You are on page 1of 17

1

เนื้อหาวิชาความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบอาคาร
ของ ม. เกษตรศาสตร (วิทยาเขตศรีราชา)

หมวด 1 จรรยาบรรณและกฎหมาย

1. วิศวกร พ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับงานออกแบบ


คํานวณอาคารอเนกประสงคแหงหนึ่ง โดยไดลงลายมือชื่อในแบบที่ผูอนื่ ออกแบบคํานวณมาให
กอนที่จะทําการตรวจสอบความถูกตองของแบบ ตอมาคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจสอบ
พบวาแบบแปลนดังกลาวไมมีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอ ประกอบกับเมื่อตรวจสอบก็พบวาแบบ
โครงสรางของอาคารดังกลาวออกแบบไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ดังนัน้ วิศวกร พ ทํา
ผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรือ่ งประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะ
กระทําได

2. วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับงานออกแบบ


โรงงานแปรรูปเนื้อไกใหกับบริษัทแหงหนึง่ โดยกอนรับงานไดเดินทางไปดูสถานที่กอสราง และ
พบวาไดมีการตอกเสาเข็มไปบางสวนแลวประมาณรอยละ ๔๐ ซึ่งสวนใหญจะเปนเข็มกลุม จึงคาดวา
นาจะมีผูออกแบบกอนแลวและไดแจงใหผูวาจางดําเนินการแจงใหผูออกแบบเดิมทราบกอน ตอมา
ไดรับใบสั่งงานจากผูวาจาง จึงเขาใจวาผูวา จางไดแจงใหผูออกแบบเดิมทราบแลว วิศวกร จ จึงได
ทําการออกแบบตามที่ไดรับการวาจาง โดยมิไดตดิ ตามทวงถามวา ผูวาจางไดแจงใหผูออกแบบเดิม
ทราบกอนแลวหรือไม ดังนัน้ วิศวกร จ ทําผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องรับทํางาน หรือตรวจสอบ
งานชิ้นเดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นทําอยู

3. วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับภาคี สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับควบคุมงานกอสราง


อาคารสูง ๖ ชั้น ขณะกอสรางถึงโครงสรางชั้นที่ ๖ โดยไดทํานั่งราน และแบบชั้นหลังคา แลวเสร็จ
โดยขณะเริ่มเทคอนกรีตชั้นหลังคาซึ่งเปนคานยื่น ๖ เมตร และพื้นอัดแรง (Post Tension) วิศวกร ข
มิไดอยูควบคุมงานโดยมอบหมายใหหวั หนาคนงานเปนผูดูแลแทน ปรากฏวา นั่งรานรับน้ําหนักไม
ไหวจึงยุบตัว ทําใหแบบแตกพังลงมา และคนงานพลัดตกลงมาเสียชีวิตหนึ่งราย ไดรับบาดเจ็บอีก
สองราย ดังนัน้ วิศวกร ข ผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องละทิ้งงานที่ไดรับทําโดยไมมเี หตุอัน
สมควร

4. วิศวกร ป ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดลงลายมือชื่อ


รับรองสําเนาความถูกตองของเอกสารใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแทนวิศวกรอื่น
2

ซึ่งทํางานรวมกันโดยพลการ และไดนําเอกสารดังกลาวไปยื่นประกอบการประมูลงานของ
หนวยงานราชการ ดังนั้น วิศวกร ป ผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต

5. วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดทําใบปลิวโฆษณา


โดยระบุวา รับเหมา-ตอเติมทุกชนิด ดวยทีมงานมืออาชีพ เชน แกปญหารอยแตกราวของโครงสราง
การทรุดตัวของโครงสราง งานปลูกสรางอพารทเมนท หอพัก ควบคุมการกอสรางดวยทีมงาน
วิศวกร ฯลฯ ซึ่งเปนการโฆษณาใหผูอื่นเขาใจวาตนมีความรูความสามารถที่จะประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม จนเปนเหตุใหบุคคลภายนอกหลงเชื่อตามขอความทีป่ รากฏในใบโฆษณานัน้ และ
ไดติดตอตกลงทําสัญญากับวิศวกร จ ซึ่งในความเปนจริงแลว วิศวกร จ ไมสามารถทํางานวิศวกรรม
ควบคุมบางประเภทตามขอความที่ไดโฆษณาไว เนื่องจากเกินความรูค วามสามารถ และไมมี
ทีมงานประจํา บางครั้งตองไปจางวิศวกรผูอ ื่นเขามาดําเนินการแทน ดังนั้น วิศวกร จ ผิด
จรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณา ซึ่งการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมเกินความเปนจริง

6. วิศวกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร ไดทําการควบคุมการ


ทําเหมืองแรในเขตประทานบัตรติดตอกัน ๒ แปลง โดยทําการเปดหนาดินและผลิตแร ไปกอนทีจ่ ะ
ไดรับหนังสืออนุญาตแผวถางปาจากกรมปาไม และใบอนุญาตใหมี ใช และขนยายวัตถุระเบิดจาก
กระทรวงมหาดไทย ประกอบกับบอเหมืองมีลักษณะคอนขางสูงชัน ไมมีการทําบอเหมืองเปน
ขั้นบันได ดังนั้น วิศวกร ม ผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรือ่ งไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตาม
หลักปฏิบัติและวิชาการ

7. วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับการวาจางใหทํา


การสํารวจความเสียหายและใหคําแนะนําแกไข อาคารทาวเฮาส ๓ ชั้น ซึ่งเกิดการทรุดตัวและ
แตกราวในโครงการหนึ่ง โดยวิศวกร ข ไดไปทําการสํารวจเฉพาะอาคารที่ไดรับการวาจาง แตมิได
เขาไปสํารวจอาคารขางเคียง และสภาพแวดลอมของบริเวณใกลเคียง ประกอบกับมิไดนําผลการ
ตรวจสอบสภาพชั้นดินซึ่งอยูในความครอบครองของบริษัทที่วิศวกร ข ทํางานอยูม าใชประกอบการ
พิจารณาแตกลับนําขอมูลของวิศวกรผูออกแบบอาคารเดิมที่เกิดเหตุมาใช ซึ่งขอมูลการออกแบบเดิม
นั้น คาสวนความปลอดภัยไมผานเกณฑมาตรฐาน ตอมาวิศวกร ข ไดทาํ หนังสือใหความเห็นวา
ความเสียหายเกิดจากการตอเติมอาคารของบานขางเคียงซึ่งมี โครงสรางเชื่อมตอกัน ทําใหเกิดการ
ฉุดรั้งจากการทรุดตัวของฐานราก ดังนั้น วิศวกร ข ผิดจรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องไมปฏิบัติงานที่
ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
3

8. วิศวกร ส ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับงานออกแบบ


คํานวณอาคารพักอาศัยสองชัน้ จํานวน ๒๙ หลัง ในโครงการหมูบาน น โดยมีนาย บ ซึ่งมิใชวิศวกร
เปนผูควบคุมงาน ตอมาเจาของกรรมสิทธิ์บานหลังหนึ่งไดตรวจสอบพบวาการกอสรางมิไดเปนไป
ตามแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต จึงไดรองเรียนไปยังเจาพนักงานทองถิน่ ปรากฏวาวิศวกร ส ไดทํา
การรวมมือกับบริษัทเจาของโครงการ ยื่นเรื่องขออนุญาตดัดแปลงอาคารดังกลาวยอนหลัง โดยทํา
การแกไขแบบและรายการคํานวณใหมใหตรงกับที่ไดมีการกอสรางจริง ดังนั้น วิศวกร ส ผิด
จรรยาบรรณวิศวกรในเรื่องไมปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ

9. จรรยาบรรณของสถาปนิกตอผูรวมวิชาชีพ ไดแก
1) ไมโออวดความรูความสามารถของตนจนเกินกวาความเปนจริงและตองไมแอบอาง
ความคิดหรือผลงานของผูประกอบวิชาชีพอื่นวาเปนของตน
2) ตองไมแสวงหางานดวยการแขงขันกับผูป ระกอบวิชาชีพอื่นโดยวิธปี ระกวดราคา
หรือลดผลประโยชน สินจางหรือบําเหน็จรางวัล
3) ตองไมเสนอบริการของตนในการประกวดแขงขันที่ไมไดมาตรฐานการประกวด
แบบตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรม
4) ตองไมใชหรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง ผังหรือเอกสารที่เกี่ยวกับงานของผูประกอบ
วิชาชีพอื่นเวนแตไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพอื่นเปนลายลักษณอักษร
10. จรรยาบรรณของสถาปนิกตอผูวาจาง ไดแก
1) ตองไมเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดสําหรับตนเองหรือ
ผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมาหรือบุคคลอื่นซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทําใหกับผูวาจาง
2) ตองไมละทิง้ งานที่ไดรับทําโดยไมมีเหตุอันสมควร
3) ตองไมจงใจละเวนหนาทีท่ ี่ควรกระทําอันเกี่ยวแกงานของผูวาจาง หรือปดบัง
ขอความที่ควรแจงใหผูวาจางไดทราบ
4) ตองไมเปดเผยความลับของงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูวาจาง หรือ
โดยคําสั่งของเจาพนักงานทีม่ ีอํานาจตามกฎหมาย หรือตามคําสั่งศาล
11. จรรยาบรรณของสถาปนิกตอวิชาชีพ ไดแก
1) ตองไมกระทําการใดๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ
2) ตองประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต
3) ตองไมใชอาํ นาจหนาที่โดยไมชอบธรรม หรือใชอิทธิพลหรือใหผลประโยชนแก
บุคคล เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับหรือไมไดรับงาน
4

4) ตองไมลงลายมือชื่อเปนผูป ระกอบวิชาชีพในงานทีต่ นไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือ


ควบคุมดวยตนเอง
12. จรรยาบรรณของสถาปนิกตอสาธารณะ ไดแก
1) ตองไมกระทําการใดๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ
2) ตองไมละทิง้ งานที่ไดรับทําโดยไมมีเหตุอันสมควร
3) ตองประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต
4) ตองไมลงลายมือชื่อเปนผูป ระกอบวิชาชีพในงานทีต่ นไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือ
ควบคุมดวยตนเอง
13. การตรวจสอบใหญ เปนการตรวจสอบทุก 5 ป
14. ในการตรวจสอบใหญ ผูตรวจสอบตองเตรียมแผนดังตอไปนี้ใหแกเจาของอาคาร
1) แผนปฏิบัตกิ ารการตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
2) แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารประจําป
15. ในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารอยางนอยตองทําการ
ตรวจสอบในเรื่อง
1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
2) การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบของอาคาร
3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ ของอาคารเพื่ออพยพผูใ ช
อาคาร
16. อาคารสูงและอาคารขนาดใหญพเิ ศษ ทีย่ ื่นใบขออนุญาตกอสรางหลังป 2541 ตอง
ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2541) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
17. กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 กําหนดใหอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษตองติดตั้งระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง
18. การปองกันโครงสรางหลักของอาคารที่เปนเหล็กรูปพรรณ ใหมีความสามารถทนไฟ
ตองปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522
19. ตามพระราชบัญญัติโรงงาน “โรงงาน” มีความหมายวา อาคาร สถานที่ หรือ
ยานพาหนะทีใ่ ชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือ
ใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป
20. วัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ไดแก วัตถุระเบิดได วัตถุไวไฟ
วัตถุมีพิษ และวัตถุที่กอใหเกิดการระคายเคือง
21. อาคารที่ใชบรรจุกาซตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้
5

1) พื้นตองแข็งแรง เรียบ และผิวพื้นตองทําดวยวัสดุชนิดที่ทําใหเกิดประกายไฟจาก


การเสียดสีไดยาก
2) อาคารที่ใชบรรจุกาซลงในทอบรรจุกาซตองเปนอาคารชั้นเดียว ทําดวยวัสดุที่ไมติด
ไฟ
3) อาคารที่มีการบรรจุหรือจัดเก็บกาซไวไฟ ระบบไฟฟาในอาคารตองเปนชนิด
ปองกันการเกิดประกายไฟ (Explosion Proof) หรือระบบไฟฟาที่เหมาะสมกับชนิดของกาซ

หมวด2 หลักการและแนวทางการตรวจสอบอาคาร

1. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหการตรวจสอบสภาพอาคารแบบการตรวจสอบใหญ
เปนการตรวจสอบทุก 5 ป

2. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหผูตรวจสอบตองเตรียมแผนปฏิบตั ิการการตรวจ
บํารุงรักษาอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร และแผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ
ประกอบของอาคารประจําป สําหรับการตรวจสอบใหญใหแกเจาของอาคาร

3. ในการตรวจสอบอาคารและอุปกรณประกอบของอาคารอยางนอยตองทําการตรวจสอบ
ในเรื่องดังตอไปนี้
1) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
2) การตรวจสอบระบบและอุปกรณประกอบของอาคาร
3) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณตาง ๆ ของอาคารเพื่ออพยพผูใชอาคาร

4. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหอาคารตองมีการตรวจสอบสภาพประจําทุกปและ
ตรวจสอบใหญประจําทุกหาป

5. ผูตรวจสอบไมจําเปนตองเขาตรวจสอบในบริเวณพืน้ ที่ทมี่ ีอาจจะทําอันตรายตอผูตรวจสอบ

6. ผูดูแลอาคารเปนผูที่ไดรับมอบหมายจากเจาของอาคาร ในการตรวจสอบการบํารุงรักษา
อาคาร และระบบอุปกรณประกอบตางๆ

7. อาคารดังตอไปนี้ตองทําการตรวจสอบอาคารตามที่กฎหมายกําหนดไว
1) อาคารสูง ที่กอสรางหลังป 2535
6

2) อาคารสูง ที่มีพื้นที่ไมเกิน 10,000 ตารางเมตร


3) อาคารขนาดใหญพเิ ศษ ทีก่ อสรางกอนป 2535
4) โรงแรม ที่มีความสูงเกิน 23 เมตร

8. หนาที่ของผูตรวจสอบอาคารตามที่กฎหมายกําหนดไว เชน
1) การจัดทํารายงานผลการตรวจสอบอาคาร
2) การตรวจสอบการทํางานของเครื่องจักรที่ใชในระบบประปา
3) การประเมินความปลอดภัยดานอัคคีภยั
4) การตรวจสอบอุปกรณและระบบความปลอดภัยตางๆ

9. เจาพนักงานทองถิ่นตามที่ระบุไวในกฎหมายการตรวจสอบอาคารหมายถึง
1) นายกเทศมนตรี ในเขตเทศบาลนั้นๆ
2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ในเขตองคการบริหารสวนจังหวัดนั้นๆ
3) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
4) นายกเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา

10. ผูตรวจสอบตองทําการตรวจสอบสวนตางๆ ของอาคาร เชน


1) ทางเขาออกของรถดับเพลิง
2) สภาพของรางระบายน้ํา
3) ที่จอดรถดับเพลิง

11. สิ่งที่ผูตรวจสอบอาคารควรปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบเบื้องตน สําหรับความปลอดภัยของ


ระบบเครื่องกลและสุขาภิบาลเพื่อใหมีความปลอดภัย ไดแก
1) ควรมีการศึกษาแบบแปลนอาคารและงานระบบที่เกีย่ วของกอนเขาตรวจสอบอาคาร
2) แสวงหาความรูเกี่ยวกับระบบตางๆเพื่อใหมีพนื้ ฐานทีด่ ีกอนการตรวจสอบอาคาร
3) ศึกษาคูมือของเครื่องจักรและอุปกรณที่เกี่ยวของทั้งดานการตรวจสอบและ
การบํารุงรักษาที่ถูกตอง

12. ผูที่มีหนาที่ตรวจสอบการบํารุงรักษาอาคารและระบบอุปกรณประกอบตางๆ ของอาคาร


ตามที่กฎหมายกําหนดไว ไดแก เจาของอาคารและผูดูแลอาคาร

13. แผนการตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพือ่ ความปลอดภัยในอาคารไดแกแผนดังตอไปนี้


7

1) แผนการปองกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร
2) แผนการซอมอพยพผูใชอาคาร
3) แผนการบริหารที่เกี่ยวกับความปลอดภัย
4) แผนการบริหารจัดการของผูตรวจสอบอาคาร

14. ระบบและอุปกรณที่กฎหมายระบุใหทําการตรวจสอบสมรรถนะ ตัวอยางเชน


1) ระบบแจงเหตุเพลิงไหม
2) บันไดหนีไฟและเสนทางการหนีไฟ
3) เครื่องหมายและไฟปายทางออกฉุกเฉิน

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
แนวทางการตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร

1. การเปลี่ยนแปลงแกไขงานโครงสรางที่มีผลตอกําลังของโครงสรางอาคาร เชน การรื้อถอน


วงกบประตูหรือหนาตาง การรื้อถอนผนังกออิฐฉาบปูนกั้นหองนอน การรื้อถอนราวบันได
คอนกรีตเสริมเหล็ก แตการการรื้อถอนเสารองรับชานพักบันไดไมมีผลตอกําลังของ
โครงสรางอาคาร

2. การเปลี่ยนสภาพการใชงานอาคารแถวเปนโกดังเก็บสินคามีผลตอโครงสรางของอาคาร
เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกจะเพิ่มขึ้น

3. การกองเก็บสินคาลักษณะทีอ่ าจมีผลตอโครงสรางของอาคาร เชน การกองเก็บสินคาโดย


กองซอนกันตามแนวตั้งบริเวณกลางแผนพื้น หลาย ๆ ชัน้ แตการกองเก็บสินคาในลักษณะ
กองเก็บสินคาบนพื้นโดยกระจายเปนบริเวณกวาง หรือการกองเก็บสินคาเปนแถวบนแนว
คานรับน้ําหนักจะไมมีผลตอโครงสรางของอาคาร

4. การแตกราวของผนังกออิฐฉาบปูนลักษณะแตกราวตามแนวเสนทแยงมุมของผนังรูป
สี่เหลี่ยมเปนรอยขนาดใหญเกิดขึ้นจากโครงสรางฐานรากทรุดตัวไมเทากัน

5. พื้นดาดฟาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีน้ําขังและซึมผานไดมีผลตอโครงสรางพื้นคือ เหล็กเสริม
คอนกรีตจะเกิดสนิมและขยายตัวทําใหคอนกรีตหุมแตกราวและหลุดรอน
8

6. ลักษณะการแตกราวของโครงสรางเสาแบบลายงาตลอดทั้งเสา หรือแตกราวตามแนวดิ่ง
โดยรอบเสา หรือแตกราวตามแนวนอนของเสาดานใดดานหนึ่ง หรือแตกราวตามแนวนอน
ของเสาทุกดาน เกิดขึน้ เนื่องจากเสารับน้ําหนักมากเกินกําลัง

7. ชนิดรอยราวของคอนกรีตในอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จําแนกตามสาเหตุไดตามนี้
1) รอยราวที่เกิดจากวัสดุเสือ่ มสภาพ
2) รอยราวที่เกิดจากโครงสรางรับน้ําหนักบรรทุกเกินกําลัง
3) รอยราวที่เกิดจากการทรุดตัวของฐานราก

8. รอยราวใตทองพื้น ลักษณะเปนเสนๆขนานกัน รอยแตกตรงกับตําแหนงของเหล็กเสริมและ


แตกตามยาวตามทิศทางของเหล็กเสริม เมือ่ ปลอยไวนานๆคอนกรีตจะกะเทาะออกจนเห็น
เหล็กเสริมนั้นสาเหตุเกิดจากการที่เหล็กเสริมเปนสนิม ทําใหการยึดเกาะระหวางเหล็กและ
คอนกรีตลดลง ทําใหคอนกรีตที่หุมเหล็กตรงบริเวณที่เปนสนิมนั้นกะเทาะหลุดลอนออก

9. การเปนสนิมของเหล็กเสริมในอาคารคอนกรีตเกิดจากสาเหตุตางๆ ดังนี้
1) คอนกรีตหุม เหล็กเสริมมีความหนานอยเกินไป
2) อยูในสภาวะแวดลอมที่มคี วามเขมขนของคลอไรดสูง
3) อยูในสภาพที่ชุมน้ําและแหงสลับกันเปนเวลานาน

10. รอยแตกราวทีเ่ กิดขึ้นใตทองคานบริเวณชวงกึ่งกลางความยาวมีลักษณะเปนรูปตัวยู


คือแตกจากดานลางและตอเนื่องขึ้นในแนวดิ่งทั้งสองดานของคาน นาจะเกิดจากโครงสราง
อาคารรับน้ําหนักเกินกําลัง

11. วิธีพิจารณาวารอยราวเริ่มจากตําแหนงใดนั้น ใหพิจารณาวาตําแหนงใดของรอยราวกวางมาก


ที่สุด ตําแหนงนั้นคือจุดเริ่มตน

12. เมื่ออาคารมีปญหาในการทรุดตัว ตําแหนงที่มักจะแตกราวเปนอันดับแรกคือผนัง

13. รอยราวจะเกิดที่ผิวบนของพืน้ บริเวณขอบคาน รอยแตกจะขนานกับแนวยาวของคานและจะ


เกิดเพียงดานใดดานหนึ่งของพื้น ลักษณะเชนนี้จะที่บงบอกวา ฐานรากที่รองรับเสาดานตรง
ขามกับรอยแตกนี้เกิดการทรุดตัว
9

14. กรณีมีรอยแตกราวบริเวณชวงกลางผนังและเปนรอยแตกราวแนวดิ่ง นาจะเกิดจากโครงสราง


รับน้ําหนักเกินกําลัง

15. กรณีมีรอยแตกราวบริเวณชวงกลางผนังและเปนรอยแตกราวแนวเฉียงนาจะเกิดจากการที่
ฐานรากมีการทรุดตัวไมเทากัน

16. รายละเอียดของการสํารวจการแตกราวของอาคาร ควรประกอบดวย


1) ชิ้นสวนโครงสรางอาคารที่แตกราว
2) ตําแหนงรอยราว อยูใ กลจดุ ตอโครงสรางหรือบริเวณกลางชิ้นสวน
3) ลักษณะรอยแตกราว แตกเฉียง แนวนอนหรือแนวดิ่ง
4) ความกวางของรอยแตก
5) การตรวจติดตาม ผลการติดตาม เปนเชนไร
6) วันทีเ่ ริ่มสํารวจ วันที่สํารวจสิ้นสุด และระยะเวลารวมในการสํารวจ

17. ผูตรวจสอบจะตองตรวจสอบระบบโครงสรางในเรื่องดังตอไปนี้
1) ตรวจสอบ สวนของฐานราก ระบบโครงสราง และระบบโครงหลังคา ดวยสายตา
2) สภาพการใชงานตามที่เห็น การสั่นสะเทือนของพื้น การแอนตัวของพื้น คาน หรือ ตง
และการเคลือ่ นที่ในแนวราบ
3) การเสื่อมสภาพของโครงสรางที่จะมีผลกระทบตอความมั่นคงแข็งแรงของระบบ
โครงสรางของอาคาร

18. โดยปกติควรจะตรวจสอบการชํารุดสึกหรอของโครงสรางอาคารทุก 3 เดือน

19. โดยปกติควรจะตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงวัสดุกอสราง หรือวัสดุตกแตงอาคารทุก 6 เดือน

20. โดยปกติควรจะตรวจสอบการวิบัติของโครงสรางอาคารทุก 3 เดือน

21. โดยปกติควรจะตรวจสอบการทรุดตัวของรากฐานอาคารทุก 3 เดือน


10

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
แนวทางการตรวจสอบระบบไฟฟา

1. ในกรณีที่โหลดที่ฮารมอนิกสสูง สายนิวทรัลจะตองมีขนาดคากระแส 100% ของเฟสที่สูง


ที่สุดของโหลด 1 เฟส
2. สายไฟฟาโดยปกติจะระบุไวที่บนเปลือกของสายไฟฟา ซึ่งสายปกติจะระบุอุณหภูมิทใี่ ชงาน
ที่ 70 องศาเซลเซียล
3. การปองกันความรอนจากกระแสเหนี่ยวนําสามารถทําดวยวีธีการเดินสายรอยทอเหล็ก
จะตองมีสายของวงจรเดียวกันครบทุกเสน และการรอยสายในรูของแผงสวิตซที่เปนโลหะ
จะตองผาโลหะใหทะลุถึงกัน
4. สายตอหลักดินคือสายเสนทีต่ อจากกราวดบารหรือนิวตรอนบารไปยังหลักดินถูกกําหนด
จากขนาดสายกําหนดจากสายเมนเขาอาคาร
5. วิธีการตอสายดินกับหลักดินสามารถทําดวยวีธีการตอดวยแคลมป หรือการตอดวยวิธีเชื่อม
ดวยความรอน
6. การตอลงดินทีแ่ ผงยอยโดยนิวทรัลบารตอรวมกับกราวดบารเปนวิธีที่ไมถูกตอง
7. พื้นที่วางเพื่อปฏิบัติงานตองพอเพียงสําหรับการเปดตูหรือฝาตูไดอยางนอย 90 องศา
8. สายดินจะตองใชสีเขียว หรือสีเขียวแถมเหลือง
9. สายนิวทรัลในระบบไฟฟาแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย จะใชสีสีเทาออนหรือสีขาว
10. ระบบปองกันฟาผาภายนอกมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันการเกิดอัคคีภยั
11. ตัวนําลอฟา ตัวนําลงดินและรากสายดินตองมีขนาดต่ําสุดเทากับ 50 มม2 เมื่อใชวัสดุที่เปน
ทองแดงในระบบปองกันฟาผา
12. การออกแบบระบบปองกันฟาผาภายนอกดวยวิธีปองกันมุมเหมาะสําหรับสิ่งปลูกสราง
ประเภทอาคารที่ปลูกสรางอยางงายหรือสวนเล็กๆของสิ่งปลูกสรางขนาดใหญ
13. คาความตานทานดินตามมาตรฐาน วสท. ของสถานประกอบการตองมีคาไมเกิน 5 โอหม
14. ชนิดของสายตอหลักดินที่ถกู ตองตามมาตรฐานมีลักษณะดังนี้
1) สายตอหลักดินตองเปนสายหุมฉนวน
2) สายตอหลักดินตองเปนเสนเดียวกันตลอดความยาวโดยไมมีการตอระหวางทาง
3) กรณีใชบัสบารตองเปนบัสบารทองแดงเทานั้น
แตหากสายตอหลักดินเปนทองแดงหรืออลูมิเนียมจะไมถกู ตองตามมาตรฐาน
15. จุดที่ตอสายดินเขากับหลักดินกรณีจุดตอฝงอยูในคอนกรีต ตอกหรือฝงใตดิน ตองทีจดุ
สําหรับวัดคาหลักดินได เปนลักษณะที่ไมถูกตอง
16. หองเขียนแบบ หองงานบัญชี หองประชุม หองพักรับรอง หองเรียน และหองบรรยาย
11

หองที่ตองมีแสงสวางมากทีส่ ุด ไดแก หองเขียนแบบ และหองงานบัญชี


17. พื้นผิวทาสีขาวตะกั่วใหคาสัมประสิทธิ์การสะทอนแสงมากที่สุด
18. หนวยวัดความเขมของแสง คือ ลักซ
19. หมอแปลงกระแสเปนอุปกรณไฟฟาทีใ่ นขณะใชงานตองตอวงจรใหครบ หามไมใหมสี วน
หนึ่งเปดวงจร (Open Circuit)
20. สวนประกอบของระบบปองกันฟาผาประกอบดวยอะไรบาง
1) สายอากาศลอฟา
2) สายนําลงดิน
3) รากสายดิน
21. การเดินสายนําลงดินใกลกับทอแกสหรือสายไฟฟาเปนสิง่ ที่ไมควรทําในการติดตั้งสายนําลง
ดินของระบบปองกันฟาผา
22. แหลงจายกําลังไฟฟาสํารองจะตองสับเปลีย่ นแทนแหลงจายกําลังไฟฟาหลัก ไดโดย
อัตโนมัติภายในเวลา 30 วินาที

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
แนวทางการตรวจสอบระบบเครื่องกล

1. การตรวจสอบระบบเครื่องกําเนิดไอน้าํ (หมอตมน้ํา) ตองตรวจสอบอุปกรณและระบบตางๆ


เชน
1) ตรวจสอบอุปกรณความปลอดภัยตางๆ
2) ตรวจสอบเครื่องมือวัด
3) ตรวจสอบความสอดคลองกับกฎหมาย
4) ตองมีการตรวจสอบระบบความปลอดภัยในการใชงานหมอไอน้าํ อยางนอยปละครั้ง
2. การตรวจสอบระบบเครื่องกําเนิดไอน้าํ (หมอตมน้ํา) ตามกฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่
18 (พ.ศ. 2528)ฯ กําหนดใหตองมีการตรวจสอบเรื่องตางๆ ดังนี้
1) ตองติดตั้งเครื่องวัดระดับน้ําชนิดหลอดแกวไวใหเห็นไดชัดพรอมลิน้ ปดเปด
(Stop Valve) เพื่อตรวจสอบระดับน้ําและตองมีทอระบายไปยังทีเ่ หมาะสมปลอดภัย
2) ตองติดตั้งลิน้ กันกลับ (Check Valve) ที่ทอน้ําเขาหมอไอน้ําโดยติดตัง้ ใหใกล
หมอไอน้ํามากที่สุดและมีขนาดเทากับหมอน้ําเขา
3) ตองติดตั้งสัญญาณเตือนอัตโนมัติ (Automatic Alarm) แจงอันตรายเมื่อระดับน้ําใน
หมอไอน้ําต่าํ กวาระดับใชงานปรกติ
4) ตองจัดใหมฉี นวนหุมทอจายไอน้ําโดยตลอด
12

3. การตรวจสอบระบบลิฟตและบันไดเลื่อนตองตรวจสอบเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้
1) เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมลิฟตทุกตัวจะเคลื่อนลงมาจอดทีช่ ั้น LOBBY
2) ตองตรวจสอบอุปกรณ Safety ใหทํางานได
3) ลิฟตโดยสารและลิฟตดับเพลิงตองสามารถรับน้ําหนักไดไมนอยกวา 630 กิโลกรัม
4) ตรวจสอบอุปกรณสื่อสารและไฟฉุกเฉินใหทํางานไดเมื่อเกิดเพลิงไหม
4. ผูตรวจสอบจะตองตรวจสอบระบบปรับอากาศในเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้
1) อุปกรณเครือ่ งเปาลมเย็น
2) สภาพทางกายภาพของเครือ่ งเปาลมเย็น
3) ระบบไฟฟาของระบบปรับอากาศ
5. ผูตรวจสอบควรจะตรวจสอบเครื่องทําน้ําเย็นในระบบปรับอากาศทุก 6 เดือน
6. ผูตรวจสอบควรจะตรวจสอบระบบระบายอากาศทุก 3 เดือน
7. ผูตรวจสอบควรจะตรวจสอบระบบบันไดเลื่อนทุก 3 เดือน
8. ผูตรวจสอบควรจะตรวจสอบการทํางานของลิฟทและลิฟทดับเพลิงทุก 6 เดือน

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
แนวทางการตรวจสอบระบบสุขาภิบาล

1. หลักการตรวจสอบเบื้องตนสําหรับความปลอดภัยของระบบเครื่องกลและสุขาภิบาลเพื่อใหมี
ความปลอดภัยคืออะไร
1) การตรวจสอบความสอดคลองของกฎหมาย
2) การตรวจสอบตามมาตรฐานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวของ
3) การตรวจสอบทํางานของระบบใหสามารถทํางานไดดี ปลอดภัยและถูกตองตามการ
ออกแบบระบบ
4) การตรวจสอบเกี่ยวกับการตรวจเช็คและซอมบํารุงตามรอบอายุของเครื่องจักรอยาง
สม่ําเสมอ
2. หลักการของระบบระบายอากาศคือ การนําอากาศดีเขาทดแทนอากาศเสีย โดยใชอัตราการ
ระบายอากาศที่เหมาะสมกับแตละพื้นทีต่ ามที่กฎหมายกําหนด ระบบระบายอากาศตาม
กฎหมายมี 2 แบบ คือ วิธีทางกลและวิธีทางธรรมชาติ
3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.
2522 มีขอกําหนดเกี่ยวกับระบบระบายอากาศและระบบควบคุมคุณภาพอากาศ ดังนี้
1) สําหรับระบบปรับภาวะอากาศดวยน้ํา หามตอทอน้ําของระบบปรับอากาศเขากับทอน้ําของ
2) ทอลม วัสดุหอหุมทอลม และวัสดุบภุ ายในทอลม ตองเปนวัสดุทไี่ มติดไฟและไมเปน
13

สวนที่ทําใหเกิดควันเมื่อเกิดเพลิงไหม
3) การออกแบบและควบคุมการติดตั้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศในอาคารสูง
และอาคารขนาดใหญพเิ ศษตองดําเนินการโดยผูไดรับอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมตั้งแตประเภทสามัญวิศวกรขึ้นไป
4) หามใชทางเดินรวม บันได ชองบันได ชองลิฟต ของอาคารเปนสวนหนึ่งของ
ระบบทอลมสงและระบบทอลมกลับ
4. ระบบบําบัดน้าํ เสียคือระบบที่ทําหนาที่ในการบําบัด ปรับสภาพ ทั้ง ดานสี กลิ่น และคุณภาพ
ของน้ําเสีย ใหอยูในระดับที่เหมาะสม เพื่อเปนน้ําทิ้งโดยคุณภาพน้ําทิ้งตองเปนไปตาม
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เรือ่ ง กําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้ง
จากอาคาร และตองมีที่พักน้าํ ทิ้งเพื่อรองรับปริมาณน้ําทิง้ ที่เกินกวาแหลงรองรับน้ําทิ้งจะรับ
ได กอนทีจ่ ะระบายสูแหลงรองรับน้ําทิ้ง
5. การจัดเก็บขยะมูลฝอยในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญสามารถทําไดโดยโดยวิธีขนลําเลียง
หรือทิ้งลงปลองทิ้งมูลฝอย ที่พักรวมมูลฝอยตองมีขนาดบรรจุไมนอยกวา 3 เทาของปริมาณ
มูลฝอยที่เกิดขึน้ ในแตละวัน โดยที่พักรวมมูลฝอยตองมีการระบายน้ําเสียจากมูลฝอยเขาสู
ระบบบําบัดน้าํ เสีย และปลองทิ้งมูลฝอยตองทําดวยวัสดุทนไฟ
6. ระบบประปาตองมีระบบทอจายน้ําที่มวี ิธปี องกันมิใหสิ่งปนเปอนจากภายนอกเขาไปในทอ
จายน้ําได การตรวจสอบและบํารุงรักษาเครื่องสูบน้ําควรจะกระทําอยูสม่ําเสมอ ถามีการแยก
ตองแยกชนิดของทอจายน้ําอยางใหชดั เจน หามตอทอน้ําดื่มและน้ําใชเขาดวยกัน

หมวด 3 แนวทางการตรวจสอบสภาพอาคารและอุปกรณประกอบของอาคาร
แนวทางการตรวจสอบระบบปองกันและระงับอัคคีภยั

1. มาตรฐานการปองกันอัคคีภยั ฉบับปจจุบนั ไดมีการกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับเสนทางการ


หนีไฟ โครงสรางทนไฟ ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ และระบบเครื่องสูบน้ํา
ดับเพลิง
2. มาตรฐานการปองกันอัคคีภยั ไดกลาวถึงเรือ่ งการแบงกั้นพื้นที่ตางๆ ภายในอาคาร ขอ
กําหนดการออกแบบระบบน้าํ ดับเพลิงแบบตางๆ และการจัดเตรียมเสนทางการหนีไฟ
3. การจัดเตรียมศูนยสั่งการดับเพลิง มีระบุไวในมาตรฐานการปองกันอัคคีภัย
4. คารบอนมอนอกไซดเปนกาซพิษที่เกิดจากเพลิงไหมที่เปนตัวการทําใหมีผูเสียชีวิตมากที่สุด
5. ถาเกิดเพลิงไหมในหองคอมพิวเตอรที่มีผูทาํ งานอยูเต็มหอง ควรจะเลือก.ชสารดับเพลิงชนิด
สารสะอาด (Clean agent)
6. เมื่อกระดาษลุกไหม จัดวาเปนไฟประเภท A
14

7. เมื่อพัดลมลุกไหม จัดวาเปนไฟประเภท C
8. เมื่อน้ํามันเบนซินลุกไหม จัดวาเปนไฟประเภท B
9. เมื่อน้ํามันพืชลุกไหม จัดวาเปนไฟประเภท K
10. เมื่อแมกนีเซียมลุกไหม จัดวาเปนไฟประเภท D
11. การพาความรอนเปนการถายเทความรอนที่เปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดไฟลุกลามภายใน
อาคาร
12. การแผรังสีความรอนเปนการถายเทความรอนที่เปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดไฟลุกลามไปยัง
อาคารขางเคียง
13. ความรอนถายเทไปตามทอภายในอาคารลุกลามไปยังชั้นอื่นดวยการนําความรอน
14. ฟาผาเปนแหลงกําเนิดความรอนที่ทําใหเกิดเพลิงไหมที่ไมสามารถควบคุมได
15. เหล็กเปนวัสดุที่สูญเสียความแข็งแกรงไดงา ยถาสัมผัสกับความรอน
16. เหล็กเปนวัสดุที่ขยายตัวไดงา ยถาสัมผัสกับความรอน
17. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหตองติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ขนาดไมนอยกวา
4 กก. ทุกระยะไมเกิน 45 เมตร
18. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหตองติดตั้งตูหวั ฉีดน้ําดับเพลิง ทุกระยะไมเกิน 64 เมตร
19. ถังเก็บน้ําสํารอง เพื่อใชเฉพาะในการดับเพลิง ตองสํารองน้ําไมนอยกวา 30 นาที
20. อาคารพักอาศัยจัดวาเปนพื้นที่ความเสี่ยงต่าํ ที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับโรงงานทําขนมปง
โรงงานผลิตไมอัดและไมแผน และโรงกลั่นน้ํามัน ถาแบงประเภทความเสี่ยงภัยของพื้นที่
สําหรับระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง
21. โรงงานทําขนมปงจัดวาเปนพื้นที่ความปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบกับอาคารพักอาศัย
โรงงานผลิตไมอัดและไมแผน และโรงกลั่นน้ํามัน ถาแบงประเภทความเสี่ยงภัยของพื้นที่
สําหรับระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง
22. โรงงานผลิตไมอัดและไมแผน และโรงกลั่นน้ํามัน จัดวาเปนพื้นที่ความสูง เมื่อเปรียบเทียบ
กับอาคารพักอาศัย และโรงงานทําขนมปง ถาแบงประเภทความเสี่ยงภัยของพื้นที่สําหรับ
ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง
23. การติดตั้งระบบกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติภายในอาคารเปนการปองกันอัคคีภยั แบบเชิงรุก
(active fire protection) ภายในอาคาร
24. การติดตั้งอุปกรณตรวจจับที่เปนแบบจุดจะไมสามารถทําการตรวจจับเพลิงไหมไดอยาง
เหมาะสม เมื่อความสูงของพื้นที่ที่ตองการปองกันมีความสูงมากกวา 9 เมตร
25. ในหองครัว ควรเลือกใชอุปกรณตรวจจับชนิดตรวจจับความรอน
26. หองพักผอนในอาคารที่เปนโรงแรม ควรเลือกใชอุปกรณตรวจจับชนิดตรวจจับควันไฟ
27. ในโรงงานที่มเี สียงดัง ควรเลือกใชอุปกรณแจงเตือนชนิดไฟกระพริบ
15

28. อาคารสูงตองมีบันไดหนีไฟจากชั้นสูงสุด หรือดาดฟาสูพ ื้นดิน อยางนอย 2 บันได


29. บันไดหนีไฟในอาคารสูง จะตองมีระยะหางระหวางบันไดไมเกิน 60 เมตร
30. คุณสมบัติท่ดี ขี องบันไดหนีไฟมีดังนี้
1) ประตูหนีไฟตองทําดวยวัสดุทนไฟเปนบานเปดผลักออกสูภายนอก พรอมทั้งติดตัง้
อุปกรณดึงประตูกลับ
2) ตองมีราวบันไดอยางนอยหนึ่งดาน
3) ผนังโดยรอบตองกันไฟ
31. บันไดหนีไฟตองไมเปนบันไดเวียน
32. คุณสมบัติที่ดขี องทางเขาสูบันไดหนีไฟคือตองไมมีสิ่งกีดขวาง เพดานอาจสูงนอยกวา 2
เมตรก็ได แตไมควรมีผิวทางเดินตางระดับ
33. ตัวอักษรบอกทิศทางการหนีไฟตองมีขนาดไมนอยกวา 10 เซ็นติเมตร
34. บันไดหนีไฟที่ติดตั้งเพิ่มจากบันไดหลักของอาคารที่มีความสูงตั้งแตสชี่ ั้นขึ้นไป ตองมีผนัง
ทุกดานของบันไดหนีไฟทําดวยวัสดุไมตดิ ไฟ และประตูของบันไดหนีไฟ ตองกวางสุทธิไม
นอยกวา 0.80 เมตร สูงไมนอยกวา 2 เมตร
35. กรณีที่มีจํานวนคนในพื้นที่ใดหรือชั้นใดในอาคารนั้นๆ เกิน 500 คน แตไมเกิน 1,000 คน
ตองจัดเตรียมใหมีทางหนีไฟอยางนอย 3 ทาง
36. กรณีที่มีจํานวนคนในพื้นที่ใดหรือชั้นใดในอาคารนั้นๆ เกิน 1,000 คน ตองจัดเตรียมใหมีทาง
หนีไฟอยางนอย 4 ทาง
37. ในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพเิ ศษตองมีแบบแปลนแผนผังอาคารแตละชั้น โดยใน
แผนผังจะตองมีรายละเอียด ดังนี้
1) ตําแหนงของหองทุกหองของชั้นนั้น
2) ตําแหนงลิฟตดับเพลิงของชั้นนั้น
3) ตําแหนงประตูหรือทางหนีไฟของชั้นนัน้
4) ตําแหนงตูส ายฉีดน้ําดับเพลิง
38. ผนังอิฐมอญตัน กอแบบเต็มแผน และฉาบปูนหนา 15-20 มิลลิเมตร ทั้งสองดาน ทนไฟได 120
นาที
39. ผนังกอดวยคอนกรีตมวลเบาที่ความหนาเพียง 750 มิลลิเมตร โดยการฉาบผิวทั้ง 2 ดาน
สามารถทนไฟที่ 1,100 องศาเซลเซียส ไดนาน 4 ชั่วโมง
40. หองที่ติดตั้งหมอไอน้ํา จะตองมีอัตราการทนไฟของผนัง 2 ชั่วโมง
41. ในการแบงพืน้ ที่กันไฟในอาคารเกา นิยมใชการกออิฐทนไฟ หรือใชแผนยิปซั่มกันไฟ
42. การปดอุดชองเจาะทะลุที่เกิดจากการเดินทอ นิยมใชคอนกรีตหรือมอลตาร (Mortar)
43. เมื่อเกิดเพลิงไหมในโถงโลงขนาดใหญ (atrium) ภายในอาคาร ควันไฟจะลอยตัวจากกองไฟ
16

ขึ้นไปในแนวดิ่งเนื่องจากแรงลอยตัวเปนสําคัญ
44. คําจํากัดความของปรากฏการณ Flashover ซึ่งเกิดขึ้นในการเกิดเพลิงไหมภายในอาคาร คือการที่
วัตถุที่สามารถติดไฟไดทุกชิน้ ภายในหองที่เกิดเพลิงไหมลุกติดไฟพรอมกันหมด
45. การปองกันการลามไฟเปนหลักการที่สําคัญขอหนึ่งของการปองกันอัคคีภัยภายในอาคาร
ไฟจะลามจากหองตนเพลิงไปยังสวนอื่นของอาคารตามชองเปดในแนวระดับเชน ประตู
หนาตางของหองตนเพลิง หรือชองเปดในแนวดิ่งซึ่งเดินผานพื้นหองของหองตนเพลิง หรือ
ตามชองระบายอากาศของอาคาร
46. การควบคุมความเสี่ยงภัย (hazard control) จากการเกิดอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
สามารถทําไดดังนี้
1) การแยกขยะซึ่งสามารถติดไฟไดออกจากแหลงความรอนดวยผนังทนไฟ
2) การแยกกิจกรรมที่มีความเสี่ยงตอการเกิดการจุดติดไฟสูงออกจากบริเวณทั่วไปของอาคาร
3) การแบงแยกพื้นที่ขนาดใหญของโรงงานออกเปนพืน้ ที่ขนาดเล็กถึงแมวาพืน้ ที่เหลานั้น
มีความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยต่ํา
4) ถูกเฉพาะขอ ก. และ ข.
47. สําหรับเชื้อเพลิงของเหลวที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
1) ของเหลวไวไฟ (flammable liquid) ของเหลวที่มีจดุ วาบไฟ (flashpoint) สูง
สามารถจุดติดไฟไดอยางกวาของเหลวไวไฟที่มจี ุดวาบไฟต่ํากวา
2) ในการควบคุมความเสี่ยงของเชื้อเพลิงของเหลวในโรงงานอุตสาหกรรมเราสามารถ
ลําดับความสามารถในการจุดติดไฟของเชื้อเพลิงของเหลวไดโดยการพิจารณาจุดวาบไฟ
ของเชื้อเพลิง
48. คุณลักษณะของการปองกันอัคคีภยั แบบเชิงรับ (passive fire protection) ภายในโรงงาน คือ
1) การจัดแบงพื้นที่ของโรงงานออกเปนสวน ๆ ตามความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภยั
2) การสรางผนังทนไฟลอมรอบบริเวณหองที่จัดเกิดเชือ้ เพลิง
49. การติดตั้งระบบหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงอัตโนมัติเปนคุณลักษณะของการปองกันอัคคีภยั แบบ
เชิงรุก (active fire protection) ภายในโรงงาน
50. การใชน้ําหรือโฟมในการดับไฟที่เกิดจากกระดาษ หรือการใชโฟมในการดับไฟที่เกิดจาก
น้ํามันเชื้อเพลิง หรือการใชคารบอนไดออกไซดในการดับเพลิงที่เกิดจากน้ํามันเชื้อเพลิง เปน
การใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือเพื่อทําการดับเพลิงที่เกิดในโรงงานอุตสาหกรรมที่เหมาะสม
51. การใชน้ําในการดับไฟที่เกิดจากน้ํามันเชื้อเพลิงเปนการใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือเพื่อทํา
การดับเพลิงที่เกิดในโรงงานอุตสาหกรรมที่ไมเหมาะสม
52. ตัวอักษรทีใ่ ชกับปายทางหนีไฟและปายบอกชั้น จะตองมีความสูงไมนอยกวา 100 มิลลิเมตร
53. ราวจับภายในบันไดหนีไฟสําหรับอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษ ตามที่กฎหมาย
17

กําหนดจะตองมีจํานวนอยางนอย 1 ดาน
54. บันไดหนีไฟในอาคารสูงตองมีลักษณะดังนี้
1) ตองมีบันไดหนีไฟ อยางนอย 2 บันได
2) บันไดหนีไฟ ตองมีระยะหางกันไมเกิน 60 เมตร
3) บันไดหนีไฟตองมีการถายเทอากาศหรือระบบอัดอากาศ
55. ประตูหนีไฟของบันไดหนีไฟในอาคารสูง ตองสามารถปดกลับไดเองโดยอัตโนมัติ และ
สามารถกันเปลวไฟและควันไฟได
56. ถังดับเพลิงแบบมือถือจะติดตั้งสูงจากพื้นไมเกิน 1.50 เมตร
57. ตามกฎหมายควบคุมอาคารกําหนดใหถังดับเพลิงแบบมือถือตองติดตั้งหางกันไมเกิน 45
เมตร

You might also like