You are on page 1of 12

กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช – ประเทศอังกฤษ

1. ข้ อมูลพืน้ ฐาน ............................................................................................................................. 3


1. กฎหมายทีใ่ ห้ ความคุ้มครอง ............................................................................................ 3
2. อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศ .............................................................................................. 3
3. ระบบการให้ ความคุ้มครอง.............................................................................................. 3
4. หลักเกณฑ์การจดทะเบียน .............................................................................................. 3
5. พันธุ์พืชที่ไม่มีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนได้ ................................................................... 3
6. สิทธิของผู้ทรงสิทธิ .......................................................................................................... 3
7. ข้ อยกเว้ นสิทธิของผู้ทรงสิทธิและข้ อยกเว้ นการละเมิดสิทธิ ................................................. 4
8. การโอนสิทธิ ................................................................................................................... 4
9. การอนุญาตให้ ใช้ สทิ ธิ ..................................................................................................... 4
2. ขัน้ ตอนการขอรับความคุ้มครอง................................................................................................ 4
1. ขันตอนการจดทะเบี
้ ยน ................................................................................................... 4
2. กระบวนการก่อนยื่นคาขอจดทะเบียน (การตรวจค้ นพันธุ์พืช) ............................................ 5
3. การเตรี ยมคาขอ ............................................................................................................. 5
4. การยื่นคาขอ .................................................................................................................. 5
5. การขอถือสิทธิย้อนหลัง ................................................................................................... 5
6. การตรวจสอบคาขอ ........................................................................................................ 6
7. การประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียน ............................................................................. 6
8. การคัดค้ าน/โต้ แย้ ง ......................................................................................................... 6
9. การรับคาขอจดทะเบียน การชาระค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การออกหนังสือสาคัญแสดง
การจดทะเบียน .............................................................................................................. 7
10. อายุความคุ้มครอง.......................................................................................................... 7
11. การต่ออายุความคุ้มครอง ............................................................................................... 7
12. ระยะเวลาของกระบวนการจดทะเบียน............................................................................. 7
13. แบบคาขอและค่าธรรมเนียมราชการสาหรับการจดทะเบียน .............................................. 8
14. ค่าบริ การของสานักงานตัวแทนสาหรับการจดทะเบียน...................................................... 8
3. กระบวนการภายหลังการจดทะเบียน ........................................................................................ 8
1. การเพิกถอนสิทธิ ............................................................................................................ 8
2. การอุทธรณ์คาวินจิ ฉัยให้ เพิกถอนสิทธิ ............................................................................. 8
3. การจดแจ้ งการเปลีย่ นชื่อและที่อยู่ ................................................................................... 8
-2-

4. การบังคับใช้ สิทธิ ........................................................................................................................ 9


1 การกระทาที่ถือว่าเป็ นการละเมิดสิทธิ .............................................................................. 9
2 มาตรการในการเยียวยา .................................................................................................. 9
3 ค่าบริ การของสานักงานตัวแทน ....................................................................................... 9
5. มาตรการคุ้มครองทางศุลกากร ณ จุดนาเข้ า-ส่ งออก ............................................................... 9
6. หน่ วยงานที่รับผิดชอบ/สานักงานตัวแทน ................................................................................ 10
1. หน่วยงานที่รับผิดชอบ .................................................................................................. 10
2. สานักงานตัวแทน ......................................................................................................... 10
7. สถิติเกี่ยวกับทรัพย์ สนิ ทางปั ญญาในปี 2003-2004.................................................................. 11
ตารางอัตราค่ าธรรมเนียม/ค่ าใช้ จ่ายในการจดทะเบียน ........................................................................ 12
-3-

กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช – ประเทศอังกฤษ

1. ข้ อมูลพืน้ ฐาน
1. กฎหมายทีใ่ ห้ ความคุ้มครอง
พระราชบัญญัติพนั ธุ์พืช พ.ศ. 2540 (Plant Varieties Act 1997) (PVA) พระราชบัญญัติ
พันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช พ.ศ. 2507 (Plant Varieties and Seeds Act 1964)
2. อนุสญ
ั ญาระหว่างประเทศ
อนุสญ
ั ญาว่าด้ วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ พ.ศ. 2504 (International Convention for the
Protection of New Varieties of Plants 1961)
3. ระบบการให้ ความคุ้มครอง
การคุ้มครองพันธุ์พืชในประเทศอังกฤษเป็ นระบบจดทะเบียน
4. หลักเกณฑ์การจดทะเบียน
4.1 สิง่ ที่ได้ รับความคุ้มครอง
สิง่ ที่ได้ รับการคุ้มครอง คือ พันธุ์พืชใหม่
4.2 เงื่อนไขการได้ รับความคุ้มครอง
การให้ ความคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืชไม่ว่าสกุล (genus) หรื อชนิด (species) ใดๆ
พันธุ์พืชที่จะได้ รับความคุ้มครองต้ องมีความใหม่ (new) มีลกั ษณะประจาพันธุ์แตกต่างจากพันธุ์อื่นอย่างเด่นชัด
(distinct) มีความสม่าเสมอของลักษณะประจาพันธุ์ (uniformity) และมีความคงตัว (stable) รายละเอียด
เกี่ยวกับข้ อกาหนดเหล่านี ้บัญญัติอยูใ่ น Schedule 2, Part 1 ของ PVA เจ้ าของชื่อจดทะเบียนอาจดาเนินคดีต่อ
บุคคลใดซึ่งนาชื่ อนัน้ หรื อชื่ อที่เหมือนหรื อคล้ ายกันจนน่าจะก่อให้ เกิ ดความสับสนหลงผิดไปใช้ ในการขาย
พันธุ์พืชอื่นใดซึง่ อยูใ่ นจาพวกเดียวกันได้
5. พันธุ์พืชที่ไม่มีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนได้
พันธุ์พืชที่มิได้ มีลกั ษณะตามข้ อกาหนดที่ระบุใน 4.2 ข้ างต้ นจะไม่ได้ รับความคุ้มครอง
6. สิทธิของผู้ทรงสิทธิ
ผู้ทรงสิทธิยอ่ มมีสทิ ธิห้ามมิให้ บคุ คลใดใช้ สว่ นขยายพันธุ์เพื่อการใดๆ ดังนี ้
6.1 การผลิตหรื อแพร่พนั ธุ์
6.2 การปรับสภาพ (Conditioning) เพื่อการขยายพันธุ์
6.3 การเสนอขาย
6.4 การขายหรื อการทาการตลาดด้ วยประการอื่น
-4-

6.5 การส่งออก
6.6 การนาเข้ า
6.7 การกักตุน (Stocking) เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ ตามที่กล่าวข้ างต้ น
บทบัญญัตินี ้ใช้ บงั คับตลอดถึงวัตถุดิบที่เก็บเกี่ยวได้ (Harvested material) และผลผลิตของ
วัตถุดิบที่เก็บเกี่ยวได้
กฎหมายให้ สทิ ธิอย่างเดียวกันนี ้แก่พนั ธุ์พืชใดๆ ที่ต้องอาศัยพันธุ์พืชที่ได้ รับความคุ้มครอง
7. ข้ อยกเว้ นสิทธิของผู้ทรงสิทธิและข้ อยกเว้ นการละเมิดสิทธิ
ข้ อยกเว้ นสิทธิของผู้ทรงสิทธิ ดังนี ้
7.1 การกระทาเพื่อส่วนตัวโดยไม่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการค้ า
7.2 การกระทาเพื่อการทดลอง หรื อ
7.3 การกระทาเพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงพันธุ์พืชอื่น
นอกจากนี ้ เกษตรกรสามารถใช้ เมล็ดพันธุ์พืชซึ่งกันไว้ จากผลผลิตของตนเพื่อการขยายพันธุ์
ต่อไปได้
8. การโอนสิทธิ
กฎหมายไม่ได้ บญ
ั ญัติไว้
9. การอนุญาตให้ ใช้ สทิ ธิ
กฎหมายไม่ได้ บญ
ั ญัติไว้
2. ขัน้ ตอนการขอรับความคุ้มครอง
1. ขันตอนการจดทะเบี
้ ยน
 การยื่นคาขอจดทะเบียน
 การรับคาขอจดทะเบียน
 การประกาศโฆษณาการรับคาขอจดทะเบี ยนในหนังสือประกาศโฆษณาการจด
ทะเบียนพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช (Plant Varieties and Seeds Gazette)
 การขอและส่งมอบเมล็ดพันธุ์/ส่วนของพันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียน
 การทดสอบพันธุ์พืช
 การประกาศโฆษณาการเสนอให้ สทิ ธิ
 การให้ สทิ ธิ
 การประกาศโฆษณาหนังสือแจ้ งการให้ สทิ ธิในหนังสือประกาศโฆษณา (Gazette)
-5-

2. กระบวนการก่อนยื่นคาขอจดทะเบียน (การตรวจค้ นพันธุ์พืช)


ไม่มีระบบให้ ตรวจค้ นพันธุ์พืชก่อนการยื่นขอจดทะเบียน
3. การเตรี ยมคาขอ
3.1 ข้ อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้ อง
ผู้ยื่ นค าขอจดทะเบีย นคุ้ม ครองพันธุ์ พืช ในประเทศอัง กฤษต้ อ งเตรี ย มคาขอจด
ทะเบีย นโดยกรอกข้ อความให้ ค รบถ้ ว น รวมทัง้ ตอบแบบสอบถามทางเทคนิ ค เตรี ยมค่า ธรรมเนียมการจด
ทะเบียน และภาพถ่ายสีที่แสดงลักษณะประจาพันธุ์ของพันธุ์พืชไม้ ประดับ ทังนี ้ ้ จะต้ องระบุชื่อที่เสนอขอจด
ทะเบียนสาหรับพันธุ์พืชนันในค
้ าขอจดทะเบียนด้ วย มิฉะนันค ้ าขอจดทะเบียนจะไม่ได้ รับการพิจารณา หากผู้ขอ
จดทะเบียนไม่ใช่นกั ปรับปรุงพันธุ์พืช จะต้ องยื่นแบบคาขอจดทะเบียนการโอนสิทธิ และหากผู้ขอจดทะเบียนเป็ น
ตัวแทน จะต้ องยื่นแบบหนังสือแต่งตังตั ้ วแทนด้ วย
แบบคาขอต่างๆ สามารถดูหรื อดาวน์โหลดได้ ที่เว็บไซต์
http://www.defra.gov.uk/planth/pvs/pbrguide03.htm
3.2 บุคคลผู้มีสทิ ธิยื่นคาขอ
ผู้มีสิทธิ ยื่นคาขอจดทะเบียนพันธุ์พืชได้ แก่ผ้ ซู ึ่งทาการปรับปรุ งหรื อพัฒนาพันธุ์พืช
หรื อ ผู้ สื บ สิ ท ธิ ข องบุ ค คลดั ง กล่ า ว ในกรณี ข องการจ้ าง นายจ้ างจะเป็ นผู้ มี สิ ท ธิ ยื่ น ค าขอจดทะเบี ย น
เว้ นแต่สญ ั ญากาหนดเป็ นอย่างอื่น
ผู้ขอจดทะเบียนสามารถยื่นคาขอได้ โดยตรง แต่ผ้ ูขอจดทะเบียนซึ่งอยู่ภายนอก
ประชาคมยุโรปต้ องระบุที่อยูเ่ พื่อการส่งเอกสารหรื อตัวแทนซึง่ อยูภ่ ายในประชาคมยุโรป
3.3 ภาษาที่ใช้ ในคาขอจดทะเบียน
ภาษาอังกฤษ หรื อหากคาขอจดทะเบียนอยู่ในภาษาอื่น จะต้ องแนบคาแปลเป็ น
ภาษาอังกฤษ
4. การยื่นคาขอ
ผู้ต้องการขอความความคุ้มครองต้ องยื่ นคาขอจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชและเอกสาร
ประกอบคาขอต่อสานักงานคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืช (Plant Variety Right Office) ปั จจุบนั นี ้ ยังไม่สามารถยื่นคา
ข อ ผ่ า นเ ค รื อ ข่ า ย อิ น เ ทอ ร์ เ น็ ต อ ย่ า ง ไ รก็ ดี สา ม า ร ถ ด า ว น์ โหล ด แ บบค า ข อ จ ด ทะ เ บี ย น ได้ ที่
http://www.defra.gov.uk/planth/pvs/pbrguide03b.htm
5. การขอถือสิทธิย้อนหลัง
5.1 หลักการ
หากมีการยื่นคาขอจดทะเบียนสิทธิ ของนักปรับปรุ งพันธุ์พืชในต่างประเทศแล้ ว ก็
อาจขอถือสิทธินบั วันยื่นย้ อนหลัง (priority claim) ตามคาขอจดทะเบียนครัง้ แรกได้ อย่างไรก็ดี ผู้ขอจดทะเบียน
-6-

จะต้ องยื่นคาขอจดทะเบียนในสหราชอาณาจักรภายในเวลาหนึ่งปี นับแต่วันที่ได้ ยื่นคาขอจดทะเบียนเป็ น


ครัง้ แรก
5.2 ข้ อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้ อง
ผู้ขอจดทะเบียนจะต้ องยื่นสาเนาของคาขอจดทะเบียนครั ง้ แรกซึ่งหน่วยงานใน
ประเทศที่ยื่นคาขอดังกล่าวได้ รับรองความถูกต้ องแล้ วต่ อสานักงานคุ้มครองสิทธิ ในพันธุ์พืช (Plant Variety
Rights Office) ภายใน 3 เดือนนับแต่วนั ยื่นขอจดทะเบียนในสหราชอาณาจักร
6. การตรวจสอบคาขอ
6.1 การพิจารณา/ปฏิเสธคาขอ
สานักงานคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืชจะปฏิเสธรับจดทะเบียนพันธุ์พืชที่ไม่มีลกั ษณะ
ตามข้ อกาหนดการจดทะเบียน กล่าวคือ ความใหม่ (new) ลักษณะประจาพันธุ์ที่แตกต่างจากพันธุ์อื่นอย่างเห็น
ได้ ชดั (distinct) ความสม่าเสมอ (uniformity) และความคงตัว (stable) นอกจากนี ้ คาขอจดทะเบียนจะไม่ได้ รับ
การพิจารณาจนกว่าจะได้ มีการเสนอชื่อพันธุ์พืช
6.2 อุทธรณ์ผลการตรวจสอบ
ผู้ ขอจดทะเบี ย นสามารถยื่ น อุ ท ธรณ์ ผ ลการตรวจสอบค าขอจดทะเบี ย นต่ อ
คณะกรรมการพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช (Plant Varieties and Seeds Tribunal) รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลา
และวิธีการในการอุทธรณ์ประกาศอยูใ่ นหนังสือประกาศโฆษณาการจดทะเบียนพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช
7. การประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียน
คาขอจดทะเบียนพันธุ์พืชที่ผ่านการตรวจสอบจากเจ้ าหน้ าที่ของสานักงานคุ้มครองสิทธิใน
พันธุ์พืชแล้ วจะได้ รับการประกาศในหนังสือประกาศโฆษณาการจดทะเบียนพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช
8. การคัดค้ าน/โต้ แย้ ง
8.1 ระยะเวลาในการยื่นคาคัดค้ าน
สานักงานคุ้ม ครองสิท ธิ ใ นพัน ธุ์พื ช จะก าหนดวัน ที่ จ ะต้ อ งยื่ น คาคัด ค้ า นและลง
ประกาศวันดังกล่าวในหนังสือประกาศโฆษณาการจดทะเบียนพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์พืช (Gazette) ฉบับซึ่ง
ตีพิมพ์หนังสือแจ้ งการยื่นคัดค้ าน
8.2 เหตุแห่งการคัดค้ าน
การคัดค้ านอาจกระทาได้ โดยอาศัยเหตุการขาดลักษณะตามที่กาหนดใน 4.2
ข้ างต้ น นอกจากนี ้ อาจมีการยื่นคาคัดค้ านชื่อที่เสนอขอจดทะเบียนสาหรับพันธุ์พืชได้ หากชื่อที่เสนอนันอาจ

ก่อให้ เกิดความสับสนหลงผิดกับชื่อของพันธุ์พชื ที่มีอยูแ่ ล้ ว หรื อเกิดความสับสนหลงผิดเกี่ยวกับความเป็ นเจ้ าของ
หรื อคุณสมบัติของพันธุ์พชื
-7-

8.3 กระบวนการคัดค้ าน
ผู้คัด ค้ า นต้ อ งยื่ น ค าแถลงหรื อ ค าขอในการคัด ค้ านเป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษรให้
เจ้ าหน้ าที่ (Controller) ทาการไต่สวน เจ้ าหน้ าที่จะส่งคาแถลงที่ได้ รับไปยังผู้ที่มีสว่ นได้ เสียทังหมด
้ หลังจากนัน้
จะมีการกาหนดเวลาที่จะต้ องยื่นคาแถลงต่อไป โดยประกาศกาหนดเวลาดังกล่าวในหนัง สือประกาศโฆษณา
(Gazette)
8.4 การยื่นคาโต้ แย้ ง
สานัก งานคุ้ม ครองสิท ธิ ใ นพัน ธุ์ พื ช จะก าหนดเวลาที่ จ ะต้ อ งยื่ น ค าโต้ แ ย้ ง และ
ประกาศวันดังกล่าวในหนังสือประกาศโฆษณา
8.5 การอุทธรณ์คาวินิจฉัยเกี่ยวกับคาคัดค้ าน
ผู้ที่ยื่นคาแถลงในการคัดค้ านอาจอุทธรณ์ คาสัง่ ของคณะกรรมการพันธุ์ พืชและ
เมล็ดพันธุ์พืชในระหว่างกระบวนการคัดค้ านได้ รายละเอียดเกี่ยวกับกาหนดเวลาและวิธีการอุทธรณ์ประกาศอยู่
ในหนังสือประกาศโฆษณา
9. การรับคาขอจดทะเบียน การชาระค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การออกหนังสือสาคัญแสดง
การจดทะเบียน
ผู้ขอจดทะเบียนจะต้ องชาระค่าธรรมเนียม (grant fee) ก่อนที่จะมีการรับจดทะเบียนและ
ออกหนังสือสาคัญ ในการออกหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนนันจะมี ้ การประกาศคาสัง่ รับจดทะเบียนใน
หนังสือประกาศโฆษณา หากไม่มีการยื่นคาแถลงคัดค้ านภายในกาหนดเวลา และผู้ขอจดทะเบียนได้ ชาระ
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนเรี ยบร้ อยแล้ ว สานักงานคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืชจะออกหนังสือสาคัญแสดงการจด
ทะเบียน
10. อายุความคุ้มครอง
อายุความคุ้มครองสาหรับพันธุ์พืชส่วนใหญ่คือ 25 ปี แต่สาหรับมันฝรั่ง ไม้ ต้นและไม้ เถาจะมี
อายุความคุ้มครอง 30 ปี
11. การต่ออายุความคุ้มครอง
การจดทะเบียนพันธุ์พืชอาจต่ออายุการคุ้มครองได้ อีก 1 ปี และมีระยะเวลาผ่อนผัน (grace
period) การยื่นต่ออายุอีก 28 วันนับแต่วนั ที่ครบกาหนดการต่ออายุ อย่างไรก็ดี หากมิได้ มีการจ่ายค่าธรรมเนียม
การต่ออายุภายใน 7 วันนับแต่วนั ที่ครบกาหนดการต่ออายุ ก็จะต้ องจ่ายเบี ้ยปรับเพิ่มเติมไปจากค่าธรรมเนียม
การต่ออายุ
12. ระยะเวลาของกระบวนการจดทะเบียน
สาหรับพันธุ์พืชส่วนใหญ่ จะใช้ ระยะเวลาในการตรวจสอบคาขอรวมถึงการทดสอบพืช 2 ปี
แต่สาหรับพันธุ์พืชไม้ ประดับมักใช้ เวลาหนึ่งปี และพันธุ์พืชไม้ ล้มลุกและไม้ ต้นมักใช้ เวลาอย่างน้ อย 3 ปี ในบาง
กรณีอาจจาเป็ นต้ องใช้ ระยะเวลามากกว่านี ้
-8-

13. แบบคาขอและค่าธรรมเนียมราชการสาหรับการจดทะเบียน
ในเบื ้องต้ น ผู้ขอจดทะเบียนจะต้ องยื่นแบบคาขอจดทะเบียน (PVS/07) และแบบสอบถาม
ทางเทคนิค (Technical Questionnaire (PVS/9a)) (และเอกสารแนบที่เกี่ยวข้ อง) พร้ อมกับค่าธรรมเนียมการจด
ทะเบียน นอกจากนี ้ อาจจะต้ องยื่นแบบคาขอจดทะเบียนการโอนสิทธิ (PVS/10) และ/หรื อแบบหนังสือแต่งตัง้
ตัวแทน (PVS/11) พร้ อมกับแบบคาขอจดทะเบียนด้ วย
ในระหว่างที่พนั ธุ์พืชอยู่ในช่วงการทดสอบ จะต้ องมีการจ่ายค่าธรรมเนียมการทดสอบทุกปี
และในทันทีที่การทดสอบเสร็ จสิ ้นโดยบรรลุผลสาเร็ จและก่อนที่จะมีการออกคาสัง่ ให้ สิทธิ จะต้ องมีการจ่าย
ค่าธรรมเนียมการให้ สทิ ธิ
ค่าธรรมเนียมจะขึ ้นอยูก่ บั พันธุ์พืชตามคาขอจดทะเบียน
14. ค่าบริ การของสานักงานตัวแทนสาหรับการจดทะเบียน
ขึ ้นอยูก่ บั แต่ละกรณี
3. กระบวนการภายหลังการจดทะเบียน
การรักษาสิทธิและ/หรื อความคุ้มครอง
1. การเพิกถอนสิทธิ
ภายหลังการอนุญาตให้ จดทะเบียนพันธุ์พืชแล้ ว อาจมีการเพิกถอนสิทธิ เมื่อใดก็ ได้ การ
อนุญาตให้ จดทะเบียนพันธุ์พืชอาจถูกประกาศให้ เป็ นโมฆะได้ หากพันธุ์พืชนันไม่ ้ มีลกั ษณะตามหลักเกณฑ์ที่
ก าหนด กล่า วคื อ ความแตกต่า งจากพัน ธุ์ อื่ น (distinctness) ความสม่ า เสมอของลัก ษณะประจ าพัน ธุ์
(uniformity) หรื อความคงตัว (stability) นอกจากนี ้ หากบุคคลที่ได้ รับสิทธิจากการจดทะเบียนไม่พงึ จะได้ รับสิทธิ
ดังกล่าว และมิได้ เป็ นผู้สบื สิทธิในการได้ รับสิทธิดงั กล่าวในเวลาต่อมา
การจดทะเบียนพันธุ์พืชอาจถูกเพิกถอนได้ ในกรณีที่พนั ธุ์พืชไม่มีความสม่าเสมอของลักษณะ
ประจาพันธุ์ (uniformity) หรื อความคงตัว (stability) อีกต่อไป หรื อผู้ทรงสิทธิไม่สามารถจัดหาส่วนขยายพันธุ์
ของพันธุ์พืชนันตามข้
้ อกาหนดของการรักษาสิทธิที่บญ ั ญัติไว้ ในมาตรา 16 PVA ได้ อีกต่อไป หรื อผู้ทรงสิทธิไม่ได้
ปฏิบตั ิหน้ าที่เพื่อการรักษาพันธุ์พืชที่ได้ รับความคุ้มครองตามมาตรา 16(2)
2. การอุทธรณ์คาวินจิ ฉัยให้ เพิกถอนสิทธิ
สานักงานคุ้มครองพันธุ์พืชจะประกาศโฆษณาคาวินิจฉัยให้ สิทธิของนักปรับปรุ งพันธุ์พืชเป็ น
โมฆะหรื อให้ ระงับสิทธิ ของนักปรับปรุ งพันธุ์พืชในหนังสือประกาศโฆษณา (Gazette) รายละเอียดเกี่ยวกับ
กาหนดเวลาและวิธีการยื่นอุทธรณ์คาวินิจฉัยจะประกาศไว้ ในหนังสือประกาศโฆษณาฉบับเดียวกัน
3. การจดแจ้ งการเปลีย่ นชื่อและที่อยู่
กฎหมายไม่ได้ บัญญัติเรื่ องการจดแจ้ งการเปลี่ยนที่อยู่ อย่างไรก็ ดี หากมีการเปลี่ยนที่อยู่
ผู้ทรงสิทธิเพียงแต่มีหนังสือแจ้ งไปยังสานักงานคุ้มครองพันธุ์ พืช
-9-

4. การบังคับใช้ สิทธิ
1 การกระทาที่ถือว่าเป็ นการละเมิดสิทธิ
การกระทาดังต่อไปนี ้โดยไม่ได้ รับอนุญาตจากผู้ทรงสิทธิถือเป็ นการละเมิด
1.1 การผลิตหรื อแพร่พนั ธุ์
1.2 การปรับสภาพ (Conditioning) เพื่อการขยายพันธุ์
1.3 การเสนอขาย
1.4 การขายหรื อการทาการตลาดด้ วยประการอื่น
1.5 การส่งออก
1.6 การนาเข้ า
1.7 การมีไว้ (Stocking) เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ ตามที่กล่าวข้ างต้ น
2 มาตรการในการเยียวยา
ผู้ทรงสิทธิสามารถเรี ยกค่าเสียหาย ขอความคุ้มครองชัว่ คราว เรี ยกค่าเสียหายจากผลกาไร
(account of profits) และการเยียวยาอื่นๆ ได้ อย่างการดาเนินการในคดีทรัพย์สนิ ทางปั ญญาทัว่ ๆ ไป
2.1 มาตรการในทางแพ่ ง
ผู้เสียหายสามารถเรี ยกค่าเสียหาย ขอให้ มีคาสัง่ ห้ าม และเรี ยกร้ องการชดเชยจาก
ผลกาไรของผู้ละเมิด โดยดาเนินการตามข้ อบังคับวิธีพิจารณาทางแพ่ง (Civil Procedure Rules)
2.2 มาตรการในทางอาญา
กฎหมายไม่มีมาตรการในทางอาญาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในพันธุ์พืช อย่างไรก็ดี
หากมีการให้ ข้อมูลอันเป็ นเท็จหรื อการหลอกลวงเกี่ยวกับสิทธิในพันธุ์พืช ก็อาจถือเป็ นการกระทาผิดทางอาญา
3 ค่าบริ การของสานักงานตัวแทน
ขึ ้นอยูก่ บั แต่ละกรณี
5. มาตรการคุ้มครองทางศุลกากร ณ จุดนาเข้ า-ส่ งออก
กระบวนการคุ้มครองทางศุลกากรมีดงั นี ้
1. ศุลกากรจะยึดสินค้ าที่ต้องสงสัย
2. ศุ ล กากรจะแจ้ งแก่ ผ้ ู น าเข้ าและบุ ค คลที่ มี ชื่ อ ระบุ ใ นค าขอทางศุ ล กากร (Customs
Application) และเมื่อมีการร้ องขอ ศุลกากรจะแจ้ งชื่ อและที่อยู่ของผู้รับสินค้ า ผู้ส่งสินค้ า ผู้นาเข้ าและ
แหล่งกาเนิดของสินค้ าที่ต้องสงสัยด้ วย หากทราบ
3. โอกาสที่จะตรวจสอบสินค้ า ศุลกากรอาจส่งตัวอย่างหรื อภาพถ่ายดิจิตอล
- 10 -

4. หากสินค้ านัน้ เป็ นสินค้ าที่ละเมิดสิทธิ ก็จะต้ องเริ่ มต้ นคดีแพ่งในข้ อหาการละเมิดสิทธิ ใน
ทรัพย์สินทางปั ญญาภายใน 10 วันทาการ โดยสามารถขอขยายระยะเวลาได้ อีก 10 วันในกรณีที่มีเหตุผล
เหมาะสมสาหรับความล่าช้ า ในการยื่นฟ้ องคดีแพ่ง จะต้ องยื่นสาเนาแบบข้ อเรี ยกร้ อง (claim form) และ
หลักฐานที่สง่ ให้ กบั ผู้ถกู กล่าวหาว่าละเมิดสิทธิ ต่อศุลกากรด้ วยเพื่อเป็ นหลักฐานว่าได้ มีการเริ่ มต้ นคดีแพ่งแล้ ว
(หากสินค้ าเป็ นของเสียได้ ระยะเวลาจะถูกจากัดเพียง 3 วัน)
5. ศุลกากรจะจัดการสินค้ าตามคาสัง่ ของศาล
6. เว้ นแต่ศาลมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น ผู้นาเข้ ามีสิทธิเข้ าครอบครองสินค้ า โดยมีเงื่อนไขว่าผู้นาเข้ า
จะต้ องมอบหลักประกันที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ทรงสิทธิในทรัพย์สินทางปั ญญา ทังนี ้ ้ อาจมี
การขอคาสัง่ ศาลเพื่อห้ ามมิให้ ศลุ กากรปล่อยสินค้ าให้ กบั ผู้นาเข้ าได้
ผู้ทรงสิทธิ จะต้ องยื่นแบบคาขอทางศุลกากรแล้ ว พร้ อมทังส
้ าเนาหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียน
พันธุ์พืชและหนังสือสาคัญแสดงการต่ออายุความคุ้มครอง คาพรรณนาทางเทคนิคโดยละเอียดที่ถูกต้ องของ
สินค้ าที่เป็ นของแท้ และคารับรองเป็ นลายลักษณ์อกั ษรว่าจะชาระค่าใช้ จ่ายที่เกิดกับศุลกากร
6. หน่ วยงานที่รับผิดชอบ/สานักงานตัวแทน
1. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. สานักงานสิทธิในพันธุ์พืชแห่ งสหราชอาณาจักร
(UK Plant Variety Rights Office)
Website: http://www.defra.gov.uk/planth/pvs/default.htm
2. สานักงานตัวแทน
1. Baker & McKenzie
100 New Bridge Street
London, EC4V 6JA, UK,
Tel. +44 (0)20 7919 1000
Contact: Stephen Jones / Paul Rawlinson
2. Bristows
3 Lincoln’s Inn Fields
London, WC2A 3AA, UK
Tel: +44 (0) 20 7400 8000
- 11 -

3. Bird & Bird


90 Fetter Lane
London, EC4A 1JP, UK
Tel: +44 (0) 20 7415 6000
7. สถิติเกี่ยวกับทรัพย์ สนิ ทางปั ญญาในปี 2003-2004
ไม่มีข้อมูล
- 12 -

ตารางอัตราค่ าธรรมเนียม/ค่ าใช้ จ่ายในการจดทะเบียน

ค่ าธรรมเนียม ค่ าบริการวิชาชีพ*

1. คาขอจดทะเบียน ฉบับละ** - -
2. การทดสอบพันธุ์พืช - -
3. การประกาศโฆษณาคาขอ - -
4. คาคัดค้ านการจดทะเบียน - -
5. คาขอเพิกถอนการจดทะเบียน - -
6. การแก้ ไขชื่อ ที่อยู่ และอื่นๆ - -
7. การอุทธรณ์ - -
8. การจดแจ้ งการโอนสิทธิ - -
9. การจดแจ้ งการอนุญาตให้ ใช้ สทิ ธิ - -
10. การจดทะเบียน - -

หมายเหตุ * ค่าบริ การวิชาชีพ ขึ ้นอยูก่ บั แต่ละกรณี


** ค่ะรรมเนียมคาขอจะขึ ้นอยูก่ บั พันธุ์พืชที่ขอจดทะเบียน

You might also like