You are on page 1of 12

รายงาน

เรื่ อง​กฎหมายเเละทรัพย์สินทางปํ ญญา

กฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

โดย

นางสาว​อาทิติยา​พิมพ์​วงค์​เลขที่12

สาขาเทคโนโลยี​ธุรกิจ​ดิจิทลั

เสนอ

อาจารย์ ภัทรภรณ์ แย้มดอกบัว

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของ

วิชา กฎหมายธุรกิจ ​(30001-1055)

ภาคการเรี ยนที2 ​ปี การศึกษา​2566

วิทยาลัยเทคนิค​จนั ทบุรี​สำนักงานคณะกรรมการ​การอาชีวศึกษา
กฎหมายเเละทรัพย์สินทางปํ ญญาง

ความหมายเเละลักษณะของทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรื อ
การสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชำนาญ โดยไม่จ ำกัดชนิดของการ
สร้างสรรค์หรื อวิธีการแสดงออกในรู ปแบบของสิ่ งที่จบั ต้องได้ เช่น สิ นค้าต่างๆ หรื อในรู ปแบบของสิ่ งของ
ที่จบั ต้องไม่ได้ เช่น บริ การ แนวคิดในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตในอุตสาหกรรม เป็ นต้น
ทรัพย์สินทางปัญญา แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ ลิขสิ ทธิ์ (Copyright) และทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
(Industrial Property) ดังนี้
1) ลิขสิ ทธิ์ (Copyright)
หมายถึง สิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวของเจ้าของลิขสิ ทธิ์ ที่จะกระท าการใดๆ กับงานที่ผสู ้ ร้างสรรค์ได้ท าขึ้น
ไม่วา่ งานดังกล่าวจะแสดงออกในรู ปแบบอย่างใด โดยประเภทของงานอันมีลิขสิ ทธิ์ที่กฎหมายก าหนดไว้
ได้แก่
1.1) วรรณกรรม (รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
1.2) นาฏกรรม
1.3) ศิลปกรรม
1.4) ดนตรี กรรม
1.5) โสตทัศนวัสดุ
1.6) ภาพยนตร์
1.7) สิ่ งบันทึกเสี ยง
1.8) งานแพร่ เสี ยงแพร่ ภาพ
1.9) งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรื อแผนกศิลปะ
นอกจากนี้กฎหมายลิขสิ ทธิ์ยงั ให้ความคุม้ ครองถึงสิ ทธิของนักแสดงด้วย ทั้งนี้การคุม้ ครองลิขสิ ทธิ์ไม่
ครอบคลุมถึงความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้ วิธีท างาน แนวความคิด หลักการ การค้นพบ ทฤษฎี
ทางวิทยาศาสตร์หรื อคณิ ตศาสตร์
2) ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property)
หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสิ นค้าอุตสาหกรรมต่างๆ ความคิดสร้างสรรค์น้ ีอาจ
เป็ นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งอาจจะเป็ นกระบวนการหรื อเทคนิคในการผลิต ที่ได้ปรับปรุ งหรื อ
คิดค้นขึ้นใหม่หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็ นองค์ประกอบและรู ปร่ างของตัวผลิตภัณฑ์
นอกจากนี้ยงั รวมถึงเครื่ องหมายการค้า ความลับทางการค้า การคุม้ ครองพันธุ์พืช แบบผังภูมิของวงจรรวม
และสิ่ งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เป็ นต้น ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมแบ่งออกได้ ดังนี้
2.1) สิ ทธิบตั ร (Patent)
เป็ นการคุม้ ครองการคิดค้นสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ (Invention) หรื อ การออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ (Industrial Design) ที่มีลกั ษณะตามที่กฎหมายก าหนด ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
(1) สิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ (Invention Patent) หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการคิดค้นที่
เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบโครงสร้าง หรื อกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรรมวิธีในการผลิต
การเก็บรักษา หรื อการปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์
(2) อนุสิทธิบตั ร (Petty Patent) หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการประดิษฐ์จากความคิด
สร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก โดยอาจเป็ นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่
หรื อปรับปรุ งจากการประดิษฐ์ที่มีอยูก่ ่อนเพียงเล็กน้อย
(3) สิ ทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Design Patent)
การให้ความคุม้ ครองความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับรู ปร่ างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์
องค์ประกอบของลวดลายหรื อสี ของผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถใช้เป็ นแบบส าหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวม
ทั้งหัตถกรรมได้ และแตกต่างไปจากเดิมผูท้ รงสิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ ผูท้ รงอนุสิทธิบตั ร หรื อผูท้ รง
สิ ทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิเด็ดขาดหรื อสิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จาก
การประดิษฐ์หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิ ทธิบตั ร หรื ออนุสิทธิบตั รนั้น ภายในระยะเวลาที่กฎหมาย
กำหนด
2.2) แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Design of Integrated Circuits)
หมายถึง แบบ แผนผัง หรื อภาพที่ท าขึ้น ไม่วา่ จะปรากฏในรู ปแบบหรื อวิธีใดเพื่อแสดงถึงการจัดวาง
และการเชื่อมต่อของวงจรไฟฟ้ า เช่น ตัวน าไฟฟ้ า หรื อตัวต้านทาน เป็ นต้น
2.3) เครื่ องหมายการค้า (Trademark)
หมายถึง เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ หรื อตรา ที่ใช้กบั สิ นค้าหรื อบริ การ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่
(1) เครื่ องหมายการค้า (Trademark) หมายถึง เครื่ องหมายที่ใช้หรื อจะใช้กบั สิ นค้าเพื่อแสดง
ให้เห็นว่าสิ นค้าที่ใช้เครื่ องหมายนั้นแตกต่างกับสิ นค้าที่ใช้เครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่น
เช่น กระทิงแดง M-150 มาม่า ไวไว เป็ นต้น
(2) เครื่ องหมายบริ การ (Service Mark) เครื่ องหมายที่ใช้หรื อจะใช้กบั บริ การเพื่อแสดงว่า
บริ การที่ใช้เครื่ องหมายนั้นแตกต่างกับบริ การที่ใช้เครื่ องหมายบริ การของบุคคลอื่น เช่น
การบินไทย ธนาคารกรุ งไทย เป็ นต้น
สิ ทธิบตั รเป็ นการคุม้ ครองการคิดค้นสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ หรื อ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มี
ลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1. สิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการคิดค้นที่เกี่ยวกับลักษณะ
องค์ประกอบโครงสร้าง หรื อกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรรมวิธีในการผลิต การเก็บ
รักษา หรื อการปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีข้ ึน หรื อทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ข้ ึนใหม่ ที่
แตกต่างไปจากเดิม และเน้นการประดิษฐ์ที่มีลกั ษณะของการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคที่ไม่
สามารถคิดค้นขึ้นโดยง่าย เช่น กลไกของเครื่ องยนต์ ยารักษาโรค
2. อนุสิทธิบตั ร หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการประดิษฐ์จากความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับ
การพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก โดยอาจเป็ นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ หรื อปรับปรุ งจาก
การประดิษฐ์ที่มีอยูก่ ่อนเพียงเล็กน้อย
3. สิ ทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ การให้ความคุม้ ครองความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับ
รู ปร่ างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบของลวดลายหรื อสี ของผลิตภัณฑ์ ซึ่ง
สามารถใช้เป็ นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได้ และแตกต่างไป
จากเดิมผูท้ รงสิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ ผูท้ รงอนุสิทธิบตั ร หรื อผูท้ รงสิ ทธิบตั รการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ มีสิทธิเด็ดขาดหรื อสิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จากการ
ประดิษฐ์หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิ ทธิบตั ร หรื ออนุสิทธิบตั รนั้น ภายในระยะ
เวลาที่กฎหมายกำหนด
1. ลิขสิ ทธิ์
หมายถึง สิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวของเจ้าของลิขสิ ทธิ์ที่จะกระทำการใดๆ กับงานที่ผสู ้ ร้างสรรค์ได้ท ำขึ้น
ไม่วา่ งานดังกล่าวจะแสดงออกในรู ปแบบอย่างใด โดยประเภทของงานอันมีลิขสิ ทธิ์ที่กฎหมายกำหนดไว้
ได้แก่
● วรรณกรรม (รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
● นาฏกรรม
● ศิลปกรรม
● ดนตรี กรรม
● โสตทัศนวัสดุ
● ภาพยนตร์
● สิ่ งบันทึกเสี ยง
● งานแพร่ เสี ยงแพร่ ภาพ
● งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรื อแผนกศิลปะ
นอกจากนี้กฎหมายลิขสิ ทธิ์ยงั ให้ความคุม้ ครองถึงสิ ทธิของนักแสดงด้วย ทั้งนี้การคุม้ ครอง
ลิขสิ ทธิ์ไม่ครอบคลุมถึงความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้ วิธีท ำงาน แนวความคิด
หลักการ การค้นพบ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรื อคณิ ตศาสตร์
2. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสิ นค้าอุตสาหกรรมต่างๆ ความคิดสร้างสรรค์น้ ีอาจ
เป็ นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งอาจจะเป็ นกระบวนการหรื อเทคนิคในการผลิต ที่ได้ปรับปรุ งหรื อ
คิดค้นขึ้นใหม่ หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็ นองค์ประกอบและรู ปร่ างของตัวผลิตภัณฑ์
นอกจากนี้ยงั รวมถึงเครื่ องหมายการค้า ความลับทางการค้า การคุม้ ครองพันธุ์พืช แบบผังภูมิของวงจรรวม
และสิ่ งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เป็ นต้น ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมแบ่งออกได้ ดังนี้

2.1 สิ ทธิบตั ร
เป็ นการคุม้ ครองการคิดค้นสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ หรื อ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลกั ษณะตาม
ที่กฎหมายกำหนด ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1. สิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการคิดค้นที่เกี่ยวกับลักษณะ
องค์ประกอบโครงสร้าง หรื อกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรรมวิธีในการผลิต การเก็บ
รักษา หรื อการปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีข้ ึน หรื อทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ข้ ึนใหม่ ที่
แตกต่างไปจากเดิม และเน้นการประดิษฐ์ที่มีลกั ษณะของการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคที่ไม่
สามารถคิดค้นขึ้นโดยง่าย เช่น กลไกของเครื่ องยนต์ ยารักษาโรค
2. อนุสิทธิบตั ร หมายถึง การให้ความคุม้ ครองการประดิษฐ์จากความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับ
การพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก โดยอาจเป็ นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่ หรื อปรับปรุ งจาก
การประดิษฐ์ที่มีอยูก่ ่อนเพียงเล็กน้อย
3. สิ ทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ การให้ความคุม้ ครองความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับ
รู ปร่ างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบของลวดลายหรื อสี ของผลิตภัณฑ์ ซึ่ง
สามารถใช้เป็ นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได้ และแตกต่างไป
จากเดิม
ผูท้ รงสิ ทธิบตั รการประดิษฐ์ ผูท้ รงอนุสิทธิบตั ร หรื อผูท้ รงสิ ทธิบตั รการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ มีสิทธิเด็ดขาดหรื อสิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จากการ
ประดิษฐ์หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิ ทธิบตั ร หรื ออนุสิทธิบตั รนั้น ภายในระยะ
เวลาที่กฎหมายกำหนด

2.2 แบบผังภูมิของวงจรรวม
2.3 เครื่ องหมายการค้า
หมายถึง เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ หรื อตรา ที่ใช้กบั สิ นค้าหรื อบริ การ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่

1. เครื่ องหมายการค้า หมายถึง เครื่ องหมายที่ใช้หรื อจะใช้กบั สิ นค้าเพื่อแสดงให้เห็นว่าสิ นค้า


ที่ใช้เครื่ องหมายนั้นแตกต่างกับสิ นค้าที่ใช้เครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น กระทิง
แดง M-150 มาม่า ไวไว เป็ นต้น
2. เครื่ องหมายบริ การ เครื่ องหมายที่ใช้หรื อจะใช้กบั บริ การเพื่อแสดงว่าบริ การที่ใช้
เครื่ องหมายนั้นแตกต่างกับบริ การที่ใช้เครื่ องหมายบริ การของบุคคลอื่น เช่น การบินไทย
ธนาคารกรุ งไทย เป็ นต้น
3. เครื่ องหมายรับรอง หมายถึง เครื่ องหมายที่เจ้าของเครื่ องหมายรับรองใช้หรื อจะใช้เป็ น
ที่หมายหรื อเกี่ยวข้องกับสิ นค้าหรื อบริ การของบุคคลอื่น เพื่อรับรองเกี่ยวกับสิ นค้าหรื อ
บริ การนั้น เช่น ตลาดต้องชม หนูณิชย์บอกต่อความอร่ อย ฮาลาล เป็ นต้น
4. เครื่ องหมายร่ วม หมายถึง เครื่ องหมายการค้าหรื อเครื่ องหมายบริ การที่ใช้หรื อจะใช้โดย
บริ ษทั หรื อวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรื อโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมา
พันธ์ กลุ่มบุคคล หรื อองค์กรอื่นใดของรัฐ หรื อเอกชน เช่น ตราช้างของบริ ษทั ปูนซีเมนต์
ไทย จำกัด (มหาชน) เป็ นต้น

สิ่ งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
หมายถึง สัญลักษณ์ หรื อสิ่ งอื่นใดที่ใช้เรี ยกหรื อใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์และสามารถบ่งบอกว่า
สิ นค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์น้ นั เป็ นสิ นค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสี ยง หรื อคุณลักษณะเฉพาะของแหล่ง
ภูมิศาสตร์ดงั กล่าว เช่น ข้าวหอมมะลิ ทุ่งกุลาร้องไห้ ผ้าไหมยกดอกลำพูน ส้มโอนครชัยศรี ไข่เค็มไชยา
เป็ นต้น

แบบผังภูมิของวงจรรวม

หมายถึง แบบ แผนผัง หรื อภาพที่ท ำขึ้น ไม่วา่ จะปรากฏในรู ปแบบหรื อวิธีใดเพื่อแสดงถึงการจัดวางและการ
เชื่อมต่อของวงจรไฟฟ้ า เช่น ตัวนำไฟฟ้ า หรื อตัวต้านทาน เป็ นต้น
กฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

เป็ นกฎหมายที่รับรองสถานะของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ยอมรับผลของนิติกรรม สัญญา ที่ท ำผ่านทางออน


ไลน์เท่าเทียมกับนิติกรรมสัญญาในรู ปของกระดาษ

รู ปแบบของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ


● ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรื อ B to B)
● ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรื อ B to C))
● ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรื อ B to G)
● ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรื อ C to C)

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ข้อควรระวังสำหรับเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

1. อ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 2. ไม่ให้มีการใช้ขอ้ มูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่อ


อิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ได้รับอนุญาต 3. แจ้งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ตอ้ งทำ
ธุรกรรมด้วย กรณี ทราบว่าข้อมูลสำหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์น้ นั สูญหายถูกเปิ ดเผย

การเข้าทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หมายถึง การทำธุรกรรมผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ใน


ทุกๆ ช่องทางที่เป็ นอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถกระทำผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตัวอย่างการทำธุรกรรมเช่น การโอนเงิน


อิเล็กทรอนิกส์ การโฆษณาในอินเทอร์เน็ต รวมทั้งการซื้อขายสิ นค้าแบบออนไลน์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
เพิ่มช่องทางการกระจายสิ นค้า ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิ ทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความ
สำคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจในรู ปแบบดัง่ เดิมลง เช่น ตำแหน่งที่ต้ งั อาคารประกอบการ โกดังเก็บ
สิ นค้า ห้องแสดงสิ นค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสิ นค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็ นต้น ลดข้อ
จำกัดของระยะทางและเวลา ในการทำธุรกรรมลงได้

การควบคุมธุรกิจบริ การเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

โดยที่ปัจจุบนั ธุรกิจบริ การการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ มีการแพร่ หลายมากขึ้น โดยเฉพาะ สถาบัน


การเงินเฉพาะกิจ ซึ่งเป็ นหน่วยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.
๒๕๔๔ ซึ่งได้ให้อ านาจคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในกฎหมายฉบับนี้ได้ก าหนดให้คณะ
กรรมการฯ มีอ านาจ ติดตามดูแลการประกอบธุรกิจบริ การเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบกับ
ในกฎหมาย ธุรกิจบริ การเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ในกฎหมายฉบับนี้ได้บญั ญัติ ในเรื่ อง
หลักเกณฑ์และวิธีการใน การก ากับดูแลธุรกิจบริ การเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้ ๓ รู ปแบบ คือ
ต้องแจ้งให้ทราบ ต้องขึ้น ทะเบียน ต้องได้รับใบอนุญาต (แล้วแต่กรณี ) โดยการก ากับ ดูแล ให้พิจารณาถึง
ความเหมาะสมในการป้ องกัน

เเหล่งข้อมูล

http://csmju.jowave.com/cs100_v2/lesson9-1.html

https://www.google.com/url?sa=t&source=web&rct=j&opi=89978449&url=https://www.ipthailand.go.th/
images/2562/Suppress/lesson1.pdf&ved=2ahUKEwiotK7i0bGCAxVWTGwGHQG1BZ0QFnoECA0QA
Q&usg=AOvVaw2UBwSwxo3bQgDj7pp5FyUf

https://www.google.com/url?sa=t&source=web&rct=j&opi=89978449&url=https://sciencepark.wu.ac.th/i
pservice-e&ved=2ahUKEwiotK7i0bGCAxVWTGwGHQG1BZ0QFnoECAsQAQ&usg=AOvVaw28ucwz
9-wOThc_ACR0yZpw

https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1754

You might also like