You are on page 1of 5

64124640115 อรณัฐ มัธยมนันทน์

1.ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา

ตอบ ทรัพย์สินทางปัญญาโดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ลิขสิทธิ์ (Copyright) และทรัพย์สินทาง


อุตสาหกรรม

(Industrial Property)

1. ลิขสิทธิ์: สิทธิทางกฎหมายที่มอบให้ผู้สร้างสรรค์งานแต่เพียงผู้เดียวในการเผยแพร่ ท้าซ้้า หรือดัดแปลงงาน


ที่สร้างสรรค์

- งานวรรณกรรม – งานนาฎกรรม – งานศิลปกรรม - งานดนตรี – งานสิ่งบันทึกเสียง - งานโสตทัศนวัสดุ

- งานภาพยนตร์ – งานแพร่เสียงแพร่ภาพ - งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ และศิลปะ

*ลิขสิทธิ์ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายทันทีโดยไม่ต้องจดทะเบียน และสิ้นสุด 50 ถึง 100 ปีหลังจากผู้


สร้างสรรค์เสียชีวิต การไปจดลิขสิทธิ์เป็นการแจ้งต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญาว่าเป็นเจ้าของ

2. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม: ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้มาจาก


การประดิษฐ์ การวิจัย จนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ รวมทั้งเครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อ ชื่อและถิ่นที่อยู่ทางการค้า

- สิทธิบัตรการประดิษฐ์ (Patent) - สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Industrial Design)

- เครื่องหมายการค้า (Trademark) - เครื่องหมายบริการ (Service Mark)

- เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) - เครื่องหมายร่วม (Collective Mark)

- ความลับทางการค้า - สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ - แบบผังภูมิของวงจรรวม

- คุ้มครองพันธุ์พืช- ภูมิปัญญาท้องถิ่น

*สิทธิบัตรต้องจดทะเบียนก่อนที่จะเผยแพร่ (จดตั้งแต่ยังเป็นภาพร่าง) ถึงจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย


ส่วนเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ ต้องจดทะเบียนถึงได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
64124640115 อรณัฐ มัธยมนันทน์

2. ความหมายของสิทธิบัตร

ตอบ หมายถึง หนังสือส้าคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์


(Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายก้าหนด เป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จ้าหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การประดิษฐ์
(Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือท้าให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น
ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่องยนต์ ,ยารักษาโรค, ,วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้
เน่าเสียเร็วเกินไป

3. ประโยชน์ของสิทธิบัตร

ตอบ 1.ได้รับการคุ้มครองจากสิทธิที่ได้ข้อจากการประดิษฐ์ ภายในระยะเวลาหนึ่ง

2.ท้าให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี การประดิษฐ์อย่างต่อเนื่อง

3.ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ที่สร้างสรรค์ คิดค้นผลงาน และท้าให้ผู้สร้างสรรค์เกิดแรงบันดาลใจที่ดี เพื่อจะได้


ผลิตผลงานที่ดีต่อไป

4.การยื่นจดทะเบียนสิทธิบัตร เป็นหลักฐานในการบันทึกในฐานข้อมูลสิทธิบัตรแต่ละประเทศ เพื่อให้ทราบถึง


สิทธิในการประดิษฐ์และเจ้าของสิทธิอย่างชัดเจน และสามารถใช้อ้างอิงสิทธิบัตรเพื่อน้าไปยื่นจดทะเบียนใน
ประเทศอื่นๆได้

สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก โครงสร้าง ส่วนประกอบ ของสิ่งของเครื่องใช้ เช่น


กลไกของกล้องถ่ายรูป, กลไกของเครื่องยนต์, ยารักษาโรค เป็นต้น หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ
เช่น วิธีการในการผลิตสินค้า, วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบรูปร่าง ลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก


เช่น การออกแบบแก้วน้้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น

อนุสิทธิบัตร (Petty patent) เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์


แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร เป็นการประดิษฐ์ที่มีเป็นการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย
และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้นมาก
64124640115 อรณัฐ มัธยมนันทน์

4. ประโยชน์ของการได้สิทธิบัตร

*ด้านสังคม ประชาชนมีสิ่งของเครื่องใช้ที่มีประโยชน์มีความสะดวกสบาย มีความปลอดภัยในชีวิตและ


ทรัพย์สินมากขึ้น

*ผู้ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จะได้รับผลตอบแทนจากสังคมคือ การได้รับความคุ้มครองสิทธิบัตร สามารถที่จะ


น้าการประดิษฐ์ตามสิทธิบัตรนั้นไปผลิต จ้าหน่าย น้าเข้ามาในราชอาณาจักร หรืออนุญาตให้บุคคลอื่นใช้สิทธิ
ตามสิทธิบัตรนั้น โดยได้รับค่าตอบแทนเนื่องจากผู้ประดิษฐ์หรือผู้ออกแบบได้ใช้สติปัญญาและความพยายาม
ของตน รวมทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่จะมีประโยชน์แก่มนุษย์ นับเป็นสิทธิตามธรรมชาติของผู้
ประดิษฐ์คิดค้น อันเป็นการจูงใจ และกระตุ้นให้นักประดิษฐ์คิดค้นมีก้าลังใจและมีความมั่นใจในการคิดค้น
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ นั้น

*สามารถน้าข้อมูลจากสิทธิบัตรที่ก้าหนดให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้น ต้องเปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการประดิษฐ์
คิดค้น ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้า วิจัยและพัฒนาต่อไปได้ส่งผลให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีให้สูงขึ้น ซึ่งช่วยลด
ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ที่ภาคอุตสาหกรรมสามารถน้าไปใช้ในการพัฒนาการ
ผลิตสินค้า ลดต้นทุนการผลิตสินค้า เพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม ปรับปรุงคุณภาพของสินค้าจะเป็นการลดการพึ่งพา
หรือการน้าเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ

*ท้าให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการลงทุนจากต่างประเทศ การจัดระบบให้มีการคุ้มครองด้านสิทธิบัตร
ย่อมท้าให้เจ้าของเทคโนโลยีจากต่างประเทศมีความมั่นใจในการลงทุนหรือถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้ร่วมลงทุน
ในประเทศ

5. ความหมายของเครื่องหมายการค้า

ตอบ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ซึ่งเครื่องหมายที่ให้ความคุ้มครองตาม


พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่
2) พ.ศ.2543 มี 4 ประเภท

1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่


ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น บรีส มาม่า กระทิงแดง เป็นต้น
64124640115 อรณัฐ มัธยมนันทน์

2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดง


ว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของ
สายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น

3. เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือ


เกี่ยวข้องกับ สินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น
เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางร้า ฮาลาล (Halal) เป็นต้น

4. เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือ


วิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตรา
ช้างของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ้ากัด เป็นต้น

6. ประโยชน์ของเครื่องหมายการค้า

1) ส่วนของเจ้าของเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้าเป็นเครื่องมือคุ้มครองผลประโยชน์

ทางการค้าให้กับผู้เป็นเจ้าของที่ใช้เครื่องหมายการค้าในกิจการของตน ตลอดจนเพิ่มมูลค่าให้กับชื่อเสียงใน

ทางการค้า หรือที่เรียกว่า “กู๊ดวิลล์ (Goodwill)” แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้เครื่องหมายการค้า

เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถจดจ้า และจ้าแนกความแตกต่างระหว่างสินค้าของตนกับคู่แข่งได้

2) ส่วนของผู้บริโภค เครื่องหมายการค้าจะท้าให้ผู้บริโภคสามารถจดจ้าและแยกแยะสินค้าที่ใช้

เครื่องหมายการค้านั้นจากสินค้าชนิดเดียวกันที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่น ซึ่งส่งผลให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าที่มี

คุณภาพได้ตรงตามความต้องการและทราบถึงแหล่งที่มาของสินค้า หากสินค้านั้นมีความบกพร่องก็สามารถหา

ผู้รับผิดชอบได้
64124640115 อรณัฐ มัธยมนันทน์

7. ความหมายของลิขสิทธิ์

ตอบ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระท้าการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้


สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของ
ผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้คุ้มครอง โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับ
ความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน เช่น งานดนตรีกรรม เช่น ค้าร้อง ท้านอง งาน
โสตทัศนวัสดุ เช่น วีดีโอเทป งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม

8. สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์

ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการใช้ประโยชน์จากผลงานสร้างสรรค์ของตน เช่น ในการท้าซ้้า


ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมทั้งสิทธิในการให้เช่า โดยทั่วไปอายุการคุ้มครองสิทธิจะมีผลเกิดขึ้น
ทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน โดยความคุ้มครองนี้จะมีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และคุ้มครองต่อไปอีก 50 ปี
นับแต่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต

9. การละเมิดลิขสิทธิ์

การละเมิดลิขสิทธิ์ หมายถึง การละเมิดลิขสิทธิ์มีโทษทางอาญาทั้งจ้าคุกและโทษปรับแล้วแต่กรณี และเจ้าของ


ลิขสิทธิ์ยังมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายในทางแพ่งด้วย โทษทางอาญา เช่น การท้าซ้้า ดัดแปลง (1.มาตรา 15
แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 2. นิยามค้าว่า “ท้าซ้า้ ” “ดัดแปลง” และ “เผยแพร่ต่อสาธารณชน”
มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537)หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษ
ปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท และหากท้าเพื่อการค้าต้องระวางโทษจ้าคุกตั้งแต่ หกเดือนถึงสี่ปี หรือ
ปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสนบาทหรือทั้งจ้าทั้งปรับ

You might also like