You are on page 1of 21

ความหมายของสิทธิบตั ร

สิทธิบตั ร หมายถึง หนั งสื อสาคัญที่ ออกเพื่อให้ ความคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการ


ออกแบบผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ เ ป็ นการประดิ ษ ฐ์ขึ้น ใหม่ หรื อ เป็ นการประดิ ษ ฐ์ที่ มี ข นั ้ ตอนการ
ประดิษฐ์สูงขึ้น และสามารถประยุกต์ทางอุตสาหกรรมได้ สิทธิบตั รอยู่ในรูปของหนังสือ
สาคัญ การจะได้รบั สิทธิบตั รหรือไม่นัน้ จะต้องผ่านการพิจารณาหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย
ประเภทของสิทธิบตั ร

1.
สิทธิบตั รการประดิษฐ์
เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาที่ เกิดจากผลงานสร้างสรรค์จากการประดิษฐ์ ที่ มี
ลักษณะของการแก้ปัญหาทางเทคนิคที่ไม่สามารถคิดขึน้ โดยง่าย มีระยะเวลา
ในการคุ้มครอง 20 ปี
2. สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์

หมายถึง สิทธิที่รฐั ออกให้ เพื่อคุ้มครองการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ มีลกั ษณะ


ตามกฎหมายกาหนดเป็ นพิเศษ โดยให้ สิทธิที่จะผลิตสินค้า และจาหน่ ายแต่
เพียงผูเ้ ดียวภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง
3.
อนุสิทธิบตั ร

เป็ นทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากผลงานสร้างสรรค์ จากการประดิษฐ์คิดค้น


ที่ไม่มีความซับซ้อน มีการใช้เทคโนโลยีไม่สูงมากนัก หรือเป็ นการประดิษฐ์ที่
มี ก ารคิ ด ค้ น เพี ย งเล็ก น้ อย แต่ ต้ อ งเป็ นการประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ และสามารถ
ประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรมได้และมีประโยชน์ ใช้สอยมากขึ้น มีระยะเวลาใน
การคุ้มครอง 10 ปี
สิทธิบตั รการประดิษฐ์
เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญา ที่ เกิดจากการสร้างสรรค์ผลงานจากการ
ประดิษฐ์ ที่มีลกั ษณะของการแก้ปัญหาทางเทคนิคที่ไม่สามารถคิด
ขึ้นโดยง่าย เมื่อ ได้ ส ร้างงานขึ้นมา ผู้ส ร้างสรรค์ ควรขอรับความ
คุ้มครองโดยการขอรับสิทธิบตั ร
การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบตั รได้

1. ผลิตภัณฑ์ เป็ นสิ่งที่มนุษย์ผลิตขึน้ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ ซึ่งมนุษย์คิด


ขึน้ มา ไม่ได้เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ

2. กรรมวิธี คือ วิธีการ กระบวนการ หรือกรรมวิธีในการประดิษฐ์


1. เป็ นการประดิษฐ์ขนึ้ ใหม่

2. เป็ นงานประดิษฐ์ที่มีขนั ้ ตอนการประดิษฐ์สงู ขึน้

3. เป็ นการประดิษฐ์ที่สามารถนามาใช้ทางอุตสาหกรรมได้
1. จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพทีม่ อี ยูต่ ามธรรมชาติ
2. กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3. ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์
4. วิธกี ารวินิจฉัย บาบัด หรือรักษาโรคมนุ ษย์ หรือสัตว์

5. การประดิษฐ์ทข่ี ดั ต่อความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดี อนามัยหรือสวัสดิภาพของประชาชน


ตัวอย่าง สิทธิบตั รการประดิษฐ์
สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะขอรับสิทธิบตั รได้ จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่
และเป็ นการออกแบบผลิตภัณฑ์เพือ่ อุตสาหกรรม และหัตถกรรมเท่านัน้
การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ไม่ถือว่าเป็ นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่

1. แบบผลิตภัณฑ์ทม่ี หี รือใช้กนั อย่างแพร่หลายอยูแ่ ล้วในราชอาณาจักร ก่อนวันขอรับสิทธิบตั ร

2. แบบผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้มกี ารเปิ ดเผยภาพสาระสาคัญ

3. แบบผลิตภัณฑ์ทค่ี ล้ายกับผลิตภัณฑ์ทม่ี อี ยูแ่ ล้ว ใช้กนั อย่างแพร่หลาย

4. ผลิตภัณฑ์ทเ่ี คยประกาศโฆษณามาแล้วก่อนวันขอรับสิทธิบตั ร
อนุสิทธิบตั ร
เป็ น หนั ง สือ ส าคัญ ที่อ อกให้เ พื่อ คุ้ม ครองการประดิษ ฐ์ ข้ึ น มาใหม่
ทีส่ ามารถ ประยุกต์ทางอุตสาหกรรมได้ มีอายุ 6 ปี
1. บุคคลใดจะขอรับอนุ สทิ ธิบตั รและสิทธิบตั รสาหรับการประดิษฐ์อย่างเดียวกันไม่ได้

ผูข้ อรับอนุ สทิ ธิบตั รมีสทิ ธิขอเปลีย่ นแปลง ประเภทของสิทธิทจ่ี ะขอรับจากอนุ สทิ ธิบตั ร
2. เป็ นสิทธิบตั ร หรือจากสิทธิบตั รเป็ นอนุ สทิ ธิบตั รได้ก่อนการจดทะเบียนการประดิษฐ์
และออกอนุ สทิ ธิบตั ร

ภายใน 1 ปี นับจากวันโฆษณาการจดทะเบียนการประดิษฐ์ และออกอนุ สทิ ธิบตั ร


3. บุคคลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอาจขอให้ตรวจสอบว่าการประดิษฐ์ทไ่ี ด้รบั อนุ สทิ ธิบตั ร มี
ลักษณะตามทีไ่ ด้รบั อนุ ญาตหรือไม่
ผูท้ รงสิทธิบตั ร
ผูป้ ระดิษฐ์ นายจ้างของผูป้ ระดิษฐ์

ผูร้ บั โอนสิทธ์ ิ นายจ้างของผูป้ ระดิษฐ์


ผูท้ รงสิทธิบตั รซึ่งขอใช้สิทธิบตั ร ไม่ใช้สิทธิภายในเวลา 2 ปี นับแต่ได้รบั
1. อนุญาต

2. ผูท้ รงสิทธิบตั รได้อนุญาตให้บคุ คลอื่นใช้สิทธิบตั รของตนโดยไม่ถกู ต้องตาม


กระบวนการที่แจ้งไว้ในพระราชบัญญัติ (ตามมาตรา 41)
1. เจ้ า พนั ก งาน ผู้ใ ดเปิ ดเผยรายละเอี ย ดของการประดิ ษ ฐ์ หรื อ เปิ ดเผย
รายละเอียดของการประดิษฐ์ ที่อธิบดีสงให้
ั ่ ปกปิดสาระสาาคัญเพราะเกี่ยวข้องกับ
ความมันคงแห่
่ งชาติ ระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
2. ผู้ใ ดซึ่ ง รู้อ ยู่ ว่ า การประดิ ษ ฐ์ นั ้น ได้ มี ผู้ยื่ น ขอรับ สิ ท ธิ บ ัต รไว้ แ ล้ ว เปิ ดเผย
รายละเอี ยดการประดิษฐ์ ไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน
หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
3. ผูใ้ ดใช้คาว่า “สิทธิบตั รไทย” หรือ “อนุสิทธิบตั รไทย” โดยไม่ได้รบั อนุญาต
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
4. ผูใ้ ดละเมิดสิทธิบตั รของผูอ้ ื่น ระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน
400,000 บาท หรือ ทัง้ จาทัง้ ปรับ
5. ผูใ้ ดละเมิดสิทธิบตั รของผูอ้ ื่น ระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน
400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

You might also like