัพย์ของกิจการ) และมีกําไร
อย่างไรก็ตามความสามารถในการทํากําไรเป็ นประเด็นทีจ" ะต้องทําการตรวจสอบกันต่อไป

• งบกระแสเงิ นสด งบกระแสเงินสดถูกจัดทําขึนE มาเพื"ออธิบายว่าในแต่ละปี บริษัทจัดหาเงินทุนมา


จากแหล่งใด และใช้เงินทุนในกิจกรรมใดบ้าง เดิมจึงเรียกงบนีEว่า งบแสดงแหล่งที"มาและใช้ไปของ
เงินทุน กิจกรรมในการจัดหาหรือใช้ไปของเงินทุนของกิจการจะเกี"ยวข้องกับใน 3 แหล่ง คือ การ
ดํา เนิ น งาน การลงทุ น และการจัดหาเงิน ทุน ตามความเห็นของผู้เ ขีย นแล้ว งบกระแสเงิน สดมี
ประโยชน์ต่อการวิเคราะห์งบการเงินมาก เพราะพฤติกรรมการได้มาและใช้ไปของเงินทุน จะสะท้อน
ไปถึงฐานะการเงินของกิจการได้ เช่น ต่อสภาพคล่องและภาระหนีEสนิ ลองดูตวั อย่างงบกระแสเงินสด
ของบริษัท ขอนแก่ น เกริกไกร จํา กัดในปี 2545 ถ้า เราอ่ า นงบแต่ เ พีย งว่ า บริษัท ได้เ งิน ทุ น จาก
กิจกรรมการดําเนินงาน 12.52 ล้านบาท และได้จากการจัดหาเงินทุนระยะยาว 2.97 ล้านบาท และ
ใช้ไปในการลงทุนระยะยาว เท่ากับ 13.81 ล้านบาท จะทําให้มเี งินทุนคงเหลือ 1.68 ล้านบาท ถ้า
อ่านเพียงแค่นEีกอ็ าจทําให้ตอบในเบือE งต้นว่า บริษทั ไม่มปี ญั หาในการขาดแคลนเงินทุน แต่การอ่าน
งบกระแสเงินสดแบบนีEไม่ได้บอกอะไรเลยเกีย" วกับการเชื"อมโยงไปยังฐานะการเงิน

ทีจ" ริงแล้วเราอาจอ่านงบกระแสเงินสดเพื"อหาข้อมูลเกีย" วกับฐานะการเงินของกิจการได้ดงั ต่อไปนีE

1) อ่านดูทีการลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวรของหัวข้อกระแสเงิ นสดจากการลงทุนก่อน ในงบ


กระแสเงินสดนีE กิจการใช้เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวรประมาณ 13.81 ล้านบาท (หักรายการ

28
อื"นๆ ออกไปเพราะในทีน" Eีมมี ูลค่าไม่สงู มากนัก) เราต้องตังE คําถามต่อว่าเงินลงทุนส่วนนีEควรจะ
จัดหาเงินทุนจึงสมควรมาจากแหล่งเงินทุนระยะยาว (เช่น เงินกูร้ ะยะยาว ทุนจดทะเบียน) หรือ
เงินทุนภายในกิจการ (เช่น กําไรสุทธิบวกค่าเสื"อมราคา) ถ้าเรานําเงินทุนจากแหล่งระยะยสันE
มาใช้จะทําให้เกิดปญั หาสภาพคล่องขึEนได้เพราะถ้าครบกําหนดแล้วยังหาเงินทุนคืนหนีEค่า
สินทรัพย์ถาวร (ซึง" ต้องคืนทุนในเวลาทีน" านกว่านันE ) ไม่ได้

2) ดูจากการจัดหาเงิ นทุนเพือลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวร ถ้าเราต้องลงทุนในสินทรัพย์ถาวร


13.81 ล้านบาท และดูจากแหล่งเงินทุนระยะยาวก่อน คือ ทุนจดทะเบียนเพิม" ขึนE 0.26 ล้าน
บาท และเงินกู้ระยะยาวเพิม" ขึนE 4.08 ล้านบาท รวมเป็ น 4.34 ล้านบาท หักออกจาก 13.81
ล้านบาท ยังขาดทุนอีก 9.47 ล้า นบาท ถ้าบริษัทไปนํ าเอาเงินทุนจากการทํามาหาได้ของ
กิจการ คือ กําไรสุทธิบวกค่าเสื"อมราคา เท่ากับ 13.39 ล้านบาท ซึ"งสามารถครอบคลุมการ
ลงทุนนีEได้ และยังเหลือเงินทุนเพื"อลงทุนในสินทรัพย์ถาวรต่อไป ทีอ" ธิบายข้างต้นนีEชใEี ห้เห็นว่า
บริษทั ไม่ได้ใช้เงินทุนผิดประเภทในการลงทุนระยะยาวนีE

3) ดูการจัดหาเงิ นทุนเพือลงทุนในเงิ นทุนหมุนเวียน เงินทุนหมุนเวียนในทีน" Eีพจิ ารณาได้ทงั E ที"


เป็ น แหล่ ง ที"ม าและแหล่ ง ที"ใ ช้ไ ปของเงิน ทุ น หมุ น เวีย น กรณี ท"ีเ ป็ น แหล่ ง ที"ม าของเงิน ทุ น
หมุนเวียน เกิดในกรณีท"หี นีEสนิ หมุนเวียนเพิม" ขึนE และ / หรือ สินทรัพย์หมุนเวียนลดลง และ
กรณีท"เี ป็ นแหล่งที"ใช้ไปของเงินทุนหมุนเวียน เกิดในกรณีทห"ี นีEสนิ หมุนเวียนลดลง และ / หรือ
สินทรัพย์หมุนเวียนเพิม" ขึนE สําหรับกรณีของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรนีEการอธิบายเรื"องเงินทุน
หมุนเวียนให้ดูทร"ี ายการต่างๆ ในกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน (โดยตัดรายการกําไรสุทธิ
และค่าเสื"อมราคาออกไป) รายการที"เหลือจะเป็ นการเปลี"ยนแปลงในสินทรัพย์หมุนเวียนและ
หนีEสนิ หมุนเวียน ซึง" สามารถนํามาสรุปได้ดงั นีE

แหล่งใช้ไปของเงิ นทุนหมุนเวียน (ล้านบาท) แหล่งทีมาของเงิ นทุนหมุนเวียน (ล้านบาท)


ลูกหนีEการค้าเพิม" 0.61 หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 2.73
สินค้าคงเหลือเพิม" 10.27 ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าลด 0.25
ตั aวเงินจ่ายลดลง 0.40 เจ้าหนีEการค้าเพิม" 6.70
รวม 11.28 หนีEระยะยาวทีค" รบใน 1 ปี เพิม" 0.37
ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิม" 0.36
10.41

จะเห็นได้ว่ายังขาดเงินทุนหมุนเวียนอยู่ 11.28 – 10.41 = 0.87 ล้านบาท บริษทั สามารถไปนําบางส่วน


จากเงินทุนภายในกิจการทีเ" หลืออยู่ตามทีอ" ธิบายไปในข้อ 2 มาใช้ได้ ดังนันE บรํษทจึงยังคงมีเงินทุนเพียงพอต่อการใช้
จ่ายหมุนเวียนในกิจการ ไม่ได้เกิดปญั หาขาดแคลนเงินทุนแต่อย่างใด

การอ่านงบกระแสเงินสดของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรนีE จะทําให้เราเห็นภาพได้ว่าบริษทั ไม่ได้มกี ารใช้


เงินผิดประเภท ไม่ได้เกิดสภาวะขาดแคลนเงินทุน สภาพคล่องของกิจการจึงควรจะอยู่ในระดับปกติ เมื"อพิจารณา
ร่วมกับการทีย" อดขายยังคงเพิม" และมีกาํ ไรอยู่ จะทําให้เรารูส้ กึ เชื"อมันได้
" มากขึนE ว่าการดําเนินงานและฐานะการเงินของ
กิจการจะยังคงอยู่ในเกณฑ์ปกติดี

29
การอ่านข้อมูลจากการใช้เครือ งมือวิ เคราะห์งบการเงิ น

ในหัวข้อที" 4.4 ของบทนีEได้แนะนําไปแล้วว่าเครื"องมือวิเคราะห์งบการเงินประกอบไปด้วย 4 เครื"องมือ


ได้แก่ การย่อส่วนตามแนวดิง" การวิเคราะห์แนวโน้ม การวิเคราะห์งบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน และการวิเคราะห์
อัตราส่วนทางการเงิน หลังจากทีเ" ราอ่านข้อมูลดิบของงบการเงินจะทําให้เห็นภาพของกิจการเกีย" วกับผลการดําเนินงาน
และฐานะการเงินในระดับหนึ"ง เพื"อให้กระบวนการวิเคราะห์งบการเงินเป็ นไปอย่างสมบูรณ์มากขึนE ในขันE ตอนนีEเราจะ
นําเครื"องมือต่างๆ ข้างต้นของการวิเคราะห์งบการเงินมาใช้อธิบายในกรณีบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรนีE โดยหวังว่าจะทํา
ให้เราเห็นสภาพของกิจการนีEได้อย่างลึกซึงE มากขึนE

• การย่อส่วนตามแนวดิ ง (Common – Size Analysis)

ข้อมูลการย่อส่วนตามแนวดิง" ของงบดุลบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร ในปี 2544 และ 2545 แสดงได้ดงั นีE

บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด


งบดุล
ณ วันที 31 ธันวาคม

หน่วย : พันบาท, เปอร์เซ็นต์

สิ นทรัพย์ 2544 2545 2544 2545


สิ นทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด 2,382 4,061 3.10 4.30
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 8,004 5,272 10.60 5.50
ลูกหนีEการค้า 8,350 8,960 11.00 9.40
สินค้าคงเหลือ 36,769 47,041 48.40 49.40
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 859 512 1.00 0.50
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 56,264 65,846 74.10 69.10
สิ นทรัพย์ถาวร
ทีด" นิ 811 811 1.10 0.80
อาคาร 11,928 18,273 15.70 19.20
เครื"องจักรและอุปกรณ์ 13,768 21,523 18.10 22.60
หัก ค่าเสือ" มราคาสะสม 7,530 11,528 (9.90) (12.10)
สินทรัพย์ถาวรสุทธิ 18,977 29,079 25.00 30.50
สิ นทรัพย์อื`น 668 373 0.90 0.40
สิ นทรัพย์รวม 75,909 95,298 100.00 100.00

30
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด
งบดุล
ณ วันที 31 ธันวาคม

หน่วย : พันบาท, เปอร์เซ็นต์

หนี5 สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น 2544 2545 2544 2545


หนี5 สินหมุนเวียน
เจ้าหนีEการค้า 7,591 14,294 10.00 15.00
ตั aวเงินจ่าย 6,012 5,614 7.90 5.90
เงินกูร้ ะยะยาวทีถ" งึ กําหนดชําระใน 1 ปี 1,516 1,884 2.00 2.00
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 5,313 5,669 7.00 5.90
รวมหนีEสนิ หมุนเวียน 20,432 27,461 26.90 28.80
หนี5 สินระยะยาว
เงินกูย้ มื ระยะยาว 16,975 21,059 22.40 22.10
เงินกูย้ มื กรรมการ 635 843 0.80 0.90
รวมหนีEสนิ ระยะยาว 17,610 21,902 23.20 23.00
รวมหนี5 สิน 38,042 49,363 50.10 51.80

ส่วนของผูถ้ ือหุ้น
ทุนจดทะเบียน 5,504 5,760 7.30 6.00
กําไรสะสม 32,363 40,175 42.60 42.20
รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ 37,867 45,935 49.90 48.20
รวมหนี5 สินและส่วนของผูถ้ อื หุ้น 75,909 95,298 100.00 100.00

จาก Common – Size ของงบดุลด้านสินทรัพย์ในปี 2544 และ 2545 จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของการ


ลงทุนในสินทรัพย์ของบริษทั มีลกั ษณะทีเ" ปลีย" นไปกล่าวคือ เดิมโครงสร้างของสินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์ถาวรใน
ปี 2544 มีสดั ส่วนประมาณ 75% และ 25% ตามลําดับ และได้เปลี"ยนเป็ นประมาณ 70% และ 30% ตามลําดับในปี
2545 ลักษณะเช่นนีEชใEี ห้เห็นว่าระหว่างทีบ" ริษทั มีการเติบโตมากขึนE (สินทรัพย์รวมเพิม" จาก 75 ล้านบาท เป็ น 95 ล้าน
บาท) อัตราการเพิม" ของสินทรัพย์ถาวรเพิม" เร็วกว่าอัตราการเพิม" ของสินทรัพย์หมุนเวียน แม้ว่าในแง่ของเม็ดเงินจะมี
ระดับพอๆ กัน โดยสินทรัพย์หมุนเวียนเพิม" ขึนE จาก 19 ล้านบาท เป็ น 29 ล้านบาท (เพิม" ขึนE ประมาณ 10 ล้านบาท)
แต่ฐานของสินทรัพย์ถาวรมีขนาดทีเ" ล็กกว่าอัตราการเพิม" จึงสูงกว่าในจํานวนทีเ" ท่ากัน ถ้าตรวจสอบเพิม" เติมจะพบด้วย
ว่ารายการของสินทรัพย์ถาวรทีม" กี ารเพิม" ขึนE มากได้แก่ อาคาร เครื"องจักรและอุปกรณ์ ซึง" ก็ต้องพิจารณาเพิม" เติมต่อไป
ว่าเป็ นการขยายกําลังการผลิตเพื"อรองรับการเจริญเติบโตในอนาคตหรือไม่ อย่างไรก็ตามในภาพรวมแล้วการอ่าน
Common – Size ของงบดุลด้านสินทรัพย์ไม่ได้แสดงถึงการเปลีย" นแปลงโครงสร้างทางการลงทุนในสินทรัพย์ทม"ี คี วาม
ผิดปกติจนกระทบต่อฐานะการเงินของบริษทั แต่อย่างใด

31
จาก Common – Size ของงบดุลด้านหนีEสนิ และทุนในปี 2544 และ ปี 2545 โครงสร้างของการจัดหา
เงินทุนของกิจการมีการเปลีย" นแปลงไม่มากนักกล่าวคือ ในปี 2544 การจัดหาเงินทุนจากการก่อหนีEคดิ เป็ น 50% และ
จากการใช้เงินทุนภายในจากส่วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของ ประมาณ 50% ของเงินทุนทังE หมด ส่วนในปี 2545 สัดส่วนดังกล่าว
เปลีย" นแปลงเป็ น 52% และ 48% ตามลําดับ ซึง" แสดงถึงภาระการก่อหนีEของบริษทั มีระดับสูงขึนE แต่ไม่เปลีย" นแปลงมาก
นัก ความกังวลใจว่าภาระหนีEสนิ ดังกล่าวมีระดับทีส" งู เกินไปหรือไม่ นักวิเคราะห์อาจทําได้โดยแยกสัดส่วนภาระหนีEสนิ
ออกเป็ นหนีEสนิ ระยะสันE และหนีEสนิ ระยะยาว พบว่าสัดส่วนของหนีEสนิ ระยะสันE อยู่ในระดับประมาณ 27% และสัดส่วนของ
หนีEสนิ ระยะยาวอยู่ในระดับประมาณ 23% และเมื"อนําไปเทียบกับสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียน ซึง" มีประมาณ70% จะ
เห็นได้ว่าครอบคลุมทีจ" ะจ่ายภาระหนีEระยะสันE ได้ และส่วนทีเ" หลือรวมกับส่วนของผูถ้ อื หุน้ ควรจะมีส่วนเกินมากพอทีจ" ะ
รองรับภาระหนีEสนิ ระยะยาว ซึง" มีสดั ส่วนประมาณ 23% ได้ ดังนันE ในภาพรวมแล้วการอ่าน Common – Size ของงบดุล
ด้านหนีEสนิ และทุนจึงยังไม่พบความผิดปกติอย่างรุนแรงทีจ" ะส่งผลกระทบในทางลบต่อฐานะการเงินของกิจการ

ต่อไปจะเป็ นการอ่านข้อมูลจาก Common – Size งบกําไรขาดทุนของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร ในปี


2544 และปี 2545 ซึง" มีรายละเอียดดังต่อไปนีE

บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด


งบกําไรขาดทุน
สําหรับปี สิ5 นสุด วันที 31 ธันวาคม
หน่วย: พันบาท, เปอร์เซ็นต์
2544 2545 2544 2545

ขาย 153,000 215,600 100.00 100.00


หัก ต้นทุนขาย 91,879 129,364 60.10 60.00
กําไรขันE ต้น 61,121 86,236 39.90 40.00
หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริการ 49,315 66,993 32.20 31.10
กําไรจากการดําเนินงาน 11,806 19,243 7.70 8.90
หัก ดอกเบียE จ่าย 2,277 2,585 1.50 1.20
บวก รายได้อ"นื 838 422 0.50 0.20
กําไรก่อนภาษี 10,367 17,080 6.70 7.90
หัก ภาษีเงินได้ 4,457 7,686 2.90 3.60
กําไรสุทธิ 5,910 9,394 3.80 4.30

จาก Common – Size ของงบกําไรขาดทุนในปี 2544 พบว่า บริษทั มีต้นทุนขายคิดเป็ นประมาณ 60%
ของยอดขาย ทําให้คงเหลือกําไรขันE ต้น 40% เมื"อหักค่าใช้จ่ายขายและบริหารแล้ว กิจการมีกําไรจากการดําเนินงาน
คงเหลือ 7.70% เมื"อเทียบกับยอดขายหลังจากหักดอกเบียE จ่ายและค่าใช้จ่ายอื"นๆ แล้ว บริษทั มีกําไรสุทธิคงเหลือ 3.80%
เมื"อเทียบกับยอดขาย สําหรับในปี 2545 บริษัทยังคงมีอตั รากําไรขันE ต้นเท่ากับในปี 2544 คือ 40% ในขณะที"สดั ส่วน
ค่าใช้จ่ายอื"นๆ มีระดับทีล" ดลงทําให้กาํ ไรสุทธิต่อยอดขายมีระดับทีส" งู ขึนE เป็ น 4.30%

32
ถ้าพิจารณาจากการอ่าน Common – Size งบกําไรขาดทุน ดูเหมือนว่ากิจการมีการควบคุมค่าใช้จ่ายได้ดี
ขึนE อย่างไรก็ตามมีขอ้ สังเกตทีต" น้ ทุนขาย ซึง" สัดส่วนต่อยอดขายยังคงทีเ" ท่ากับ 60% ทังE ทีย" อดขายเพิม" ขึนE ถึงประมาณ 63
ล้านบาท ซึง" โดยหลักแล้วการดําเนินงานมียอดขายมากขึนE ควรจะช่วยทําให้ประหยัดทีเ" ป็ นต้นทุนคงทีล" งได้ระดับหนึ"ง จุดนีE
จึงควรทําการตรวจสอบว่ากิจการมีการต้นทุนขายได้ดเี พียงใด แต่โดยภาพรวมแล้วปญั หา ณ จุดนีEกย็ งั ไม่รา้ ยแรงจนต้อง
ระบุว่าบริษทั มีปญั หาเรื"องต้นทุนสูงเพราะยังสามารถทํากําไรได้ดแี ละมีแนวโน้มดีขนEึ ด้วย แต่ถ้าบริหารต้นทุนได้ดกี ว่านีE
ความสามารถในการทํากําไรก็อาจจะดีกว่านีEได้ ดังนันE การอ่าน Common – Size งบกําไรขาดทุนข้างต้นจึงชีใE ห้เห็นว่าผล
การดําเนินงานและความสามารถในการทํากําไรของบริษทั นีEยงั อยู่ในเกณฑ์ดเี ป็ นปกติ

• การวิ เคราะห์แนวโน้ ม (Trend Analysis)

เนื"องจากการวิเคราะห์ Common – Size งบกําไรขาดทุนทําให้เรากําลังสงสัยเรื"องการควบคุมต้นทุน


ค่าใช้จ่ายของกิจการนีE ถ้าลองเอาเทคนิคการวิเคราะห์แนวโน้มเข้ามาใช้ในการอ่านงบการเงินเพิม" เติม อาจทําให้เราเห็น
ภาพในเรื"องนีEชดั เจนมากขึนE ซึง" สรุปได้ดงั ข้อมูลต่อไปนีE (โดยใช้ปี 2544 เป็ นปี ฐาน)
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด
Trend Analysis

2544 2545
ขาย 100 141
ต้นทุนขาย 100 141
ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร 100 136

จากข้อ มูล ข้างต้นจะเห็น ได้ว่า กิจ การควบคุ มการเพิ"ม ขึEนของค่ า ใช้จ่ ายในการขายและบริห ารได้ดี
เนื"องจากมีอตั ราการเติบโตช้ากว่ายอดขาย อย่างไรก็ตามอัตราการเติบโตของต้นทุนขายกลับเพิม" ขึนE เท่ากับยอดขาย
คือ 41% ทังE ๆ ทีเ" มื"อยอดขายเพิม" ขึนE มากควรมีการประหยัดจากขนาดทําให้ต้นทุนคงทีถ" ูกลง ความสามารถในการทํา
กําไรจึงจะเพิม" ขึEน ผลการวิเคราะห์ ณ จุดนีEจงึ เป็ นการยืนยันว่า บริษัทควรจะกลับไปทบทวนและหาวิธกี ารควบคุม
ต้นทุนขายให้ดขี นEึ กว่านีE แต่ในภาพรวมปญั หานีEยงั ไม่รุนแรงนักสําหรับบริษทั นีE

• การวิ เคราะห์การเคลือนไหวของเงิ นทุน (Fund Flow Analysis)

ในขันE ตอนนีEจะทําการวิเคราะห์การเคลื"อนไหวเงินทุนของบริษทั ว่าได้จดั หาเงินทุนมาจากที"ใด และใช้


เงินทุนเหล่านันE ไปในกิจกรรมใดบ้าง พฤติกรรมการได้มาและใช้ไปของเงินทุนทีเ" กิดขึนE ในแต่ละปี จะสะท้อนไปทีฐ" านะ
ทางการเงินของกิจการได้ดี ในกรณีบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรเราได้วเิ คราะห์งบการเคลื"อนไหวของเงินทุนนีEไปครังE หนึ"ง
แล้ว เมื"ออธิบายถึงวิธกี ารอ่านข้อมูลดิบจากงบกระแสเงินสด ถ้านักวิเคราะห์สามารถอ่านงบกระแสเงินสดได้เป็ นก็ไม่
จําเป็ นต้องทําการวิเคราะห์งบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุนอีก อย่างไรก็ตามในกรณีท"ไี ม่คุน้ เคยกับวิธกี ารอ่านงบ
กระแสเงินสด อาจจัดทํางบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุนได้โดยแยกส่วนประกอบของงบออกเป็ น 2 ด้านคือ ด้านที"
เป็ นแหล่งทีม" าของเงินทุน และด้านแหล่งทีใ" ช้ไปของเงินทุน และมีหลักการแยกรายการในงบการเงินออกมาใส่ในงบ
แสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน ดังนีE

33
แหล่งทีมาของเงิ นทุน
- จากการดําเนินงาน : กําไรสุทธิและค่าเสือ" มราคา
การลดลงของสินทรัพย์หมุนเวียน
การเพิม" ขึนE ของหนีEสนิ หมุนเวียน
- จากแหล่งอื"นๆ : ทุนจดทะเบียนเพิม"
หนีEระยะยาวเพิม"
การลดลงของสินทรัพย์อ"นื

แหล่งทีใช้ไปของเงิ นทุน
- จากการดําเนินงาน : ขาดทุนสุทธิ
การเพิม" ขึนE ของสิทรัพย์หมุนเวียน
การลดลงของหนีEสนิ หมุนเวียน
- จากแหล่งอื"นๆ : การลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร
การจ่ายเงินปนั ผล
การลดลงของหนีEสนิ ระยะยาว
การเพิม" ขึนE ของสินทรัพย์อ"นื

สําหรับงบแสดงการเคลื"อนไหวของเงินทุน (Fund Flow) ในปี 2545 ของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกรแสดง


ได้ดงั ต่อไปนีE

บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด


Fund Flow
งบแสดงการเคลือนไหวของเงิ นทุนปี 2545

แหล่งทีมาของเงิ นทุน
จากการดําเนิ นงาน ล้านบาท เปอร์เซ็นต์
กําไรสุทธิ + ค่าเสือ" มราคา 13,392 47%
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดลด 2,732 10%
ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าลด 247 1%
เจ้าหนีEการค้าเพิม" 6,703 23%
หนีEระยะยาวครบกําหนด 1 ปี เพิม" 368 1%
ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิม" 356 1%
23,798 83%

34
จากแหล่งอืน
ทุนจดทะเบียนเพิม" 256 1%
เงินกูร้ ะยะยาวเพิม" 4,084 14%
เงินกูก้ รรมการเพิม" 208 1%
อื"นๆ 295 1%
4,843 17%
28,641 100%

แหล่งใช้ไปของเงิ นทุน
จากการดําเนิ นงาน
ลูกหนีEการค้าเพิม" 610 2%
สินค้าคงเหลือเพิม" 10,272 36%
ตั aวเงินจ่ายลด 398 1%
11,280 39%
จากแหล่งอืน
ลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร 14,100 49%
จ่ายเงินปนั ผล 1,582 6%
เงินสดเพิม" ขึนE 1,679 6%
17,361 61%
28,641 100%

จาก Fund Flow ในปี 2545 เราอ่านได้ว่า เงินทุนที"เคลื"อนไหวในปี นEีของบริษทั อยู่ในระดับประมาณ


28.64 ล้านบาท ซึง" กําหนดให้เท่ากับ 100% เงินทุนจํานวนดังกล่าวบริษทั จัดหามาจากการดําเนินงาน 83% และจาก
แหล่งอื"นๆ 17% ส่วนในด้านแหล่งใช้ไปของเงินทุนพบว่า บริษทั ใช้เงินทุนไปในการดําเนินงาน 39% และใช้ไปในแหล่ง
อื"นๆ 61% การอ่านงบเพียงเท่านีEจะยังไม่ทําให้เราเห็นภาพได้ชดั เจนนัก แต่ถ้าเราเริม" ต้นจากการดูทก"ี ารลงทุนเพิม" ใน
สินทรัพย์ถาวรเท่ากับ 49% แล้วจับคู่ดวู ่าบริษทั ควรจะหาเงินทุนมาให้ถูกประเภทคือ เป็ นเงินทุนระยะยาวเช่นกัน ลองดู
แหล่งที"มาของเงินทุนจากแหล่งอื"น พบว่ามีสดั ส่วนเท่ากับ 17% ซึ"งไม่เพียงพอยังขาดอยู่ 32% เงินทุนทีย" งั ขาดอยู่นEี
สามารถไปเอามาจากบางส่วนของกําไรสุทธิบวกค่าเสื"อมราคา ซึง" มีสดั ส่วนทังE หมดเท่ากับ 47% ได้ เพราะถือว่าเป็ น
แหล่งเงินทุนจากภายในกิจการซึ"งบริษัทมีสทิ ธิเอาไปใช้ลงทุนในระยะสันE หรือระยะบาวก็ได้ เงินทุนของกําไรและค่า
เสือ" มราคาส่วนทีเ" หลือ 47% - 32% = 15% สามารถนําไปจ่ายเงินปนั ผล 6% และเก็บไว้เป็ นเงินสดเพิม" ขึนE อีก 6% ส่วน
ทีเ" หลืออีก 3% นํ าไปร่วมเพิม" เติมเป็ นเงินทุนหมุนเวียนในระยะสันE ซึ"งมีสดั ส่วนการลงทุนประมาณ 39% จากข้อมูล
ดังกล่าวข้างต้นซึง" จับคู่ให้เห็นว่าการลงทุนในระยะยาวและระยะสันE จัดหาเงินทุนมาจากทีใ" ด พบว่าบริษทั ไม่ได้มกี ารใช้
เงินผิดประเภทแต่อย่างใด การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร โดยนํ าเงินทุนทังE จากการกู้ยมื ระยะยาวและจากกําไรในการ
ดําเนินงานจะทําให้ภาระหนีEสนิ ของบริษทั ไม่สงู จนผิดปกติมากนัก และเนื"องจากการจัดหาเงินทุนเพื"อลงทุนในระยะสันE
ยังไม่มสี ญ
ั ญาณบอกว่าบริษทั ใช้เงินทุนผิดประเภทจึงไม่น่าจะกระทบเรื"องสภาพคล่องของบริษทั

35
เพื"อตรวจสอบในเรื"องสภาพคล่องนีE เราจะวิเคราะห์การเปลี"ยนแปลงของรายการต่างๆ ในสินทรัพย์กบั
หนีEสนิ หมุนเวียนตาม Fund Flow ดังกล่าวข้างต้น

การเปลียนแปลงของสิ นทรัพย์หมุนเวียน การเปลียนแปลงของหนี5 สินหมุนเวียน


(ล้านบาท) (ล้านบาท)
เงินสดเพิม" 1.68 เจ้าหนีEการค้าเพิม" 6.70
หลักทรัพย์ลดลง (2.73) หนีEระยะยาวทีค" รบ 1 ปี เพิม" 0.37
ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าลด (0.25) ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิม" 0.36
ลูกหนีEการค้าเพิม" 0.61 ตั aวเงินจ่ายลด (0.40)
สินค้าคงเหลือเพิม" 10.27
รวม 9.58 รวม 7.03

เนื"องจากมูลค่าสินทรัพย์หมุนเวียนและหนีEสนิ หมุนเวียนในปี 2544 เท่ากับ 56.26 ล้านบาท และ 20.43


ล้านบาท ตามลําดับ จะเห็นได้ว่าแม้ยอดการเปลี"ยนแปลงของสินทรัพย์มุนเวียนจะมีมากกว่าหนีEสนิ หมุนเวียน (9.58
ล้านบาท มากกว่า 7.03 ล้านบาทโดยเปรียบเทียบ) แต่กไ็ ม่มากนัก ในขณะทีฐ" านของมูลค่าสินทรัพย์หมุนเวียนและ
หนีEสนิ หมุนเวียนแตกต่างกันมาก (56.26 ล้านบาท เทียบกับ 20.43 ล้านบาท) แสดงว่า หนีEสนิ หมุนเวียนจะมีอตั ราเพิม"
เร็วกว่าสินทรัพย์หมุนเวียน ลักษณะดังกล่าวจะทําให้อตั ราส่วนสภาพคล่อง (Current Ratio) มีระดับลดลง อย่างไรก็
ตามปญั หานีEยงั ไม่รุนแรงเพราะกิจการยังไม่มกี ารใช้เงินทุนผิดประเภท เช่นนําเงินจากระยะสันE ไปใช้ลงทุนในระยะยาว
การวิเคราะห์ในส่วนนีEจะทําให้เรามองเข้าไปในงบการเงินได้ลกึ ซึงE ว่าเกิดอะไรขึนE กับสภาพคล่อง และภาระหนีEสนิ ของ
กิจการได้ดกี ว่าการทีจ" ะดูเฉพาะค่าอัตราส่วนทางการเงินแต่เพียงอย่างเดียว

• การวิ เคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิ น (Financial Ratio Analysis)

การใช้อตั ราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) ควรเป็ นเครื"องมือสุดท้ายในการนํามาใช้วเิ คราะห์งบ


การเงิน เพราะระหว่างการอ่านงบการเงินจากข้อมูลดิบ และใช้ Common – Size, Trend และ Fund Flow จะทําให้เรา
เห็น ภาพต่ างๆ เกี"ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนิน งาน การใช้อตั ราส่ว นทางการเงินจะเป็ นเหมือนการสรุ ป
ภาพรวมในด้านต่างๆ ของกิจการ (ซึ"งบางด้านก็อาจเห็นหรือเข้าใจมาแล้วขณะที"ใช้เครื"องมืออื"น) สําหรับอัตราส่วน
ทางการเงินของบริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัดในปี 2544 และ ปี 2545 แสดงได้ดงั ต่อไปนีE

36
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด

อัตราส่วนทางการเงิ น

2544 2545

1. Liquidity Ratios
Current Ratios 2.75 เท่า 2.75 เท่า
Quick Ratio 0.95 เท่า 0.68 เท่า
Avg. Collection Period 20 วัน 15 วัน
Days Inventory 144 วัน 131 วัน

2. Asset Management Ratios


Fixed Asset Turnover 8.06 เท่า 7.41 เท่า
Total Asset Turnover 2.02 เท่า 2.26 เท่า

3. Leverage Ratios
Debt Ratio 0.50 เท่า 0.52 เท่า
Debt to Equity Ratio 1.01 เท่า 1.08 เท่า
Times Interest Earned 5.2 เท่า 7.4 เท่า

4. Profitability Ratios
Gross Profit Margin 39.9 % 40.0 %
Operating Profit Margin 7.7 % 8.9 %
Net Profit Margin 3.9 % 4.4 %
R.O.A. 7.8 % 9.9 %
R.O.E. 15.6 % 20.5 %

จากข้อมูลอัตราส่วนทางการเงินข้างต้น เราสามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ดงั นีE

ด้านสภาพคล่อง

Current Ratio ในปี 2544 และปี 2545 เท่ากับ 2.75 เท่า และ 2.40 เท่า ตามลําดับ การลดลงของ
Current ratio ในทีน" Eีไม่ใช่เรื"องทีน" ่ าแปลกใจถ้าอ่านงบ Fund flow มาก่อน การลดลงของ Current Ratio แม้จะบอก
ทิศทางว่าสภาพคล่องของบริษทั มีระดับลดลงกว่าเดิม แต่จากการอ่านงบ Fund Flow เราทราบว่าบริษทั ไม่มกี ารใช้เงิน
ผิดประเภท อีกทังE ขนาดของ Current Ratio 2.40 เท่า ถือว่ายังอยู่ในระดับสูง โดยสินทรัพย์หมุนเวียนทีม" อี ยู่ยงั คุม้ ครอง
หนีEสนิ หมุนเวียนได้อกี มาก

37
สําหรับ Quick Ratio ก็มที ศิ ทางเช่นเดียวกันกับ Current Ratio กล่าวคือมีระดับลดลงจาก 0.95 เท่าเป็ น
0.68 เท่าในปี 2544 และปี 2545 ตามลําดับ แม้ว่าจะสะท้อนถึงสภาพคล่องทีล" ดลงแต่เนื"องจากในกรณีบริษทั นีEมสี นิ ค้า
คงเหลือเป็ นรายการทีส" าํ คัญของกิจการ เมื"อตัดออกไปแล้วจึงมีผลต่อ Quick Ratio มาก อย่างไรก็ตามในกรณีตวั อย่าง
นีEการใช้ขอ้ สรุปในการวิเคราะห์จาก Current Ratio ดูจะมีความเหมาะสมกว่า

แม้จะเห็นว่า Current Ratio อยู่ในอัตรา 2.40 เท่า ซึง" หมายความว่าสินทรัพย์หมุนเวียนมีมากกว่าหนีEสนิ


หมุนเวียนอยู่ 2.40 เท่า แต่ถ้าจะให้เห็นว่าสภาพคล่องอยู่ในระดับที"ไม่น่าเป็ นห่วงจริงต้องพิจารณาด้วยว่าสินทรัพย์
หมุนเวียนรายการทีส" าํ คัญได้แก่ ลูกหนีEการค้าและสินค้าคงเหลือมีคุณภาพดีจริง ในกรณีบริษทั นีE จํานวนวันทีเ" รียกเก็บ
หนีEลดลงจาก 20 วัน เป็ น 15 วัน และจํานวนวันหมุนเวีย นของสินค้าคงเหลือลดลงมากจาก 144 วัน เป็ น 131 วัน
แสดงให้เห็นว่าการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนหลักทําได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึนE เมื"อวิเคราะห์มาถึงจุดนีEจะทําให้
เราสามารถมันใจได้
" มากขึนE ว่าสภาพคล่องของบริษทั อยู่ในเกณฑ์ดแี ละเป็ นปกติ

ด้านการบริหารสิ นทรัพย์

อัตราส่วน Total Asset Turnover เท่ากับ 2.02 เท่า และ 2.26 เท่าในปี 2544 และปี 2545 ตามลําดับ
ซึง" มีแนวโน้มสูงขึนE ชีใE ห้เห็นว่าประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์รวมในการสร้างให้เกิดยอดขายทําได้ดขี นEึ อย่างไรก็ตามมี
ข้อสังเกตว่าในปี 2545 ยอดขายของบริษทั เพิม" ขึนE ถึง 62 ล้านบาท แต่อตั ราส่วน Total Asset Turnover กลับเพิม" ไม่สงู
มากนัก ที"เป็ นเช่นนีEเพราะบริษัทไปลงทุนในสินทรัพย์ถาวรมากขึEน และสินทรัพย์เหล่านีEยงั ไม่ได้สร้างรายได้ให้แก่
กิจการได้อย่างเต็มทีใ" นช่วงแรก สาเหตุดงั กล่าวนีEส่งผลให้เห็นชัดเจนเมื"อทําอัตราส่วน Fixed Asset Turnover ซึ"ง
เท่ากับ 8.06 เท่า และ 7.41 เท่า ในปี 2544 และปี 2545 ตามลําดับ จากการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการบริหาร
สินทรัพย์จะยังไม่ได้ปรับปรุงดีขนEึ มากอย่างเห็นได้ชดั แต่ในระดับทีเ" ป็ นอยู่กย็ งั ถือว่าประสิทธิภาพยังอยู่ในเกณฑ์ดี และ
ถ้ายังคงรักษาผลการดําเนินงานทีด" เี ช่นเดิมนีEไว้ได้ การบริหารสินทรัพย์ควรจะมีประสิทธิภาพทีด" กี ว่านีEในอนาคต

ด้านภาระหนี5 สินและค่าใช้จ่ายทางการเงิ น

การสรุปเกี"ยวกับภาระหนีEสนิ และค่าใช้จ่ายทางการเงินสามารถพิจารณาได้จากอัตราส่วนภาระหนีEสนิ
(Leverage Ratios) จากการพิจารณาความเสีย" งทางการเงินจากภาระหนีEสนิ พบว่า Debt Ratio และ Debt to Equity
Ratio มีระดับสูงขึนE เล็กน้อย อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์แล้วพบว่า ภาระหนีEสนิ นีEถูกคุม้ ครองด้วยสินทรัพย์ทย"ี งั มี
คุณภาพดี และส่วนของผูถ้ อื หุน้ จึงทําให้แน่ใจว่าภาระหนีEสนิ ของบริษทั นีEยงั อยู่ในระดับทีไ" ม่สงู มากนัก และอยู่ในเกณฑ์
ทีป" ลอดภัยสําหรับเจ้าหนีE

ส่วนค่าใช้จ่ายทางการเงินของภาระหนีEสนิ ซึ"งวัดจากดอกเบีEยจ่าย ความสามารถในการจ่ายค่าใช้จ่าย


ทางการเงินนีEวดั จากอัตราส่วน Times Interest Earned ซึง" ในกรณีบริษทั ตัวอย่างนีE เท่ากับ 5.2 เท่า และ 7.2 เท่า ในปี
2544 และปี 2545 ตามลําดับ ซึง" แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพในการนํากําไรจากการดําเนินงานมาจ่ายดอกเบียE มีมาก
ขึนE เรื"อยๆ

ดังนันE ภาพรวมสรุปได้ว่าบริษทั มีความสามารถในการจ่ายหนีEและดอกเบียE จ่ายได้ ซึง" แสดงถึงเจ้าหนีEของ


บริษทั ยังคงได้รบั ความคุม้ ครองอยู่ในเกณฑ์ดไี ด้ต่อไป

38
ด้านความสามารถในการทํากําไร

อัตราส่วนความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) เป็ นส่วนหนึ"งทีใ" ช้วดั ผลการดําเนินงานของ


กิจการ สามอัตราส่วนแรกทีไ" ด้จากกลุ่มนีEได้แก่ อัตราส่วนกําไรขันE ต้น / ขาย (Gross Profit Margin) อัตราส่วนกําไรจาก
การดําเนินงาน / ขาย (Operating Profit Margin) และ อัตราส่วนกําไรสุทธิ / ขาย (Net Profit Margin) เราจะเห็น
มาแล้วครังE หนึ"งในการอ่าน Common – Size งบกําไรขาดทุน ซึง" สรุปได้ว่าความสามารถในการทํากําไรของกิจการยัง
อยู่ในเกณฑ์ดี (แต่ถา้ ปรับปรุงหรือมีการควบคุมต้นทุนขายได้ดกี ว่านีE ความสามารถในการทํากําไรก็จะมีระดับสูงกว่านีE
อีก)

นอกจากนีEยงั มีอตั ราส่วนทางการเงินอื"นๆ ที"ใช้วดั ความสามารถในการทํากําไร ได้แก่ อัตราส่วนกําไร


สุทธิต่อสินทรัพย์รวม (Return on Asset : ROA) และ อัตราส่วนกําไรสุทธิต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Return on Equity :
ROE) จากข้อมูลของบริษัทขอนแก่นเกริกไกรพบว่า อัตราส่วนทังE สองนีEมีระดับสูงขึEน ชีEให้เห็นว่า ROA ซึ"งวัด
ประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์ไปสร้างกําไรทําได้ดขี นEึ และกําไรทีส" งู ขึนE นีEสง่ ผลดี ทําให้อตั ราผลตอบแทนสําหรับผูถ้ อื หุน้
(ROE) มีระดับทีส" งู ขึนE กว่าเดิม

4.2.2 การเขียนรายงานการวิ เคราะห์งบการเงิ น

ในหัว ข้อ 4.5.1 ได้อ ธิบ ายถึง วิธีก ารอ่ า นและวิเ คราะห์ง บการเงิน อย่ า งละเอีย ด ในขันE ตอนต่ อ ไป
นักวิเคราะห์จะต้องทําการเขียนรายงานงานการวิเคราะห์ งบการเงิน โดยรายงานในสิง" ทีเ" ป็ นจุดสําคัญ ซึง" รวมทังE จุดเด่น
และจุดด้อย และชีEให้เห็นด้วยว่าจุดเด่นและจุดด้อยเหล่านันE จะมีผลกระทบต่ อฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน
อย่างไร การเขียนรายงานสรุปในเรื"องการวิเคราะห์งบการเงินเป็ นเรื"องยาก ผูเ้ ขียนเห็นว่าไม่มกี ฎเกณฑ์ตายตัวเกีย" วกับ
หัวข้อ แต่ควรต้องอธิบายให้เห็นได้ว่าภาพรวมของกิจการเป็ นอย่างไร ในที"นEีจะได้ลองใช้ขอ้ มูลงบการเงินของบริษัท
ขอนแก่นเกริกไกรทีไ" ด้ผ่านการอ่านงบมาแล้ว และเขียนเป็ นรายงานสรุปได้ดงั นีE

รายงานการวิ เคราะห์งบการเงิ น
บริษทั ขอนแก่นเกริกไกร จํากัด

การเติ บโตของกิ จการ

ระหว่างปี 2544 และปี 2545 บริษัท ขอนแก่น เกริกไกรมีก ารขยายตัวในขนาดของกิจการอยู่ในเกณฑ์ดี


โดยสินทรัพย์รวมจากปี 2544 เท่ากับ 75 ล้านบาท เพิม" เป็ น 95 ล้านบาท ในปี 2545 การลงทุนทีเ" พิม" ขึนE ในสินทรัพย์
ประมาณ 20 ล้านบาทนีE แบ่งได้เป็ นการลงทุนในสินทรัพย์ห มุนเวียนประมาณ 10 ล้านบาท และเป็ นการลงทุนใน
สินทรัพย์ถาวรประมาณ 10 ล้านบาท เมื"อพิจารณางบดุลด้านหนีEสนิ และทุน พบว่าเงินลงทุนเพิม" 20 ล้านบาทนีEบริษทั
จัดหามาจากการก่อหนีEเพิม" 12 ล้านบาท (จากหนีEระยะสันE 7 ล้านบาท และหนีEระยะยาว 5 ล้านบาท) และเงินทุนจาก
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ส่วนใหญ่จากกําไรสะสมทีเ" พิม" ขึนE ) เท่ากับ 8 ล้านบาท

ส่วนการเติบโตในด้านผลการดําเนินงาน พบว่ายอดขายของบริษทั เพิม" จาก 153 ล้านบาท เป็ น 215 ล้านบาท


หรือเพิม" ขึนE ประมาณ 62 ล้านบาท ชีใE ห้เห็นว่าสินค้าและบริการของบริษทั ยังคงได้รบั การต้อนรับจากตลาดเป็ นอย่างดี
ในภาพรวมจึงสรุปได้ว่าบริษทั ยังดําเนินงานไปได้ดว้ ยดี เป็ นปกติ มีการเติบโตของทังE สินทรัพย์และรายได้

39
โครงสร้างของเงิ นทุน

จากการพิจารณา Common – Size งบดุลด้านสินทรัพย์ของบริษทั พบว่า โครงสร้างการลงทุนในสินทรัพย์


จากปี 2544 มาสู่ปี 2545 มีการเปลีย" นแปลงค่าสัดส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนต่อสินทรัพย์ถาวร จาก 75% : 25%
เป็ น 70% : 30% ที"เป็ นเช่นนีEเพราะอัตราการลงทุนเพิ"มในสินทรัพย์ถาวรเร็วกว่าของสินทรัพย์หมุนเวียน แม้จะมี
จํานวนเงินลงทุนเพิม" ขึนE ประมาณ 10 ล้านบาทใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามสัดส่วนที"เปลีย" นแปลงไปนีEยงั มีระดับไม่สูง
มากนัก และยังไม่ได้แสดงถึงการเปลีย" นแปลงโครงสร้างทางการลงทุนในสินทรัพย์ทม"ี คี วามผิดปกติจนกระทบต่อฐานะ
การเงินของบริษทั แต่อย่างใด

สําหรับ Common – Size งบดุลด้านหนีEสนิ และทุน พบว่าโครงสร้างการจัดหาเงินทุนจะมาจากทังE การก่อหนีE


และจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ โดยทีส" ดั ส่วนของหนีEสนิ ต่อทุนในปี 2544 เท่ากับ 50% : 50% และในปี 2545 เท่ากับ 52% :
48% ตามลําดับ ชีใE ห้เห็นว่าภาระหนีEสนิ ของบริษทั มีระดับสูงขึนE กว่าเดิมบ้าง อย่างไรก็ตามจากการพบว่าหนีEสนิ ระยะสันE
ทีม" ถี ูกคุม้ ครองอย่างเพียงพอด้วยสินทรัพย์หมุนเวียน และสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนทีเ" หลือรวมกับสินทรัพย์ถาวรทีม" ยี งั
พอทีจ" ะครอบคลุมมูลค่าหนีEสนิ ระยะยาวได้ ภาระหนีEสนิ ทีเ" ป็ นอยู่จงึ ยังไม่น่าวิตกกังวลแต่อย่างใด

ในภาพรวมแล้ว การวิเคราะห์โครงสร้างของเงินทุนจาก Common – Size ของงบดุล สรุปได้ว่ายังไม่พบความ


ผิดปกติอย่างรุนแรงทีจ" ะส่งผลกระทบในทางลบต่อฐานะการเงินของกิจการ

ความสามารถในการทํากําไร

ยอดขายของบริษัทในปี 2544 เท่ากับ 153 ล้านบาท เพิ"มขึEนเป็ น 215 ล้านบาทในปี 2545 หรือเพิ"มขึEน
62 ล้า นบาท ชีEใ ห้เ ห็น ว่ า ผลการดํา เนิ น งานของบริษัท ในการสร้า งรายได้ย ัง อยู่ใ นเกณฑ์ดี อย่ า งไรก็ต ามผลการ
ดําเนินงานในการสร้างกําไรพบว่ากิจการยังดําเนินงานได้อย่างมีกําไร โดยมีกําไรสุทธิเพิม" ขึนE 3.48 ล้านบาท จากการ
วิเคราะห์ Common – Size งบกําไรขาดทุนพบว่า สัดส่วนของต้นทุนขายต่อยอดขายอยู่ในระดับประมาณ 60% ทังE 2
ปี ซึง" มีขอ้ สังเกตว่ายอดขายทีเ" พิม" ขึนE 62 ล้านบาท ควรช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายคงทีไ" ปได้บางส่วน แต่สดั ส่วนของต้นทุน
ขายต่ อยอดขายที"ไม่ลดลง จึงทําให้กําไรไม่สูงไปกว่าเดิม มากนัก แต่ ปญั หานีEยงั ไม่รุนแรง จะเห็นได้ว่าอัตราส่วน
วัดความสามารถในการทํากําไรรายการอื"นๆ เช่น อัตราส่วนกําไรสุทธิต่อสินทรัพย์ และอัตราส่วนกําไรสุทธิต่อส่วนของ
ผูถ้ อื หุน้ ยังคงมีระดับสูงขึนE ดังนันE ในภาพรวมแล้วสรุปได้ว่าความสามารถในการทํากําไรของกิจการยังอยู่ในเกณฑ์ดเี ป็น
ปกติ

พฤติ กรรมการได้มาและใช้ไปของเงิ นทุน

• จาก Fund Flow ปี 2545 สรุปได้ว่า บริษทั มีเงินทุนจากแหล่งภายในประมาณ 47% (จากกําไรสุทธิและ


ค่าเสือ" มราคา) ซึง" บริษทั สามารถนําไปลงทุนระยะสันE หรือระยะยาวได้
• ในการลงทุนระยะสันE พบว่าบริษทั ต้องใช้เงินลงทุนไปในการดําเนินงาน 39% (จากการเพิม" ขึนE ของลูกหนีE
การค้า สินค้าคงเหลือเป็ นหลัก) และจัดหาเงินทุนจากแหล่งระยะสันE มาได้ 36% (จากการขายหลักทรัพย์
ระยะสันE และการเพิม" ขึนE ของเจ้าหนีEการค้าเป็ นหลัก) เงินทุนทีข" าดไป 3% สามารถดึงมาจากแหล่งเงินทุน
ภายในได้ (ซึง" จะทําให้เงินทุนภายในคงเหลือ 44%)

40
• ในการลงทุนระยะยาว บริษทั ต้องใช้เงินทุน 49% ลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์ถาวร โดยถ้าจัดหาเงินทุนเพื"อ
การนีEมาจากแหล่งเงินทุนระยะยาวมีจาํ นวน 17% ซึง" ไม่เพียงพอขาดอีก 32% ซึง" สามารถนํามาจากแหล่ง
เงินทุนภายใน (ทําให้เงินทุนภายในคงเหลือ 12%)
• เงินทุนทีเ" หลือจากแหล่งเงินทุนภายใน บริษทั นําไปจ่ายเงินปนั ผล 6% และเก็บเป็ นเงินสดเพิม" ขึนE อีก 6%
• จากการวิเคราะห์ขา้ งต้นจะเห็นได้ว่า บริษัทไม่ได้ใช้เงินทุ นผิดประเภท ซึ"งจะไม่ทําให้กระทบต่อการ
เปลี"ยนแปลงฐานะการเงินมากนักจากพฤติกรรมการได้มาและใช้ไปของเงินทุนในช่วงเวลาดังกล่าว
(ปี 2544 และปี 2545)

สภาพคล่อง

จาก Fund Flow ในปี 2545 จะเห็นได้ว่าบริษทั ไม่ได้ใช้เงินทุนผิดประเภท การลงทุนในระยะสันE ในปี 2545 นันE
บริษทั ลงทุนเพิม" ในสินทรัพย์หมุนเวียนเท่ากับ 9.58 ล้านบาท และลงทุนเพิม" ในหนีEสนิ หมุนเวียนเท่ากับ 7.03 ล้านบาท
อย่ า งไรก็ต ามอัต ราการเพิ"ม ของหนีE สิน หมุ น เวีย นเพิ"มเร็ว กว่ า ของสิน ทรัพ ย์ห มุ นเวีย น (เนื" องจากฐานของหนีE สิน
หมุนเวียนน้อยกว่ามาก) ลักษณะดังกล่าวนีEเป็ นสาเหตุสาํ คัญทีท" าํ ให้ Current Ratio ของกิจการจะมีระดับลดลง

Current Ratio ในปี 2544 และ 2545 มีค่าเท่ากับ 2.75 และ 2.40 ตามลําดับ ซึง" พิจารณาจากตัวเลขชีใE ห้เห็น
ว่าความสามารถในการชําระหนีEระยะสันE มีระดับทีล" ดลงไปจากเดิม อย่างไรก็ตามค่า Current Ratio ทีแ" สดงไว้นEีมคี ่าเกิน
กว่า 1 มาก ประกอบกับคุณภาพสินทรัพย์หมุนเวียน เช่น ลูกหนีEการค้าและสินค้าคงเหลือยังมีคุณภาพดี (วัดจาก
จํานวนวัน หมุน เวีย นของลูก หนีEก ารค้าและสิน ค้าคงเหลือ) จึงสรุปได้ว่า สภาพคล่องของบริษัทอยู่ในเกณฑ์ดีและ
เป็ นปกติ

ประสิ ทธิ ภาพในการบริหารสิ นทรัพย์

เมื"อเปรียบเทียบกับปี 2545 กับปี 2544 บริษทั มีสนิ ทรัพย์เพิม" ขึนE ประมาณ 20 ล้านบาท ในขณะทีม" ยี อดขาย
เพิม" ขึนE ประมาณ 62 ล้านบาท และเมื"อพิจารณาจากข้อมูลแล้วยังพบด้วยว่าอัตราการเพิม" ของยอดขายเร็วกว่าอัตราการ
เพิม" ของสินทรัพย์รวม ลักษณะดังกล่าวส่งผลให้อตั ราส่วนขายต่อสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover) มีค่าสูง
กว่าเดิม

สําหรับอัตราส่วนยอดขาย/สินทรัพย์ถาวร (Fixed Asset Turnover) มีระดับลดลงเล็กน้อยจาก 8.06 เท่าเป็ น


7.41 เท่า ซึง" เป็ นผลมาจากการเพิม" ของสินทรัพย์ถาวรเร็วกว่าของสินทรัพย์ประเภทอื"น อัตราส่วนทีม" คี ่าลดลงนีEสะท้อน
ถึงประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์ถาวรในการสร้างรายได้ทาํ ได้ลดลงกว่าเดิม อย่างไรก็ตามค่าอัตราส่วนทีค" งเหลือ 7.41
ก็ยงั ถือว่าอยู่ในระดับสูง สะท้อนให้เห็นว่าประสิทธิภาพการใช้สนิ ทรัพย์ถาวรยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี สามารถยอมรับได้

โดยสรุปแล้ว ประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ยงั คงอยู่ในเกณฑ์ทด"ี แี ละเป็ นปกติ

ภาระหนี5 สิน

จากอัตราส่วนทางการเงินในกลุ่ม Leverage Ratios พบว่า Debt Ratio และ Debt to Equity Ratio มีระดับสูง
ขึนE เล็กน้อย ชีใE ห้เห็นว่าภาระหนีEยงั ไม่ได้มอี ะไรเปลีย" นแปลงอย่างมากมาย แม้ว่าจะเริม" เห็นสัญญาว่าหนีEสนิ ของบริษทั มี
ระดับทีเ" พิม" เร็วกว่าการเพิม" ของกําไรสะสม ซึง" จะต้องเริม" ระมัดระวังในระยะต่อไป

41
ส่วนอัตราส่วนทางการเงินที"ใช้วดั ความสามารถในการชําระค่าใช้จ่ายทางการเงินหรือ Time Interest Earned
พบว่ามีระดับสูงขึนE จาก 5.2 เท่าเป็ น 7.4 เท่า ชีใE ห้เห็นว่าการดําเนินงานของบริษทั ยังคงมีกําไรจากการดําเนินงานมา
จ่ายดอกเบียE ได้ และความสามารถในการจ่ายชําระดอกเบียE มีแนวโน้มทีด" ขี นEึ ด้วย

สรุป

ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั นีEยงั อยู่ในเกณฑ์ดแี ละเป็ นปกติ แต่มขี อ้ สังเกตว่าบริษทั มี


ปญั หาสัดส่วนต้นทุนขายค่อนข้างสูงทังE ทีย" อดขายมีระดับเพิม" สูงขึนE แม้การดําเนินงานยังมีกาํ ไร แต่ถ้าเข้าไปตรวจสอบ
และแก้ไขปญั หาในจุดนีEจะช่วยให้ผลการดําเนินงานในด้านกําไรของกิจการดีขนEึ กว่าระดับทีเ" ป็ นอยู่ได้

5. บทสรุป

เนืEอหาตลอดบทนีEทไ"ี ด้ศกึ ษามาจะได้อธิบายให้เห็นทีม" าของงบการเงิน และลักษณะของงบการเงินซึง" ประกอบ


ไปด้วยงบดุล งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด ท่านยังได้เรียนรูอ้ กี ว่างบการเงินเหล่านีEมปี ระโยชน์ในการนําไปใช้
วิเคราะห์เพื"อให้ทราบฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ กระบวนการวิเคราะห์งบการเงินตามทีไ" ด้อธิบาย
ในบทนีEได้นําเสนอวิธกี ารอ่านงบจากข้อมูลดิบก่อนเพื"อให้เห็นสภาพทัวไปและป
" ญั หาในขันE ต้นของกิจการในด้านฐานะ
การเงินและผลการดําเนินงาน หลังจากนันE จึงนํ าเอาเครื"องมือหรือเทคนิคต่างๆ ทีใ" ช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน ได้แก่
การย่อส่วนตามแนวดิง" (Common – Size Analysis) การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis) การวิเคราะห์การ
เคลื"อนไหวของเงินทุน (Fund Flow Analysis) และการวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis)
มาใช้ในการวิเคราะห์งบการเงินอีกครังE หนึ"งเพื"อตรวจสอบฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการในด้าน
ต่างๆ ในขันE ตอนสุดท้ายหลังจากเรียนรู้วธิ กี ารอ่านและวิเคราะห์งบการเงินแล้วก็คอื การเขียนรายงาน ซึ"งเป็ นส่วนที"
ยากเพราะต้องดึงเอาเฉพาะส่วนทีส" าํ คัญและจําเป็ นมาเขียนอธิบายเท่านันE ในบทนีEจงึ ได้ใช้กรณีตวั อย่างทีย" กมานีEไม่ได้
นําเสนอข้อมูลพืEนฐานเกีย" วกับลักษณะการทําธุรกิจของกิจการ ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม มาประกอบด้วย ดังนันE
ในโลกแห่งความเป็ นจริง นักวิเคราะห์ทด"ี จี งึ ควรนําข้อมูลเหล่านีEมาประกอบการพิจารณาวิเคราะห์ดว้ ย

42

You might also like