You are on page 1of 62

(ร่าง)

คู่มือ
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
คานา
คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 ได้มีมติเห็นชอบกับมาตรการปรับปรุง
ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ร าชการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาระบบการด าเนิ น งาน
ของส่วนราชการในการขับเคลื่อนภารกิจสาคัญของรัฐบาล การแก้ไขปัญหาและการอานวยความสะดวก
แก่ประชาชน และเพื่อเพิ่มศักยภาพของส่ว นราชการในการสนั บสนุนการพัฒ นาประเทศ ซึ่งต่อมา
สานักงาน ก.พ.ร. ได้กาหนดแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิ บั ติ ร าชการของส่ ว นราชการ ประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่ อ ให้ ส่ ว นราชการ
ใช้เป็นแนวทางในการประเมินดังกล่าว
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีภารกิจ
เกี่ยวกับการเสนอแนะ ติดตามการประเมินผล รวมทั้งประสานและดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ
ราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงและกระทรวง
จึงได้จัดทาคู่มือการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ประเมิ น ฯ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ส่ ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงฯ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ กรอบและ
แนวทางการประเมินมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผลให้การประเมินส่วนราชการตามมาตรการฯ ดังกล่าว เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สานักงานปลัดกระทรวง
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ธันวาคม 2564
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มา 2
1.2 วัตถุประสงค์ 2
บทที่ 2 หลักการและแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง 4
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
2.1 หลักการ 5
2.2 กรอบและประเด็นการประเมิน 6
2.3 กลไกการประเมิน 7
2.4 รายละเอียดตัวชี้วัด 9
บทที่ 3 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ 22
ปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
3.1 เกี่ยวกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 23
3.2 ตัวชี้วัดของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 24
3.3 แบบฟอร์มรายงานผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด 38
บทที่ 4 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ 39
ปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส่วนราชการ
ในกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
4.1 สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 40
4.2 กรมอุตุนิยมวิทยา 45
4.3 สานักงานสถิติแห่งชาติ 49
4.4 สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 53
1

บทที่ 1
บทนา
2

1.1 ทีม่ า
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 กาหนดว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงาน
ที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวกและการ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน
การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ”
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
มาตรา 9 (3) กาหนดว่า การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตาม
และประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส่วนราชการกาหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้อง
กับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด
มาตรา 12 กาหนดว่าเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนด
มาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดง
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
มาตรา 45 กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาหนด
มติคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559
มติคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559 เห็นชอบกับมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ กาหนดให้มีการ
ประเมินส่วนราชการ ใน 5 องค์ประกอบ และให้นาแบบประเมินฯ นี้ไปใช้ในการประเมินส่วนราชการ โดยให้นายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
เป็นผู้ประเมิน และมีเลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นผู้ประเมินเบื้องต้น
มติคณะรัฐมนตรี 20 กรกฎาคม 2564
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกรอบและแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยการประเมินมี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การประเมินประสิทธิผลการ
ดาเนินงาน (Performance Base) น้าหนักร้อยละ 70 และ (2) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)
น้าหนักร้อยละ 30 และแบ่งเกณฑ์การประเมินเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขั้นสูง และ
มาตรฐานขั้นต้น) และระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณาจากคะแนนในภาพรวม และมีรอบระยะเวลาการประเมิน ปีละ 1 ครั้ง
(ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี) ทั้งนี้ จะมีการนาผลการดาเนินงาน/ผลการประเมินของส่วน
ราชการไปเชื่อมโยงกับการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลในระดับหัวหน้าส่วนราชการด้วย

1.2 วัตถุประสงค์
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ
พัฒนาระบบการดาเนินงานของส่วนราชการในการขับเคลื่อ นภารกิ จสาคั ญของรั ฐบาล เพื่อบรรลุต่อเป้า หมายตาม
ยุทธศาสตร์ของประเทศ
3

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีประเด็นที่เปลี่ยนแปลงและให้ความสาคัญดังนี้

เปลี่ยนแปลงจากแนวทางการประเมินฯ ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


จากเดิมที่เป็นการวัดเฉพาะส่วนราชการระดับกรม มามุ้งเน้นกระทรวงมีบทบาทหลักในการกาหนดตัวชี้วัด
และติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของกระทรวงและส่วนราชการในสังกัด ผ่านกลไกคณะกรรมการกากับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกระทรวง โดยกาหนดให้มีตัวชี้วัดระดับกระทรวง และ
ถ่ายทอดลงสู่ส่วนราชการระดับกรมภายในสังกัดกระทรวง เพื่อมุ่งให้เกิดการบูรณาการการทางานให้มีความ
สอดคล้องเชื่อมโยงกันระหว่างกระทรวงและส่วนราชการภายในกระทรวง ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของ
กระทรวงและกรมในกระทรวงให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด

ให้ความสาคัญกับการประเมินในมิติของการพัฒนาศักยภาพขององค์การ
ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้แก่ การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล เพื่อส่งเสริมให้ส่วนราชการ/จังหวัดปรับเปลี่ยน
วิธีการดาเนินงานเพื่อรองรับการทางานในรูปแบบ New Normal หรือการทางานในชีวิตวิถีใหม่รวมทั้งการสร้าง
ความเข้มแข็งให้หน่วยงานเพื่อผลักดันการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน เช่น การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูล
ภาครัฐ (Open Data) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน
โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน (Digitalize Process) การสร้างนวัตกรรมในการ
ปรับปรุงกระบวนงาน หรือการให้บริการ(e-Service) ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และ
การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
เป็นการวัดเพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการใน
การขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน โดยพิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0
(PMQA 4.0) ระหว่างกระทรวงและส่วนราชการภายในกระทรวง ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของกระทรวงและ
กรมในกระทรวงให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด

เชื่อมโยงการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
กับการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลที่ดาเนินการโดยสานักงาน ก.พ. โดยนาผลการประเมินตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ไปเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลในระดับหัวหน้าส่วนราชการ
(ปลัดกระทรวงหรือเทียบเท่า อธิบดีหรือเทียบเท่า ผู้ว่าราชการจังหวัด) เพื่อให้การประเมินหัวหน้าส่วนราชการ
ดังกล่าว สามารถผลักดันการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานในการขับเคลื่อนนโยบายสาคัญของรัฐบาล และบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศระหว่างกระทรวงและส่วนราชการ
ภายในกระทรวง ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของกระทรวงและกรมในกระทรวง
ให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด
4

บทที่ 2
หลักการและแนวทางการประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
5

2.1 หลักการ
หลักการในการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 มีดังนี้
1. กรอบการประเมิ น ส่ ว นราชการตามมาตรการปรั บ ปรุ ง ประสิ ทธิ ภ าพในการปฏิ บั ติร าชการ
ประจาปีง บประมาณ พ.ศ. 2565 ก าหนดให้มี ก ารประเมิ นส่วนราชการใน 2 องค์ ประกอบ ได้ แ ก่ (1) การประเมิน
ประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (2) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) และ
แบ่งเกณฑ์การประเมิ นเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขั้นสูง และมาตรฐานขั้ น ต้ น)
และระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณาคะแนนภาพรวมเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ และมีรอบระยะเวลาการประเมินปีละ 1 ครั้ง
2. การกาหนดตัวชี้วัดของส่วนราชการเน้นการบูรณาการการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมาย
ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แผนการ
ปฏิ รู ป ประเทศ แผนบู ร ณาการ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (SDGs) รวมทั้ ง นโยบายส าคั ญ ของรั ฐ บาล และดั ช นี ชี้ วั ด สากล
(International KPIs)
3. มุ่งเน้นให้กระทรวงมีบทบาทหลักในการพิจารณากาหนดตัวชี้วัดและติดตามประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของกระทรวงและส่วนราชการในสังกัดกระทรวงผ่านกลไกคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการของส่วนราชการระดับกระทรวงซึ่งพิจารณาจากประเด็นสาคัญในการบู รณาการและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนระดับชาติอื่น ๆ มากาหนดเป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง
และถ่ายทอดลงสู่ส่วนราชการระดับกรมภายในกระทรวง ทั้งนี้ เพื่อมุ่งให้เกิดการบูรณาการการทางานให้มีความสอดคล้อง
เชื่อมโยงกันระหว่างกระทรวงและส่วนราชการภายในกระทรวง ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของกระทรวงและกรม
ในกระทรวงให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด
4. กลไกการประเมิน ดาเนินการผ่านคณะทางานและคณะกรรมการใน 2 ระดับ ได้แก่
(1) คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ซึ่งเป็นกลไกคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ แต่งตั้งโดย อ.ก.พ.ร.ฯ ทาหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของตัวชี้วัด
ระดับกระทรวง
(2) คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป็นกลไกของ
ส่วนราชการ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
(2.1) ส่วนราชการระดับกระทรวง 18 กระทรวง (ยกเว้นกระทรวงกลาโหม สานักนายกรัฐมนตรี)
ให้มีคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง แต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวง มีหน้าที่กาหนดตัวชี้วัดน้าหนัก ค่าเป้าหมายในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวงและส่วนราชการใน
สังกัดกระทรวง
(2.2) ส่วนราชการในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี และส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวง หรือทบวง (ยกเว้น กอ.รมน. และสานักงานตารวจแห่งชาติ) รวม 22 หน่วยงาน ให้มีคณะกรรมการกากับการ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการแต่งตั้งโดยรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่กากับส่วนราชการ มีหน้าที่
กาหนดตัวชี้วัด น้าหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
5. ให้ความสาคัญกับการกาหนดตัวชี้วัดการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน
(Joint KPIs) ตามนโยบายสาคัญ เร่ ง ด่วนของรั ฐบาล เนื่องจากในการทางานเพื่อ ตอบโจทย์การพั ฒนาประเทศและ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ จาเป็นต้องอาศัยการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน จึงเน้นให้มีการบูรณาการการทางาน
ร่วมกันระหว่างส่วนราชการ ทั้งภายในกระทรวงและต่างกระทรวง การทางานระหว่างกระทรวงกับจังหวัด รวมถึงการบูรณาการ
การทางานร่วมกับองค์การมหาชนด้วย
6

6. ตัว ชี้ วั ดที่ มี ค วามสาคั ญ แต่ไ ม่ ส ามารถวั ด ผลได้ใ นรอบปี การประเมิ น กาหนดเป็ น ตัว ชี้ วั ด
Monitor โดยไม่ ก าหนดน้าหนักและไม่ประเมินผล แต่ ให้ส่วนราชการรายงานผลการดาเนินงานเพื่อ นาข้อ มูลมาใช้
ประโยชน์ในการวิเคราะห์แนวโน้มสาหรั บการวางแผนการปฏิ บัติงานของหน่วยงาน และการกาหนดเป้า หมายการ
ดาเนินงานทั้งระยะสั้น และระยะยาวได้อย่างเหมาะสม
7. ให้ความสาคัญกับการประเมินในมิติของการพัฒนาศักยภาพขององค์การ ซึ่งเป็นการพัฒนา
อย่างยั่งยืน ได้แก่
(1) การพั ฒ นาองค์ ก ารสู่ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ส่ ว นราชการ/จั ง หวั ด ปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก าร
ดาเนินงานเพื่อรองรับการทางานในรูปแบบ New Normal หรือการทางานในชีวิตวิถีใหม่รวมทั้งการสร้างความเข้มแข็งให้
หน่วยงานเพื่อผลักดันการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน เช่น
การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) การเชื่อมโยง
และแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการ
ดาเนินงาน (Digitalize Process) การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน หรือการให้บริการ (e-Service) ที่มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(2) การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
เป็นการวัดเพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการ
ขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน โดยพิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
8. เชื่อมโยงการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
กับการประเมิน ผลการปฏิ บัติงานรายบุ คคลที่ ดาเนินการโดยสานักงาน ก.พ. โดยนาผลการประเมินตามมาตรการ
ปรับปรุง ประสิทธิภ าพฯ ไปเป็นส่วนหนึ่ง ของการประเมินผลการปฏิบัติง านรายบุคคลในระดั บหั วหน้า ส่วนราชการ
(ปลัดกระทรวงหรือเทียบเท่า อธิบดีหรือเทียบเท่า ผู้ว่าราชการจังหวัด) เพื่อให้การประเมินหัวหน้าส่วนราชการดังกล่าว
สามารถผลักดันการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานในการขับเคลื่อนนโยบายสาคัญของรัฐบาล และบรรลุเป้าหมายการ
พัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ

2.2 กรอบและประเด็นการประเมิน
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 มีกรอบการประเมินใน 2 องค์ประกอบ โดยมีประเด็นการประเมินดังนี้
กรอบและประเด็นการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน
1. การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน 1. ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ มติคณะรัฐมนตรีนโยบาย
(Performance Base) (ร้อยละ 70) รัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เช่น การฟื้นฟูเศรษฐกิจ (Agenda KPI)
2. ผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับส่วนราชการ
3. ผลการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกัน
หลายหน่วยงาน เช่น การขจัดความยากจน อุบัติเหตุทางถนน ปัญหาชายแดน
ภาคใต้ เป็นต้น (Joint KPIs)
4. ผลการดาเนินงานตามภารกิจพืน้ ฐาน งานประจา งานตามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ
หลัก งานตามกฎหมาย กฎ หรือภารกิจในพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาคจังหวัด กลุ่ม
จังหวัด (Function KPI / Area KPI)
5. ดัชนีชี้วัดสากลที่วัดผลตามภารกิจของหน่วยงาน (International KPIs)
7

องค์ประกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน
2. การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน 1. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทลั (ร้อยละ 15) เลือกจากประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
(Potential Base) (ร้อยละ 30) (1) การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
(2) การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายใน
หน่วยงาน และข้อมูลทีจ่ ะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
(3) การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data)
(4) การพัฒนากระบวนการปฏิบตั งิ านโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลัก
ในการดาเนินงาน (Digitalize Process)
2. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
(ร้อยละ 15)
หมายเหตุ ระดับกระทรวงจะกาหนดตัวชี้วัดเฉพาะองค์ประกอบที่ 1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base)
โดยมีน้าหนักรวมเท่ากับ ร้อยละ 100

2.3 กลไกการประเมิน
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
มีกลไกการดาเนินงานในการพิจารณากาหนดระบบการประเมิน แนวทางการประเมิน ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย โดยมี
รายละเอียด ดังนี้
1. คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตาม
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) เกี่ยวกับการ
ประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ทาหน้าที่พิจารณาระบบการประเมินและ
แนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและแต่งตั้งคณะทางานเพื่อ
พิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
2. การพิจารณากาหนดตัวชี้วัด และติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วั ดดาเนิน การ
ผ่านกลไกคณะทางานและคณะกรรมการ ใน 2 ระดับ ดังนี้
ระดับที่ 1 คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ราชการ ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เพื่อทาหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของตัวชี้วัดระดับ
กระทรวงและจังหวัด โดยคณะทางานฯ ประกอบด้วย
(1) ประธาน อ.ก.พ.ร.ฯ ประธาน คณะทางาน
(2) เลขาธิการ ก.พ.ร. คณะทางาน
(3) ผู้ทรงคุณวุฒิ (ไม่เกิน 3 คน) คณะทางาน
(4) ผู้แทนสานักงบประมาณ คณะทางาน
(5) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ คณะทางาน
และสังคมแห่งชาติ
(6) เจ้าหน้าที่สานักงาน ก.พ.ร. คณะทางานและเลขานุการ
มีหน้าที่และอานาจ ดังนี้
(1) พิจารณา และให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้าหนัก และค่าเป้าหมาย
ของส่วนราชการและจังหวัด โดยพิจารณาจากประเด็นสาคั ญที่ต้องเร่งขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล ฯลฯ
(2) ให้ข้อเสนอแนะในการติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการ
การดาเนินงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการ (Joint KPIs)
8

(3) ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการและจังหวัด
(4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ มอบหมาย
ระดับที่ 2 คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ แบ่งเป็น
2 ประเภท ดังนี้
1) ส่วนราชการระดับกระทรวง จานวน 18 กระทรวง (ยกเว้นกระทรวงกลาโหม
และสานักนายกรัฐมนตรี) ให้มี คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง
แต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง โดยคณะกรรมการฯ ประกอบด้วย
(1) ปลัดกระทรวง ประธาน
(2) รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาการบริหาร รองประธาน
การเปลี่ยนแปลง (Chief Change Officer : CCO)
(3) ประธาน ค.ต.ป. ประจากระทรวง กรรมการ
(4) หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมในกระทรวง กรรมการ
หรือรองหัวหน้า ส่วนราชการฯ ที่ได้รับมอบหมาย (ทุกกรม)
(5) ผู้อานวยการองค์การมหาชนภายใต้การกากับของ กรรมการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
(6) ผู้นากลุ่ม ป.ย.ป. กระทรวง หรือผู้แทนกลุ่ม ป.ย.ป. กรรมการ
(7) ผู้แทนสานักงบประมาณ กรรมการ
(8) ผู้แทนสานักงาน ก.พ.ร. กรรมการ
(9) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ
(10) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหาร กรรมการ
ของกระทรวง และเลขานุการ
มีหน้าที่และอานาจ ดังนี้
(1) กาหนดตัวชี้วัด น้าหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
กระทรวงและส่วนราชการในสังกัดกระทรวง
(2) ติ ดตาม ก ากั บ และให้ก ารสนับสนุนเพื่ อ ให้ก ารดาเนินการประเมินผลการ
ปฏิบัติราชการของกระทรวงและส่วนราชการในสังกัดเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สานักงาน ก.พ.ร. กาหนด
(3) บู ร ณาการตั ว ชี้ วั ด ขององค์ ก ารมหาชนที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยกเว้นองค์การมหาชนที่อยู่ภายใต้ระบบการประเมินผลตามพระราชบัญญัติการบริหารทุน
หมุนเวียน พ.ศ. 2558
(4) แต่งตั้งคณะทางาน หรื อมอบหมายบุคคลอื่นใด ดาเนินการตามหน้าที่แ ละ
อานาจที่ได้รับมอบหมายตามความจาเป็นและเหมาะสม
(5) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย
9

2) ส่ ว นราชการในสั ง กั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ส่ ว นราชการไม่ สั ง กั ด ส านั ก


นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง (ยกเว้นกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและสานักงานตารวจ
แห่งชาติ) จานวน 22 หน่วยงาน ให้มี คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ แต่งตั้ง
โดยรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่กากับส่วนราชการโดยคณะกรรมการฯ ประกอบด้วย
(1) หัวหน้าส่วนราชการ ประธาน
(2) รองหัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาการบริหาร รองประธาน
การเปลี่ยนแปลง (Chief Change Officer : CCO)
(3) ผู้อานวยการสานัก/กองภายในส่วนราชการ กรรมการ
(4) ผู้แทนสานักงบประมาณ กรรมการ
(5) ผู้แทนสานักงาน ก.พ.ร. กรรมการ
(6) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ
(7) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหารของส่วนราชการ กรรมการ
และเลขานุการ
มีหน้าที่และอานาจ ดังนี้
(1) กาหนดตัวชี้วัด น้าหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการ
(2) ติ ดตาม ก ากั บ และให้ก ารสนับสนุนเพื่ อ ให้ก ารดาเนินการประเมินผลการ
ปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สานักงาน ก.พ.ร. กาหนด
(3) แต่งตั้งคณะทางาน หรือมอบหมายบุคคลอื่นใด ดาเนินการตามหน้าที่แ ละ
อานาจที่ได้รับมอบหมายตามความจาเป็นและเหมาะสม
(4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่รองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่กากับมอบหมาย

2.4 รายละเอียดตัวชี้วัด
การจัดทาตั วชี้ วัดการประเมิ นส่วนราชการตามมาตรการปรั บปรุ งประสิทธิภ าพในการปฏิ บัติร าชการ
ประจาปีง บประมาณ พ.ศ. 2565 ก าหนดให้มี ก ารประเมิ นส่วนราชการใน 2 องค์ ประกอบ ได้ แ ก่ (1) การประเมิน
ประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (2) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) โดยมี
รายละเอียดตัวชี้วัดที่สาคัญในแต่ละองค์ประกอบ ดังนี้
2.4.1 องค์ประกอบที่ 1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) น้าหนักร้อยละ 70
ส่วนราชการระดับกระทรวงและกรม กาหนดตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 1 โดยมีน้าหนัก ดังนี้
- ส่วนราชการระดับกระทรวง น้าหนักร้อยละ 100
- ส่วนราชการระดับกรม น้าหนักร้อยละ 70
การกาหนดตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 1 พิจารณาจาก
1. การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มติคณะรัฐมนตรี นโยบาย
รัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เช่น การฟื้นฟูเศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19
และการฟื้นฟูภายหลังวิกฤตโควิด -19 เป็นต้น (Agenda KPI) ควรพิจารณาจากแผนปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการ
รวมถึงงบประมาณ เพื่อให้ส่วนราชการมีความพร้อมในการผลักดันตัวชี้วัดให้บรรลุเป้าหมาย
2. การดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ
3. การดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน
(Joint KPIs) เช่น การขจัดความยากจน อุบัติเหตุทางถนน ปัญหาชายแดนภาคใต้ เป็นต้น
4. การดาเนินงานตามภารกิ จพื้นฐาน งานประจา งานตามหน้าที่ความรั บผิดชอบหลัก งานตาม
กฎหมาย กฎ หรือภารกิจในพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด (Function KPI/Area KPI)
5. การดาเนินงานตามดัชนีชี้วัดสากลที่วัดผลตามภารกิจของหน่วยงาน (International KPIs)
10

ทั้ ง นี้ การก าหนดเกณฑ์ ก ารประเมิ น /ค่ า เป้ า หมายของตั ว ชี้ วั ด ต้ อ งพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล พื้ น ฐาน
(Baseline data) หรือหากเป็นตัวชี้วัดใหม่ ไม่มีข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) ต้องกาหนดนิยามข้อมูลให้ชัดเจน
รายละเอียดตัวชี้วัด
1. การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มติคณะรัฐมนตรีนโยบายรัฐบาล
โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน (Agenda KPI)
1) การดาเนินการเพื่อผลักดันเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23
ประเด็น
2) การดาเนินการตามวาระการขับเคลื่อนและการปฏิรูปประเทศ
3) การดาเนินการตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี และมติคณะรัฐมนตรี
4) การแก้ไขปัญหาสาคัญเฉพาะเรื่องหรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายพิเศษจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีที่กากับส่วนราชการ
5) นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เช่น การฟื้นฟูเศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการระบาดของโรค
โควิด 19 และการฟื้นฟูภายหลังวิกฤตโควิด-19 เป็นต้น
>> ตัวชี้วัดความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี <<
คณะรั ฐมนตรี ในการประชุ ม เมื่อ วันที่ 3 สิง หาคม 2564 ได้ มี ม ติ เห็นชอบการขั บเคลื่อ นการให้บริการ
ประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในงานบริการ Agenda 12 เรื่อง ซึ่งเป็น
งานบริการที่มีความเชื่อ มโยงหรื อเกี่ ยวข้องหลายส่วนราชการ มีผลกระทบให้คุณ ภาพชี วิตของประชาชนดีขึ้น หรือ
สนับสนุนช่วยเหลือให้ภาคเศรษฐกิจและสังคมที่ประสบปัญหาในภาวะสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ฟื้ น ตั ว ได้ เ ร็ ว ขึ้ น และยั่ ง ยื น โดยพิ จ ารณาจากงานบริ ก ารที่ ก าหนดไว้ ใ นแผนการปฏิ รู ป ประเทศ
(ฉบับปรับปรุง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 - 2565 และแนวทางการยกระดับประเทศไทยสู่ 10 อันดับ
ประเทศที่ประกอบธุรกิจได้ง่ายที่สุด (Ease of Doing Business) โดยกาหนดให้งานบริการ Agenda ทั้ง 12 เรื่อง เป็นตัวชี้วัด
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส่วนราชการที่ได้รับมอบหมาย
งานบริการ Agenda ที่กาหนดให้ส่วนราชการดาเนินการขับเคลื่อนในปีงบประมาณพ.ศ. 2565
รายชื่องานบริการ หน่วยงานหลัก
1. ระบบการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้เดินทาง สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(Ease of traveling)
2. ระบบการออกบัตรสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ กรมควบคุมโรค
3. ระบบช่วยเหลือผู้ว่างงานให้กลับเข้าสู่ตลาดแรงงาน กรมการจัดหางาน
4. ระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล กรมการปกครอง
(DOPA-Digital ID)
5. หนึ่งรหัส หนึ่งผู้ประกอบการ สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(One Identification : ID One SMEs)
6. ระบบการแจ้งเตือนสิทธิและช่วยเหลือในการรับ สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ
สวัสดิการของประชาชนตลอดช่วงชีวิต
7. ศูนย์การร้องเรียนแบบเบ็ดเสร็จ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
8. ระบบการรับชาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กรมที่ดิน
9. ระบบการอนุญาตวัตถุอันตราย ณ จุดเดียว (HSSS) กรมโรงงานอุตสาหกรรม
10. ระบบรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร (GAP) สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
พืช ประมง และปศุสัตว์
11

รายชื่องานบริการ หน่วยงานหลัก
11. ระบบการขึ้นทะเบียนเกษตรกรและการขอรับความ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ช่วยเหลือด้านการเกษตร
12. ระบบเชื่อมโยงข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้าข้าม กรมศุลกากร
แดนทางบกของกลุ่มประเทศ ACMECS
ผ่านระบบ NSW
สาหรับแนวทางการประเมินตัวชี้วัดความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติ
คณะรัฐมนตรีนั้น ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กาหนดทิศทางและแผน (Roadmap) การพัฒนา
งานบริการ Agenda ร่วมกัน โดยกาหนดระยะเวลาของ Roadmap ในการพัฒนา เป้าหมายการดาเนินการในแต่ละปี
ผลผลิตที่ได้รับในแต่ละปีอย่างเป็นรูปธรรมและวัดผลได้ รวมทั้ง บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องเพื่อใช้ประกอบการรายงานผลความสาเร็จของการดาเนินการขับเคลื่อนงานบริการ Agenda ร่วมกัน ทั้งนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรนางานบริการที่สนับสนุนงานบริการ Agenda ให้ประสบผลสาเร็จไปกาหนดเป็นตัวชี้วัดภายใต้
องค์ประกอบ Potential Base (งาน e-Service/Digitalize Process/Sharing Data/Open Data)
การพิจารณาความสาเร็จ ประเมินจากความสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายการพัฒนางานบริการให้สาเร็จ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยระบุเป้าหมายผลผลิตที่จะได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้ชัดเจน สามารถวัดผล
เป็นรูปธรรมได้ ซึ่งหน่วยงานสามารถกาหนดเกณฑ์ การประเมิ นได้ ตามความเหมาะสม โดยผ่านความเห็นชอบจา ก
คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
กาหนดตามความเหมาะสม กาหนดตามความเหมาะสม ผลการพัฒนางานบริการได้
ที่สามารถบรรลุเป้าหมาย ที่สามารถบรรลุเป้าหมาย ตามเป้าหมายการดาเนินงาน
การดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 การดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
2565 ร้อยละ 100
หมายเหตุ : เป้าหมายการดาเนินงาน ต้องเป็นผลผลิตที่วัดได้เป็นรูปธรรม ไม่ใช่การวัดความสาเร็จขั้นตอน/กิจกรรมการ
ดาเนินการตามแผน
เงื่อนไขการประเมิน :
1. หน่วยงานเจ้าภาพหลักจัดส่ง Roadmap (ที่ผ่านความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ/หน่วยงานที่เป็นหน่วยงาน
เจ้าภาพหลัก) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี พ.ศ. 2565 ในระบบ e-SAR ภายในเดือนธันวาคม 2564
2. การรายงานผลรอบ 12 เดือน กาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก รายงานผลการดาเนินการตามแผนปฏิบัติการรายปี
(ในภาพรวม) ระบุผลผลิต หรือความก้าวหน้า/ผลสาเร็จการดาเนินการของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ระบุไว้
2. การดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ
แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 44 ง วันที่
24 กุมภาพันธ์ 2564 เป็นแผนระดับที่ 2 ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 โดยส่งผลต่อการบรรลุ
เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องดาเนินการตามกิจกรรมปฏิรูป
ประเทศที่ จ ะส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ อ ประชาชนอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ (Big Rock) น าไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ต ามหลั ก
ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal Relationship : XYZ) เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ
ของแต่ละช่วงเวลา 5 ปี โดยแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) จะดาเนินการคู่ขนานไปกับแผนการปฏิรูปประเทศ
ฉบับเดิม ที่ประกาศใช้เมื่อเดือนเมษายน 2561 ที่เป็นกิจกรรมในลักษณะภารกิจปกติของหน่วยงาน โดยแผนการปฏิรูป
ประเทศทั้ง 13 ด้าน มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ สรุปได้ดังนี้
12

ที่มา : แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 44 ง วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564

3. การดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน (Joint KPIs)


เป็นการติดตามและประเมินผลในลักษณะเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) สาคัญ ที่สนับสนุนเป้าหมายตามแผน
แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการปฏิรูปประเทศ
นโยบายรัฐบาล ดัชนีชี้วัดสากล โดยมีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง หรือต่างส่วนราชการ รวมถึงการทางานระหว่าง
ส่วนราชการกับจังหวัดและการบูรณาการการทางานร่วมกับองค์การมหาชนด้วย โดยมีรูปแบบการกาหนดตัวชี้วัดร่วม
(Joint KPIs) ดังนี้
รูปแบบที่ 1 : ทุกส่วนราชการรับผิดชอบตัวผลลัพธ์เป้าหมายร่วมกัน โดยใช้เกณฑ์และค่าเป้าหมาย
เดียวกัน เช่น การวัดอันดับ อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
รูปแบบที่ 2 : หน่วยงานเจ้าภาพจะเป็นผู้รับผิดชอบผลลัพธ์ของ Joint KPIs ส่วนราชการวัดผลลัพธ์
ตามบทบาทภารกิจของแต่ละส่วนราชการ
รูปแบบที่ 3 : หน่วยงานเจ้าภาพและส่วนราชการหลักจะเป็นผู้รับผิดชอบผลลัพธ์ของ Joint KPIs
และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องระดับรองลงมาวัดผลลัพธ์ตามบทบาทภารกิจของแต่ละส่วนราชการ
4. การดาเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน งานประจา งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลักงานตามกฎหมาย กฎ
หรือภารกิจในพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด (Function KPI/ Area KPI)
ตัวอย่างตัวชี้วัด
> จานวนรายได้ภาษีที่จัดเก็บได้
> รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรของเกษตรกรเฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้น
> ความสาเร็จของการพัฒนามาตรการภาษีเพื่อสังคม พลังงาน สิ่งแวดล้อม
> ร้อยละของแรงงานที่ประสงค์ไปทางานต่างประเทศได้รับการบรรจุงาน
> ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกเตรียมเข้าทางานได้งานทาเพิ่มขึ้น
13

5. การดาเนินงานตามดัชนีชี้วัดสากลที่วัดผลตามภารกิจของหน่วยงาน (International KPIs)


เป็นการติดตามผลการดาเนินงานของหน่วยงานในภารกิจที่มีส่วนส่งเสริมและผลักดันการยกระดับและเพิ่ม
ประสิทธิภาพของประเทศไทยให้มีการดาเนินงานตามมาตรฐานสากลโดยนาดัชนีชี้วัดสากลที่เกี่ยวข้องกับภารกิ จของ
หน่วยงานต่าง ๆ มากาหนดเป็นตัวชี้วัดของหน่วยงาน
2.4.2 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) น้าหนักร้อยละ 30
ส่วนราชการระดับกรมมีตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 2 จานวน 2 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
1. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (น้าหนักร้อยละ 15) เลือกจากประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
- การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูล
ที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
- การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data)
- การพั ฒ นากระบวนการปฏิ บั ติ ง านโดยการน าเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มาเป็ น กลไกหลั ก ในการ
ดาเนินงาน (Digitalize Process)
2. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (น้าหนักร้อยละ 15)
(ส่วนราชการระดับกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบนี้)
รายละเอียดตัวชี้วัดที่สาคัญ
1. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล

ภาพแสดงแนวทางการเลือกตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


1.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
หมายถึง การให้บริการข้อมูลและการทาธุรกรรมของภาครัฐผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อช่วยอานวยความสะดวก
ให้แก่ผู้ขอรับบริการ เป็นงานบริการรายส่วนราชการตามภารกิจหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานที่นามาพัฒนาเป็นระบบบริการ
e-Service โดยมีแนวทางในการคัดเลือกงานบริการเพื่อนามากาหนดเป็นตัวชี้วัด ดังนี้
1) เป็นงานบริการที่สนับสนุนงานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2564
2) เป็นงานบริการที่เป็น e-Service แล้ว แต่ยังพัฒนาได้ไม่เต็มรูปแบบ (fully digital)
3) เป็นงานบริ ก ารที่ สามารถให้บริ ก ารผ่าน Biz/Citizen Portal ได้ หรื อ ให้บริ ก ารผ่า น Portal อยู่แ ล้ว
แต่ยังไม่เต็มรูปแบบ (fully digital)
4) เป็นงานบริการที่ยังไม่มีระบบออนไลน์ และเป็นงานบริการหลักของหน่วยงานและมีจานวนผู้ใช้บริการ
มากเป็นลาดับต้น ๆ ของงานบริการทั้งหมดของหน่วยงาน
14

5) เป็นงานบริการที่จบในหน่วยงานตนเอง (Stand alone) ไม่มีข้อจากัดทางกฎหมาย (กรณีที่ต้องปรับปรุง


แก้ ไ ขกฎหมาย ต้ อ งสามารถด าเนิ น การแล้ วเสร็ จ ภายในปี ง บประมาณเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารได้ ) การให้ บ ริ ก ารในรู ปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) เป็นการดาเนินการเพื่อยกระดับงานบริการของหน่วยงานภาครัฐไปสู่การให้บริการแบบออนไลน์
เพื่อลดภาระการเดินทางมาติดต่อราชการของประชาชน โดยมีเป้าหมายในการยกระดับงานบริการ รวม 3 ระดับ ได้แก่
ระดับ 1 (Level 1 : L1) งานบริการที่ยื่นคาขอและเอกสารที่เกี่ยวข้องผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ระดับ 2 (Level 2 : L2)
งานบริ ก ารที่ ยื่ น ค าขอและช าระค่ า ธรรมเนี ย มผ่ า นทางระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ ช่ อ งทางอื่ น ๆ และมี ก ารออก
ใบเสร็จรับเงินทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ระดับ 3 (Level 3 : L3) งานบริการที่ยื่นคาขอ ชาระค่าธรรมเนียม และออกใบ
อนุมัต/ิ ใบอนุญาต/เอกสารทางราชการได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ การอนุมัติผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
1.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่
สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
เป็ น การขั บ เคลื่ อ นเพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด Digital Government ในการเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ
เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลและใช้ประโยชน์จากข้อมูลร่วมกัน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน ก.พ.ร.
ได้ร่วมกับสานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) และสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.) จัดทาแนวทาง
ในการทาข้อมูลของหน่วยงานให้เป็นดิจิทัล และสามารถที่จะนาไปเปิดเผย ตลอดจนการนาไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกัน
ระหว่างหน่วยงานภาครัฐได้ โดยกาหนดเป็นตัวชี้วัดการพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การ
เปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) เนื่องจากบัญชีข้อมูลภาครัฐเป็นสิ่งจาเป็นที่ช่วยให้ผู้ใช้ประโยชน์ข้อมูลสามารถ
สืบค้น ร้องขอ เข้าถึง ทราบแหล่งที่มา ชั้นความลับ ประเภท รูปแบบและสามารถใช้ประโยชน์ของข้อมูลภาครัฐทั้งหมดได้
บัญชีข้อมูลจึงเป็นเสมือนสมุดหน้าเหลือง (Yellow Pages) ของข้อมูลภาครัฐที่สาคัญทั้งหมด ที่เป็นจุดเริ่มต้นสาคัญในการ
พัฒนาการใช้ประโยชน์ข้อมูลภาครัฐให้มีประสิทธิผล สามารถบูรณาการ ให้บริการ และใช้ประโยชน์ข้อมูลข้ามหน่วยงาน
ได้อย่างเป็นระบบ ตลอดจนพัฒนาไปสู่บัญชีข้อมูลของประเทศ (National Data Catalog) ซึ่งจะเชื่อมต่อและใช้ประโยชน์
ร่วมกับบัญชีข้อมูลภาคเอกชนในระยะต่อไปจากการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบว่า ชุดข้อมูล (data set)
ที่ได้จากแต่ละภารกิจหลักของหน่วยงาน กระจัดกระจาย ไม่สามารถนาชุดข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์
กาหนดในเชิงนโยบายได้ ดังนั้นในปี 2565 จึงปรับแนวทางการประเมินเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการตอบ
โจทย์การพัฒนาประเทศได้
หลักการ : พัฒนาและปรับปรุงบัญชีข้อมูลของหน่วยงานให้มีคุณภาพและนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูล เพื่อการใช้
ประโยชน์ของหน่วยงานภาครัฐ
แนวทางการประเมิน
1) ส่ ว นราชการต้ อ งเลื อ กประเด็ น การด าเนิ น งานภายใต้ Focus Area ที่ ก าหนด [จ านวน 10 ด้ า น ได้ แ ก่
(1) ด้า นเศรษฐกิ จ อุ ตสาหกรรม SME (2) ด้ า นการเกษตร (3) ด้ า นท่ อ งเที่ ยว (4) ด้ า นการมี ร ายได้ แ ละการมีงานทา
(5) ด้ า นความเหลื่ อ มล้ าทางสิ ท ธิ ส วั ส ดิ ก ารประชาชน (6) ด้ า นสุ ข ภาพและการสาธารณสุ ข (7) ด้ า นการศึ ก ษา
(8) ด้านสิ่งแวดล้อม (9) ด้านการบริหารจัดการภาครัฐ (10) ด้านความมั่นคง] อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่สอดคล้องกับการ
ให้บริการ e-Service ของหน่วยงาน หรือภารกิจด้านนโยบายที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการ
จัดทาบัญชีชุดข้อมูล (Data Catalog)
2) ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางานตามประเด็นการดาเนินงานภายใต้ Focus
Areas โดยต้องเป็นกระบวนการทางานภายใต้ภารกิจหลักที่มีผลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง
3) ให้มีคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตาม
ในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป
5) กาหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อ
เผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัลต่อสาธารณะ
ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กาหนด
15

6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนาไปใช้ประโยชน์


ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนาข้อมูลมาใช้วิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้
7) การนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้ อมูล
มาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล/การมี dashboard จากชุดข้อมูล เป็นต้น
คานิยาม
บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัด
ประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐ
คาอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory
Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูลจานวน
14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด
ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ
ข้ อ มู ล สาธารณะ หมายถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเปิ ด เผยได้ ส ามารถน าไปใช้ ไ ด้ อ ย่ า งอิ ส ระไม่ ว่ า จะเป็ น ข้ อ มู ล
ข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภั ณ ฑ์
สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์
ที่มา : ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบ
ข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดการพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ
(Open Data)
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
มีรายชื่อชุดข้อมูล (Data Set) ที่สัมพันธ์กับ  มีคาอธิบายข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้อง  นาขึ้นชุดข้อมูล metadata และระบุ
กระบวนการทางานตามประเด็นการดาเนินงาน ตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) แหล่งข้อมูล สาหรับชุดข้อมูลที่ถูกจัดใน
ภายใต้ Focus Area ของทุกชุดข้อมูล (ค่าคะแนน ร้อยละ 15) หมวดหมู่สาธารณะ ร้อยละ 100 ของชุด
มีระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency ข้อมูลเปิดทั้งหมดบนระบบบัญชีข้อมูลของ
Data Catalog) พร้อมแจ้ง URL ระบบบัญชี หน่วยงาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
ข้อมูลของหน่วยงาน (10 คะแนน) ตามมาตรฐาน
คุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร. กาหนด
(20 คะแนน)
นาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็น

รูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็นภายใต้ของ
Focus area อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
เงื่อนไข : 1. หน่วยงานที่มี e-Service ให้เลือก Dataset ที่เกี่ยวข้องกับงานบริการที่หน่วยงานรับผิดชอบ
2. หน่วยงานด้านนโยบาย เลือก Dataset ที่สนันสนุนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปประเทศ Agenda
สาคัญ และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นได้
3. ในแต่ละชุดข้อมูล (Data Set) ต้องมีการจัดทาคาอธิบายข้อมูล (Metadata) ครบถ้วนจานวน 14 รายการ หากส่วน
ราชการมีการจัดทารายละเอียดไม่ครบ 14 รายการในแต่ละชุดข้อมูลจะไม่นับผลการดาเนินงาน
4. หน่วยงานเดิมที่มีการดาเนินการตัวชี้วัดนี้ ในปี 2564 ให้คัดเลือกชุดข้อมู ลใหม่มาดาเนินการในปี 2565 (ชุดข้อมูล
ไม่ซ้าปี 2564) โดยสามารถนาชุดข้อมูลของปี 2564 มาต่อยอดทาให้ครบได้ใน Focus Area ที่คัดเลือก
16

เป้าหมายขั้นต้น : หน่วยงานมีการจัดทารายชื่อชุดข้อมูล (Data Set) ที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางานตามประเด็น


การดาเนินงานภายใต้ Focus Area
หน่วยงานเลือก Focus Area ที่เกี่ยวข้อง และกาหนดประเด็นการดาเนินงานภายใต้ Focus Area ดังกล่าว
อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่สอดคล้องกับการให้บริการ e-Service ของหน่วยงาน หรือภารกิจด้านนโยบายที่มีชุดข้อมูล
ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีชุดข้อมูล (Data Catalog) และจัดทารายชื่อชุดข้อมูลที่สัมพันธ์
กับกระบวนการทางานตามประเด็นการดาเนินงานที่กาหนด
เป้าหมายมาตรฐาน : จัดท าบั ญ ชี ข้ อ มู ล (Data Catalog) โดยมี ค าอธิบายข้อ มูล (Metadata) ที่ สอดคล้อ งตาม
มาตรฐานที่ สพร. กาหนด และมีระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) พร้อมแจ้ง URL ระบบ
บัญชีข้อมูลของหน่วยงาน
เกณฑ์การประเมินเป้าหมายมาตรฐานพิจารณาจาก
1) ทุกชุดข้อมูล (Data Set) ต้องมีการจัดทาคาอธิบายข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด
(14 รายการ) (คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata)
2) มีระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) พร้อมแจ้ง URLระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน
คาอธิบาย
บัญชีข้อมูล (Data Catalog) หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูลที่จาแนกแยกแยะโดยการ
จัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐผ่านคาอธิบายข้อมูล (Metadata)
ค าอธิ บ ายข้ อ มู ล หรื อ เมทาดาตา (Metadata) หมายถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายข้ อ มู ล โดยระบุ ร ายละเอี ย ด
แหล่งข้อมูล และคาอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้ข้อมูลทราบว่าข้อมูลมาจากแหล่งใด มีรูปแบบ
อย่ า งไร ช่ ว ยอ านวยความสะดวกในการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล และใช้ ป ระโยชน์ ใ นการจั ด ท าบั ญ ชี ข้ อ มู ล (Data Catalog)
ของหน่วยงานและของประเทศ และสนับสนุนในเกิดการเปิดเผย เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ คาอธิบายข้อมูล
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. ค าอธิ บ ายข้ อ มู ล ส่ ว นหลั ก (Mandatory Metadata) เป็ น ส่ ว นที่ บั ง คั บ ต้ อ งท าการอธิ บ ายข้ อ มู ล
ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูลจานวน 14 รายการ สาหรับ 1 ชุดข้อมูลที่ต้องจัดทาได้แก่ ประเภทข้อมูล ชื่อชุดข้อมูล
องค์กร ชื่อผู้ติดต่อ อีเมล์ผู้ติดต่อ คาสาคัญรายละเอียด วัตถุประสงค์ ความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์
หรือเชิงพื้นที่แหล่งที่มา รูปแบบในการเก็บข้อมูล หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ สัญญาอนุญาตให้ใช้ข้อมูล
2. คาอธิบายข้อมูลส่วนที่เป็นทางเลือก (Optional Metadata)
3. พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ในระดับตัวแปรในชุดข้อมูล (Data attribute-level)
ในการจัดทาบัญชีข้อมูล (Data Catalog) นี้ กาหนดให้หน่วยงานจัดทาคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory
Metadata) ซึ่งเป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล โดยอาจทาคาอธิบายข้อมูลตามข้อ 2 และข้อ 3 ด้วยหรือไม่ก็ได้
โดยนารายการชุดข้อมูลที่ใช้ในกระบวนการทางานตามประเด็นการดาเนินงานที่กาหนดมาจัดทาบัญชีข้อมูลให้สอดคล้อง
ตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนดลงใน Template มาตรฐานการจัดทาบัญชีข้อมูล)
การพิจารณาการติดตั้งระบบบัญชีข้อมูล
1. ติดตั้งระบบบริการในองค์กร
มีความพร้อมคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
มีบุคลากรมีความรู้ในการติดตั้ง Ubuntu และ CKAN
2. ใช้งานระบบบัญชีร่วมกับกระทรวง
หน่วยงานต้นสังกัดได้จัดทาระบบบัญชีข้อมูล หน่วยงานสามารถร้องขอเพื่อขอใช้งานร่วมกับกระทรวง
ต้นสังกัดได้
3. ใช้ร่วมกับคลาว์กลางภาครัฐ
ไม่มีความพร้อมคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
กระทรวงที่สังกัดไม่ได้จัดทาระบบบัญชีข้อมูลกระทรวง
17

เป้าหมายขั้น สู ง : จัดท าข้ อ มู ลเปิ ดที่ถูกจัดในหมวดหมู่สาธารณะ ร้ อ ยละ 100 ของชุ ดข้ อมู ลเปิ ดในบัญชีข้อมูล
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ตามมาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร. กาหนด และนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เป็นรูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็นภายใต้ของ Focus Area อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล
ข้อมูลสาธารณะ (ข้อมูลเปิด) ได้จากการกาหนดหมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐที่กาหนด
ในคาอธิบายข้อมูล ซึ่งสามารถแบ่งเป็น 4 หมวดหมู่ได้แก่ ข้อมูลสาธารณะ ข้อมูลลับราชการ ข้อมูลความมั่นคง และข้อมูล
ส่วนบุคคล
รูปแบบการเปิดเผยข้อมูลแบ่งออกตามประเภทข้อมูล คือ ข้อมูลที่ถูกจัดโครงสร้าง (Structured data)
และ ข้อมูลที่ไม่มีการจัดโครงสร้าง (Un-structured data) โดยแสดงระดับขั้นของรูปแบบการเปิดข้อมูล
การประเมินมาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร. กาหนด
ประเภท ตัวชี้วดั ขั้นต้น ขั้นกลาง ขั้นสูง
Structure ช่องทางการเข้าถึง มีไฟล์ข้อมูลให้เข้าถึง ไฟล์ข้อมูลมีลิงค์ที่ชัดเจน เข้าถึงในรูปแบบ API ได้
(ข้อมูลลักษณะตาราง) ข้อมูล แต่ไม่ได้กาหนดเป็น และกาหนดเป็น โดยผู้ใช้สามารถระบุ
แนวปฏิบัติงานว่าไฟล์ แนวปฏิบัติงานทางการว่า เงื่อนไขเข้าไปในลิงค์
นั้นจะเป็นต้นทางของ ไฟล์นั้นจะเป็นต้นทางของ ทาให้ผู้ใช้สามารถเลือกดึง
ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ข้อมูลทั้งหมด หรือ
(ยังไม่เป็นไปตามหลัก (ตามหลัก single source บางส่วนได้ตามเงื่อนไข
single source of truth) of truth) ที่ต้องการ เช่น เฉพาะพื้นที่
เฉพาะช่วงเวลา
ระดับความละเอียด เป็นข้อมูลภาพรวม ข้อมูลมีรายละเอียด เช่น ผ่านขั้นกลาง แต่สามารถ
ข้อมูลที่เปิด เช่น ข้อมูลสถิติรายปี ระดับรายวัน รายเดือน เชื่อมต่อเข้าถึงข้อมูลเปิด
รายไตรมาส ข้อมูลสรุป รายอาเภอ รายตาบล ที่ทันสมัย ได้ทันทีที่ผู้ทา
ระดับประเทศ หรือ รายหมู่บ้าน รายสาขา ข้อมูลมีการปรับปรุงหรือ
มีจานวนปีข้อมูลน้อย ทาให้ใช้วิเคราะห์ต่อยอด เพิ่มเติมข้อมูลดิบที่ต้นทาง
เพียง 2-3 ปี ได้ยืดหยุ่น
การจัดรูปแบบและ รูปแบบตารางสาหรับ รูปแบบตารางฐานข้อมูล (machine readable)
โครงสร้างข้อมูล เอกสารประกอบรายงาน ที่พร้อมนาไปทา data analytics หรือ visualization
ไฟล์ข้อมูลอยู่ในรูปแบบที่เปิดใช้งานได้ด้วยซอฟต์แวร์ทั่วไป
เช่น CSV, XLSX
Un-Structure ข้อมูล ประกาศและ เปิดเผยในรูปแบบ PDF (หรือ Word) ที่สามารถสืบค้นเนื้อความในเอกสารได้ (ไม่ใช่
ข้อมูล ประกาศและ ระเบียบ การสแกนเอกสารเป็นรูปภาพแล้วบันทึกเป็น PDF)
ระเบียบ
ช่องทางการเข้าถึง มีไฟล์ข้อมูลให้เข้าถึง ไฟล์ข้อมูลมีลิงค์ที่ชัดเจน เข้าถึงในรูปแบบ API ได้
ข้อมูล แต่ไม่ได้กาหนดเป็น และกาหนดเป็น โดยผู้ใช้สามารถระบุ
แนวปฏิบัติงานว่าไฟล์ แนวปฏิบัติงานทางการว่า เงื่อนไขเข้าไปในลิงค์
นั้นจะเป็นต้นทางของ ไฟล์นั้นจะเป็นต้นทางของ ทาให้ผู้ใช้สามารถเลือกดึง
ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ข้อมูลทั้งหมด หรือ
(ยังไม่เป็นไปตามหลัก (ตามหลัก single source บางส่วนได้ตามเงื่อนไข
single source of truth) of truth) ที่ต้องการ เช่น เฉพาะพื้นที่
เฉพาะช่วงเวลา
Un-Structure ช่องทางการเข้าถึงข้อมูล มีเว็บให้ผู้ใช้สามารถ เข้าถึงภาพ (ณ เวลาล่าสุด) เข้าถึงภาพย้อนหลังได้
กล้อง CCTV จราจร เข้ามาเปิดดูข้อมูลภาพ ในรูปแบบ API ได้ โดยผู้ใช้ อย่างน้อย 90 วัน ผ่าน API
จราจรตามเวลาจริงได้ สามารถระบุเงื่อนไขเข้าไป และผู้ดึงข้อมูลสามารถเลือกดึง
และสามารถคลิกดูภาพ ในลิงค์ทาให้ผู้ใช้สามารถ ข้อมูลทั้งหมด หรือบางส่วนได้
ย้อนหลังได้อย่างน้อย เลือกดูว่ามีจานวนกล้อง ตามเงื่อนไขที่ต้องการ เช่น
7 วัน เท่าไหร่ติดตั้ง ณ บริเวณ เฉพาะพื้นที่ เฉพาะช่วงเวลา
ใดบ้างและสามารถดึง เฉพาะกล้อง
ข้อมูลเฉพาะบางกล้องได้
18

นอกจากการจัด ทาข้ อ มู ล เปิด ที่ ถู ก จั ดในหมวดหมู่ ส าธารณะ ที่ สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ตามมาตรฐาน
คุ ณลัก ษณะแบบเปิดที่ สพร. ก าหนดแล้ว หน่วยงานจะต้ อ งมี การนาข้ อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้ อ ย่างเป็นรูปธรรม
ตอบโจทย์ตามประเด็นการดาเนินงานภายใต้ของ Focus Area ที่กาหนด อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล ประเมินจากหลักฐาน
ที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน โดยมีคาอธิบายการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น
รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล/การมี dashboard จากชุดข้อมูล เป็นต้น จึงจะผ่านการประเมินตามเป้าหมายขั้นสูง
ตัวอย่างการอธิบาย
1. มีการนาผลการวิเคราะห์สถิติ เวลา ความรุนแรง และตาแหน่งการเกิดไฟป่า มาจัดอัตรากาลังในการ
ลาดตระเวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ โดยการปรับปรุงคือ...........(ระบุสิ่งที่ทาการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง)................ ส่งผลให้ ...........
(ระบุการวัดผลเป็นข้อมูลและตัวเลข)........................
2. มีการนาสถิติระยะเวลาการบริการประชาชนในแต่ละขั้นตอน มาทาการปรับปรุงระเบียบ ขั้นตอน หรือ
วิธีการทางานให้ เพื่อให้ลดเวลาการบริการ และประชาชนได้รับความสะดวกมากขึ้น โดยการปรับปรุงคือ...........(ระบุสิ่งที่
ทาการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง)............... ส่งผลให้ .................(ระบุการวัดผลเป็นข้อมูลและตัวเลข)........................
3. มีการนาสถิติการเข้าขอรับความช่วยเหลือ การรับสวัสดิการ มาชี้เป้าตัวบุคคลหรือกรณีศึกษาที่นาไปสู่
การช่วยเหลือตัวบุคคล (หรือกลุ่มประเภทบุคคล) ได้ตรงจุด (หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ) โดยการปรับปรุงคือ ............
(ระบุสิ่งที่ทาการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง)................ ส่งผลให้ .................(ระบุการวัดผลเป็นข้อมูลและตัวเลข)........................
4. มีการรวบรวมคาร้อง ความต้องการ หรือ ข้อเสนอแนะจากประชาชนมาสรุปเป็นสถิติ พร้อมวิเคราะห์
ออกมาเป็นแนวทางการปรับปรุง หรือ พัฒนาบริการประชาชน หรือ พัฒนาบริการให้แก่หน่วยงานรัฐด้วยกันให้ดีขึ้น
โดยการปรับปรุงคือ...........(ระบุสิ่งที่ทาการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง)............... ส่งผลให้ .............(ระบุการวัดผลเป็นข้อมูล
และตัวเลข)........................
1.3 การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data)
คาอธิบาย
การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data) เป็นกระบวนงานที่มีแลกเปลี่ยนข้อมูลรูปแบบดิจิทัลระหว่าง
หน่วยงานกับหน่วยงานภายนอกลักษณะทวิภาคี (Bilateral) ที่มีการกาหนดเงื่อนไขในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
เกณฑ์การประเมิน
ส่วนราชการกาหนดเกณฑ์การวัด customize ตามบริบทของหน่วยงาน โดยต้องกาหนดเป้าหมายที่แสดงให้เห็น
การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูลกับหน่วยงาน 1 หน่วยงานขึ้นไป
1.4 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน (Digitalize
Process)
คาอธิบาย
เป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนการ หรือวิธีการทางาน โดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วย เพื่อให้กระบวนการทางาน
ที่มีอยู่ดีขึ้นจากเดิม เช่น ทาระบบอัตโนมัติ เพื่อให้การบริการผู้รับบริการที่รวดเร็วขึ้น การใช้โปรแกรมจัดเก็บเอกสาร
เพื่อลดต้นทุนในการเก็บรักษา และค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น การแปลงเอกสารเป็นดิจิทัลเพื่อสนับสนุนให้งานบริการ
บนระบบอิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพ และสามารถเชื่อมโยงไปยังหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไปได้
เกณฑ์การประเมิน
ส่วนราชการกาหนดเกณฑ์การวัด customize ตามบริบทของหน่วยงาน โดยต้องกาหนดเป้าหมายที่แสดงให้เห็น
การนาเทคโนโลยีมาใช้ปรับเปลี่ยนกระบวนการ/วิธีการทางาน
19

2. การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)


เป็นการให้ความสาคัญกับการพัฒนาองค์การของส่วนราชการสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 โดยพิจารณาจาก
ผลการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการการสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับหน่วยงานเพื่อผลักดันการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามประเด็นการประเมินในองค์ประกอบที่ 1
ทั้งนี้ ขั้นตอนการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 จะประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
คือ ขั้นตอนที่ 1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการ
พัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (Application Report) และขั้นตอนที่ 3 การตรวจประเมินในพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อยืนยัน
ผลการตรวจ Application Report
ส าหรั บ เกณฑ์ ก ารประเมิ น ตั ว ชี้ วั ด การประเมิ น สถานะของหน่ว ยงานภาครั ฐ ในการเป็ น ระบบ ราชการ 4.0
(PMQA 4.0) นั้น จะพิจารณาจากความสามารถของส่วนราชการในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมิน
สถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้าหมายให้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขึ้นจากผลคะแนนขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีการจัดกลุ่มส่วนราชการตาม
คะแนนผลการประเมินปี 2564 และกาหนดเกณฑ์การประเมิน (เป้าหมายการเพิ่มคะแนนผลการประเมิน ) ให้สอดคล้อง
กับแต่ละกลุ่ม ดังนี้
20

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


ได้กาหนดผู้ประเมิน ผู้รับการประเมิน หลักเกณฑ์การประเมินรอบการประเมิน และขั้นตอนการประเมิน โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
1. ผู้ประเมิน
ผู้ประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ได้แก่
1. นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
3. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ประเมินเบื้องต้น)
2. ผู้รับการประเมิน
ส่วนราชการในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ระดับกรม ที่รับการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 154 ส่วนราชการ
ทั้งนี้ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม สานักงานตารวจแห่งชาติ และกองอานวยการรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ให้นาแนวทางการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ไปประยุกต์ใช้ และส่งผลการประเมินให้สานักงาน ก.พ.ร. เพื่อรายงานต่อนายกรัฐมนตรี พร้อมกับส่วนราชการอื่น ๆ
โดยให้สานักงาน ก.พ.ร. ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
3. หลักเกณฑ์การประเมิน
สานักงาน ก.พ.ร. ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินส่วนราชการ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564
ที่ได้ให้ความเห็นชอบกับกรอบและแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินส่วนราชการฯ ประกอบด้วยการประเมิน
ใน 3 ระดับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
3.1 เกณฑ์การประเมินระดับตัวชี้วัด
การประเมินในแต่ละตัวชี้วัด พิจารณาจากผลการดาเนินงานเทียบกับค่าเป้าหมาย 3 ระดับที่กาหนดไว้ โดยมี
เกณฑ์การประเมิน ดังนี้
เป้าหมายขั้นสูง 100 คะแนน
เป้าหมายมาตรฐาน 75 คะแนน
เป้าหมายขั้นต้น 50 คะแนน
หมายเหตุ 1. หากผลการดาเนินงานต่ากว่าเป้าหมายขั้นต้นที่ตั้งไว้ จะได้คะแนนเป็นศูนย์
2. คิดคะแนนจากการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ระหว่างผลการดาเนินงานจริงกับค่าเป้าหมาย 3 ระดับ
3. นาคะแนนที่ได้ถ่วงด้วยน้าหนักตัวชี้วัด ออกมาเป็นคะแนนของตัวชี้วัดนั้น ๆ
3.2 เกณฑ์การประเมินระดับส่วนราชการ
ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิ บัติราชการของส่วนราชการ
คานวณจากผลรวมจากค่าคะแนนถ่วงน้าหนักของทุกตัวชี้วัด เต็ม 100 คะแนน โดยแบ่งเกณฑ์การประเมินเป็น 3 ระดับ
ดังนี้
ระดับคุณภาพ มีคะแนนผลการดาเนินงานอยู่ระหว่าง 90.00 – 100.00
ระดับมาตรฐาน
- มาตรฐานขั้นสูง มีคะแนนผลการดาเนินงานอยู่ระหว่าง 75.00 – 89.99
- มาตรฐานขั้นต้น มีคะแนนผลการดาเนินงานอยู่ระหว่าง 60.00 – 74.99
ระดับต้องปรับปรุง มีคะแนนผลการดาเนินงานต่ากว่า 60.00
21

4. รอบการประเมิน
รอบการประเมิน หมายถึง ระยะเวลาที่จะต้องทาการประเมินปีละ 1 ครั้ง คือ รอบ 12 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม
2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 โดยรายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ
(Electronic Self-Assessment Report : e-SAR) และหากส่วนราชการมีผลการดาเนินงานรอบ 3 เดือน 6 เดือน และ 9 เดือน
สามารถรายงานผ่านระบบดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าการดาเนินงาน ทั้งนี้ จะมีการนาผลการ
ดาเนินงาน/ผลการประเมินของส่วนราชการไปเชื่อมโยงกับการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลในระดับหัวหน้าส่วน
ราชการด้วย
5. ขั้นตอนการประเมิน
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
มีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 สานักงาน ก.พ.ร. กาหนดกรอบและแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง


ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พร้อมทั้งยกร่างรายการ
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket)
ขั้นตอนที่ 2 สานักงาน ก.พ.ร. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินฯ แก่ส่วนราชการเพื่อสร้างความรู้ความ
เข้าใจในแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ พร้อมทั้งส่งร่างรายการตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI
Basket) ให้ส่วนราชการพิจารณา
ขั้นตอนที่ 3 ส่วนราชการจัดประชุมคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
เพื่อพิจารณาตัวชี้วัดกระทรวงและตัวชี้วัดของส่วนราชการในกระทรวง และจัดส่งข้อเสนอตัวชี้วัด
ระดับกระทรวงประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการฯ มายัง
สานักงาน ก.พ.ร. โดยระบุรายละเอียดตัวชี้วัด ได้แก่ ชื่อตัวชี้วัด นิยามคาอธิบายตัวชี้วัด สูตรการ
คานวณ (ถ้ามี) ค่าเป้าหมาย น้าหนักตัวชี้วัด และเป้าหมายการดาเนินงานรอบ 6 เดือน (ถ้ามี)
พร้ อ มทั้ ง ระบุค วามเชื่ อ มโยงของตั วชี้ วัดกั บองค์ ประกอบการประเมิ น และแผนต่ า ง ๆ หรือ
นโยบายรัฐบาลที่เชื่อมโยงจากยุทธศาสตร์ชาติ
ขั้นตอนที่ 4 สานักงาน ก.พ.ร. ดาเนินการพิจารณาข้อเสนอตัวชี้วัดกระทรวง ผ่านกลไกคณะทางานเพื่อพิจารณา
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และนาผลการพิจารณาเสนอ
อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ขั้นตอนที่ 5 สานักงาน ก.พ.ร. สรุปตัวชี้วัดกระทรวงและความเห็น อ.ก.พ.ร.ฯ เสนอรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรี
ที่กากับดูแลส่วนราชการ
ขั้นตอนที่ 6 ส่วนราชการ (กระทรวงและกรม) ยืนยันข้อมูลตัวชี้วัดส่งให้สานักงาน ก.พ.ร.

ขั้นตอนที่ 7 ส่วนราชการ (กระทรวงและกรม) รายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 3/6/9


เดือน (ถ้ามี) และรายงานผลการดาเนินงานรอบ 12 เดือน ผ่านระบบ e-SAR ภายในสัปดาห์ที่ 3
ของเดือนตุลาคม 2565
ขั้นตอนที่ 8 สานักงาน ก.พ.ร. ดาเนินการประเมินผลการดาเนินงานของส่วนราชการและรายงานผลการ
ประเมินฯ เบื้องต้น พร้อมแบบประเมินส่วนราชการเสนอต่อรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจา
สานักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เพื่อประเมิน
ส่วนราชการ
ขั้นตอนที่ 9 สานักงาน ก.พ.ร. รวบรวมผลการประเมินส่วนราชการเสนอนายกรัฐมนตรี
22

บทที่ 3
การประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
23

3.1 เกี่ยวกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
สัญลักษณ์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์
“เป็นผู้นาและผลักดันการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย ไปสู่ประเทศไทย 4.0”
พันธกิจ
1. เสนอนโยบายแผนระดั บชาติ และกฎหมายที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บการพั ฒ นาด้ า นดิ จิทัลเพื่ อ เศรษฐกิ จ และสัง คม
ด้านสถิติ ด้านอุตุนิยมวิทยา และสร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมั่นคงปลอดภัย
2. พั ฒ นา บริ ห ารจั ด การ และก ากั บ ดู แ ล โครงสร้ า งพื้ น ฐานการสื่ อ สาร สารสนเทศ และโทรคมนาคม
เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
3. ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล ต่อยอดการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการพัฒนากาลังคน
ด้านดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชน
4. ส่งเสริมการบูรณาการและยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินงานภาครัฐผ่านการเชื่อมโยงสารสนเทศจากหลาย
หน่วยงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
5. บริหารจัดการระบบสถิติของประเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนา การอุตุนิยมวิทยา
ให้มีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์ และตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ
6. กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลนโยบายแผนระดับชาติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ด้านสถิติ ด้านอุตุนิยมวิทยา และสร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมั่นคงปลอดภัย
อานาจหน้าที่
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 (เพื่อจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม) หมวด 8/1 มาตรา 21/1 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนส่งเสริม
พัฒนา และดาเนินกิจการเกี่ยวกับดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การอุตุนิยมวิทยา การสถิติและราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย
กาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม
มาตรา 21/2 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีส่วนราชการ ดังนี้
1. สานักงานรัฐมนตรี
2. สานักงานปลัดกระทรวง
3. กรมอุตุนิยมวิทยา
4. สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. สานักงานสถิติแห่งชาติ
นอกจากนี้ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมยังมีหน่วยงาน องค์การมหาชนและรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดอีก 4
แห่งประกอบด้วย
1. บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน)
2. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด
3. สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
4. สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
24

ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของประเทศ
เป้าประสงค์ที่ 1 ประชาชนเข้าถึงข้อมูลและบริการที่เท่าเทียมโดยผ่านโครงข่ายที่ทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
ด้วยราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ โดยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล
เป้าประสงค์ที่ 2 สนับสนุนการเพิ่มขึ้นของมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการประกอบธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
เป้าประสงค์ที่ 3 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการให้บริการแก่ประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชนในรูปแบบดิจิทัล รวมถึงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการภาครัฐให้ทันสมัย
เป้าประสงค์ที่ 4 ภาครัฐมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางาน/บริการภาครัฐสู่ระบบดิจิทัล ให้เป็นองค์กรที่มี
สมรรถนะสูง สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องและทันต่อสถานการณ์ ทั้งภายในประเทศและ
ระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนากาลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคดิจิทัล
เป้าประสงค์ที่ 5 กาลังคนมีความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 สร้างและส่งเสริมความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมั่นคงปลอดภัย
เป้าประสงค์ที่ 6 ทุกภาคส่วนมีความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
3.2 ตัวชี้วัดของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
3.2.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 เห็นชอบกับ (1) แนวทางการประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุ งประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2) กรอบและแนวทาง
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
โดยมุ่งเน้นให้กระทรวง มีบทบาทหลักในการพิจารณากาหนดตัวชี้วัดและกากับ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของ
กระทรวง และส่ ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวง ซึ่งพิจารณาจากประเด็ นส าคั ญในการบูร ณาการและขั บเคลื่ อ น
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนระดับชาติอื่น ๆ มากาหนดเป็น
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง และถ่ายทอดลงสู่ส่ว นราชการระดับกรมภายในกระทรวง เพื่อขับเคลื่อนภารกิจและเป้าหมาย
สาคัญของส่วนราชการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับชาติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงได้ จัดทาคาสั่งที่ 38/2564 ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2564 เรื่อง
แต่งตั้งคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ (นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
25
26
27

3.2.2 ผลการพิจ ารณาตัว ชี้ วั ด ตามมติข อง คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิ บัติ ราชการของ


ส่วนราชการในกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสั งคม ได้มีการประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2564 โดยมีมติเห็ นชอบกับ
ร่างตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการระดับกระทรวงและ
ตัวชี้วัดระดับกรมของส่วนราชการสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. สรุปการเสนอตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลของประเทศไทย 15 - สานักงานปลัดกระทรวง
ตามการจัดอันดับของ IMD - สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
(World Digital Competitiveness Ranking) เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2 อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน Technological 15 - สานักงานปลัดกระทรวง
Infrastructure ของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD - สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3 ความสาเร็จของการพัฒนาระบบคลาวด์กลางภาครัฐ 15 - สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
(Government Data Center and Cloud service : GDCC) เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(ให้บริการได้ตาม SLA uptime ร้อยละ 99.99 ต่อเดือน
และมี capacity รองรับจานวน virtual machine (VM)
สาหรับให้บริการ)
4 ความสาเร็จของการจัดทาบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government 15 - สานักงานสถิติแห่งชาติ
Data Catalog)
5 ร้อยละความสาเร็จของการดาเนินงานระงับการแพร่หลาย 15 - สานักงานปลัดกระทรวง
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย
6 ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศ 15 - กรมอุตุนิยมวิทยา
6.1 ร้อยละความถูกต้องของข่าวพยากรณ์อากาศการบิน (5)
6.2 ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศ (5)
ระยะปานกลาง (7 วัน)
6.3 ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศ (5)
ระยะนาน (3 เดือน)
7 ร้อยละของประชากรที่มีการใช้อินเทอร์เน็ต 10 - สานักงานปลัดกระทรวง
- สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

น้าหนักรวม (ร้อยละ) 100


28

สรุปการเสนอตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ ดศ. (ตัวชี้วัด Monitor)
ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1 อันดับความพร้อมด้านปัญญาประดิษฐ์ของรัฐบาลไทย - - สานักงานปลัดกระทรวง
(Government AI Readiness Index) - สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- สานักงานสถิติแห่งชาติ
2 ร้อยละของค่าบริการอินเทอร์เน็ตประจาที่ความเร็วสูงต่อรายได้ - - สานักงานปลัดกระทรวง
มวลรวมประชาชาติต่อหัว - สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
(Fixed broadband prices (% GNI pc)) เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

หมายเหตุ : ตัวชี้วัด Monitor คือ ตัวชี้วัดที่ไมสามารถวัดผลไดทันภายในรอบปการประเมิน จึงเปนลักษณะของการติดตามผลการ


ดาเนินงาน โดยไมกาหนดน้าหนักและไมประเมินผล แต่ให้สวนราชการรายงานผลการดาเนินงานเพื่อนาขอมูลมาใชประโยชน ในการ
วิเคราะห์แนวโนมสาหรับการวางแผนการปฏิบัติงานของหนวยงาน และการกาหนดเปาหมายการดาเนินงานทั้งระยะสั้น และระยะยาว
ไดอยางเหมาะสม โดยเปนตัวชี้วัดที่มีความสาคัญตามภารกิจของกระทรวง/หนวยงาน
29

สรุปผลการพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕


ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
ตัวชี้วัดกระทรวง

1 อันดับความสามารถ ในการแขงขัน 1. Joint KPIs 15 อันดับที่ 38 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36


ดานดิจทิ ัล ของประเทศไทยตามการ (ภายในกระทรวง)
จัดอันดับของ IMD (World Digital 2. International KPIs
Competitiveness Ranking)

2 อันดับความสามารถทางการแขงขัน 1. Joint KPIs 15 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36 อันดับที่ 35


ดาน Technological Infrastructure (ภายในกระทรวง)
ของประเทศไทยตามการจัดอันดับ 2. International KPIs
ของ IMD

3 ความสาเร็จของการพัฒนาระบบ Function KPI 15 ใหบริการระบบ ใหบริการระบบ ใหบริการระบบ


คลาวดกลางภาครัฐ (Government คลาวดกลางภาครัฐ คลาวดกลางภาครัฐ คลาวดกลางภาครัฐ
Data Center and Cloud service รองรับ รองรับ รองรับ
: GDCC) หนวยงานภาครัฐได หนวยงานภาครัฐได หนวยงานภาครัฐได
จานวนอยางนอย จานวนอยางนอย จานวนอยางนอย
20,000 VM 25,000 VM 30,000 VM
30

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
4 ความสาเร็จของการจัดทาบัญชีขอมูล Function KPI 15 คะแนนเฉลี่ยของ คะแนนเฉลี่ยของ คะแนนเฉลี่ยของ
ภาครัฐ (Government Data Catalog) ตัวชี้วัดการพัฒนา ตัวชี้วัดการพัฒนาระบบ ตัวชี้วัดการพัฒนาระบบ
ระบบบัญชีขอมูล บัญชีขอมูล (Data บัญชีขอมูล (Data
(Data Catalog) Catalog) Catalog)
ของหนวยงานภาครัฐ ของหนวยงานภาครัฐ ของหนวยงานภาครัฐ
(สวนราชการ จังหวัด (สวนราชการ จังหวัด (สวนราชการ จังหวัด
และองคการมหาชน) และองคการมหาชน) และองคการมหาชน)
ไมนอยกวารอยละ 80 ไมนอยกวารอยละ 90 ไมนอยกวารอยละ 100
5 รอยละความสาเร็จของการดาเนินงาน Function KPI 15 รอยละ 96.06 รอยละ 98.03 รอยละ 100
ระงับการแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิว
เตอรที่ผิดกฎหมาย
6 รอยละความถูกตองของการพยากรณ Function KPI 15
อากาศ
6.1 รอยละความถูกตองของขาว (5) รอยละ 91.27 รอยละ 94.71 รอยละ 98.15
พยากรณอากาศการบิน
6.2 รอยละความถูกตองของการ (5) รอยละ 84.64 รอยละ 86.55 รอยละ 88.45
พยากรณอากาศระยะปานกลาง
(7 วัน)
6.3 รอยละความถูกตองของการ (5) รอยละ 73.80 รอยละ 76.05 รอยละ 78.30
พยากรณอากาศระยะนาน
(3 เดือน)
7 ร อยละของประชากรที่ มี ก ารใช Joint KPIs 10 ผลการดาเนินงานป คากลางระหวาง เปาหมายขั้นตน +
อินเทอรเน็ต (ภายในกระทรวง) พ.ศ. 2564 เปาหมายขั้นตนกับ growth เฉลี่ยของ
เปาหมายขั้นสูง ผลการดาเนินงาน ๓ ป
ยอนหลัง
31

3.2.3 Work Flow กระบวนการจัดทาตัวชี้วัดของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


32

3.2.4 แบบฟอร์มที่ใช้
1) แบบฟอร์มแสดงความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกับยุทธศาสตร์ต่าง ๆ
33

ตัวอย่าง ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกับยุทธศาสตร์ต่าง ๆ
34

2) แบบฟอร์มสรุปการเสนอตัวชี้วัด
35

ตัวอย่าง สรุปการเสนอตัวชี้วัดของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
36

3) แบบฟอร์มเสนอตัวชี้วัด
37

ตัวอย่าง การเสนอตัวชี้วัดของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
38

3.3 แบบฟอร์มรายงานผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
สานักงาน ก.พ.ร. กาหนดให้ส่วนราชการรายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบการรายงานผลการประเมิน
ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (https://esar.opdc.go.th/)
ของสานักงาน ก.พ.ร. ซึ่งกาหนดการรายงานผลการประเมินฯ เป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม
2565) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ นาผลการประเมินฯ ไปเป็นส่วนหนึ่ง ของตั วชี้วัดหัวหน้า ส่วนราชการ และการประเมินฯ
รอบ 12 เดือน (1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565) เพื่อนาผลการประเมินฯ ไปเป็นตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ในการนี้ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจึงได้กาหนดแบบฟอร์มการรายงานผลการดาเนินงาน
(การประเมินตนเอง) เพื่อใช้เป็นแนวทางการรายงานผลให้แก่ทุกหน่วยงานในสังกัด ก่อนสานักงานปลัด กระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวบรวม วิเคราะห์ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล โดยมีรายละเอียดดังนี้
39

บทที่ 4
การประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของส่วนราชการ
ในกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
40

4.1 สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
วิสัยทัศน์
“เป็นเลิศด้านการบริหารจัดการ เพื่อผลักดันทุกภาคส่วนในการเปลี่ยนผ่านประเทศด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจิทัล”
พันธกิจ
1. กาหนดนโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ของกระทรวง แปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และบริหารทรัพยากรให้เกิด
ความคุ้มค่า รวมทั้งบริหารจัดการองค์กร กากับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวง
2. พัฒนาปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ หลักเกณฑ์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และที่เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
3. เสนอนโยบาย กากับดูแล และปฏิบัติงานด้านการสื่อสาร ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ด้านการป้องกันปราบปรามการกระทาความผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ รวมทั้ง
สนับสนุนงานด้านความมั่นคงและการจัดการวิกฤติระดับชาติ
4. ประสานเครือข่ายสารสนเทศระดับประเทศ เป็นศูนย์กลางเครือข่ายสารสนเทศระดับกระทรวง รวมทั้งพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารงาน และการบริการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
5. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจและอุตสาหกรรม การให้ความรู้ความเข้าใจแก่ทุกภาคส่วน
6. ดาเนินงานประชาสัมพันธ์ และการต่างประเทศเชิงรุก เพื่อสนับสนุนการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
อานาจหน้าที่
ตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิ จและสังคม พ.ศ 2560
ให้สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบาย
ของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติงาน จัดสรรทรัพยากร และบริหารราชการทั่วไปของกระทรวง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและเกิดผล
สัมฤทธิ์ตามภารกิจของกระทรวง โดยให้มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
1. ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาข้อมูลเพื่อใช้ในการกาหนดนโยบาย เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของกระทรวง
2. พัฒนายุทธศาสตร์การบริหารของกระทรวง และแปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติงาน
3. จัดสรรและบริหารทรัพยากรของกระทรวง เพื่อให้เกิดการประหยัดคุ้มค่า และสมประโยชน์
4. ประสานงาน กากับ ติดตาม เร่งรัด และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
5. ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และการต่างประเทศ
6. พัฒนาปรับปรุงกฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
7. ประสานเครือข่ายสารสนเทศระดับประเทศ และเป็นศูนย์กลางเครือข่ายสารสนเทศระดับกระทรวง รวมทั้ง
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงานและการบริการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
8. ส่ ง เสริ ม การน าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร การพาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละธุ ร กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนให้ความรู้ความเข้าใจให้ทั่วถึงทุกส่วนของสังคม
9. ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแผน มาตรการ จัดทาหลักเกณฑ์ กากับดูแล สนับสนุนและประสานงาน ด้านความ
มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และปฏิบัติการป้องกันปราบปราม รวมทั้งเฝ้าระวังและติดตาม
สถานการณ์การกระทาความผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ
41

10. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะนโยบายด้านการสื่อสาร รวมทั้งสนับสนุนงานด้านความมั่นคงและการจัดการ


วิกฤติระดับชาติ
11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของสานักงานปลัดกระทรวงหรือตามที่
รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยและความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ / เป้าหมายการให้บริการสานักงานปลัดกระทรวงฯ
1. ทุกภาคส่วนได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
2. การบริหารราชการในองค์กรมีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล
3. ทุกภาคส่วนมีความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สรุปตัวชี้วัดของสานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ
1. องค์ประกอบ Performance (น้าหนักร้อยละ 70)
1.1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลของประเทศไทยตาม 15 - เป็นตัวชี้วดั ระดับกระทรวง
การจัดอันดับของ IMD (World Digital Competitiveness Ranking) - เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1.2 อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน Technological 15 - เป็นตัวชี้วดั ระดับกระทรวง
Infrastructure ของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD - เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1.3 ร้อยละความสาเร็จของการดาเนินงานระงับการแพร่หลายซึ่งข้อมูล 20 เป็นตัวชี้วดั ระดับกระทรวง
คอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย
1.4 ร้อยละของประชากรที่มีการใช้อินเทอร์เน็ต 20 - เป็นตัวชี้วดั ระดับกระทรวง
- เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานคณะกรรมการดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
42

ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ


2. องค์ประกอบ Potential Base (น้าหนักร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทลั ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็น 15
ดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูล
ที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะเพื่อนาไปสู่การเปิดเผย
ข้อมูลภาครัฐ (Open Data)”
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 15
(PMQA 4.0)
3. ตัวชี้วัด Monitor (สานักงาน ก.พ.ร. ไม่ได้กาหนดเกณฑ์การประเมิน คะแนน และน้าหนักของตัวชี้วัด แต่กาหนดให้
หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วดั ต้องรายงานผลไปยังสานักงาน ก.พ.ร.)
3.1 อันดับความพร้อมด้านปัญญาประดิษฐ์ของรัฐบาลไทย -
(Government AI Readiness Index)
3.2 ร้อยละของค่าบริการอินเทอร์เน็ตประจาที่ความเร็วสูงต่อรายได้มวล -
รวมประชาชาติต่อหัว (Fixed broadband prices (% GNI pc))
รวมน้าหนัก (ร้อยละ) 100
43

รายละเอียดเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
1 อันดับความสามารถ ในการแขงขัน 1. Joint KPIs 15 อันดับที่ 38 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36
ดานดิจทิ ัล ของประเทศไทยตามการ (ภายในกระทรวง)
จัดอันดับของ IMD (World Digital 2. International KPIs
Competitiveness Ranking)
2 อันดับความสามารถทางการแขงขัน 1. Joint KPIs 15 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36 อันดับที่ 35
ดาน Technological Infrastructure (ภายในกระทรวง)
ของประเทศไทยตามการจัดอันดับ 2. International KPIs
ของ IMD
3 รอยละความสาเร็จของการดาเนินงาน Function KPI 20 รอยละ 96.06 รอยละ 98.03 รอยละ 100
ระงับการแพรหลายซึ่งขอมูล
คอมพิวเตอรที่ผิดกฎหมาย
4 ร อยละของประชากรที่ มี ก ารใช Joint KPIs 20 ผลการดาเนินงานป คากลางระหวาง เปาหมายขั้นตน +
อินเทอรเน็ต (ภายในกระทรวง) พ.ศ. 2564 เปาหมายขั้นตนกับ growth เฉลี่ยของ
เปาหมายขั้นสูง ผลการดาเนินงาน ๓ ป
ยอนหลัง
44

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ประเด็น Potential Base 15 มีรายชื่อชุดข้อมูล - มีคาอธิบายข้อมูล - นาขึ้นชุดข้อมูล
“การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Data Set) (Metadata) metadata และระบุ
(Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายใน ที่สัมพันธ์กบั ที่สอดคล้องตาม แหล่งข้อมูล สาหรับ
หน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่ กระบวนการทางาน มาตรฐานที่ สพร. ชุดข้อมูลที่ถูกจัด
หน่วยงานภายนอก/สาธารณะเพื่อ ตามประเด็น กาหนด (14 รายการ) ในหมวดหมู่สาธารณะ
นาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ การดาเนินงานภายใต้ ของทุกชุดข้อมูล ร้อยละ 100 ของ
(Open Data)” Focus Area (15 คะแนน) ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด
บนระบบบัญชีข้อมูล
- มีระบบบัญชีข้อมูล ของหน่วยงาน เพื่อให้
ของหน่วยงาน สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
(Agency Data ตามมาตรฐาน
Catalog) พร้อมแจ้ง คุณลักษณะแบบเปิดที่
URL ระบบบัญชีข้อมูล สพร. กาหนด
ของหน่วยงาน (20 คะแนน)
(10 คะแนน)
- นาข้อมูลเปิดไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเป็น
รูปธรรม ตอบโจทย์ตาม
ประเด็นภายใต้ของ
Focus area อย่างน้อย
1 ชุดข้อมูล
(5 คะแนน)
6 การประเมินสถานะของหน่วยงาน Potential Base 15 380 402.53 410.58
ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (ค่าเฉลี่ยคะแนน (คะแนนปี 64) (คะแนนปี 64 + 2%)
(PMQA 4.0) กลุ่มที่ 3 :
351-399 คะแนน)
45

4.2 กรมอุตุนิยมวิทยา
สัญลักษณ์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์
“องค์กรสมรรถนะสูงด้านอุตุนิยมวิทยา แจ้งเตือนภัยธรรมชาติ เพื่อคุณภาพและประโยชน์ของสังคม”
พันธกิจ
1. พัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง
2. พัฒนาข้อมูลและการพยากรณ์ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3. เตือนภัย ปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
4. สร้างมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์และประโยชน์ให้กับสังคม
5. เสริมสร้างภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่นงานด้านอุตุนิยมวิทยาและการเตือนภัยให้เป็นที่ยอมรับ
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาพื้นฐานองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์กรสมรรถนะสูง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพยากรณ์และแจ้งเตือนภัยธรรมชาติที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การลดความเสี่ยงต่อชีวิตและทรัพย์สินจากภัยธรรมชาติและการสร้างประโยชน์ต่อสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความพึงพอใจและความเชื่อมั่น
46

สรุปตัวชี้วัดของกรมอุตุนิยมวิทยา

ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ


1. องค์ประกอบ Performance (น้าหนักร้อยละ 70)
1.1 ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศ 60 เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง

1) ร้อยละความถูกต้องของข่าวพยากรณ์อากาศการบิน (20)
2) ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศ (20)
ระยะปานกลาง
3) ร้อยละความถูกต้องของการพยากรณ์อากาศระยะนาน (20)
1.2 การเฝ้าระวังและเตือนภัยจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ 10
ภูมิอากาศ
2. องค์ประกอบ Potential Base (น้าหนักร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูล 15
ให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน
และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะเพื่อ
นาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)”
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 15
4.0 (PMQA 4.0)
47

รายละเอียดเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกรมอุตุนิยมวิทยา
เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
1 รอยละความถูกตองของการ Function KPI 60
พยากรณอากาศ
6.1 รอยละความถู ก ต องของข่ า ว (20) รอยละ 91.27 รอยละ 94.71 รอยละ 98.15
พยากรณอากาศการบิน

6.2 รอยละความถู ก ต องของการ (20) รอยละ 84.64 รอยละ 86.55 รอยละ 88.45
พยากรณอากาศระยะปานกลาง
(7 วัน)

6.3 รอยละความถู ก ต องของการ (20) รอยละ 73.80 รอยละ 76.05 รอยละ 78.30
พยากรณอากาศระยะนาน
(3 เดือน)
2 การเฝ้ า ระวั ง และเตื อ นภั ย จากการ Function KPI 10 1 ผลผลิต 2 ผลผลิต 2 ผลผลิตและเชื่อมโยง
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง
อย่างเป็นระบบ
48

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
3 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล Potential Base 15 มีรายชื่อชุดข้อมูล - มีคาอธิบายข้อมูล - นาขึ้นชุดข้อมูล
ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูลให้ (Data Set) (Metadata) metadata และระบุ
เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูล ที่สัมพันธ์กบั ที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ แหล่งข้อมูล สาหรับ
ที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูล กระบวนการ สพร. กาหนด (14 รายการ) ชุดข้อมูลที่ถูกจัด
ที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/ ทางานตาม ของทุกชุดข้อมูล ในหมวดหมู่สาธารณะ
สาธารณะเพื่อนาไปสู่การเปิดเผย ประเด็นการ (15 คะแนน) ร้อยละ 100 ของ
ข้อมูลภาครัฐ (Open Data)” ดาเนินงานภายใต้ ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมดบน
Focus Area - มี ร ะบบบั ญ ชี ข อ
้ มู ล ของ ระบบบัญชีข้อมูลของ
หน่วยงาน (Agency Data หน่วยงาน เพื่อให้
Catalog) พร้อมแจ้ง URL สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
ระบบบัญชีข้อมูลของ ตามมาตรฐาน
หน่วยงาน คุณลักษณะแบบเปิดที่
(10 คะแนน) สพร. กาหนด
(20 คะแนน)
- นาข้อมูลเปิดไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเป็น
รูปธรรม ตอบโจทย์ตาม
ประเด็นภายใต้ของ
Focus area อย่างน้อย
1 ชุดข้อมูล
(5 คะแนน)
4 การประเมินสถานะของหน่วยงาน Potential Base 15 275 - 350
ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (ค่าเฉลี่ยคะแนน
(PMQA 4.0) กลุ่มที่ 1 :
0 - 299 คะแนน)
49

4.3 สานักงานสถิติแห่งชาติ
สัญลักษณ์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์
“เป็นองค์กรหลักของชาติในการบริหารจัดการระบบสถิติเพื่อการพัฒนาประเทศ”
พันธกิจ
1. จัดทาสามะโน สารวจด้วยตัวอย่าง หรืออานวยการ เพื่อให้ได้ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมของประเทศ
2. บริการข้อมูลสถิติและสารสนเทศ และให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับองค์ความรู้วิชาการด้านสถิติแก่ผู้ใช้บริการ
ทุกภาคส่วน
3. พัฒนางานสถิติและสารสนเทศให้เป็นระบบ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
4. บูรณาการ เชื่อมโยงสถิติ และข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
5. พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศให้มีความเป็นมืออาชีพ
6. สร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน ในการให้ความร่วมมือ และเห็นความสาคัญของการให้ข้อมูล
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากระบวนการผลิตและการบริการด้านสถิติให้มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ทุกภาคส่วน
เป้าประสงค์ที่ 1 มีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และมีการให้บริการที่ หลากหลายเข้าถึงง่าย ตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้งาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการ เชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนสถิติและข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นของประเทศให้มีคุณภาพ และ
เป็นไปตามมาตรฐานสากล
เป้าประสงค์ที่ 2 ประเทศมีสถิติและข้อมูลที่สาคัญ จาเป็น มีคุณภาพ สามารถสนับสนุนตัดสินใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศให้มีความเป็นมืออาชีพ
เป้าประสงค์ที่ 3 บุคลากรด้านสถิติของประเทศมีความเป็นมืออาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน และส่งเสริมการนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
เป้าประสงค์ที่ 4 ประชาชนตระหนักรู้ มีความเข้าใจ เห็นความสาคัญของข้อมูลสถิติให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลสถิติ
อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทุกภาคส่วนการนาข้อมูลสถิติและ สารสนเทศไปใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ
50

สรุปตัวชี้วัดของสานักงานสถิติแห่งชาติ

ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ


1. องค์ประกอบ Performance (น้าหนักร้อยละ 70)
1 ความสาเร็จของการจัดทาบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government 20 เป็นตัวชี้วัดกระทรวง
Data Catalog)
2 ความสาเร็จในการดาเนินงานโครงการสามะโนธุรกิจและ 15
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2565
3 ร้อยละของข้อมูลสถิติทางการทีส่ าคัญ จาเป็นของประเทศ ที่ 20
มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย
4 จานวนการให้บริการข้อมูลสถิติภาครัฐแก่ทุกภาคส่วน 15
2. องค์ประกอบ Potential Base (น้าหนักร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูล 15
ให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน
และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะเพื่อ
นาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)”
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 15
4.0 (PMQA 4.0)
51

รายละเอียดเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
1 ความสาเร็จของการจัดทาบัญชี Function KPI 20 คะแนนเฉลี่ยของตัวชีว้ ัด คะแนนเฉลี่ยของตัวชีว้ ัด คะแนนเฉลี่ยของตัวชีว้ ัด
ข้อมูลภาครัฐ (Government การพัฒนาระบบบัญชี การพัฒนาระบบบัญชี การพัฒนาระบบบัญชี
Data Catalog) ขอมูล (Data Catalog) ขอมูล (Data Catalog) ขอมูล (Data Catalog)
ของหนวยงานภาครัฐ ของหนวยงานภาครัฐ ของหนวยงานภาครัฐ
(สวนราชการ จังหวัด (สวนราชการ จังหวัด และ (สวนราชการ จังหวัด
และองคการมหาชน) องคการมหาชน) และองคการมหาชน)
ไมนอยกวารอยละ 80 ไมนอยกวารอยละ 90 ไมนอยกวารอยละ 100
2 ความสาเร็จในการดาเนินงาน Function KPI 15 พนักงานสนาม พนักงานสนาม พนักงานสนาม
โครงการสามะโนธุรกิจและ สามารถเข้าสัมภาษณ์ สามารถเข้าสัมภาษณ์ สามารถเข้าสัมภาษณ์
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 สถานประกอบการได้ สถานประกอบการได้ สถานประกอบการได้
ไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80
ของจานวน ของจานวน ของจานวน
สถานประกอบการ สถานประกอบการ สถานประกอบการ
ตัวอย่างทั้งสิ้น ตัวอย่างทั้งสิ้น ตัวอย่างทั้งสิ้น
3 ร้อยละของข้อมูลสถิติทางการ Function KPI 20 ร้อยละ 88.51 ร้อยละ 90 ร้อยละ 93
ที่สาคัญ จาเป็นของประเทศ ทีม่ ี (ผลการดาเนินงานปี 63)
ความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย
4 จานวนการให้บริการข้อมูลสถิติ Function KPI 15 จานวนการให้บริการข้อมูล จานวนการให้บริการข้อมูล จานวนการให้บริการข้อมูล
ภาครัฐแก่ทกุ ภาคส่วน สถิติภาครัฐแก่ทกุ ภาคส่วน สถิติภาครัฐแก่ทกุ ภาคส่วน สถิติภาครัฐแก่ทกุ ภาคส่วน
300,000 ครัง้ 450,000 ครัง้ 600,000 ครัง้
52

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล Potential Base 15 มีรายชื่อชุดข้อมูล - มีคาอธิบายข้อมูล - นาขึ้นชุดข้อมูล
ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูล (Data Set) ที่สัมพันธ์กับ (Metadata) metadata และระบุ
ให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) กระบวนการทางานตาม ที่สอดคล้องตามมาตรฐาน แหล่งข้อมูล สาหรับ
ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน ประเด็นการดาเนินงาน ที่ สพร. กาหนด (14 ชุดข้อมูลที่ถูกจัด
และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงาน ภายใต้ Focus Area รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ในหมวดหมู่สาธารณะ
ภายนอก/สาธารณะเพื่อนาไปสู่ (15 คะแนน) ร้อยละ 100 ของ
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมดบน
Data)” - มีระบบบัญชีข้อมูลของ ระบบบัญชีข้อมูลของ
หน่วยงาน (Agency หน่วยงาน เพื่อให้สามารถ
Data Catalog) พร้อมแจ้ง เข้าถึงข้อมูลได้ ตาม
URL ระบบบัญชีข้อมูล มาตรฐานคุณลักษณะแบบ
ของหน่วยงาน เปิดที่ สพร. กาหนด
(10 คะแนน) (20 คะแนน)
- นาข้อมูลเปิดไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเป็น
รูปธรรม ตอบโจทย์ตาม
ประเด็นภายใต้ของ
Focus area อย่างน้อย 1
ชุดข้อมูล
(5 คะแนน)
6 การประเมินสถานะของหน่วยงาน Potential Base 15 275 - 350
ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (ค่าเฉลี่ยคะแนนกลุ่มที่ 1 :
(PMQA 4.0) 0 - 299 คะแนน)
53

4.4 สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สัญลักษณ์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์
“ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลอย่างยั่งยืนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันในเวทีประชาคมโลก”
พันธกิจ
1. กาหนดทิศทางและวางยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
2. เป็นแกนกลางในการส่งเสริม ประสาน และบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนให้เกิดการนาเทคโนโลยีดิจิทัล
มาใช้อย่างเต็มศักยภาพในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
3. วางรากฐานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงรองรับรูปแบบ และปริมาณการใช้งานในอนาคต
4. ส่ง เสริ ม ให้เกิ ดสภาพแวดล้อ มที่ เอื้ อ ต่ อ การสร้ า งสรรค์ น วัตกรรม และการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล
ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
อานาจหน้าที่
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 (เพื่อจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม) หมวด 8/1 มาตรา 21/1 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนส่งเสริม พัฒนา
และดาเนินกิจการเกี่ยวกับดิ จิทัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม การอุตุนิยมวิทยา การสถิติ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย
ก าหนดให้เป็นอ านาจหน้า ที่ ของกระทรวงดิ จิทัลเพื่อ เศรษฐกิ จและสัง คม หรื อ ส่วนราชการที่ สังกั ดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม
1. จัดทาร่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามเป้าหมายที่คณะกรรมการ
กาหนดเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
2. จัดทาร่างนโยบายและแผนเฉพาะด้านตามแนวทางที่คณะกรรมการเฉพาะด้านกาหนดและสอดคล้องกับนโยบาย
และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการเฉพาะด้าน
3. ประสานและให้ความร่วมมือกับสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในการจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและการดาเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
4. เป็นศูนย์กลางประสานงานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งนโยบายและแผนเฉพาะด้าน
5. สารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามสถานการณ์ด้านการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และแนวโน้มการ
พัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งวิเคราะห์และวิจัยประเด็นทางเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่มีผลต่อการพัฒนา
ประเทศเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะด้าน
54

6. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
แผนปฏิบัติการ แผนงาน รวมทั้งมาตรการที่เกี่ยวข้อง และรายงานผลต่อคณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะด้าน
7. ร่วมมือและประสานงานกับหน่ว ยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม
8. ศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณา หรือดาเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ หรือคณะกรรมการเฉพาะด้านมอบหมาย
9. อานาจหน้าที่อื่นที่คณะกรรมการกาหนดหรือมอบหมาย หรือตามที่มีกฎหมายกาหนด
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างรากฐานเพื่อความพร้อมด้านดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล
สรุปตัวชี้วัดของสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ
1. องค์ประกอบ Performance (น้าหนักร้อยละ 70)
1.1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลของประเทศไทยตาม 10 - เป็นตัวชีว้ ัดระดับกระทรวง
การจัดอันดับของ IMD (World Digital Competitiveness Ranking) - เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานปลัดกระทรวงฯ
1.2 อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน Technological Infrastructure 15 - เป็นตัวชีว้ ัดระดับกระทรวง
ของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD - เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานปลัดกระทรวงฯ
1.3 ความสาเร็จของการพัฒนาระบบคลาวด์กลางภาครัฐ (Government Data 10
Center and Cloud service : GDCC)
1.4 ความสาเร็จของการจัดทากิจกรรมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายใต้ 10
โครงการยกระดับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนสู่ศูนย์ดิจิทัลชุมชน
1.5 ความสาเร็จในการจัดทามาตรการส่งเสริมการลงทุนและการใช้ประโยชน์ 15
เทคโนโลยี 5G
1.6 ร้อยละของประชากรที่มีการใช้อนิ เทอร์เน็ต 10 - เป็นตัวชีว้ ัดระดับกระทรวง
- เป็น Joint KPI ร่วมกับ
สานักงานปลัดกระทรวงฯ
55

ที่ ชื่อตัวชี้วัด น้าหนัก หมายเหตุ


2. องค์ประกอบ Potential Base (น้าหนักร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล 15
ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูล
ที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/
สาธารณะเพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)”
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 15
(PMQA 4.0)
3. ตัวชี้วัด Monitor (สานักงาน ก.พ.ร. ไม่ได้กาหนดเกณฑ์การประเมิน คะแนน และน้าหนักของตัวชี้วัด แต่กาหนดให้
หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบตัวชีว้ ัดต้องรายงานผลไปยังสานักงาน ก.พ.ร.)
3.1 อันดับความพร้อมด้านปัญญาประดิษฐ์ของรัฐบาลไทย (Government AI -
Readiness Index)
3.2 ร้อยละของค่าบริการอินเทอร์เน็ตประจาที่ความเร็วสูงต่อรายได้มวลรวม -
ประชาชาติต่อหัว (Fixed broadband prices (% GNI pc))
รวมน้าหนัก (ร้อยละ) 100
56

รายละเอียดเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
1 อันดับความสามารถ ในการแข่งขัน 1. Joint KPIs 10 อันดับที่ 38 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36
ด้านดิจทิ ัล ของประเทศไทยตามการ (ภายในกระทรวง)
จัดอันดับของ IMD (World Digital 2. International KPIs
Competitiveness Ranking)
2 อันดับความสามารถทางการแข่งขัน 1. Joint KPIs 15 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36 อันดับที่ 35
ด้าน Technological (ภายในกระทรวง)
Infrastructure ของประเทศไทย 2. International KPIs
ตามการจัดอันดับของ IMD
3 ความสาเร็จของการพัฒนาระบบ Function KPI 10 ให้บริการระบบ ให้บริการระบบ ให้บริการระบบ
คลาวด์กลางภาครัฐ (Government คลาวด์กลางภาครัฐ คลาวด์กลางภาครัฐ คลาวด์กลางภาครัฐ
Data Center and Cloud service รองรับ รองรับ รองรับ
: GDCC) หน่วยงานภาครัฐได้ หน่วยงานภาครัฐได้ หน่วยงานภาครัฐได้
จานวนอย่างน้อย จานวนอย่างน้อย จานวนอย่างน้อย
20,000 VM 25,000 VM 30,000 VM
57

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
4 ความสาเร็จของการจัดทากิจกรรม Function KPI 10 มีบุคลากรศูนย์ดิจทิ ัล มีบุคลากรศูนย์ดิจทิ ัล มีบุคลากรศูนย์ดิจทิ ัล
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายใต้ ชุมชนและประชาชน ชุมชนและประชาชน ชุมชนและประชาชน
โครงการยกระดับศูนย์การเรียนรู้ เข้ารับการฝึกอบรม เข้ารับการฝึกอบรม เข้ารับการฝึกอบรม
ICT ชุมชนสู่ศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน ความรู้และทักษะ ความรู้และทักษะ ความรู้และทักษะ
การใช้ประโยชน์ การใช้ประโยชน์ การใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีดิจิทลั จากเทคโนโลยีดิจิทลั จากเทคโนโลยีดิจิทลั
จานวน 3,000 คน จานวน 3,200 คน จานวน 3,500 คน

5 ความสาเร็จในการจัดทามาตรการ Function KPI 15


ส่งเสริมการลงทุนและการใช้
ประโยชน์เทคโนโลยี 5G
6 ร้ อ ยละของประชากรที่ มี ก ารใช้ Joint KPIs 10 ผลการดาเนินงานปี ค่ากลางระหว่าง เป้าหมายขั้นต้น +
อินเทอรเน็ต (ภายในกระทรวง) พ.ศ. 2564 เป้าหมายขั้นต้นกับ growth เฉลี่ยของ
เป้าหมายขั้นสูง ผลการดาเนินงาน 3 ปี
ย้อนหลัง
7 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล Potential Base 15 มีรายชื่อชุดข้อมูล - มีคาอธิบายข้อมูล - นาขึ้นชุดข้อมูล
ประเด็น “การพัฒนาระบบข้อมูลให้ (Data Set) ที่สัมพันธ์ (Metadata) metadata และระบุ
เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูล กับกระบวนการ ที่สอดคล้องตาม แหล่งข้อมูล สาหรับ
ที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่ ทางานตามประเด็น มาตรฐานที่ สพร. ชุดข้อมูลที่ถูกจัด
จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/ การดาเนินงานภายใต้ กาหนด (14 รายการ) ในหมวดหมู่สาธารณะ
สาธารณะเพื่อนาไปสู่การเปิดเผย Focus Area ของทุกชุดข้อมูล ร้อยละ 100 ของ
ข้อมูลภาครัฐ (Open Data)” (15 คะแนน) ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด
บนระบบบัญชีข้อมูล
ของหน่วยงาน เพื่อให้
58

เกณฑ์การประเมิน
ลาดับ ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายขั้นมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง หมายเหตุ
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
- มีระบบบัญชีข้อมูล สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
ของหน่วยงาน ตามมาตรฐาน
(Agency Data คุณลักษณะแบบเปิดที่
Catalog) พร้อมแจ้ง สพร. กาหนด
URL ระบบบัญชีข้อมูล (20 คะแนน)
ของหน่วยงาน
(10 คะแนน) - นาข้อมูลเปิดไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเป็น
รูปธรรม ตอบโจทย์ตาม
ประเด็นภายใต้ของ
Focus area อย่างน้อย
1 ชุดข้อมูล
(5 คะแนน)
8 การประเมินสถานะของหน่วยงานใน Potential Base 15 380 407.41 415.56
การเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA (ค่าเฉลี่ยคะแนน (คะแนนปี 64) (คะแนนปี 64 + 2%)
4.0) กลุ่มที่ 3 :
351-399 คะแนน)
59

เอกสารอ้างอิง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) (2564). คู่มือการประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

You might also like