You are on page 1of 27

กฎหมาย

1. กฏหมายที่ตราขึ้นกรณี ฉุกเฉิ นที่มีความจําเป็ นรีบด่วนเพื่อความปลอดภัยสาธารณะคือข้อใด


1.พระราชบัญญัติ
2.พระราชกฤษฏีกา
3.พระราชกําหนด
4.กฏกระทรวง
2.การเลือกตัง้ สมาชิ กสภาวิศวกรประเภทใดที่มีสิทธิ ออกเสียงเลือกตัง้ คณะกรรมการ
1.สามัญ
2.วิสามัญ
3.กิตติมศักดิ ์
4.ถูกทุกข้อ
3.นายจ้างต้องจัดเวลาพักตามกฎหมายแรงงานในการทํางาน 1 วัน ระหว่างทํางานให้แก่ลูกจ้างรวมกัน แล้วไม่น้อยกว่ากี่
ชัวโมง

1.ครึง่ ชัวโมง

2.1 ชม.
3.2 ชม.
4.3 ชม.
4.วิศวกรยังไปทํางานในขณะที่โรงงานได้รบั คําสังให้่ หยุดประกอบกิ จการ วิ ศวกรผู้นัน้ ต้องได้รบั โทษอย่างไร
1.จําคุก < 6 เดือน ปรับ < 5,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
2.จําคุก < 2 ปี ปรับ < 200,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
3.จําคุก < 2 ปี ปรับ < 300,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
4.วิศวกรไม่ตอ้ งรับโทษ
5.ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เจ้าพนักงานท้องถิ่ น คือข้อใด
1.ผูว้ ่าราชการจังหวัด
2.นายอําเภอ
3.นายกเทศมนตรี
4.ปลัดเทศบาล
6.การกําหนดในเรื่องค่าหน่ วยแรงต่างๆที่ใช้ในการคํานวณออกแบโครงสร้าง คือ กฎหมายควบคุมอาคารในกฎกระทรวงฉบับ
ใด
1.ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2526)
2.ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2527)
3.ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535)
4.ฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537)
7.กฎหมายระดับใดที่บงั คับใช้ผงั เมืองเฉพาะ
1.พระราชกฤษฎีกา
2.กฎกระทรวง
3.ประกาศกระทรวง
4.ไม่มขี อ้ ใดถูก
8.ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริ ม การอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ.
2535 กําหนด โรงงานควบคุม คือข้อใด
1.โรงงานหลังเดียว ใช้บา้ นเลขทีเ่ ดียว ติดตัง้ หม้อแปลง ขนาด 1,000 kW
2.โรงงานหลังเดียว ใช้บา้ นเลขทีเ่ ดียว ติดตัง้ หม้อแปลง ขนาด 1,000 KVA
3.โรงงานหลังเดียว ใช้บา้ นเลขทีเ่ ดียว ติดตัง้ หม้อแปลง ขนาด 1,175 KVA
4.ถูกทุกข้อ
9.มาตรการป้ องกันการเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิ วเตอร์ โดยเฉพาะและมาตรการนัน้ ได้มีไว้สาํ หรับตน ต้องระวางโทษ
อย่างไร
1.โทษจําคุก < 6 เดือน ปรับ < 10,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
2.โทษจําคุก < 1 ปี ปรับ < 20,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
3.โทษจําคุก < 2 ปี ปรับ < 40,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
4.โทษจําคุก < 3 ปี ปรับ < 60,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
10.กฎหมายควบคุมอาคารที่มีอายุใช้บงั คับเพียง 1 ปี นับจาก วันประกาศในราชกิ จจานุเบกษา คือข้อใด
1.พระราชกฤษฎีกา
2.เทศบัญญัตขิ องเทศบาล
3.กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535)
4.ประกาศกระทรวงมหาดไทยกําหนดบริเวณห้ามก่อสร้างอาคารบางชนิด
11.กฎหมายใดที่บญ ั ญัติขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น
1.เทศบัญญัติ
2.ข้อบัญญัตจิ งั หวัด
3.ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร
4.ถูกทุกข้อ
12.วิศวกรควบคุม ต้องมีสถานะใด ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 ผู้ประกอบวิชาชีพ
1.เป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุม
2.เป็ นสมาชิกสภาวิศวกร
3.เป็ นสมาชิกสภาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์
4.ข้อ ก. และ ข. ถูก
13.แรงงานหญิ งสามารถลาคลอดบุตรได้ไม่เกิ นกี่วนั ตามพระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่ มเติ ม
1.30
2.45
3.60
4.98
14.นายจ้างห้ามจ้างเด็กอายุตาํ่ กว่ากี่ปีเป็ นลูกจ้าง ตามพระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่ มเติ ม
1.15
2.16
3.17
4.18
15.ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ข้อใดเข้าข่ายเป็ นโรงงาน
1.อาคารทีใ่ ช้เครื่องจักร มีกําลังรวมตัง้ แต่ 50 แรงม้า สําหรับทําผลิตประกอบฯ
2.อาคารทีม่ กี ารใช้คนงานตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป โดยใช้เครือ่ งจักรหรือไม่กต็ าม สําหรับทําผลิตประกอบฯ
3.ต้องเป็ นโรงงานตามประเภทหรือชนิดของโรงงานตามทีก่ ําหนดใน กฎกระทรวง
4.ถูกทุกข้อ
16.ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 เขตควบคุมอาคารคือข้อใด
1.มีการประกาศพระราชกฤษฎีกา
2.เป็ นท้องทีป่ ระกาศใช้บงั คับผังเมืองรวม
3.เป็ นท้องทีเ่ คยมีประกาศใช้บงั คับผังเมืองรวม
4.ถูกทุกข้อ
17.ตามพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 การก่อสร้างอาคารอยู่อาศัยรวมสูง 5 ชัน้ ผู้ควบคุมงานการก่อสร้าง
อาคารหลังนี้ คือใคร
1.นายช่างโยธา
2.ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง
3.ภาคีวศิ วกรโยธา
4.ไม่จําเป็ นต้องมีผคู้ วบคุมงาน
18.ตามพระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน อาคารในข้อใดที่ต้องมีการออกแบบเพื่อการอนุรกั ษ์พลังงาน
1.อาคารสํานักงานสูง 3 ชัน้
2.อาคารโรงแรมจํานวน 30 ห้องพัก
3.โรงเรียนสูง 4 ชัน้
4.โรงพยาบาลทีม่ พี น้ื ที่ 2,000 ตารางเมตร
19.หากเจ้าหน้ าที่ของหน่ วยงานรัฐทุจริตต่อหน้ าที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับการจัดซื้อหรือจัดจ้าง มิ ให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็ น
ธรรม จะมีความผิดตามข้อใด
1.จําคุก 1 - 5 ปี หรือจําคุกตลอดชีวติ
2.จําคุก 5 - 10 ปี หรือจําคุกตลอดชีวติ
3.จําคุก 5 - 20 ปี หรือจําคุกตลอดชีวติ
4.ถูกยกเว้น เพราะเป็ นผูด้ ํารงตําแหน่งทางการเมือง
20.ปกปิ ดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลคอมพิ วเตอร์หรือจดหมายอิ เล็กทรอนิ กส์แก่บุคคลอื่น อันเป็ นการ
รบกวนการใช้ระบบคอมพิ วเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติ สุข มี ความผิ ดตามข้อใด
1.จําคุก < 2 ปี หรือปรับ < 40,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
2.จําคุก < 3 ปี หรือปรับ < 60,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
3.จําคุก < 5 ปี หรือปรับ < 100,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
4.ปรับ < 100,000 บาท
21.กฎหมายในการควบคุมเรื่องใดเรื่องหนึ่ ง ตามความที่กาํ หนดไว้ในพระราชบัญญัติ หรือ พระราชกําหนด ฉบับใดฉบับหนึ่ ง
กฎกระทรวงดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้เมื่อใด
1.เมื่อคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาอนุมตั ิ
2.รัฐมนตรีลงนามในกฎกระทรวง
3.ประกาศในราชกิจนุเบกษา
4.ถูกทุกข้อ
22.ตามพระราชบัญญัติ วิ ศวกร พ.ศ.2542 ผู้สมัครต้องมีคุณสมบัติในข้อใดในการสมัครรับเลือกตัง้ เป็ นกรรมการสภาวิ ศวกร
1.ได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุมระดับสามัญไม่น้อย กว่า 10 ปี หรือระดับวุฒวิ ศิ วกร
2.เป็ นสมาชิกสามัญของสภาวิศวกร
3.ไม่เคยถูกสังพั่ ก หรือเพิกถอนใบอนุญาต
4.ถูกทุกข้อ
23.นายจ้างห้ามใช้แรงงานหญิ งตามพระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่ มเติ ม ตามข้อใด
1.งานขับหรือบังคับรถบรรทุก
2.งานทาสีผนังอาคารบนนัง่ ร้านสูงกว่าพืน้ ดิน 10 เมตร
3.งานติดตัง้ เครื่องสุขภัณฑ์ในห้องน้ําอาคารชัน้ ที่ 5
4.งานขนดินขึน้ รถบรรทุก
24.ตามมาตรา 39 ทวิ การแจ้งความประสงค์จะก่อสร้างอาคารโดยไม่ต้องรอการอนุญาต ผู้ออกแบบโครงสร้างของอาคาร คือ
ข้อใด
1.สถาปนิกระดับวุฒสิ ถาปนิก
2.วิศวกรโยธาระดับวุฒวิ ศิ วกร
3.วิศวกรเครื่องกลระดับวุฒวิ ศิ วกร
4.วิศวกรไฟฟ้ าระดับวุฒวิ ศิ วกร
25.ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่ มเติ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 กําหนดให้ประเภท หรือชนิ ดของโรงงาน
ถูกกําหนดไว้ในข้อใด
1.อาคารทีใ่ ช้เครื่องจักร มีกําลังรวมตัง้ แต่ 50 แรงม้า สําหรับทําผลิตประกอบฯ
2.อาคารทีม่ กี ารใช้คนงานตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป โดยใช้เครือ่ งจักรหรือไม่กต็ าม สําหรับทําผลิตประกอบฯ
3.ต้องเป็ นโรงงานตามประเภทหรือชนิดของโรงงานตามทีก่ ําหนดใน กฎกระทรวง
4.ถูกทุกข้อ
26.ผู้ที่สามารถดําเนิ นการออกแบบและคํานวณรายการระบบบําบัดนํ้าเสีย และการระบายนํ้าทิ้ งของอาคารสูงหรืออาคาร
ขนาดใหญ่พิเศษ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 คือใคร
1.วิศวกรเครื่องกลระดับสามัญวิศวกร
2.วิศวกรสิง่ แวดล้อมระดับสามัญวิศวกร
3.วิศวกรโยธาระดับสามัญวิศวกร
4.วิศวกรอุตสาหการระดับสามัญวิศวกร
27.อาคารในข้อใดเป็ นอาคารควบคุมการใช้ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
1.หอพักทีม่ พี น้ื ที่ 2,500 ตารางเมตร
2.ทาวน์เฮาส์ 20 ห้อง
3.อาคารพาณิชยกรรมพืน้ ที่ 200 ตารางเมตร
4.อาคารอยู่อาศัยรวมทีไ่ ม่เป็ นอาคารขนาดใหญ่
28.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงาน
1.นําพลังงานทีเ่ หลือจากการใช้แล้วนํากลับมาใช้ใหม่
2.ป้ องกันการสูญเสียพลังงาน
3.ใช้เครื่องจักรทีม่ รี าคาแพง
4.ปรับปรุงประสิทธิภาพของการเผาไหม้เชือ้ เพลิง
29.ผู้มีวิชาชีพในการออกแบบ ควบคุม หรือทําการก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือรื้อถอน อาคารหรือสิ่ งปลูกสร้างใดๆ ไม่ปฏิ บตั ิ ตาม
หลักเกณฑ์ หรือ วิ ธีการอันพึงกระทําการนัน้ ๆ โดยประการที่น่าจะเป็ นเหตุให้เกิ ดอันตรายแก่บุคคลอื่น ต้องระวางโทษ
1.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
2.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
3.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 4 ปี ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
4.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
30.การดําเนิ นงานของคณะกรรมการสภาวิ ศวกรในเรื่องใดบ้างที่ต้องเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สภาวิ ศวกรพิ จารณาและต้องได้รบั
ความเห็นชอบ
1.แผนการดําเนินงาน
2.งบประมาณประจําปี
3.ข้อบังคับสภาวิศวกร
4.ถูกทุกข้อ
31.กฎหมายลายลักษณ์อกั ษรที่ใช้ในประเทศไทยในข้อใดที่บญ ั ญัติขึ้นโดยฝ่ ายบริ หาร
1.ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร
2.พระราชกฤษฎีกา
3.พระราชบัญญัติ
4.ถูกทุกข้อ
32.ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 มาตรา 8 ข้อใดไม่ใช่อาํ นวจหน้ าที่ของสภาวิ ศวกร
1.ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
2.ออกข้อบังคับสภาวิศวกร
3.ข้นึ ทะเบียนผูป้ ระกอบการทีป่ รึกษาด้านวิศวกรรม
4.รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือ วุฒบิ ตั รในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
33.ข้อใดคือเจ้าพนักงานท้องถิ่น
1.นายอําเภอ
2.ผูว้ ่าราชการจังหวัด
3.ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร
4.อธิบดีกรมการปกครองส่วนท้องถิน่
34.ตามกฎหมายแรงงาน นายจ้างต้องจัดวัดหยุดให้ลูกจ้างอย่างน้ อยกี่วนั /การทํางาน 1 สัปดาห์
1.ครึง่ วัน
2.1 วัน
3.1 วันครึง่
4.2 วัน
35.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การอนุรกั ษ์พลังงาน
1.การรักษาอุณหภูมภิ ายในอาคารให้เหมาะสม
2.ใช้แสงสว้างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ
3.ติดผ้าม่านทีห่ น้าต่างป้ องกันความร้อนจากแสงแดดเข้ามาในอาคาร
4.ลดขนาดของช่องแสงและหน้าต่างให้เล็กลง
36.ตามกฎหมายควบคุมอาคาร การก่อสร้างบ้านพักต้องเว้นให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละเท่าใดของที่ ดินแปลงที่ขออนุญาต
1.ร้อยละ 10
2.ร้อยละ 15
3.ร้อยละ 20
4.ร้อยละ 30
37.การประกาศบังคับใช้ผงั เมืองรวม ต้องออกเป็ นกฎหมายระดับใด
1.พระราชกฤษฎีกา
2.กฎกระทรวง
3.ประกาศกระทรวง
4.ไม่มขี อ้ ใดถูก
38.อาคารใดต่อไปนี้ ไม่เป็ นอาคารควบคุมตามความในพระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 แห่ง พ.ร.บ.การ
ส่งเสริ มการอนุรกั ษ์พลังงาน
1.อาคารหลังเดียวทีใ่ ช้ไฟฟ้ า 800 kW
2.อาคาร 1 หลัง รวมกันใช้เลขบ้านเดียวทีใ่ ช้ไฟฟ้ า 1,000 kW
3.อาคาร 1 หลัง ใช้เลขบ้านเดียวทีใ่ ช้ไฟฟ้ า 1,500 kW
4.อาคาร 1 หลัง ใช้เลขบ้านเดียวทีใ่ ช้ไฟฟ้ า 2,000 kW
39.หากมีการก่อสร้างผิดจากแบบที่ได้รบั อนุญาต วิศวกรใดมีหน้ าที่และความรับผิดตามพระราชบัญญัตควบคุมอาคาร พ.ศ.
2522
1.วิศวกรผูอ้ อกแบบ
2.วิศวกรผูค้ วบคุมงาน
3.วิศวกรของผูร้ บั เหมาก่อสร้าง
4.วิศวกรของกรมโยธาธิการ
40.การนําเข้าสู่ระบบคอมพิ วเตอร์ซึ่งข้อมูลที่มีลกั ษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิ วเตอร์นัน้ ประชาชนทัวไปอาจเข้
่ าถึงได้ มี
ความผิดต้องระวางโทษ
1.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
2.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
3.ระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ
4.ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
จรรยาบรรณ
1. โดยทัวไปการกระทํ
่ าที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติ ศกั ดิ์ แห่งวิ ชาชีพได้แก่
1.การประพฤติผดิ จรรยาบรรณในลักษณะเป็ นเหตุฉกรรจ์
2.การประพฤติผดิ จรรยาบรรณ ในฐานความผิดเดียวกัน ซํ้าซาก
3.การประกอบวิชาชีพในลักษณะทีผ่ ดิ ศีลธรรมหรือประพฤติชวั ่ อย่างร้ายแรง
4.ถูกทุกข้อ
2.วิศวกรที่มีใบอนุญาตในแต่ละสาขาสามารถประกอบวิ ชาชีพวิ ศวกรรมควบคุม
1.ได้ เฉพาะงานประเภทและขนาดทีร่ ะบุในข้อบังคับสภาวิศวกรและทีต่ นมีความรูค้ วามสามารถ
2.ได้ เฉพาะงานประเภททีร่ ะบุ ในข้อบังคับสภาวิศวกร
3.ได้ เฉพาะงานทีต่ นมีความรู้ ความสามารถ
4.ได้ เฉพาะงานในขนาดทีร่ ะบุ ในข้อบังคับสภาวิศวกร
3.วิศวกรผู้ควบคุมงานหากมีเหตุจาํ เป็ นไม่สามารถอยู่ปฏิ บตั ิ งานได้ต้องทําเช่นใด
1.แจ้งให้ผวู้ ่าจ้างทราบ
2.แจ้งให้ผรู้ บั จ้างทราบ
3.มอบวิศวกรในระดับเดียวกัน ทําหน้าทีแ่ ทน
4.ถูกทุกข้อ
4.วิศวกรที่เป็ นข้าราชการ สามารถรับทํางานพิ เศษเป็ นผู้ควบคุมงานก่อสร้างได้หรือไม่
1.ได้ แต่ตอ้ งไปปฏิบตั งิ านหลังเวลาราชการ
2.ได้ ถ้าไปปฏิบตั งิ านเฉพาะช่วงวันหยุด
3.ได้ ถ้ารูจ้ กั บริหารเวลาอย่างเหมาะสม
4.ไม่ได้ เพราะผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง ต้องอยูห่ น้างานตลอดเวลา
5.คณะกรรมการจรรยาบรรณมีอาํ นาจลงโทษปรับเงิ นค่าเสียหายจากผู้ได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิ ชาชีพวิ ศวกรรมควบคุม
หรือไม่ อย่างไร
1.มีอ่านาจปรับเงินได้ไม่เกิน 20,000 บาท
2.มีอานาจปรับเงินได้ไม่เกิน 60,000 บาท
3.มีอําานาจปรับเงินได้ตาม ความเสียหายทีแ่ ท้จริง
4.ไม่มอี ่านาจปรับเงินค่าเสียหาย
6.การใช้วิชาชีพในหลอกลวงประชาชน ผิดจรรยาบรรณข้อใด
1.ไม่กระทําการใดๆ อันอาจนํามาซึง่ ความเสื่อมเสียเกียรติศกั ดิแห่ ์ งวิชาชีพ
2.ต้องปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั ทําอย่างถูกต้องตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
3.ไม่โฆษณาหรือยอมให้ผอู้ ่นื โฆษณา ซึง่ การประกอบวิชาชีพควบคุมเกินความจําเป็ นจริง
4.ไม่ละทิง้ งานโดยไม่มเี หตุอนั ควร
7.วิศวกรลงลายมือชื่อรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อไอนํ้า โดยไม่ได้ทาํ การตรวจทดสอบสภาพหม้อไอนํ้าด้วยการอัด
(Hydrostatic Test) จริ ง ตามที่รบั รองมาแต่อย่างใดวิ ศวกรผู้นี้กระทําความผิดตามข้อ
1.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องปฏิบตั งิ านตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
2.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเกินความสามารถ และความเชีย่ วชาญทีต่ นเองจะ
กระทําได้
3.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องไม่ละทิง้ งานโดยไม่มเี หตุอนั ควร
4.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องไม่ลงลายมือชือ่ เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมในงานทีต่ นไม่ได้ทํา
8.วิศวกรผู้ควบคุมงาน หากไม่อยู่หน้ างานอาจถูกลงโทษในข้อใด
1.ละทิง้ งานโดยไม่มเี หตุเหตุอนั ควร
2.ไม่ปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั ทําอย่างทีถ่ ูกต้อง ตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
3.ต้องปฏิบตั วิ ชิ าชีพวิศวกรรมควบคุม ด้วยความซือ่ สัตย์สุจริต
4.ไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เกินความสามารถทีต่ นเองจะทํา ได้
9.วิศวกรได้เบิกเงินล่วงหน้ าจากผู้ว่าจ้างให้ออกแบบคํานวณและยื่นขออนุญาตก่อสร้างอาคาร แต่มิได้ดาํ เนิ นการดังกล่าวและ
มิได้คืนเงินให้กบั ผู้ว่าจ้าง การกระทําของวิศวกรผู้นี้จะมีความผิดตามข้อใด
1.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องปฏิบตั งิ านตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
2.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องไม่ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเกินความสามารถและความเชีย่ วชาญทีต่ นเองจะกระทํา
ได้
3.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องไม่ละทิง้ งายโดยไม่มเี หตุอนั ควร
4.ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ต้องลงลายมือชือ่ เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมในงานทีต่ นไม่ได้ทํา
10.วิศวกร ก. นําแบบของวิ ศวกร ข. มาแก้ไขบางส่วน เพื่อให้ราคาถูกลง โดยไม่ได้รบั อนุญาต เป็ นลายลักษณ์อกั ษรจาก
วิศวกร ข. วิศวกร ก. มีความผิด หรือไม่
1.ไม่มคี วามผิด เพราะถือว่าเป็ นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถทีจ่ ะทําได้
2.มีความผิด ถือเป็ นการคัดลอกแบบของวิศวกรผูอ้ ่นื
3.ไม่มคี วามผิด เพราะแบบเป็ นสิทธิของผูว้ ่าจ้าง เนื่องจากชําระค่าแบบแล้ว
4.มีความผิด เพราะถือว่าเป็ นการทํางานชิน้ เดียวกัน ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมอื่น
11.การนําแบบของวิ ศวกรอื่นมาใช้ สามารถทําไดหรือไม่
1.ทําได้ โดยให้ช่างเขียนแบบ (Draft man) เขียนแบบเสียใหม่ อย่าใช้แบบเดิม
2.ทําได้ โดยเปลีย่ นแปลงไม่ให้เหมือนเดิม ให้มากทีส่ ุด
3.ทําได้ หากได้รบั อนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากวิศวกรเจ้าของแบบ
4.ทําไม่ได้ ทุกกรณี
12.การใช้วิชาชีพในการหลอกลวงประชาชน ผิดจรรยาบรรณข้อใด
1.ไม่กระทําการใดๆ อันอาจนํามาซึง่ ความเสื่อมเสียเกียรติศกั ดิแห่ ์ งวิชาชีพ
2.ต้องปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั ทําอย่างถูกต้อง ตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
3.ไม่โฆษณาหรือยอมให้ผอู้ ่นื โฆษณา ซึง่ การประกอบวิชาชีพควบคุม เกินความจําเป็ นจริง
4.ไม่ละทิง้ งานโดยไม่มเี หตุอนั ควร
13.วิศวกรสามารถประกอบวิ ชาชี พวิศวกรรมควบคุมได้ทุกประเภทของงานในสาขาของตนหรือไม่
1.ได้ เพราะวิศวกรเป็ นผูม้ คี วามรู้
2.ได้ เพราะข้อบังคับสภาวิศกรระบุให้ทําได้
3.ได้ เฉพาะงานทีต่ นมีความรูค้ วามสามารถ และไม่ขดั แย้งกับข้อบังคับ ของสภาวิศวกร
4.ได้ เพราะวิศวกรเป็ นผูม้ ปี ระสบการณ์สงู
14.หากกรรมการจรรยาบรรณหรืออนุกรรมการที่คณะกรรมการจรรยาบรรณแต่งตัง้ มีคาํ สังให้ ่ ท่านมาให้ถ้อยคํา ท่านควร
ปฏิ บตั ิ
1.ต้องให้ความร่วมมือ มิฉะนัน้ จะมีความผิด
2.ไม่จําเป็ นต้องร่วมมือ เพราะเป็ นสิทธิส่วนบุคคล
3.ไม่ร่วมมือ เพราะเป็ นสิทธิของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ
4.ไม่จําเป็ นต้องร่วมมือ เพราะคณะกรรมการจรรยาบรรณไม่มอี ํานาจ
15.จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิ ศวกรรมมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
1.รักษาผลประโยชน์ของผูป้ ระกอบวิชาชีพ
2.ธํารงไว้ซง่ึ เกียรติศกั ดิแห่
์ งวิชาชีพ ให้เป็ นทีย่ อมรับและเชือ่ ถือของ สังคม
3.ควบคุมความประพฤติของวิศวกร
4.ควบคุมการปฏิบตั ขิ องวิศวกร
16.งานที่ไม่เข้าข่ายวิศวกรรมควบคุม ผู้ใดต่อไปนี้ สามารถทําได้
1.วุฒวิ ศิ วกร
2.ภาคีวศิ วกรพิศษ
3.บุคคลทัวไป ่
4.ถูกทุกข้อ
17.วิศวกรที่มีชื่อเป็ นผู้ควบคุมงานตามกฎหมายควบคุมอาคาร หากจะลาออกจากการเป็ นควบคุมงาน จะพ้นต่อความ
รับผิดชอบได้ต่อเมื่อแจ้งต่อ
1.กรมแรงงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2.เจ้าหน้าทีพ่ นักงานท้องถิน่ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
3.ผูจ้ ดั การโครงการ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
4.เจ้าของโครงการ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
18.ผู้ได้รบั ใบอนุญาตที่ถกู สภาวิศวกรสังเพิ ่ กถอนใบอนุญาต จะสามารถขอรับใบอนุญาตใหม่ได้หรือไม่
1.ไม่สามารถขอใบอนุญาติได้อกี ต่อไป
2.สามารถขอใบอนุญาติใหม่ได้ โดยต้องเริม่ ต้นจากภาคีวศิ วกร
3.สามารถขอใบอนุญาติใหม่ได้ หากพ้นกําหนด 5ปี โดยอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการสภาวิศวกร
4.สามารถขอใบอนุญาติใหม่ได้ หากมีผรู้ บั รองว่าตนสํานึกผิดแล้ว
19.วิศวกรต้องประกอบวิชาชีพโดยให้ความสําคัญอย่างยิ่ งยวดต่อ
1.ความประหยัดทรัพยากร
2.ความปลอดภัยของสาธารณชน
3.ผูว้ ่าจ้าง
4.ความเหมาะสมในการใช้งาน
20.วิศวกรที่ถกู คณะกรรมการจรรยาบรรณวิ นิจฉัยชี้ขาดให้เพิ กถอนใบอนุญาตมีสิทธิ ยื่นขอใบอนุญาตหลังพ้นกําหนด
1.10 ปี
2.5 ปี
3.3 ปี
4.1 ปี
21.หากวิศวกรพบเห็นการกระทําที่ผิดกฎหมายในงานที่ตนรับทําแต่อาํ นาจหน้ าที่ของตนไม่สามารถแก้ไขได้และผู้มีอาํ นาจ
ทราบแต่ไม่ประสงค์จะแก้ไข สิ่ งที่ควรทําคือ
1.ทําไม่รไู้ ม่ช้ี
2.ปฏิบตั งิ านตามปกติ
3.ปฏิเสธงานไม่ทํางานนัน้
4.ทําผิดกฎหมายได้บา้ ง แต่อย่าผิดมากเกินไป
22.วิศวกรผู้ควบคุมงาน หากพบเห็นการก่อสร้างที่ผิดกฎหมายจะพ้นผิดได้เมื่อ
1.ขณะทําผิดกฎหมาย ตนไม่อยู่หน้างาน
2.ถอนตัวจากการเป็ นผูค้ วบคุมงาน โดยแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
3.ถอนตัวจากการเป็ นผูค้ วบคุมงาน โดยแจ้งต่อเจ้าของงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
4.ถอนตัวจากการเป็ นผูค้ วบคุมงาน โดยแจ้งต่อเจ้าพนักงานตํารวจในท้องทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร
23.เมื่อวิศวกรได้รบั การว่าจ้างให้ทาํ งานต่อจากวิ ศวกรอื่นที่ทาํ อยู่ ควรปฏิ บตั ิ อย่างไร
1.ทําสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรกับผูว้ ่าจ้าง
2.แจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้วศิ วกรอื่นนัน้ ทราบ
3.ปฏิบตั งิ านได้เลยถ้าวิศวกรอืน่ นัน้ ลาออกจากงานแล้ว
4.ทําสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรกับหัวหน้างาน
24.หากอยู่ในสถานะที่ถกู ขอความคิ ดเห็นในด้านวิ ศวกรรม วิ ศวกรควรปฏิ บตั ิ อย่างไร
1.ปฏิเสธ หากไม่มขี อ้ มูล ความรูค้ วามชํานาญเพียงพอ
2.ให้ความเห็นตามความคิดเห็นของตน
3.ให้ความเห็นทีเ่ ทีย่ งตรง ตามความรูค้ วามชํานาญของตน
4.ถูกข้อ ก. และ ค.
25.วุฒิวิศวกรสามารถรับทํางานได้ทุกงาน ทุกประเภทและทุกขนาด
1.ได้
2.ได้เฉพาะงานในสาขาของตน
3.ไม่ได้
4.ได้เฉพาะงานในสาขาของตน และตนมีความรูค้ วามสามารถ
26."ไม่รบั ดําเนิ นงานชิ้ นเดียวกันให้แก่ผ้วู ่าจ้างรายอื่น เพื่อการแข่งขันราคา” หมายถึง
1.ถอดแบบประมาณราคาให้บริษทั ตนเองและคู่แข่งของบริษทั
2.เปิ ดโรงานผลิตงานอย่างเดียวกันกับบริษทั ทีต่ นเองเคยทํางาน
3.นํางานทีอ่ อกแบบไว้สมัยเป็ นลูกจ้างบริษทั หนึ่งไปเสนอขายอีกบริษทั
4.รับจ้างคุมงานให้ทงั ้ สองบริษทั ในเวลาเดียวกัน
27.ความขัดแย้งทางด้านวิศวกรรม ใช้เกณฑ์การตัดสิ นจาก
1.ระดับใบอนุญาตของวิศวกรแต่ละฝ่ าย
2.ประสบการณ์การทํางานของวิศวกรแต่ละฝ่ าย
3.หลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
4.คําวินิจฉัยของวุฒวิ ศิ วกร
28.หากต้องการคัดลอกงานของวิ ศวกรอื่น ต้องทําอย่างไร
1.แจ้งให้วศิ วกรเจ้าของแบบทราบก่อน
2.ขออนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากเจ้าของแบบก่อน
3.ทําได้เลยเพราะว่าได้จ่ายค่าออกแบบไปแล้ว
4.ทําได้เลยโดยใช้หลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ
29.ผู้ใดสามารถกล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิ ชีพวิ ศวกรรมว่าประพฤติ ผิดจรรยาบรรณแห่งวิ ชาชีพ
1.กรรมการสภาวิศวกร หรือบุคคลอืน่
2.ผูไ้ ด้รบั ความเสียหาย
3.ผูพ้ บเห็นการประพฤติผดิ
4.ถูกทุกข้อ
30.หากกล่าวหาขอถอนเรื่องการกล่าวหาการประพฤติ ผิดจรรยาบรรณต่อสภาวิ ศวกร
1.มีผลให้คณะกรรมการจรรยาบรรณ ระงับการไต่สวนผูถ้ ูกกล่าวหา
2.มีผลให้สภาวิศวกรระงับการ ดําเนินการกับผูถ้ ูกกล่าวหา
3.ไม่มผี ลให้ระงับการดําเนินการ ด้านจรรยาบรรณ
4.มีผลให้ผถู้ ูกกล่าวหาพ้นผิด โดยอัตโนมัติ
สิ่ งแวดล้อม
1. นํ้าเสียจากแหล่งใดคาดว่าน่ าจะมีคา่ BOD สูงที่สุด
1.นํ้าเสียจากบ้านเรือน
2.นํ้าเสียจากโรงงาน
3.นํ้าเสียจากโรงงานสุรา
4.นํ้าเสียจากโรงพยาบาล
2.ข้อใดเป็ นวิ ธีกาํ จัดขยะที่สร้างมลพิ ษต่อสิ่ งแวดล้อมน้ อยที่สุด
1.เผาขยะกลางแจ้ง
2.ทําปุ๋ ยหมักแบบพลิกกอง
3.ทิง้ บนพืน้ ดิน
4.ทิง้ ในถังขยะ
3.การเกิ ดสาหร่ายแบ่งบานหรือ Algae Bloom ในแหล่งนํ้ามีสาเหตุจากนํ้าทิ้ งมีลกั ษณะ
1.มีบโิ อดีสงู
2.มีตะกอนแขวนลอยมาก
3.มีไนโตรเจนและฟอสฟอรัสมาก
4.มีความเป็ นกรดสูง
4.ข้อใดเป็ นปัจจัยสู่ความสําเร็จในการทําเทคโนโลยีสะอาด
1.ความมุ่งมั ่นสูงของผูบ้ ริหาร
2.ทีมงานมีประสิทธิภาพ
3.มีแรงจูงใจเหมาะสม
4.ถูกทุกข้อ
5.ข้อมูลการใช้นํ้าและสภาพปัญหาการใช้นํ้าในบริเวณขอบเขตพื้นที่ศึกษาและบริเวณใกล้เคียง เกี่ยวข้องกับ
การประเมิ นผลกระทบ สิ่ งแวดล้อมในข้อใดมากที่สุด
1.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านกายภาพ
2.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านนิเวศวิทยา
3.คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
4.คุณค่าต่อคุณภาพชีวติ
6.หน่ วยงานใดเป็ นผู้กาํ หนดประเภทและขนาดของโครงการที่ต้องจัดทํารายงานการประเมิ นผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อม
1.กระทรวงสาธารณสุข
2.กระทรวงวิทยาศาสตร์และสิง่ แวดล้อม
3.กระทรวงอุตสาหกรรม
4.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
7.ใครเป็ นผู้กาํ หนดให้โครงการใดต้องทําระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14000
1.กฏหมายสิง่ แวดล้อมได้กําหนดไว้
2.กระทรวงอุตสาหกรรม
3.ผูบ้ ริหารระดับสูง
4.หน่วยงานราชการทีก่ ํากับโครงการ
8.ต้นเหตุหลักของการเกิ ดฝุ่ นขนาดเล็ก PM 2.5 ในกรุงเทพฯ คือ
1.การก่อสร้าง
2.ไอเสียรถยนต์ดเี ซล
3.โรงงานอุตสาหกรรม
4.การเผาหญ้าและเศษวัชพืช
9.ระบบ ISO 9000 เป็ นการจัดการระบบใด
1.ระบบการจัดการคุณภาพ
2.ระบบการจัดการสิงแวดล้อม
3.ระบบการจัดการความปลอดภัย
4.ระบบการจัดการอาชีวอนามัย
10.ระบบ ISO 14000 เป็ นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อใด
1.การจัดการความปลอดภัย
2.การจัดการสิง่ แวดล้อม
3.การจัดการสุขอนามัย
4.การจัดการอาชีวอนามัย
11.สีของนํ้าเสียไม่เกี่ยวข้องกับข้อใดมากที่สุด
1.สารอินทรีย์
2.โลหะหนัก
3.ตะกอนแขวนลอย
4.ก๊าซละลายนํา
12.ของเสียประเภทใดที่จดั เป็ นของเสียอันตราย
1.พลาสติก
2.ถ่านไฟฉาย
3.ผักเน่า
4.เศษแก้ว
13.ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยสําคัญสําหรับจุลินทรียใ์ นการย่อยสลาย สารอิ นทรียใ์ นนํ้าเสีย
1.คาร์บอนไดออกไซด์
2.อุณหภูมิ
3.สารอาหาร
4.ออกซิเจน (O2)
14.ข้อใด ไม่ใช่ หลักการในการจัดการสิ่ งแวดล้อม
1.การลดมลพิษทีแ่ หล่งกําเนิด
2.การน่ากลับมาใช้ใหม่
3.การลดต้นทุน
4.การทิง้ ทําลาย
15.การพิ จารณาขนาดตัวอย่างของจํานวนประชากรที่จะสํารวจทัศนคติ ข้อคิ ดเห็นด้านผลดีและผลเสียของ
โครงการต่อชุมชน เกี่ยวข้องกับการสํารวจข้อมูลในข้อใดมากที่สุด
1.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านกายภาพ
2.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านนิเวศวิทยา
3.คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
4.คุณค่าต่อคุณภาพชีวติ
16.ถ้ามีโครงการโรงแรมขนาด 40 ห้องตัง้ อยู่ในเขตเทศบาล 'ก' ที่ ภาคเหนื อ ตามกฎหมายโครงการนี้ ไม่
ต้องจัดทํารายงานการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อม แต่ถ้าเจ้าของโครงการต้องการทํารายงานการ
ประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อม คุณคิ ดว่าเขาสามารถทําได้หรือไม่
1.ทําไม่ได้เพราะไม่อยู่ในประเภทของโครงการทีต่ อ้ งเสนอรายงาน EIA
2.ทําได้เพราะเขาเห็นประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั
3.ทําได้เพราะเขาต้องการให้การขออนุญาตก่อสร้างทําได้งา่ ยขึน้
4.ผิดทุกข้อ
17.โดยทั ่วไปในการจัดการทําการประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อมของโครงการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักนํ้า
จะต้องทําการประเมิ นข้อใด
1.ปริมาณสารพิษในพืชต่างๆ บริเวณทีต่ งั ้ โครงการ
2.คุณภาพนํ้าในลําธารบริเวณทีต่ งั ้ โครงการ
3.จํานวนและชนิดของนกในบริเวณทีต่ งั ้ โครงการ
4.ถูกทุกข้อ
18.หน่ วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํารายงานการประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อม คือ
1.กรมโรงงานอุตสาหกรรม
2.สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
3.กรมควบคุมมลพิษ
4.กรมอนามัยสิง่ แวดล้อม
19.ISO 14000 เป็ นมาตรฐานที่ต้องคํานึ งถึงสิ่ งต่างๆ ดังนี้
1.การผลิต
2.การวิจยั พัฒนา
3.การออกแบบ
4.ถูกทุกข้อ
20.ประโยชน์ ของการมีมาตรฐานการจัดการสิ่ งแวดล้อม คือข้อใด
1.เป็ นเครื่องมือกีดกันทางการค้า
2.ต้องจัดระบบโครงสร้างองค์กรใหม่
3.ต้องดําเนินการให้เป็ นไปตามขัน้ ตอนและตามกระบวนการ
4.เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน
21.นํ้าเสียจากแหล่งใดที่มีคา่ ความสกปรกในรูป บีโอดี (BOD) มากที่สุด
1.โรงงานปิ โตรเคมี
2.โรงงานเคมีภณ ั ฑ์
3.โรงงานผลิตปลากระป๋ อง
4.นํ้าเสียชุมชน
22.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่แหล่งมลพิ ษหลักที่ก่อให้เกิ ด SOx
1.การเผาไหม้ถ่านหิน
2.การเผาไหม้น้ํามันเตา
3.ภูเขาไฟระเบิด
4.การเผาวัชพืชกลางแจ้ง
23.ก๊าซใดเป็ นผลผลิ ตส่วนใหญ่ที่เกิ ดจากการย่อยสลายสารอิ นทรียโ์ ดย จุลินทรียช์ นิ ดไม่ใช้ออกซิ เจน
1.คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
2.มีเทน (CH4)
3.แอมโมเนีย (NH3)
4.ออกซิเจน (O2)
24.หน่ วยงานใดที่กาํ กับดูแลการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
1.กรมควบคุมมลพิษ
2.สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
3.กรมโรงงานอุตสาหกรรม
4.กรมการขนส่งทางบก
25.ข้อมูลด้านระบบระบายนํ้าและป้ องกันนํ้าท่วมจะเกี่ยวข้องกับการประเมิ นผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อมในข้อ
ใดมากที่สุด
1.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านกายภาพ
2.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านนิเวศวิทยา
3.คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
4.คุณค่าต่อคุณภาพชีวติ
26.อาคารประเภทใดต้องจัดทํารายงานการประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อม
1.พืน้ ทีอ่ าคารรวมกันทุกชัน้ ตัง้ แต่ 9,000 ตร.ม.
2.อาคารสูงตัง้ แต่ 22.00 เมตรขึน้ ไป ขึน้ ไป
3.สถานพยาบาลทีม่ เี ตียงสําหรับผูป้ ่ วยค้างคืนตัง้ แต่ 60 เตียงขึน้ ไป
4.หอพักทีม่ จี าํ นวนห้องพักต้องแต่ 60 ห้องขึน้ ไป
27.ข้อใดเป็ นการจัดทํารายงานการวิ เคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ที่ไม่ถกู ต้อง
1.เป็ นการศึกษาผลกระทบของกิจกรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อสิง่ มีชวี ติ เท่านัน้
2.เป็ นการศึกษาผลกระทบของกิจกรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อธรรมชาติและ รอบตัวมนุษย์ทงั ้ ในระยะ สัน้ และในระยะ
ยาว
3.ต้องศึกษาข้อมูลหลายด้าน เช่น พืช สัตว์ ดิน นํ้า อากาศ สุขอนามัย ของมนุษย์
4.เป็ นงานทางเทคนิคทีต่ อ้ งใช้หลักการวิชาการเพื่อให้เห็นถึงผลกระทบ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อสิง่ แวดล้อมอย่าง
ชัดเจน
28.ISO 14000 ที่ให้การรับรองแล้วแก่องค์กรมีอายุกี่ปี
1.1 ปี
2.2 ปี
3.3 ปี
4.4 ปี
29.ข้อใดไม่ใช่วิธีการลดมลพิ ษที่แหล่งกําเนิ ด
1.การเปลีย่ นแปลงผลิตภัณฑ์
2.การเปลีย่ นแปลงวัตถุดบิ
3.การปรับปรุงกระบวนการดําเนินการ
4.การน่ากลับมาใช้ใหม่
30.สาเหตุข้อใดที่ก่อให้เกิ ด ISO 14000
1.ปั ญหาคอรัปชัน่
2.ปั ญหามลพิษ
3.ปั ญหาสุขภาพของประชาชน
4.ปั ญหาเศรษฐกิจ
31.ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบที่เกิ ดจากนํ้าเน่ าเสีย
1.เกิดขยะอันตราย
2.เกิดก๊าซทีม่ กี ลิน่ เหม็น
3.สัตว์น้ําสูญพันธ์
4.เป็ นแหล่งเพาะเชือ้ โรค
32.กิ จกรรมใดที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด
1.การเพาะปลูก
2.การเลีย้ งกุง้
3.การท่าเหมืองแร่
4.การเผาไหม้เชือ้ เพลิง
33.กลิ่ นก๊าซไข่เน่ าในนํ้าเสีย ที่เกิ ดจากการย่อยสลายสารอิ นทรียโ์ ดย แบคทีเรียแบบไร้ออกซิ เจน คือกลิ่ น
ของก๊าซอะไร
1.ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
2.ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
3.ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ (H2S)
4.ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
34.การเก็บค่าบําบัดนํ้าเสีย ใช้หลักการใด
1.หลักกฎหมายอาญา
2.หลักผูก้ ่อมลพิษเป็ นผูจ้ ่าย
3.หลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
4.ถูกทุกข้อ
35.ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สาํ คัญด้านโบราณสถานในบริเวณ ขอบเขตพื้นที่ศึกษาและบริเวณ
ใกล้เคียงเกี่ยวข้องกับการประเมิ นผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อมในข้อใดมากที่สุด
1.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านกายภาพ
2.ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมด้านนิเวศวิทยา
3.คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
4.คุณค่าต่อคุณภาพชีวติ
36.การประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อมหมายถึง
1.การใช้หลักวิชาการในการทํานายผลกระทบทัง้ ในทางบวกทางลบ ของการดําเนินโครงการทีจ่ ะมีผลต่อ
สิง่ แวดล้อมในทุกด้าน
2.การประเมินผลกระทบกับสิง่ แวดล้อมโดยการวิเคราะห์ทงั ้ ทาง ทรัพยากรธรรมชาติและเศรษฐกิจ
3.การใช้หลักการทางวิศวกรรมในการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมในทางลบของการดําเนินโครงการทีจ่ ะมี
ต่อสิง่ แวดล้อมได้แก่ แหล่งนํ้าขยะมูลฝอย อากาศ เสียง เป็ นต้น
4.ถูกทุกข้อ
37.โครงการใดไม่ต้องทํารายงานการประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อม
1.โรงแรม 80 ห้อง
2.โรงพยาบาล 60 เตียง
3.สถานการศึกษา
4.นิคมอุตสาหกรรม
38.อนุกรม ISO 14000 ชุดใดที่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสิ่ งจําเป็ นในระบบจัดการสิ่ งแวดล้อม
1.ISO 14001
2.ISO 14002
3.ISO 14003
4.ISO 14010
39.ข้อใดคือวิ ธีการที่ถกู ต้องตามหลักของการทํางานเทคโนโลยีสะอาด
1.การบําบัดทีป่ ลายท่อ
2.การกําจัดโดยวิธกี ารฝั งกลบ
3.การน่ากลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการผลิต
4.การเจือจางลงสู่แหล่งธรรมชาติ
40.PDCA มีความเกี่ยวข้องกับมาตรฐาน ISO 14001 อย่างไร
1.เป็ นมาตรฐานทีจ่ ดั อยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน
2.เป็ นมาตรฐานทีเ่ กิดจาก ISO 14000
3.มีความคล้ายกันกับขัน้ ตอนการบริหารจัดการ
4.ไม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน
ความปลอดภัย
1. แนวคิ ดตามทฤษฎีโดมิโน (แนวคิ ดเก่า) และ Loss causation model (แนวคิ ดใหม่) ต่างกันอย่างไร
1.แนวคิดเก่าโทษคนงาน แนวคิดโทษ ระบบการจัดการ
2.แนวคิดเก่าเน้นแก้ปัญหาตามอาการ แนวคิดใหม่ เน้นสร้างระบบป้ องกันในระยะยาว
3.ทัง้ สองแนวคิดในยกโดมิโนตัวที่ 3 เพื่อไม่ให้ตวั ที่ 4 (อุบตั เิ หตุ) ล้ม
4.ถูกทุกข้อ ก. และ ข้อ ข.
2.ข้อใดเป็ นอันตรายที่เกิ ดขึ้นจากใช้ปัน่ จันยกของมากที
่ ่สุด
1.ของทีย่ กตกหล่นจากปัน้ จันร่ ่ วงกับคนทีอ่ ยู่ดา้ นล่าง
2.ปัน้ จันไม่
่ สามารถยกของขึน้ ได้ตามนํ้าหนักทีอ่ อกแบบไว้
3.ปัน้ จันหยุ
่ ดแบบกะทันหันในขณะทีใ่ ช้งานอยู่
4.ปัน้ จันไม่
่ เคลื่อนทีไ่ ปในทิศทางทีต่ อ้ งการ
3.ท่านคิ ดว่า การที่นกเกาะบนสายไฟเปลือยแรงสูงแล้วไม่ถกู ไฟดูดเพราะอะไร
1.ขานกเป็ นฉนวนไฟฟ้ า
2.เนื่องจากนกเกาะบนสายเส้นเดียว กระแสไม่สามารถไหลครบวงจรได้
3.เพราะสายไฟฟ้ าติดตัง้ บนทีส่ งู พ้นจากการสัมผัส
4.เพราะระบบไฟฟ้ ามีสายดิน
4.หม้อนํ้า Steam boiler เป็ นเครื่องจักรที่อนั ตรายเพราะระเบิดได้รนุ แรงจึงต้องมีอปุ กรณื ที่ช่วยให้มีความปลอดภัย ได้แก่
1.ลิน้ นิรภัย ลิน้ ระบายก้นหม้อ เครือ่ งทํานํ้า RO เครื่องสูบนํ้า Feed pump
2.ลิน้ นิรภัย ลิน้ ระบายก้นหม้อ ลิน้ กันกลับ Check Valve มาตรวัดความดัน
3.เครื่องสูบนํ้า มาตรวัดระดับนํ้า มาตรวัดความดัน ลิน้ นิรภัย
4.ลิน้ นิรภัย มาตรวัดความดัน มาตรวัดระดับนํ้า ลิน้ กันกลับ
5.ข้อใดไม่ใช้อนั ตรายจากกลไกการทํางานของเครื่องจักร
1.กลไกทีม่ กี ารหมุน
2.กลไกทีม่ กี ารหนีบ
3.กลไกทีม่ กี ารเพิม่ อุณภูมิ
4.กลไกทีม่ กี ารตัดและเจียระไน
6.ใครเป็ นผู้ที่มีหน้ าที่ตรวจสอบและรับผิดชอบการใช้งานของปัน้ จันให้ ่ มีสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งานในสถานที่ก่อสร้าง
1.เจ้าของอาคาร
2.วิศวกรผูร้ บั ผิดชอบ
3.คําขับปัน้ จัน่
4.โฟร์แมน
7.เมื่อพบว่าสายไฟฟ้ าที่ต่อเข้าพัดลมเครื่องหนึ่ งฉนวนชํารุด ท่านคิ ดว่าข้อใดต่อไปนี้ เป็ นวิ ธีที่ดีที่สุดจะสามารถป้ องกัน
อันตรายที่เกิ ดขึ้นได้
1.ติดตัง้ สายดิน
2.ติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
3.หุม้ ฉนวนสายไฟฟ้ าส่วนทีช่ ํารุด
4.ใส่ตเู้ พื่อป้ องกันการสัมผัส
8.องค์ประกอบการเกิ ดเพลิ งไหม้ มีอะไรบ้าง
1.เชือ้ เพลิง และความร้อน
2.เชือ้ เพลิง ออกซิเจน และความร้อน
3.ออกซิเจน และความร้อน
4.เชือ้ เพลิง ความร้อน และคาร์บอนไดออกไซด์
9.เมื่อรับพนักงานใหม่ทาํ งานกับสารเคมีอนั ตราย การฝึ กอบรมหัวข้อใดสําคัญที่สุด
1.วิธกี ารตรวจสอบสารเคมีในบรรยากาศการทํางาน
2.สังเกตอาการเป็ นจากสารเคมี
3.การใช้อุปกรณ์ป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
4.การติดต่อโรงพยาบาลเมื่อรับสารพิษ
10.เมื่อเกิ ดอุบตั ิ เหตุจะมีความสูญเสียเกิ ดขึ้น ข้อใดคือความสูญเสียทางอ้อม
1.ค่ารักษาพยาบาล
2.ค่าจ้างสูญเปล่า
3.ค่าทําศพ
4.ค่าฟื้ นฟูสมรรถภาพ
11.การล็อก Lockout อุปกรณ์ไฟฟ้ า มีจดุ ประสงค์หลักเพื่ออะไร
1.เพื่อป้ องกันมอเตอร์หมุนในขณะทีท่ ําการซ่อมบํารุง
2.เพื่อป้ องกันเซอร์กติ เบรกเกอร์ปลดวงจรในขณะทีใ่ ช้งาน
3.เพื่อป้ องกันการนําอุปกรณ์ไฟฟ้ าไปงานอื่น
4.เพื่อป้ องกันบุคคลอื่นสับวงจรไฟฟ้ าเพื่อใช้งานโดยไม่ทราบว่ากําลังปฎิบตั งิ านอยู่
12.ฉนวนสายไฟฟ้ าเป็ นเพลิงประเภทใด
1.A
2.B
3.C
4.D
13.ข้อใดเป็ นสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
1.พนักงานไม่สวมอุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
2.งานไม่เหมาะสมกับรูปร่าง วัย และเพศของพนักงาน
3.พนักงานเหม่อลอยในขณะปฎิบตั งิ าน
4.เสียงดังมาก หรือ แสงสว่างน้อย
14.ใครเป็ นผู้ออกแบบและควบคุมเพื่อไม่ให้เกิ ดอันตรายจากนัง่ ร้านและคํา้ ยันในสถานที่ก่อสร้าง
1.โฟร์แมน
2.คนงานทีเ่ ป็ นผูป้ ระกอบนัง่ ร้านและคํ้ายัน
3.วิศวกรผูร้ บั ผิดชอบ
4.บริษทั ผูผ้ ลิตนัง่ ร้านและคํ้ายัน
15.โรงงานแห่งหนึ่ งใช้เครื่องจักรไฟฟ้ าขนาดแรงดัน 110 โวลต์ เป็ นตัวขับเคลื่อนมอเตอร์พบว่ามอเตอร์มีกระแสไฟฟ้ ารัว่ ได้
ทําการแก้ไขโดยต่อสายดิ นที่ปลอกโลหะมอเตอร์ เข้ากับแท่นรองรับไว้อย่างแข็งแรงเรียบร้อย ข้อความใดต่อไปนี้ ถกู ต้อง
1.คนงานคนนัน้ น่าได้รบั อันตราย เนื่องจากการต่อสายดินผิดวิธี
2.คนงานคนนัน้ ไม่น่าได้รบั อันตราย เนื่องจากไฟฟ้ าทีม่ แี รงดันตํ่ากว่า 220 โวลต์
3.คนงานคนนัน้ ไม่น่าได้รบั อันตราย เนื่องจากได้ต่อสายดันไว้อย่างแข็งแรงเรียบร้อยแล้ว
4.คนงานคนนัน้ น่าได้รบั อันตราย เนื่องจากเป็ นมอเตอร์ไฟฟ้ า
16.ช่างเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ า จําเป็ นต้องใส่หน้ ากากเชื่อมที่มีสีค่อนข้างทึบเพื่อป้ องกัน
1.รังสีก่อให้เกิดไอออน
2.รังสีเบต้าและแกมมา
3.รังสีอุลตร้าไวโอเล็ต
4.รังสีอุลตร้าไวโอเล็ต และ อินฟราเรด
17.การทํางานกับเตาไฟที่มีอณ ุ หภูมิสูง จะป้ องกันอันตรายจากความร้อนได้อย่างไร
1.ใช้ฉากอะลูมเิ นียกัน้ เตาไฟ
2.ใช้พดั ลมระบายอากาศเฉพาะที่
3.ใช้ระบบดูดอากาศทีเ่ ตาไฟ
4.ถูกทุกข้อ
18.ข้อใดเป็ นอันตรายร้ายแรงที่สุดจากการเกิ ดกระแสไฟฟ้ า
1.ไฟฟ้ าลัดวงจร
2.หม้อนแปลงระเบิด
3.พิการ
4.เสียชีวติ
19.เครื่องใช้ไฟฟ้ าต่อไปนี้ อะไรต้องลงดิ น
1.สว่านไฟฟ้ าทีม่ เี ลือกไฟเบอร์กลาสที่ name plate มีเครือ่ งหมายระบุว่าเป็ นประเภท II
2.เครื่องโกนหนวดไฟฟ้ าชนิดใช้แบตเตอรี่
3.เครื่องทํานํ้าอุ่นนบ้านทีม่ เี ครื่องตัดไฟรัวตั
่ ดอยู่ดว้ ย
4.พัดลมเพดาน
20.ระบบพัดลมอัดอากาศในช่องบันได มีความสําคัญอย่างไร
1.เพิม่ อากาศให้คนในบันไดหายใจ
2.ป้ องกันควันไฟจากชัน้ ต้นเพลิงไหล เข้าสู่บนั ไดหนีไฟ
3.ผลักดันควันไฟให้ออกจากอาคาร
4.ผลักดันควันให้ต่าํ ลง
21.ข้อใดต่อไปนี้ ที่ไม่ใช่โรคที่เกิ ดจากการทํางาน
1.โรคแพ้พษิ สารเคมี
2.โรคหวัดนก
3.โรคเส้นเลือดในสมองแตก
4.โรคหูตงึ หรือเสือ่ ม
22.ในการก่อสร้างโครงสร้างประเภทใดที่เมื่อเกิ ดความผิดพลาดเกิ ดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบน้ อยที่สุด
1.โครงสร้างอาคาร 20 ชัน้ ระบบคอนกรีตอัดแรง
2.โครงสร้างบ้านพักอาศัยคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชัน้
3.สะพานแขวนข้ามแม่น้ํา
4.โครงสร้างหลังคาท่าอากาศยาน
23.วิธีใดเป็ นวิธีที่ดีที่สุดสําหรับการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูดเนื่ องจากการสัมผัสโดยอ้อม
1.ติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
2.ติดตัง้ สายดินพร้อมเครือ่ งปลดวงจรอัตโนมัติ
3.ติดตัง้ ให้อยู่ในระยะห่างทีเ่ หมาะสม
4.นําเครื่องใช้ไฟฟ้ าใส่ตเู้ หล็ก
24.ข้อใดกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดการความปลอดภัยได้ครอบคลุมมากที่สุด
1.ป้ องกันชีวติ และป้ องกันทรัพย์สนิ
2.ป้ องกันชีวติ และ ป้ องกันส่งิ แวดล้อม
3.ป้ องกันชีวติ ป้ องกันสิง่ แวดล้อม ป้ องกันการหยุดชะงักทางธุรกิจ และ ป้ องกันทรัพย์สนิ
4.ป้ องกันชีวติ ป้ องกันส่งิ แวดล้อม และ ป้ องกันทรัพย์สนิ
25.ข้อใดเป็ นหลักความปลอดภัยในการทํางานสัมผัสรังสีที่ก่อให้เกิ ดไออนที่ถกู ต้องที่สุด
1.ตรวจวัดปริมาณรังสีในบรรยากาศอยู่เสมอ
2.ลดเวลาทํางานสัมผัสรังสี
3.บันทึกปริมาณรังสี เมื่อมีระดับสูงให้ทําการย้ายออก
4.ใช้เครื่องกําบังรังสีขณะทํางาน
26.การกระทําในข้อใดที่สามารถก่อให้เกิ ดอันตรายมากที่สุด
1.แนนไม่ใส่เสือ้ ในขณะทีข่ บั รถแทรคเตอร์
2.ดําไม่ใส่ทอ่ี ุดหูลดเสียงขณะขึน้ ลิฟต์ชวคราวั่
3.อํานวยขับปัน่ จันวั่ นละ 4 ถึง 6 ชัวโมง่
4.วินัยกระโดดขึน้ รถตักดินในขณะทีร่ ถทํางานอยู่
27.วิธีการใดถือเป็ นหนึ่ งในวิธีของมาตรการความปลอดกัยในการทํางานกับไฟฟ้ า
1.ติดตัง้ สายดิน
2.สวมถุงมือยาง
3.ตัดวงจรไฟฟ้ าในพืน้ ทีท่ ุกครัง้ ทีป่ ฎิบตั งิ าน
4.สวมชุดป้ องกันประกายไฟ
28.ก๊าซชนิ ดใดจะเกิ ดขึ้นเมื่อการลุกไหว้มีปริ มาณออกซิ เจนไม่เพียงพอ
1.คาร์บอนไดออกไซต์
2.ไฮโดรเจนคลอไรด์
3.ไฮโดรเจนไวยาไนด์
4.คาร์บอนมอนออกไซด์
29.ข้อใดเป็ นการป้ องกันอันตรายจากเสียงเป็ นอันดับแรก
1.ป้ ระกาศกฎระเบียบการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเสีย
2.จัดระบบตรวจสุขภาพผูท้ ท่ี ํางานเกีย่ วกับเสียง
3.จัดการทางวิศวกรรมเพื่อลดระดับเสียงทีแ่ หล่งกําเนิด
4.คัดเลือกผูม้ สี ุขภาพสมบูรณ์และมีความต้านทานเสียง
30.ข้อใดเป็ นปัจจัยที่ไม่มีผลต่อการยกของโดยรถปัน้ จัน่
1.มุมยก
2.อุณหภูมิ
3.แรงลม
4.ระยะเวลาการใช้งานต่อเนื่อง
31.จุดประสงค์ของการล็อก (Lockout) อุปกรณ์ไฟฟ้ าคือข้อใด
1.เพื่อป้ องกันมอเตอร์หมุนในขณะทําการซ่อมบํารุง
2.เพื่อป้ องกันเซอร์กติ เบรคเกอร์ปลดวงจรในขณะทีใ่ ช้งาน
3.เพื่อป้ องกันการนําอุปกรณ์ไฟฟ้ าไปใช้งานอื่น
4.เพื่อป้ องกันวงจรไฟฟ้ าทีด่ บั แล้ว กลับมามีไฟฟ้ าอีกครัง้ เนื่องจากอุบตั เิ หตุ
32.ห้องนอนควรติ ดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับชนิ ดใด
1.อุปกรณ์ตรวจจับควัน
2.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน
3.อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง
4.อุปกรณ์ตรวจจับทางไหลของนํ้า
33.ข้อใดเป็ นความหมายที่ถกู ต้องของเซฟการ์ด
1.อุปกรณ์ทค่ี วบคุมให้เครื่องจักรทํางานอัตโนมัติ
2.อุปกรณ์ทป่ี ้ องกันอันตรายจากจุดเสีย่ ง
3.อุปกรณ์ทป่ี ้ องกันงานตามจังหวะการทํางาน
4.อุปกรณ์ทเ่ี พิม่ ความประหยัดในการทํางาน
34.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิ ดเหตุการณ์นัง่ ร้านถล่ม
1.รับนํ้าหนักบรรทุกมากเกินไฟ
2.ติดตัง้ ไม่ถูกต้อง
3.วัสดุทน่ี ํามาใช้ไม่สมบูรณ์
4.นํานัง่ ร้านทีเ่ คยใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่อกี ครัง้
35.ข้อใดเป็ นวิธีที่ไม่ถกู ต้องสําหรับการช่วยเหลือผู้ที่กาํ ลังถูกไฟดูด
1.ใช้ผา้ แห้งดึงผูป้ ระสบอันตรายให้พน้ จากสายไฟฟ้ า
2.ดึงปลักที๊ จ่ ่ายไฟให้กบั เครื่องใชัไฟฟ้ านัน้
3.ใช้ไม่เขีย่ สายไฟฟ้ าให้พน้ ออกไป
4.โทรแจ้ง 1669
36.จุดรวมผลกรณี เกิ ดเพลิงไหม้ มีจดุ ประสงค์เพื่ออะไร
1.สถานทีร่ วมตัวกันเพื่อตรวจสอบรายชื่อทีอ่ พยพออกจากอาคาร
2.สถานทีร่ วมตัวเพือ่ ตอบโต้เหตุการณ์เพลิงไหม้
3.สถานทีร่ วมตัวกันเพื่อรณรงค์ความปลอดภัย
4.จุดรวมตัวเพือ่ อบรมความปลอดภัย
37.ในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ มักพบรากเหง้าของสาเหตุที่แท้จริ ง (Root Causes) ได้แก่ข้อใด
1.พฤติกรรมเสีย่ งของคนงาน
2.สภาพเสีย่ ง
3.ทัง้ พฤติกรรมเสีย่ งและสภาพเสีย่ ง
4.คนงานขาดความรู้
38.การทํางานของใคร ควรใช้เข็มขัดนิ รภัยและสายช่วยชีวิตมากที่ สุด
1.คนขับรถตักดิน
2.คนทีท่ ํางานบนนัง่ ร้านทีส่ งู
3.เจ้าของโครงการ
4.วิศวกรโครงการ
39.เครื่องใช้ไฟฟ้ าใดต่อไปนี้ ที่จาํ เป็ นต้องต่อลงดิ น
1.สว่านไฟฟ้ าทีม่ เี ปลือกไฟเบอร์กลาสที่ name plate มีเครื่องหมายระบุว่าเป็ นประเภท II
2.คอมพิวเตอร์ชนิดตัง้ โต๊ะ (PC Computer)
3.โทรทัศน์
4.พัดลมดูดอากาศติดตัง้ ทีผ่ นังไม้สงู จากพืน้ 2.5 เมตร
40.ประโยชน์ของการปิ ดล้อมช่องเปิ ดพื้น ช่องบันได หรือ ช่องเปิ ดแนวดิ่ งอื่นๆ คือข้อใด
1.ทําให้หนีไฟได้สะดวก
2.ป้ องกันการลักทรัพย์สนิ ระหว่างชัน้
3.ป้ องกันควันไฟและเพลิงไหม้ลุกลามตามชัน้
4.ผิดทุกข้อ
41.ข้อใดเป็ นความสูญเสียทางตรงจากอุบตั ิ เหตุ
1.สูญเสียเวลาทํางานของลูกจ้างทีบ่ าดเจ็บ
2.สุญเสียค่าซ่อมแซมเครื่องจักกทีเ่ สียหาย
3.สูญเสียค่ารักษาพยาบาล
4.สูญเสียค่าจ้างสูญเปล่า
42.สาเหตุของการเกิ ดไฟฟ้ าดูดจากการสัมผัสโดยอ้อมคือข้อใด
1.เพราะเป็ นเครื่องใช้ไฟฟ้ าทีใ่ ช้ประจํา และไม่คดิ ว่ามีไฟรัวจึ
่ งขาดความระมัดระวัง
2.เพราะไม่ใช่เป็ นการสัมผัสกับสายไฟฟ้ าโดยตรง แต่สมั ผัสกับเปลือกโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้ า
3.เพราะไม่มวี ธิ ที ส่ี ามารถป้ องกันได้
4.ถูกทุกข้อ
43.สาเหตุของการแตกร้าวและชํารุดของอาคารที่อยู่ใกล้เคียงสถานที่ก่อสร้างคือข้อใด
1.การใช้เครื่องจักรทีม่ เี สียงดังมากจนเกินไป
2.รถปัน้ จันที่ ม่ กี ารเคลื่อนทีเ่ ร็วเกินไป
3.มีเครื่องจักรในงานก่อสร้างมากกว่า 4 ประเภทขึน้ ไป
4.การตอกเสาเข็ม
44.แหล่งกําเนิ ดความรอ้นที่เป็ นสาเหตุของการเกิ ดอัคคีภยั คือข้อใด
1.อุปกรณ์ไฟฟ้ า กล่องกระดาษ และไฟฟ้ าสถิต
2.นํ้ามันเบนซิน ฟ้ าผ่า หม้อต้มนํ้าร้อน
3.การเชื่อมตัดเหล็ก การสูบบุหรี่ และนํ้าประปา
4.ขัว้ ไฟฟ้ าหลวม การเชื่อมตัดเหล็ก และ ตลับลูกปื นมอเตอร์ชํารุดขณะกําลังหมุน
45.การจัดการด้านความปลอดภัยมีจดุ มุ่งหมายหลักเพื่อสิ่ งใด
1.เพิม่ ผลผลิตและสร้างนวัตกรรม
2.ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี วามปลอดภัย
3.พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
4.ควบคุมความสูญเสียจากอุบตั เิ หตุ
46.ในระหว่างการก่อสร้าง การขึงตาข่ายที่ชนั ้ ต่างๆ ของอาคารโดยรอบ ทําเพื่อจุดประสงค์ใดเป็ นหลัก
1.เพื่อปกปิ ดรูปแบบการก่อสร้างจากภายนอก
2.เพื่อให้ตกึ มีสสี นั ทีน่ ่ามองต่อผูส้ ญั จรผ่านไปมา
3.เพื่อป้ องกันลมพัดเข้าสู่ตวั อาคาร
4.เพื่อป้ องกันวัตถุหล่นจากทีส่ งู
47.เมื่อพบว่าสายไฟที่ต่อเข้าพัดลมฉนวดเกิ ดการชํารุด ข้อใดต่อนี้ เป็ นวิ ธีที่ดีที่สุดในการป้ องกันอันตรายที่อาจเกิ ดขึ้น
1.ติดตัง้ สายดิน
2.ติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
3.ใส่ตเู้ พื่อป้ องกันการสัมผัส
4.หุม้ ฉนวนสายไฟฟ้ าส่วนทีช่ ํารุด
48.ระดับออกซิ เจนในอากาศเท่าใด ที่ไม่มีเพียงต่อการหายใจ
1.21%
2.19%
3.17%
4.15%
49.ผู้ปฏิ บตั ิ งานในข้อใดมักได้รบั อันตรายจากรังสีอุลตร้าไวโอเล็ต (รังสีเหนื อม่วง)
1.ภายในห้องเอ็กซ์เรย์
2.กลางแดดจ้า
3.ภายในโรงงานไฟฟ้ านิวเคลียร์
4.ภายในห้องวิทยุกระจายเสียง
50.รถปัน้ จันที ่ ่ใช้ในงานก่อสร้าง จําเป็ นต้องได้รบั การตรวจสอบสภาพตามกฎหมายความปลอดภัย จากวิ ศวกรสาขาใดและ
ระดับใด
1.วิศวกรโยธา ระดับภาคี
2.วิศวกรเครื่องกล ระดับภาคี
3.วิศวกรโยธา ระดับสามัญ
4.วิศวกรเครื่องกล ระดับสามัญ
51.การล็อก (Lockout) อุปกรณ์ไฟฟ้ า มีจดุ ประสงค์เพื่อข้อใด
1.เพื่อป้ องกันมอเตอร์หมุนในขณะทีท่ ําการซ่อมบํารุง
2.เพื่อป้ องกันเซอร์กจิ เบรกเกอร์ปลดวงจรในขณะทีใ่ ช้งาน
3.เพื่อป้ องกันวงจรไฟฟ้ าทีด่ บั แล้ว กลับมามีไฟอีกเนื่องจากอุบตั เิ หตุ
4.เพื่อปอ้งกันการนําอุปกรณ์ไฟฟ้ าไปใช้งานอื่น
52.อุปกรณ์ใดควรติ ดตัง้ เพื่อตรวจจับเพลิ งไหม้ในห้องนอน
1.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน
2.อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซไวไฟ
3.อุปกรณ์ตรวจจับควัน
4.อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซพิษ
53.การทํางานในสถานที่ที่มีเสียงดังเกิ น 90 เดซิ เบล ควรปฏิ บตั ิ ตวั อย่างไรเพื่อป้ องกันอันตรายจากเสียง
1.จัดให้มชี ่วงพักระหว่างทําานมากขึน้
2.จัดให้มกี ารหมุนเวียนเข้าทํางาน
3.จัดให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง
4.จัดให้ได้รบั การตรวจรักษาเมื่อการได้ยนิ ผิดปกติ
54.ข้อใดเป็ นอันตรายที่เกิ ดจากปัน้ จันน้ ่ อยที่สุด
1.อุบตั เิ หตุของตกหล่นจากปัน่ จัน่
2.ปัน้ จันไม่
่ สามารถรับนํ้าหนักได้ทําให้โครงหรือตัวปัน้ จันหั
่ กลง
3.ผูป้ ฏิบตั งิ านเกีย่ วกับปัน้ จันพลั
่ ดตกลงมาถึงแก่ชวี ติ
4.คนงานเดินชนโครงเหล็กปัน่ จันในเวลากลางคื
่ น
55.ระบบสายดิ นช่วยให้ปลอดภัยจากไฟฟ้ าดูดได้อย่างไร
1.เมื่อเกิดไฟรัวลงที
่ เ่ ปลือกโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้ า เครื่องตัดวงจรอัตโนมัตจิ ะทําหน้าทีต่ ดั วงจรไฟฟ้ าออก
2.สายดินทําให้ปลอดภัยเนื่องจากกระแสไฟฟ้ าจะไหลลงดินหมด ไม่ผ่านบุคคล
3.ปลอดภัยเพราะมีแรงดันไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
4.กระแสไฟฟ้ าจะไหลครบวงจรผ่านสายดิน โดยไม่ผ่านบุคคลเนื่องจากสายดินมีความต้านทานตํ่า
56.จํานวนคนในอาคารยิ่ งมาก ควรต้องทําอย่างไรเพื่อให้ให้เกิ ดความปลอดภัยในกรณี เกิ ดเพลิ งไหม้
1.เพิม่ จํานวนอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้
2.เพิม่ จํานวน และ เพิม่ ขนาดความกว้างของทางหนีไฟ
3.เพิม่ แสงสว่างให้มากขึน้
4.ลดระยะทางเดินให้สนั ้ ลง
57.ข้อใดคือความสําคัญของความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องจักร
1.ช่วยให้ได้ผลผลิตตามต้องการ
2.ช่วยให้เกิดความสะดวกสบายในการทํางาน
3.ช่วยควบคุมอันตรายจากเครื่องจักรขณะทํางาน
4.ช่วยลดสภาวะต่อสิง่ แวดล้อม
58.เหตุการณ์ถล่มของ แบบที่หล่อพื้น ซึ่งเกิ ดขึ้นระหว่างการเทพื้นคอนกรีต ท่านคิ ดว่าเกิ ดขึ้นจากสาเหตุใดมากที่สุด
1.ส่วนผสมของคอนกรีตมีหนิ มากจนเกินไป
2.นังร้
่ านคํ้ายันทีร่ องรับแบบหล่อพืน้ ไม่มคี วามแข็งแรงมากเพียงพอ
3.กําลังอัดของคอนกรีตทีเ่ ทมีค่าสูงกว่า กําลังคอนกรีตทีอ่ อกแบบไว้
4.ฝนตกระหว่างการก่อสร้างทําให้มนี ้ําหนักบรรทุกเพิม่ ขึน้
59.แนวทางการป้ องกันอันตรายจากเพลิ งไหม้ที่มีสาเหตุจากไฟฟ้ า ข้อใดดีที่สุด
1.ต่อลงดินเครือ่ งใช้ไฟฟ้ า
2.ติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
3.ตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบไฟฟ้ าเป็ นประจํา
4.ถอดปลักเต้๊ าเสียบทุกครัง้ หลังใช้งาน
60.ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการระบายควันไฟ
1.ลดความร้อนจากโครงสร้างหลักอาคาร
2.ยกระดับควันไฟให้สงู ขึน้ เพือ่ ทําให้มองเห็นฐานไฟ
3.ลดความหนาแน่นของควันไฟเพือ่ ให้มองเป็ นเส้นทางหนีไฟได้ชดั เจน
4.ถูกทุกข้อ
61.ข้อใดคือเหตุผลที่เราจําเป็ นต้องบริ หารความปลอดภัย
1.ความปลอดภัยเป็ นส่วนหนึ่งของงาน
2.ความสูญเสียจากอุบตั เิ หตุมมี หาศาลทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
3.ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง
4.มีกฎหมายบังคับ
62.ข้อใดเป็ นอันตรายเกิ ดจากไฟฟ้ าดูด
1.นาย A สวมรองเท้ายาง ใช้มอื งสองข้าง จับสายไฟฟ้ าเปลือยมือละเส้น
2.นาย B ยืนบนพืน้ ปูนและใช้สว่านไฟฟ้ าโดยไม่สวมรองเท้า
3.นาย C ไม่สวมรองเท้าแต่สวมถุงมือยาง จับไฟฟ้ าเปลือยมือละเส้น
4.นาย D ใช้ปืนยิงนกเกราะบนสายไฟฟ้ าแรงสูง
63.ก่อนการปี นไต่ขึ้นไปบนเครื่องตอกเสาเข็ม ควรปฏิ บตั ิ ข้อใดก่อน
1.ถอดรองเท้าก่อนเพื่อให้สามารถปี ไต่ถนัด
2.นังทํ
่ าสมาธิเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 15 นาที
3.ใส่อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยให้เรียบร้อยทุกชิน้ ส่วน
4.ใส่เครื่องช่วยหายใจเพื่อให้หายใจได้สะดวกขึน้
64.ข้อใดเป็ นอันตรายที่เกิ ดจากอัคคีภยั
1.เปลวไฟ และ ออกซิเจนไม่เพียงพอ
2.ควันไฟ ความร้อน และ ไอนํ้า
3.ควันไฟ ก๊าซพิษ ความร้อน และ การเบียดเสียดทับกันตาย
4.เปลวไฟ ไอนํ้า และ ควันไฟ
65.ข้อใดเป็ นการป้ องกันอันตรายจากสารเคมีที่มีประสิ ทธิ ภาพ
1.ควบคุมทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านกับสารเคมี
2.ควบคุมทีท่ างผ่านของสารเคมี
3.ควบคุมทีแ่ หล่งกําเนิดสารเคมี
4.ควบคุมระบบการรักษาพยาบาลต่อ
66.ข้อใดเป็ นสาเหตุหลักของการเกิ ดเพลิ งไหม้จากไฟฟ้ า
1.เปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่างมากและนานเกินความจําเป็ น
2.จุดต่อสายไฟฟ้ าหลวมและเกิดความร้อน
3.ไม่ตดิ ตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
4.ไม่ตดิ ตัง้ สายดิน
67.การแตกร้าวและชํารุดของอาคารที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานที่ก่อสร้างมักเกิ ดจากสาเหตุใดมากที่สุด
1.เครื่องจักรทีม่ เี สียงดังมากเกินไป
2.รถปัน้ จันที
่ ม่ กี ารเคลื่อนทีเ่ ร็วเกินไป
3.มีเครื่องจักรในการก่อสร้างมากกว่า 4 ประเภทขึน้ ไป
4.การตอกเสาเข็ม
68.ไฟฟ้ าสถิ ต เกิ ดจากสาเหตุใดมากที่สุด
1.เกิดจากการเสียดสีระหว่างวัตถุสองชนิด
2.เกิดจากมวลวัตถุสองชนิดรวมตัวกัน
3.เกิดจากวัตถุคายประจุจากสารละลาย
4.เกิดจากไฟฟ้ าลัดวงจร
69.ข้อใดไม่ใช่โรคจากการทํางาน
1.โรคแพ้พษิ สารเคมี
2.โรคไข้หวัดนก
3.โรคเส้นเลือดในสมองแตก
4.โรคหูตงึ หรือ เสื่อม
70.ข้อใดไม่อนุญาตให้เป็ นวิ ธีหลักในการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูด เนื่ องจากการสัมผัสโดยอ้อม
1.ติดตัง้ ระบบสายดินและมีเครื่องตัดวงจรอัตโนมัติ โดยไม่มเี ครื่องตัดไฟรัว่
2.หุม้ ฉนวนส่วนทีม่ ไี ฟฟ้ า
3.ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าประเภท II (double insulation)
4.ติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
71.ข้อใดเป็ นขัน้ ตอนแรกสําหรับการป้ องกันอันตรายจากเสียง
1.ประกาศกฎระเบียบการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเสียง
2.จัดระบบตรวจสุขภาพผูท้ ท่ี ํางานเกีย่ วข้องกับเสียง
3.จัดการทางวิศวกรรมเพื่อลดระดับเสียงทีแ่ หล่งกําเนิด
4.คัดเลือกผูม้ สี ุขภาพสมบูรณ์และมีความต้านทานเสียง
72.ข้อใดเป็ นการควบคุมแหล่งกําเนิ ดอัคคีภยั
1.แยกทัง้ เชือ้ เพลิงและคาร์บอนไดออกไซด์ออกทัง้ สองอย่างพร้อมกัน
2.แยกเชือ้ เพลิงออกอย่างเดียวก็เพียงพอ
3.แยกทัง้ ออกซิเจนและเชือ้ เพลิงออกทัง้ สองอย่างพร้อมกัน
4.อยกอย่างน้อยสององค์ประกอบของการเกิดเพลิงไหม้
73.ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบจากการได้รบั ความร้อนต่อร่างกาย
1.ขาดนํ้า
2.เป็ นตะคริว
3.เป็ นลม
4.โลหิตจาง
74.ระบบสายดิ นช่วยให้ผ้ใู ช้งานปลอดภัยจากไฟฟ้ าดูดได้อย่างไร
1.กระแสดไฟฟ้ าจะไหลครบวงจรผ่านสายดิน โดยไม่ผ่านตัวบุคคลเนื่องจากสายดินมีความต้านทานตํ่ากว่ามาก
2.เมื่อเกิดไฟรัวลงที
่ เ่ ปลือกโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้ า เครื่องตัดวงจรอัตโนมัตจิ ะทําหน้าทีต่ ดั วงจรไฟฟ้ าออก
3.ปลอดภัยเนื่องจากกระแสไฟฟ้ าจะไหลลงดินหมดไม่ผ่านบุคคล
4.เพราะดินมีแรงดันไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
75.การก่อสร้างของโครสร้างประเภทใดที่หากเกิ ดความผิดพลาดแล้วจะส่งผลกระทบน้ อยที่สุด
1.โครงสร้างอาคารสูง 20 ชัน้ ระบบคอนกรีตอัดแรง
2.โครงสร้างบ้านพักอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชัน้
3.สะพานแขวนข้ามแม่น้ํา
4.โครงสร้างพลังคาท่าอากาศยาน
76.การลุกไหม้ของแผงไฟฟ้ าจัดเป็ นเชื้อเพลิ งประเภทใด
1.ประเภท A
2.ประเภท B
3.ประเภท C
4.ประเภท D
77.ส่วนใดของเครื่องจักรที่มีโอกาสเกิ ดอุบตั ิ เหตุได้มากที่สุด
1.เพลา
2.จุดควบคุม
3.หน้าปัด
4.ฐานราก
78.หากต้องปฏิ บตั ิ งานไฟฟ้ า ถ้าสามารถปฏิ บตั ิ ได้ควรเลือกการป้ องกันด้วยวิ ธีใดเป็ นวิ ธีแรก
1.ดับไฟฟ้ าก่อนปฏิบตั งิ าน
2.ห่อหุม้ ส่วนทีม่ ไี ฟฟ้ า
3.ใช้ถุงมือยาง
4.อยู่ในระยะห่างทีเ่ หมาะสม
79.ข้อใดเป็ นผลกระทบด้านโครงสร้างอาคารที่มีสาเหตุจากการตอกเสาเข็ม
1.นายดําอาศัยใกล้สถานทีก่ ่อสร้างทําให้ไม่มสี มาธิในการอ่านหนังสือ
2.คนงานทีอ่ ยู่ในสถานทีก่ ่อสร้างเป็ นโรคหูหนวก
3.บ้านนายขาวทีอ่ ยู่ใกล้สถานทีก่ ่อสร้างเกิดรอยร้าวตามผนังบ้าน
4.สร้างความวําคาญต่อผูค้ นทีส่ ญั จรรถผ่านสถานทีก่ ่อสร้าง
80.โถงเอเทเรียน (โถงเปิ ดโล่ง) ในศูนย์การค้า ต้องมีระบบควบคุมควันไฟที่ถกู ต้องอย่างไร
1.ต้องควบคุมขนาดเพลิงไหม้ดว้ ยหัวกระจายนํ้าดับเพลิง
2.ต้องจัดให้มกี ารระบายควันออกและเติมอากาศเข้ามาแทนที
3.ต้องจัดให้มบี ่อกักเก็บควันไฟเพื่อประสิทธิภาพในการระบายควันไฟ
4.จําเป็ นต้องทําทุกข้อ

You might also like