You are on page 1of 17

ิ ปะ

การออกแบบงานศล
หน้าแรก หน ้าแรก >
1.ทฤษฎีศล ิ ปะ
(Theory Of Art) ิ ปะ (Theory Of Art)
1.ทฤษฎีศล
2.ประเภทของการ
ออกแบบงานศิลปะ
3.องค์ประกอบของการ ิ ปะ
ทฤษฎีศล
ออกแบบ
4.หลักการออกแบบ
นักปรัชญามีทรรศนะเกียวกับศล ิ ปะแตกต่างกันมากมาย ตามแต่จะให ้ความ
สําคัญจากมุมมองใดเป็ นสําคัญ บ ้างก็พยายามทีจะอธิบายศล ิ ปะอย่าง
รวบรัดทีสุดแต่สามารถกินความได ้ถึงศล ิ ปะทุกแขนง เชน ่ นิยามทีว่า ศล ิ ปะ
คือการแสดงออกอันไม่มจ ี ํานวนเป็ นเขตสุด นับตังแต่สงที ิ ง่ายทีสุด เชน ่
ถ ้วยแก ้ว เป็ นต ้น ไปจนถึงสงที ิ ยากทีสุด เชน ่ ภาพเขียน ดนตรี วรรณคดี
เป็ นต ้น และบ ้างก็พยายามทีจะกล่าวให ้กระชบ ั ขึนอีกว่า ศลิ ปะคือการจัดสงิ
ทีรับรู ้ได ้ทางเพทนาการเสย ี ใหม่ให ้เป็ นระเบียบ (เพทนาการ เชน ่ ส ี เสย ี ง
แสง เป็ นต ้น) ดังนัน จึงสามารถจําแนกศล ิ ปะออกเป็ นหลายประเภทหลาย
ชนิด เชน ่
1. ประยุกตศล ิ ป์ (Applied Arts)
2. พาณิชยศล ิ ป์ (Commercial Arts)
3. มัณฑนศล ิ ป์ (Decorative Arts)
4. ปริสท ุ ธิศลิ ป์ (Pure Arts)

และบางท่านได ้แบ่งศล ิ ปะออกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ


1. ทัศนศล ิ ป์ (Visual Arts) คือ ศล ิ ปะทีสามารถมองเห็นได ้ด ้วยตา เชน ่ รูป
ปั น ภาพเขียน เป็ นต ้น
2. โสตศล ิ ป์ (Auditory Arts) คือ ศล ิ ปะทีฟั งได ้ด ้วยหู คือ ดนตรี
3. สญ ั ลักษณศล ิ ป์ (Symbolic Arts) คือศล ิ ปะทีเป็ นสญ ั ลักษณ์ คือ
วรรณคดี บทกวี เป็ นต ้น
4. ศล ิ ปะผสม (Mixed Arts) คือ ศล ิ ปะทีเอาศล ิ ปะอย่างน ้อย 2 ชนิดขึนไป
มาผสมผสานกัน เชน ่ การเต ้นรํา การละคร ภาพยนตร์ เป็ นต ้น เต ้นรํา
ประกอบด ้วยทัศนศล ิ ป์ และโสตศล ิ ป์ การละครประกอบด ้วยทัศนศล ิ ป์ โสต
ศล ิ ป์ และสญ ั ลักษณ์ศล ิ ป์ เป็ นต ้น

อย่างไรก็ด ี นักศลิ ปะกับนักสุนทรียศาสตร์ตา่ งก็มค ี วามพยายามทีจะ


ทําความเข ้าใจในเรืองความมุง่ หมายของศล ิ ปะ ดังเกิดคําถามทีว่า ศล ิ ปะ
นันทําขึนเพืออะไร บ ้างก็ถอ ื ว่าความมุง่ หมายของศล ิ ปะก็คอ ื เพือใชเป็ ้ นสงิ
แทนหรือถ่ายแบบธรรมชาติ เหตุการณ์ และบุคคล บ ้างก็ถอ ื ว่า เพือจัดวัตถุ
แห่งเพทนาการ (Sensous matter) เชน ่ ส ี แสง เสย ี ง เป็ นต ้น ให ้เป็ น
ระเบียบอย่างน่าดูชม ชวนให ้เพลิดเพลินเท่านัน และบ ้างก็อธิบายว่า เพือ

แสดงออกซงอารมณ์ หรือความรู ้สกึ ของมนุษย์นันเอง จากทัศนะเหล่านีได ้
พัฒนากลายมาเป็ นทฤษฎีทางศล ิ ปะจํานวนมากมาย ดังจะได ้กล่าวถึงสาระ
สําคัญของแต่ละแนวคิดทฤษฎีโดยสงั เขป
1. ศลิ ปะคือการเลียนแบบธรรมชาติ (Art as representaion)
2. ศล ิ ปะคือรูปทรง (Art as pure form)
3. ศล ิ ปะคือการแสดงออกซงอารมณ์
ึ (Art as expression)
ในทฤษฎีทว่ี าศล ิ ปะคือการเลียนแบบธรรมชาตินัน เป็ นทฤษฎีทเก่ ี าแก่กว่า
ทฤษฎีอน ื ถือว่า ศลิ ปะนันถ ้าไม่เป็ นประเภท Representational ก็เป็ น
ประเภท Non-representation ประเภทแรกได ้แก่ภาพเขียนสงธรรมชาติ ิ
ประเภทหลังก็ได ้แก่ภาพเขียนทีแสดงความวิจต ิ รพิสดารของสส ี นั ต่างๆ

โดยไม่เป็ นภาพเหมือนของสงใดโดยเฉพาะเป็ นตัวอย่าง ชาวกรีกโบราณ
ถือว่า การลอกแบบธรรมชาติได ้เหมือนมากทีสุด จัดว่าเป็ นสงที ิ สวยทีสุด
ดังคํากล่าวของรอริสโตเติล ทีว่า “มนุษย์เป็ นนักเลียนแบบโดย
สญั ชาตญาณ ละการเลียนแบบนันจะปรากฏออกมาในศล ิ ปวัตถุ ทีถือว่าการ
ลอกแบบธรรมชาติเป็ นศล ิ ปะและสวยงาม ก็เพราะการลอกแบบธรรมชาติ
ิ ทําได ้ยากทีสุด ศล
เป็ นสงที ิ ปิ นในทฤษฎีนี มีความเห็นว่า ภารกิจสําคัญ 2
ประการของศล ิ ปะ ก็คอื 1) การเลือกสรรสงที ิ เหมาะสมทีสุดบรรดามีในโลก
มารวมไว ้ด ้วยกันอย่างกลมกลืน และ 2) ใชจิ้ นตนาการชว่ ยปลุกอารมณ์
สุนทรียะให ้เกิดแก่ผู ้สนใจ นอกจกนี ศล ิ ปะยังชว่ ยทําให ้สงไม่
ิ สามารถมอง
เห็นได ้ด ้วยตามธรรมดา กลายเป็ นสงที ิ สามารถมองเห็นได ้อีกด ้วย

ทฤษฎีเรืองศล ิ ปะคือรูปทรงนัน ตามทฤษฎีนถื ี อว่า รูปทรงเท่านันทีมีความ


สําคัญในเรืองคุณค่าทางสุนทรียะ สว่ นการลอกแบบหรือความรู ้สก ึ ไม่ม ี
ความสําคัญอะไรนัก คําว่ารูปทรง (Form) หมายถึงการจัดวัตถุแห่งเพทนา
การ คือ แสง ส ี เสย ี ง เป็ นต ้น ทีเกียวข ้องกันให ้เป็ นระเบียบเหมาะกับ
กาลเทศะทีมันควรจะอยู่ นักคิดกลุม ่ ฟอร์มล ั ลิสต์ (Formalist) ถือว่า ความ
สวยงามของศล ิ ปะอยูท ่ รูี ปทรง รูปทรงทําให ้เกิดความสนใจ รูปทรงเท่านัน
เป็ นสงสิ ําคัญในคุณค่าของสุนทรียะ สงอื ิ นไม่มส ี ว่ นเกียวข ้องด ้วยเลย ความ
งามของศล ิ ปะก็คอ ื เอกภาพหรือความกลมกลืนของสงที ิ ต่างกัน สว่ น
ประกอบของศล ิ ปะจึงควรเป็ นสงที ิ ต่างๆ กัน แต่ถ ้ามีสงที ิ เหมือนๆ กันก็จะมี
แต่ความซาซาก ํ ความรู ้สก ึ ทางสุนทรียะของศล ิ ปิ นกลุม ่ นี เป็ นความรู ้สก ึ ที
มุง่ ต่อรูปทางของงานศล ิ ปะ มิใชม ่ งุ่ แสวงหาอย่างอืน ถ ้าเป็ นความรู ้สก ึ หรือ
มุง่ แสวงหาอย่างอืน อารมณ์ทางสุนทรียะก็จะหมดไปทันที งานศล ิ ปะชน ิ
เยียมจะทําให ้เกิดความรู ้สก ึ แปลกใหม่ นํ าใจผู ้ดูลอ ่ งลอยไปจากชวี ต ิ จริงเข ้า
สูโ่ ลกแห่งสุนทรียะ ศล ิ ปะจึงเป็ นเครืองมือทีจะนํ าใจไปสูค ่ วามตืนเต ้น คล ้าย
กับใชกล ้ ้องยายชว่ ยอ่านหนังหนังสอ ื ทีไม่คอ ่ ยชด ั เจนแจ่มกระจ่างขึนฉะนัน
รูปทรงทีจัดว่าเป็ นศล ิ ปะนัน มิใชเ่ ฉพาะภาพเขียน ภาพปั นเท่านัน ดนตรีก็
เป็ นศล ิ ปะประเภทนีด ้วย เพราะดนตรีกต ็ ้องมีการผสมผสานเสย ี งให ้
กลมกลืนกันอย่างมีระเบียบ จึงเกิดความไพเราะลึกซงขึ ึ น ดังนัน ความงาม
ทีได ้จากรูปทรงจึงไม่จําเป็ นทีจะต ้องเป็ นสงแทนอะไร ิ หรือว่าจําลองแบบ
อะไรเลย

และสําหรับทฤษฎีทว่ี าด ้วย ศล ิ ปะคือการแสดงออกทางอารมณ์นัน ถือว่า


ศลิ ปะเป็ นการแสดงออกของอารมณ์ภายในของมนุษย์ออกมา บ ้างครังจะ
เห็นว่า ศลิ ปิ นได ้แสดงอารมณ์บางอย่างทีเกินความเป็ นจริงหรือนอกเหนือ
ไปจากประสบการณ์ตามธรรมดาของเราออกมา ทังนีก็เพือแสดงให ้เราเห็น
ว่า เขามีความความรู ้สก ึ ต่อสงนั
ิ นอย่างไร เมือศล ิ ปะคือการแสดงอารมณ์
แต่การแสดงอารมณ์ทก ิ ปะไปเสย
ุ อย่างมิได ้เป็ นศล ี หมด ลักษณะของการ
แสดงอารมณ์ทเป็ ี นศล ิ ปะ ได ้แก่
- เป็ นการแสดงออกทีเป็ นไปด ้วยเจตนา คือตังใจแสดงออกมา
Translate
- เป็ นการอารมณ์ทมุ ี ง่ ให ้เกิดความสวยงาม
- เป็ นการแสดงอารมณ์ทมี ึ ว่างามหรือไม่งาม
ี พลังจูงใจให ้เกิดความรู ้สก

- สออารมณ์ ทใช ้
ี ในการแสดงอารมณ์ ออกมานัน เป็ นสงที ิ มีความหมายในตัว
เอง เชน ่ คําพูด สส ี นั ทรวดทรง เป็ นต ้น
- เป็ นการแสดงอารมณ์ทมี ี เอกภาพทางอารมณ์
- อารมณ์ทศ ิ ปิ นสดงออกมานันมิใชเ่ ป็ นความรู ้สก
ี ล ึ ของใครคนใดคนหนึง
แต่เป็ นอารมณ์ของมนุษย์ทวๆ ั ไป

ดังนันทฤษฎีนจึ ี งถือว่า ทังรูปทรงและความหมาย มีความสําคัญต่อศล ิ ปะ


ด ้วยกันทังคู่ คุณค่าทางสุนทรียะเกิดจากการสงั เคราะห์ของรูปทรงกับความ
นันเอง ศล ิ ปิ นจะแสดงอารมณ์ใดๆ ออกมาได ้ ตนเองจะต ้องได ้สม ั ผัสกับ
อารมณ์ชนิดนันมาเสย ี ก่อน แต่บ ้างก็วา่ ไม่จําเป็ น และเห็นว่าสงที
ิ สําคัญต่อ
การแสดงอารมณ์นันก็คอ ื จิตนาการ จินตนาการจะมีความรุนแรงเพียงใด ก็
สามารถแสดงอารมณ์ทตนต ี ้องการแสดงออกมาได ้ดีเพียงนัน ฉะนัน ตา
ทฤษฎีนจึ ี งสรุปว่า คุณค่าทางสุนทรียะขึนอยูก ่ บ
ั องค์ระกอบ 2 ประการ คือ
ศลิ ปิ นสามารถแสดงสงที ิ ตนต ้องการจะแสดงออกมานันได ้มากน ้อยเพียงไร
ตามทฤษฎีนเช ี อว่ื ามนุษย์ทก ุ คนอดทีจะแสดงความรู ้สก ึ ของตนเองให ้
ปรากฏออกมาทางพฤติกรรมทางกายไม่ได ้ ไม่วา่ จะเป็ นอารมณ์เศร ้าหมอง
หรืออารมณ์สข ุ
ศล ิ ปะประเภท Expression จึงให ้ประโยชน์แก่เรา คือ
- ทําให ้เราได ้รับความพอใจชนิดทีเราไม่อาจจะทําได ้โดยอาศย ั เครืองมือ
อย่างอืน
- ชว่ ยให ้ชวี ติ ได ้รับประสบการณ์ทเบาสบาย ี ึ
ซงไม่ อาจหาได ้ในชวี ติ ประจํา
วัน
- สนองความต ้องการทางอารมณ์โดยให ้อารมณ์สะเทือนใจบางอย่างแก่เรา
- ชว่ ยทําให ้อารมณ์ทส ี บั สนคลุมเครือแจ่มแจ ้ง โดยการดึงเอาอารมณ์ทฝั ี ง
อยูใ่ นสว่ นลึกของจิตใจออกมาให ้ปรากฏและเข ้าใจได ้ด ้วยความรู ้สก ึ ธรรม
ดาๆ

ทีมา....http://my.dek-d.com/reder/blog/?blog_id=418163

Comments

You do not have permission to add comments.

Sign in | Recent Site Activity | Report Abuse | Print Page | Powered By Google Sites

Translate
ิ ปะ
การออกแบบงานศล เลือกไซต์น ี

หน้าแรก หน ้าแรก >


1.ทฤษฎีศลิ ปะ
(Theory Of Art) ิ ปะ
2.ประเภทของการออกแบบงานศล
2.ประเภทของการ
ออกแบบงานศิลปะ
3.องค์ประกอบของการ การออกแบบแบ่งได ้เป็ น 10 ประเภท คือ
ออกแบบ
4.หลักการออกแบบ
สมาชิก
1. การออกแบบสร ้างสรรค์ เป็ นการออกแบบเพือนํ าเสนอความงามความ
แผนผ ังไซต์
พึงพอใจเน ้นความคิดสร ้างสรรค์ แปลกๆ ใหม่ๆ ให ้เกิดความสะเทือนใจ

เร ้าใจ ซงการสร ้างสรรค์นอาจเป็
ี ิ มีอยูเ่ ดิมหรือสร ้างขึน
นการพัฒนาจากสงที
ใหม่กไ ี 5 ลักษณะ คือ
็ ด ้ งานออกแบบสร ้างสรรค์นมี
-งานออกแบบจิตรกรรม (Painting) คืองานศล
ิ ปะด ้านการวาดเสน้ ระบาย
ส ี เพือแสดงอารมณ์และความรู ้สก
ึ ในลักษณะสองมิตจิ ําเป็ นต ้องใชความคิ
้ ด

สร ้างสรรค์ในผลงานแต่ละชนของผู ้สร ้าง

-งานออกแบบประติมากรรม (Sculpture) คืองานศล


ิ ปะด ้านการปั น แกะ

สลัก เชอมต่
อในลักษณะสามมิตค
ิ อ
ื มีทงความกว
ั ้าง ยาว และหนา
ผลการค ้นหารูปภาพสําหรับ งานออกแบบประติมากรรม
-งานออกแบบภาพพิมพ์ (Printmaking) คืองานศล
ิ ปะทีใชกระบวนการ

พิมพ์มาสร ้างสรรค์รป ่ ภาพพิมพ์ไม ้
ู แบบด ้วยเทคนิคการพิมพ์ตา่ งๆ เชน
โลหะ หิน และอืนๆ
ผลการค ้นหารูปภาพสําหรับ งานออกแบบภาพพิมพ์

-งานออกแบบสอประสม
ื (Mixed Media) คืองานศล
ิ ปะทีใชวั้ สดุหลาก
่ กระดาษ ไม ้ โลหะ พลาสติก เหล็ก หรือวัสดุอนๆ
หลายชนิด เชน ื นํ ามาส
ร ้างความผสาน กลมกลืน ให ้เกิดผลงานทีแตกต่างอย่างกว ้างขวาง

-งานออกแบบภาพถ่าย (Photography) ยุคนีเป็ นยุคทีการถ่ายภาพกลาย


เป็ นเรืองง่ายๆ สําหรับผู ้ทีสร ้างสรรค์งานถ่ายภาพ เพราะเทคโนโลยีการถ่าย
ภาพ มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วด ้วยการลงทุนสร ้างสรรค์ทไม่
ี แพงมาก
ั ว์ สงของ
การถ่ายภาพอาจเป็ นภาพ คน สต ิ ธรรมชาติทวๆไป
ั โดยมุง่ เน ้น
การสร ้างสรรค์เนือหาทีแปลกใหม่เพือสนองความต ้องการของผู ้ถ่ายภาพ

2. การออกแบบสญ
ั ลักษณ์และเครืองหมาย (Symbol & Sign) เป็ นการ

ออกแบบเพือสอความหมายเป็ ั ลักษณ์หรือเครืองหมายทีทําความ
นสญ
่ ไฟแดง เหลือง
เข ้าใจกับผู ้พบเห็นโดยไม่จําเป็ นต ้องมีภาษากํากับเชน
ี อเครืองหมายจราจรอืนๆ เครืองหมาย (Symbo) คือสอ
เขียว ตามสแยกหรื ื
ความหมายทีแสดงความนัยเพือเป็ นการช ี เตือนหรือกําหนดให ้สมาชก
ิ ใน
สงั คมรู ้ถึงข ้อกําหนดอันตราย เชน
่ เครืองหมายจราจร เครืองหมายสถานที
เครืองหมายทีใชกั้ บเครืองกล เครืองหมายทีใชกั้ บเครืองไฟฟ้ า

เครืองหมายตามลักษณะสงของ เครืองใช ้ ฯลฯ สญ
ั ลักษณ์ คือสอความ


หมายทีแสดงความนัยเพือบอกให ้ทราบถึงสงใดส ิ
งหนึ ึ
งซงไม่
มผี ลในทาง
ปฏิบต
ั เิ หมือนเครืองหมายแต่มผ
ี ลทางด ้านการรับรู ้ ความคิดหรือทัศนคติท ี
พึงมีตอ ั ลักษณ์นันๆ เชน
่ สญ ่ สญ
ั ลักษณ์ของชาติ เชน
่ ธงชาติ ฯลฯ
ั ลักษณ์ขององค์กรต่างๆ เชน
สญ ่ สถาบันการศก
ึ ษา กระทรวง สมาคม
ั ลักษณ์ของบริษัทห ้างร ้านทางธุรกิจ เชน
พรรคการเมือง ฯลฯ สญ ่ ธนาคาร
ั ลักษณ์ของสน
บริษัท ห ้างร ้าน ฯลฯ สญ ิ ค ้างและผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เชน

ิ ค ้าหรือผลิตภัณฑ์ ทีผลิตจําหน่าย ตามท ้องตลาด ฯลฯ สญ
ตราสน ั ลักษณ์ท ี
เกียวกับกิจกรรมต่างๆ ในสงั คม เชน
่ การกีฬา การร่วมมือในสงั คม การ
ทํางาน ฯลฯ

3. การออกแบบโครงสร ้าง เป็ นการออกแบบเพือใชเป็


้ นโครงยึดเหนียวให ้
ิ อสร ้างสามารถทรงตัวและรับนํ าหนักอยูไ่ ด ้อาจเรียกว่าการ
อาคารสงก่
ิ อสร ้างประเภทต่าง ๆ ออกแบบ
ออกแบบสถาปั ตยกรรมคือการออกแบบสงก่
่ การออกแบบทีพัก อาศย
อาคาร เชน ั ออกแบบเขือน ออกแบบสะพาน
ออกแบบอาราม , โบสถ์ อืน ๆ ทีคงทนและถาวร นักออกแบบเรียกว่า
สถาปนิกผู ้ให ้ความสําคัญกับงานด ้านนีเป็ นอย่างมาก นอกจากนันการ
ออกแบบโครงสร ้างยังเป็ นสว่ นหนึงของงานประติมากรรมทีเน ้นคุณภาพ
ของการออกแบบสามมิตแ
ิ ละยังหมายถึงการออกแบบเครืองเรือน ฉากและ
เวที อีกด ้วย

4. การออกแบบหุน
่ จําลอง เป็ นการออกแบบเพือเป็ นแบบสําหรับย่อ ขยาย
ึ ษารายละเอียดของสงนั
ผลงานตัวจริงหรือเพือศก ิ นๆ เชน
่ หุน
่ จําลองบ ้าน
หุน
่ จําลองผังเมือง หุน
่ จําลองเครืองจักรกล หุน
่ จําลองทางวิทยาศาสตร์
ฯลฯ หุน
่ จําลองเหล่านีอาจจะสร ้างจากงานออกแบบหรือสร ้างเลียนแบบ
ิ มีอยูแ
จากสงที ึ ษารายละเอียด หรือข ้อมูลต่างๆ ซงอาจจํ
่ ล ้วเพือศก ึ าแนกได ้
ดังนี หุน ่ อาคาร อนุสาวรีย ์ เหรียญ ฯลฯ
่ จําลองเพือขยาย หรือย่อแบบ เชน
่ จําลองย่อสว่ นจากสงแวดล
หุน ิ ่ ลูกโลก ภูมป
้อม เชน ิ ระเทศ ฯลฯ หุน
่ จําลอง
ึ ษารายละเอียด เชน
เพือศก ่ หุน
่ จําลองภายในร่างกายคน เครืองจักรกล
ฯลฯ
5. การออกแบบสงพิ
ิ มพ์ เป็ นการออกแบบเพือการผลิตงานสงพิ
ิ มพ์ชนิด
ื ปกหนังสอ
ต่าง ๆ ได ้แก่ หนังสอ ื ปกรายงาน หนังสอ
ื พิมพ์ โปสเตอร์
นามบัตร การ์ดอวยพร หัวกระดาษจดหมาย แผ่นพับ แผ่นปลิว ลายผ ้า
ั ลักษณ์ เครืองหมายการค ้า เครืองหมายหน่วยงาน ฯลฯ
สญ

6. การออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็ นการออกแบบเพือนํ ามาใชสอยในช


้ วี ต

ิ ค ้าเพือให ้ผ่านไปยังผู ้ซอ
ประจําวันโดยเน ้นการผลิตจํานวนมาก ในรูปสน ื ผู ้
ึ ขอบเขตกว ้าง
บริโภคในวงกว ้างคือการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ซงมี
ขวางมากดและแบ่งออกได ้มากมาย หลายลักษณะ นักออกแบบรับผิดชอบ

เกียวกับประโยชน์ใชสอยและความสวยงามของผลิ
ตภัณฑ์ งานออกแบบ
ประเภทนีได ้แก่ งานออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ งานออกแบบครุภณ
ั ฑ์ งาน

ออกแบบเครืองสุขภัณฑ์ งานออกแบบเครืองใชสอยต่
างๆ งานออกแบบ
เครืองประดับอัญมณี งานออกแบบเครืองแต่งกาย งานออกแบบภาชนะ
บรรจุผลิตภัณฑ์ งานออกแบบผลิตเครืองมือต่าง ๆ ฯลฯ
7. การออกแบบโฆษณา เป็ นการออกแบบเพือชแนะและช
ี กั ชวนทางด ้าน
ผลิตภัณฑ์ บริการ และความคิด จากความคิดของคน คนหนึง ไปยังกลุม

ชนโดยสว่ นรวม ซงการโฆษณาเป็
ึ นปั จจัยสําคัญทีจําเป็ นสําหรับการดํารง
ชวี ต
ิ ของประชาชน และธุรกิจเพราะจะชว่ ยกระตุ ้น หรือผลักดันอย่างหนึงใน
สงั คม เพือให ้ประชาชนเกิดความต ้องการและเปรียบเทียบสงที
ิ โฆษณา
ื เลือกใชบริ
แต่ละอย่างเพือเลือกซอ ้ การหรือเลือกแนวคิดนํ ามาใชประโยชน์

ในชวี ต ่ โฆษณาขายอาหาร
ิ ประจําวันของเรา การโฆษณาผลิตภัณฑ์ เชน
ิ อสร ้าง ขายเครืองไฟฟ้ า ขายผลิตผลทาง เกษตรกรรม การ
ขายสงก่
่ โฆษณาบริการท่องเทียว บริการซอ
โฆษณาบริการ เชน ่ มเครืองจักรกล

บริการหางานทํา บริการของสายการบิน การโฆษณาความคิด เชน
โฆษณาความคิดเห็นทางวิชาการ ข ้อเขียน ข ้อคิดเห็นในสงั คม ความดีงาม
ในสงั คม นอกจากนียังมีการโฆษณาชวนเชอที
ื เสนอความคิดเห็น เกลีย
่ การโฆษณาทางศาสนา
กล่อม สร ้างอิทธิพลทางความคิดหรือทัศนคติ เชน
ื จะ
โฆษณาให ้รักษากฎจราจร โฆษณาให ้รักชาติ การโฆษณาเหล่านีมี สอที

ใชกระจายสู
ป ่ ระชาชน ได ้แก่ สอกระจายเส
ื ยี งและภาพ เชน
่ วิทยุ ทีว ี โรง
ื งพิ
ภาพยนตร์ สอส ิ มพ์ เชน
่ หนังสอ
ื พิมพ์ นิตยสาร
ื คคล เชน
วารสาร สอบุ ่ การแจกสน
ิ ค ้าสง่ คนไปขายสง่ สน
ิ ค ้าไปตามบ ้าน
8. การออกแบบพาณิชยศล
ิ ป์ เป็ นการออกแบบเพือใชฝี้ มือแสดงความงาม

ทีใชในการตกแต่ ิ
งอาจจะเป็ นสงของเครื ้ กๆ น ้อยๆ ก็ได ้ สว่ นใหญ่
องใชเล็
ึ นความสวยงามทีมีลก
จะเน ้นความสวยงาม ความน่ารัก ซงเป็ ั ษณะเร ้าใจต่อ
ผู ้พบเห็นในทันทีทน ิ ปะเด ้นกว่าประโยชน์
ั ใดและแสดงความสวยงามหรือศล

ใชสอย ่ การออกแบบทีใสซ
เชน ่ องจดหมายแทนทีจะมีเพียงทีใส่ และที
ึ นหน ้าทีหลักก็อาจจะออกแบบเป็ นรูปนกฮูกหรือรูปสต
แขวนซงเป็ ั ว์ตา่ งๆ
ี รรและการออกแบบทีแปลกใหม่ เร ้าใจ เป็ นต ้น ลักษณะของการ
แสดงสส
ิ ป์ ยังมุง่ ออกแบบในลักษณะของแฟชนที
ออกแบบพาณิชย์ศล ั มีการ
เปลียนแปลงไปเรือยๆ ตามสมัยนิยม

9. การออกแบบศล
ิ ปะประดิษฐ์ เป็ นการออกแบบทีแสดงความวิจต
ิ รบรรจง
มีความสวยงามเพือให ้เกิดความสุขสบาย รืนรมย์ มากกว่าการแสดงออกซงึ
ึ นึกคิดอืนใด ความวิจต
ความรู ้สก ิ รบรรจงในทีนีหมายถึง การตกแต่ง
สร ้างสรรค์ลวดลายหรือรูปแบบด ้วยความพยายามเป็ นงานฝี มือทีละเอียด
่ การจัดผักซงเป็
ประณีต เชน ึ นเครืองจิมอาหารคาวของไทยแทนทีจะจัด
พริก มะเขือ แตงกวา ต ้นหอมลงในจานเท่านัน แม่ครัวระดับฝี มือบางคนจะ
่ ประดิษฐ์เป็ น
ประดิษฐ์ตกแต่งพืช ผักเหล่านันอย่างสวยงามมาก เชน
ั ว์หรือลวดลายต่างๆ งานศล
ดอกไม ้ รูปสต ิ ปะประดิษฐ์มห ่
ี ลายประเภท เชน
่ ผัก ผลไม ้ สบู่ เทียน งานจัดดอกไม ้ใบตองเชน
งานแกะสลักของอ่อนเชน ่

ร ้อยมาลัย จัดพวงระย ้าดอกไม ้ โคมดอกไม ้ งานเย็บปั กถักร ้อยตกแต่งเชน
่ แหวน กําไล ต่างหู
ปั กลวดลายต่างๆถักโครเชท์ เครืองตกแต่งร่างกายเชน
่ ฉลุกระดาษ ประดิษฐ์กระดาาเป็ นดอกไม ้ งาน
เข็มกลัด งานกระดาษ เชน
่ ใบไม ้ เปลือกหอย ดอกหญ ้า หลอดกาแฟ งานแกะ
ประดิษฐ์เศษวัสดุ เชน
่ แกะสลักหน ้าบัน คันทวย บานประตู โลหะ
สลักของแข็ง เชน
ผลการค ้นหารูปภาพสําหรับ การออกแบบศิลปะประดิษฐ์
10. การออกแบบตกแต่ง เป็ นการออกแบบเพือการเป็ นอยูใ่ นชวี ต
ิ ประจําวัน
โดยเฉพาะอย่างยิงการออกแบบเพือเสริมแต่งความงามให ้กับอาคารบ ้าน
เรือนและบริเวณทีอยูอ ั เพือให ้เกิดความสวยงามน่าอยูอ
่ าศย ั การ
่ าศย
ออกแบบตกแต่งในทีนีหมายถึงการออกแบบตกแต่งภายนอกและการ
ออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบตกแต่งภายใน หมายถึง การ
ออกแบบตกแต่างทีเสริมและจัดสภาพภายในอาคารให ้สวยงาม น่าอยู่
ั ซงหมายรวมถึ
อาศย ึ งภายในอาคารบ ้านเรือน ทีทํางาน ร ้านค ้า โรงเรียน
การออกแบบตกแต่างภายนอกเป็ นการออกแบบตกแต่งนอกอาคารบ ้าน
ั พันธ์กบ
เรือน ภายในรัวทีสม ่ สนาม ทางเดิน เรือนต ้นไม ้
ั ตัวอาคาร เชน
บริเวณพักผ่อน และสว่ นอืนๆบริเวณบ ้าน

ทีมา....https://nilawan.wordpress.com/2010/04/19/

Comments

You do not have permission to add comments.


ิ ปะ
การออกแบบงานศล เลือกไซต์น ี

หน้าแรก หน ้าแรก >


1.ทฤษฎีศลิ ปะ
(Theory Of Art) 3.องค์ประกอบของการออกแบบ
2.ประเภทของการ
ออกแบบงานศิลปะ
3.องค์ประกอบของ
การออกแบบ
องค์ประกอบของการออกแบบ [Element of Design]
4.หลักการออกแบบ
สมาชิก
แผนผ ังไซต์

โดยปกติทวไปั การออกแบบไม่วา่ สงใดิ


หรือ แม ้แต่การออกแบบสถาปั ตยกรรม การออกแบบตกแต่งภายใน
่ กัน
หรือ การออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ ก็เชน
องค์ประกอบของการออกแบบก็จะเป็ นเรืองของ รูปทรง และประโยชน์ใชสอย ้
่ ในการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ นอกจากประโยชน์ใชสอยและดวามสวยงามแ
เชน ้
้ พยากรอย่างมีคณ
ควรต ้องคํานึงถึงการใชทรั ุ ค่า และการใชวั้ สดุให ้เหมาะสม
ความสะดวกสบายของผู ้ใชงาน ้ ความมีเอกลักษณ์
โดยองค์ประกอบของการออกแบบสงต่ ิ างๆให ้มีสว่ นประกอบทีสวยงาม
จะมีสว่ นประกอบประมาณนี

- เสน ้
เสน้ โดยพืนฐานของการออกแบบ ก็คอ ื การเริมจาก จุด

หากนํ าจุดมาเรียงต่อ ๆ กันไปอย่างต่อเนือง ก็จะเกิดเป็ นเสนและเกิดเป็ นรูปร่า
องค์ประกอบของการออกแบบของ รูปทรง รูปร่าง
ก็คอ ้
ื การนํ าเสนมาเรี ยงร ้อยประกอบกัน จนเป็ นรูปทรงต่างๆ
โดยลักษณะของเสนจะมี ้ 2 ลักษณะ คือ

เสนตรง (Straight Line)
และ เสนโค ้ ้ง (Curve Line)

อารมณ์และความรูส ึ ของเสน
้ ก ้ ในงาน Design

-เสนแนวนอน - ให ้ความรู ้สกึ แสดงออกถึงความเงียบสงบ,ผ่อนคลาย,นิงเฉย
้ ง
-เสนตั - ให ้ความรู ้สก ึ แสดงออกถึงความรู ้สก ึ มันคง จริงจัง
-เสนโค้ ้ง - ให ้ความรู ้สก ึ แสดงออกถึงความมีชวี ต ิ ชวี า ความอ่อนไหว อ่อ
เคลือนไหว
-เสนเฉี ้ ยงหรือเสนทะแยง
้ - ให ้ความรู ้สก ึ แสดงออกถึงความกระตือรือร ้น,ว่อง
-เสนหยั ้ ้ ก
กหรือเสนซ ิ แซก - ให ้ความรู ้สก ึ แสดงออกถึงความตืนเต ้น,ไม่หยุดน
-เสนโค ้ ้ง - ให ้ความรู ้สก ึ แสดงออกถึงความเศร Translate
้า,อ่อนไหว,

-เสนโค ้งแบบคลืน ึ แสดงออกถึงความลืนไหล,การเคลื
- ให ้ความรู ้สก

- รูปร่าง และ รูปทรง


รูปร่าง จะมีความหมายถึงการประกอบกันของเสนโค้ ้
้งหรือเสนตรง เป็ นลักษณ
รูปทรง จะมีความหมายถึงการประกอบกันของเสนโค ้ ้
้งหรือเสนตรง เป็ นลักษณ
รูปร่าง และ รูปทรง จะมีลกั ษณะทีจําแนกความแตกต่างได ้ดังนี
- รูปร่าง และ รูปทรง ของธรรมชาติ
- รูปร่าง และ รูปทรง เรขาคณิต
- รูปร่าง และ รูปทรง อิสระ

- ล ักษณะของพืนผิว
พืนผิว หมายถึงบริเวณผิวนอกของวัสดุตา่ ง ๆ
ึ ผลต่อความรู ้สก
ซงมี ึ ในเรืองของ ความงาม
ระยะ ,นํ าหนัก และประโยชน์ใชสอย ้
ลักษณะของพืนผิวจะรับรู ้ได ้ด ้วยการ รับสม ั ผัสทางตาและสม ั ผัสทางกาย
การนํ าเอาพืน ผิวในลักษณะ ต่าง ๆ มาใช ้
เพือสร ้างสรรค์ความงาม และประโยชน์ใชสอย ้
โดยในการออกแบบ พืนผิวจะถูกนํ ามาใชในลั ้ กษณะต่าง ๆ กัน
เชน่ พืนผิวของกระจก ทีให ้ความรู ้สก ึ นุ่มนวล หรูหรา
ผิวนุ่มของโซฟาหนังสต ั ว์ ให ้ความรู ้สกึ อบอุน ่ นุ่มนวล น่าพักผ่อน เป็ นต ้น

- ลวดลาย
ลวดลายนันมี ลวดลายทีเกิดจากธรรมชาติ และ ลวดลายประดิษฐ์ทสร
ี ้างขึนม
นักออกแบบ จะนํ าลักษณะของลวดลายต่าง ๆ มาใช ้
เพือสร ้างสรรค์ให ้เกิดความสวยงาม

- สี
ส ี คือการรับรู ้ความถี (หรือความยาวคลืน) ของแสง
ในทํานองเดียวกันกับทีระดับเสย ี ง (หรือโน ้ตดนตรี)
คือการรับรู ้ความถีหรือความยาวคลืนของเสย ี ง
มนุษย์สามารถรับรู ้สไี ด ้เนืองจากโครงสร ้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา
ึ ความสามารถในการรับรู ้แสงในชว่ งความถีทีต่างกัน
ซงมี

สมี อี ท
ิ ธิพลอย่างมาก ในเรืองของการออกแบบ
นักออกแบบโดยทัวไปควรทีจะรู ้จัก ทฤษฏีเรืองของส ี
เชน ่ สรี ้อน สเี ย็น สค
ี ต
ู่ รงข ้าม
และ มีความรู ้ในเรืองอิทธิพลของสท ี มี
ี ตอ ึ ของคน
่ ความรู ้สก

ตัวอย่างอิทธิพลของสท ี มี ี ตอ ึ
่ ความรู ้สก
- สแ ี ดง ให ้ความรู ้สก ึ ตีนเต ้น รุนแรง ร ้อนแรง ทะเยอทะยาน แสดงถึงการมี
- สเี ขียว ให ้ความรู ้สก ึ จิตใจสงบ ผ่อนคลาย สงบร่มรืน เบิกบาน
- สข ี าว ให ้ความรู ้สก ึ ว่างเปล่า ความสงบเรียบง่าย สว่าง สะอาด กว ้างขว
และยังเป็ นตัวแทนความรู ้สก ึ เกียวกับเรืองของความดีและความ
- สด ี ํา ให ้ความรู ้สกึ ลึกลับซบ ั ซอน
้ น่าสะพรึงกลัว ลึกลับ เข ้มแข็ง ท ้าทา
- สเี หลือง ให ้ความรู ้สก ึ อบอุน ่ มิตรภาพ ความสนุกสนานรืนเริง สดใส
- สม ี ว่ ง ให ้ความรู ้สก ึ มีเสน่ห ์ หรูหรา สง่างาม ลึกลับ
- สน ี ํ าตาล ให ้ความรู ้สก ึ มันคงเด็ดเดียว สุขม ุ เรียบง่าย
- สเี ทา ให ้ความรู ้สก ึ เก่าแก่ ความสมดุล ความเป็ นกลาง ความสงบนิง
- สฟ ี ้า ให ้ความรู ้สก ึ อิสระ สงบสุข สว่างสดใส

่ งว่าง ,ระยะ
- ชอ
หมายถึงข่องว่างรอบๆวัตถุ และชอ ่ งว่างของวัตถุ
โดยการออกแบบจะต ้องให ้มีความสม ั พันธ์กนั
หากมีการจัดวางเนือที หรือระยะ ของสงของอย่ิ างถูกต ้อง
กลมกลืนกัน ไม่วา่ จะเป็ นรูปร่าง ส ี หรือชอ่ งว่าง ก็จะทําให ้เกิดความเป็ นระเบีย
และ เห็นถึงความเด่นชด ั ของผลิตภัณฑ์ทออกแบบ ี

- การเน้นให้เห็นเด่นชด ั
เป็ นการสร ้างจุดเด่นให ้กับ การออกแบบแต่ละชนิด
โดยอาจจะเน ้นด ้วย รูปทรงทีแตกต่าง ,การใชส้ ี หรือ การใชวั้ สดุทแตกต่
ี างกัน

- สดสั ว่ น
หมายถึงความสม ั พันธ์ของขนาด กว ้าง ,ยาว สูง ,ใหญ่ ,เล็ก ,หรือความลึก ขอ
หรือมีปริมาตรทีสม ั พันธ์กน ิ
ั ระหว่าง สงสองส ิ มีรป
งที ู ทรง หรือขนาดแตกต่างกัน
เชน ่ โต็ะกับเก ้าอี , โซฟากับโต๊ะกลางและโต๊ะข ้าง
เป็ นความสม ั พันธ์ระหว่างสว่ นประกอบต่างๆ ขององค์ประกอบ
สดั สว่ นคือ ความสมสว่ นซงกั ึ นและกันของขนาดในสว่ นต่างๆ ของรูปทรง
ในการออกแบบ คือ การสร ้างความสม ั พันธ์ของสดั สว่ น
ให ้มีความเหมาะเจาะความเหมาะสมกัน เพือให ้เกิดความงามของงานออกแบ

- ความสมดุล
ความสมดุล หมายถึง ความรู ้สกึ เท่ากันทังสองข ้าง

ความสมดุล คือ องค์ประกอบ ในงานออกแบบทีเกียวข ้องกับการมองเห็นสงต่
ตามหลักในงานออกแบบนัน ความสมดุลแบ่งออกเป็ น 3 แบบ คือ
- ความสมดุล เท่ากันทังสองข ้างทุกประการ
- ความสมดุล ไม่เท่ากันทังสองข ้าง หนักไปข ้างใดข ้างหนึง
- ความสมดุล ทีเริมจากศูนย์กลางแล ้วกระจายไปโดยรอบ

ทีมา....http://fdesignbasis.blogspot.com/2014/03/3-element-of-design.html

Comments Translate
ิ ปะ
การออกแบบงานศล เลือกไซต์น ี

หน้าแรก หน ้าแรก >


1.ทฤษฎีศลิ ปะ
(Theory Of Art) 4.หล ักการออกแบบ
2.ประเภทของการ
ออกแบบงานศิลปะ
3.องค์ประกอบของการ หลักการออกแบบ มีดงั นี
ออกแบบ
4.หล ักการออกแบบ 1. เอกภพ ( unity)
สมาชิก
แผนผ ังไซต์
2. ความสมดุลย์ ( balance)

3. การเน ้นให ้เกิดจุดเด่น ( Emphasis)

4. ้
เสนแย ้ง ( opposition)

5. ความกลมกลืน ( Harmony )

6. จังหวะ (rhythm)

7. ความลึก / ระยะ ( Perspective)

8. ความขัดแย ้ง (Contrast)

9. การซาํ ( Repetition)

1. ความเป็นหน่วย / เอกภพ ( Unity)

ในการออกแบบ ผู ้ออกแบบจะต ้องคํานึงถึงงานทังหมดให ้อยูใ่ น


หน่วยงานเดียวกันเป็ นกลุม ั พันธ์กน
่ ก ้อน หรือมีความสม ั ทังหมดของ
งานนัน ๆ และพิจารณาสว่ นย่อยลงไปตามลําดับในสว่ นย่อยๆ ก็คง
่ กัน
ต ้องถือหลักการนีเชน

การสร ้างเอกภพในทางปฎิบต
ั ม
ิ ี 2 แบบคือ

- Static unity การจัดกลุม ่


่ ของ from และ shape ทีแข็ง เชน
รูปทรงเรขาคณิต จะให ้ผลทรงพลังเด็ดขาด แข็งแรก และ แน่นอน

- Dynamic unity เป็ นการเน ้นไปทางอ่อนไหวการเคลือนไหว



ซงอยู ร่ ป
ู ในลักษณะ gradation or harmony or contrast อย่างใด
อย่างหนึงให ้แสดงออกมาจากงานชนนั ิ นด ้วยจะทําให ้งานสมบูรณ์
ขึน การจัดองค์ประกอบทีดีนันควรให ้สว่ นประกอบรวมตัวเป็ นอัน
หนึงอันเดียวกันไม่แตกกระจาย การรวมตัวกันจะทําให ้เกิดหน่วย
หรือเอกภพ จะได ้สว่ นประธานเป็ นจุดสนใจ และมีสว่ นประกอบ
ต่างๆ ให ้น่าสนใจ

2. ความสมดุล ( Balance ) คือ

ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทังสองข ้าง แบ่งออกเป็ น


- สมดุลแบบทงั 2 ข้างเหมือนก ัน (Symmetrical
balance)

ทังซายขวาเหมื อนกัน การสมดุลแบบนีจะทําให ้ดูมนคงหนั
ั ก
แน่น ยุตธิ รรม เชน ่ งานราชการ ใบวุฒบ
ิ ต
ั ร ประกาศนียบัตร การถ่าย
รูปติดบัตรเป็ นต ้น
- สมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนก ัน (Asymmetrical

balance )ด ้านซายและขวาจะ

ไม่เหมือนกัน แต่มองดูแล ้วเท่ากันด ้วยนํ าหนักทางสายตา เชน
สมดุลด ้วยนํ าหนัก
และขนาดของรูปทรง ด ้วยจุดสนใจ ด ้วยจํานวนด ้วยความแตกต่าง
ของรายละเอียด
ด ้วยค่าความเข ้ม – จางของส ี เป็ นต ้น

3. การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis )

ในการออกแบบจะประกอบด ้วยจุดสําคัญหรือสว่ นประธานใน


ภาพ จุดรองลงมาหรือสว่ นรองประธาน สว่ นประกอบหรือพวกราย

ละเอียดปลีกย่อย ต่างๆ หลักและวิธใี นการใชการเน ้น

- ้ กเรือง Contrast
เน ้นด ้วยการใชหลั

- เน ้นด ้วยการประดับ

- ่ ในสว่ นทีต ้องการเน ้น


เน ้นด ้วยการจัดกลุม

- เน ้นด ้วยการใชส้ ี

- เน ้นด ้วยขนาด

- เน ้นด ้วยการทําจุดรวมสายตา

้ แย้ง ( Opposition)
4. เสน


เป็ นการจัดองค์ประกอบโดยการนํ าเอาเสนในลั กษณะแนวนอนและ
แนวตังฉากมาประกอบกันให ้เป็ นเนือหาทีต ้องการ มีลก
ั ษณะของ
ภาพแบบเสนแย ้ ้งในธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา อยูม
่ ากมาย นับว่าเป็ น
รากฐานของการจัดองค์ประกอบ
การจัดองค์ประกอบให ้เกิดความแตกต่างเพือดึงดูดความสนใจ
หรือให ้เกิดความสนุก ตืนเต ้น น่าสนใจ ลดความเรียบ น่าเบือ ให ้ความ
ึ ฝื นใจ ขัดใจ แต่ชวนมอง
รู ้สก

5. ความกลมกลืน ( Harmony )
การจัดองค์ประกอบทีใกล ้เคียงกันหรือคล ้ายๆ กันมาจัดภาพทําให ้
เกิดความนุ่มนวลกลมกลืนกันมี 3 แบบดังนี
Translate

A. กลมกลืนในด ้านประโยชน์ใชสอย คือ ทําให ้เป็ นชุดเดียวกัน

B. กลมกลืนในความหมาย เชน ่ การออกแบบ


เครืองหมายการค ้า และ โลโก ้

C. กลมกลืนในองค์ประกอบได ้แก่

- กลมกลืนด ้วยเสน้ – ทิศทาง

- กลมกลืนด ้วยรูปทรง – รูปร่าง

- กลมกลืนด ้วยวัสดุ – พืนผิว

- กลมกลืนด ้วยส ี มักใชโทนส


้ ที ใกล
ี ้กัน

- ั สว่ น
กลมกลืนด ้วยขนาด – สด

- กลมกลืนด ้วยนํ าหนัก

6. จ ังหวะ (Rhythm)
ํ อนกั
จังหวะเกิดจากการต่อเนืองกันหรือซาซ ้ น จังหวะทีดีทําให ้ภาพดู
ี งเพลงอันไพเราะในด ้านการออกแบบ แบ่งจังหวะ
สนุก เปรียบได ้กับเสย
เป็ น 4 แบบคือ
- ํ
จังหวะแบบเหมือนกันซาๆกั น เป็ นการนํ าเอาองค์ประกอบหรือรูปที
เหมือนๆ กันมาจัดวางเรียงต่อกัน ทําให ้ดูมรี ะเบียบ ( order ) เป็ น
ทางการ การออกแบบลายต่อเนือง เชน ่ ลายเหล็กดัด ลายกระเบืองปูพน ื
หรือผนัง ลายผ ้า เป็ นต ้น
- จังหวะสลับกันไปแบบคงที เป็ นการนํ าองค์ประกอบหรือรูปทีต่าง
กันมาวางสลับกันอย่างต่อเนือง เป็ นชุด เป็ นชว่ ง ให ้ความรู ้สก
ึ เป็ น
ระบบ สมําเสมอ ความแน่นอน
- จังหวะสลับกันไปแบบไม่คงที เป็ นการนํ าองค์ประกอบหรือรูปที
ต่างกันมาวางสลับกัน อย่างอิสระ ทังขนาด ทิศทาง ระยะห่าง ให ้ความรุ ้
สก ึ สนุกสนาน
- จังหวะจากเล็กไปใหญ่ หรือจากใหญ่ไปเล็ก เป็ นการนํ ารูปทีเหมือน
กัน มาเรียงต่อกันแต่มข
ี นาดต่างกัน โดยเรียงจากเล็กไปใหญ่ หรือ จาก
ใหญ่ไปเล็กอย่างต่อเนือง ทําให ้ภาพมีความลึก มีมต
ิ ิ

7. ความลึก / ระยะ ( Perspective )


ให ้ภาพดูสมจริง คือ ภาพวัตถุใดอยูใ่ กลัจะใหญ่ ถ ้าอยุไ่ กลออกไปจะมอง
เห็นเล็กลงตามลําดับ จนสุดสายตา ซงมี ึ มม
ุ มองหลักๆ อยู่ 3 ลักษณะ คือ
วัตถุอยูส
่ งู กว่าระดับตาวัตถุอยูใ่ นระดับสายตา และวัตถุอยูต
่ ตํากว่าระดับ
สายตา

8. ความข ัดแย้ง ( contrast )


ความขัดแย ้ง หมายถึง ความไม่ลงรอยกันเข ้ากันไม่ได ้ ไม่ประสานสมั พันธ์
กัน ขององค์ประกอบศล ื ป์ ทําให ้ขาดความกลมกลืน ในเรืองรูป
ทรง ส ี ขนาดลกษณะผ
ั วท
ิ แตกต
ี างก
่ น
ั ดงน
ั ันนักออกแบบทด ี ี จะตองลด

ั ั ใ ป็ ื ึ ใ ี
ความขัดแย ้งดังกล่าว ให ้เป็ นความกลมกลืน จึงจะทําให ้งานออกแบบมี
คุณค่า ลักษณะของความขัดแย ้ง เชน ่ ความขัดแย ้งของรูปร่าง ความขัด
แย ้งของขนาดต่างๆ เป็ นต ้น
9. การซํา ( Repetition ) คือ
การปรากฎตัวของหน่วยทีเหมือนกันตังแต่ 2 หน่วยขึนไปเป็ นการ
ิ มีอยูฝ่ายเดียวเข ้าด ้วยกัน เชน
รวมตัวกันของสงที ่ การซาของนํ
ํ า

หนักตํา การซาของเส ้ ง การซาของนํ
นตั ํ ํ
าหนักเทา การซาของรู ป
ทรงทีเหมือนกัน เป็ นต ้น


การซาสามารถใช ้
ประกอบโครงสร ิ างๆ ให ้มีคณ
้างสงต่ ุ ค่ามากยิง
ขึน เชน ่ กราฟฟิ คบนบรรจุภณ ิ ําคัญของการซาํ
ั ฑ์ ลวดลายผ ้า เป็ นต ้น สงส
คือ สว่ นประกอบของการซาและหลั
ํ กการจัดองค์ประกอบของการซาํ เพือ
ใชเป็้ นข ้อมูล ในการสร ้างและต ้องเข ้าใจในหลักการประกอบสว่ นย่อยนัน
เข ้าด ้วยกัน

ซงการซ ํ
าสามารถแบ่
งออกเป็ นทังหมด 8 รูปแบบ
- การเรียงลําดับ ( Translation in step )

- ้ – ขวา (Reflection about line )


การสลับซาย

- การหมุนรอบจุด (Rotation about a point )

- ้ – ขวา และหมุนรอบจุด (Reflection and


การสลับซาย
rotation)

- ้
การสลับซายขวา และเรียงลําดับ ( Reflection and
translation )

- การหมุนรอบจุด และเรียงลําดับ (Rotation and


translation)

- การเรียงลําดับสลับจังหวะ (Reflection and alternate


translation )

- การผสมระหว่างเรียงลําดับ สลับจังหวะและหมุนรอบจุด (
Reflection, rotation and translation )

ทีมา....http://www.pikanesri.com/class-basic-designB.php

Comments

You do not have permission to add comments.

Sign in | Recent Site Activity | Report Abuse | Print Page | Powered By Google Sites

Translate

You might also like