You are on page 1of 193

เทคนิคการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

และการประยุกต์ใช้ของส่วนราชการ
โดย
นางสาวดารารัตน์ โฆษิตพิพัฒน์
ผู้อานวยการกองติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลการพัฒนาระบบราชการ

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566


1
หัวข้อในการบรรยาย

1 กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


2 ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
3 ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs)
4 ความเชื่อมโยง Strategic KPIs & Joint KPIsกับการกาหนดตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566
5 แนวทางการกาหนดเกณฑ์การประเมิน และเป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน
6 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)
7 แผนการดาเนินงานการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
8 ความเชื่อมโยงของการประเมินส่วนราชการฯ กับการประเมินผู้บริหารองค์การ
9 ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส่วนราชการในกระทรวงสาธารณสุข
10 Q&A

2
1 กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

3
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ที่มา
ส านั กงาน ก.พ.ร. ได้ ติ ดตามและประเมิ นผลการปฏิ บั ติ ร าชการ ตั้ งแต่ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2547 ซึ่ งเป็ น
การดาเนินการตามมาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ
มาตรา 12 และมาตรา 45 ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

มติคณะรัฐมนตรี 20 กรกฎาคม 2564


เห็นชอบการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ตามที่สานักงาน ก.พ.ร. เสนอ โดยมี
- กรอบการประเมิน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base)
และการประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)
- เกณฑ์การประเมิน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน และระดับต้องปรับปรุง
- ประเมินปีละ 1 ครั้ง (รอบการประเมินตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 30 กันยายนของทุกปี)
4
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)

มติ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ


ปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565
เห็นชอบในหลักการกรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ราชการของส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามที่ฝ่ายเลขานุการฯ เสนอ โดยให้รับความเห็นและ
ข้อสังเกตของที่ประชุมไปดาเนินการ และให้นาเสนอ ก.พ.ร. เพื่อพิจารณาต่อไป

มติ ก.พ.ร. ครั้งที่ 2/2565 วันที่ 20 เมษายน 2565


เห็นชอบกรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรั บปรุ งประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ของส่วนราชการและจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และเห็นชอบการขับเคลื่อนประเด็นนโยบายสาคัญ
(Agenda) ด้ ว ยตั ว ชี้ วั ด Joint KPIs จ านวน 3 ประเด็ น ได้ แ ก่ 1) การลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก
2) การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ (การจัดการน้าเชิงลุ่มน้าทั้งระบบ) และ 3) การท่องเที่ยว (รายได้จากการท่องเที่ยว)

5
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)

มติคณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565
▪ เห็นชอบ (ร่าง) ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ของส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2566 โดยให้ฝ่ายเลขานุการฯ รับความเห็นของที่ประชุมไปพิจารณาประกอบการกาหนดตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
สาคัญ (Strategic KPIs) ของทุกหน่วยงาน และนาเสนอต่อ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตาม
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการเพื่อพิจารณาต่อไป
▪ เห็นชอบ (ร่าง) ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดย
ให้ฝ่ายเลขานุการฯ รับความเห็นของที่ประชุมไปพิจารณาประกอบการกาหนดตัวชี้วัดของส่วนราชการ และ
นาเสนอต่อ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
เพื่อพิจารณาต่อไป

6
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)

มติ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ


ปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2565
เห็ น ชอบ (ร่ าง) ตั วชี้ วั ดขั บเคลื่ อนการบู ร ณาการร่ วมกั น (Joint KPIs) ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
และให้ฝ่ายเลขานุการฯ นาเสนอต่อ ก.พ.ร. เพื่อพิจารณาต่อไป

มติ ก.พ.ร. ครั้งที่ 3/2565 วันที่ 15 มิถุนายน 2565


เห็ น ชอบตั ว ชี้ วั ด ขั บ เคลื่ อ นการบู ร ณาการร่ ว มกั น (Joint KPIs) ประจ าปี ง บประมาณ พ.ศ. 2566 และ
มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการฯ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป

7
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)

กรอบการประเมิน กรอบการประเมิน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base)


(เช่นเดียวกับปี 2565) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)

รอบการประเมิน ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน


ปีละ 1 ครั้ง โดยมีรอบการประเมิน ส่วนราชการในสังกัดฝ่ายบริหาร ได้แก่ ผู้ที่ทาหน้าที่ในการประเมิน ได้แก่
ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม • ส่วนราชการ 154 กรม • นายกรัฐมนตรี
ถึงวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี • จังหวัด จานวน 76 จังหวัด • รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
• รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ
• เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
(ประเมินเบื้องต้น)
การประเมิ นส่ วนราชการสั งกั ดกระทรวงกลาโหม กองอ านวยการรั กษาความมั่ นคงภายในราชอาณาจั กร และส านั กงานต ารวจแห่ งชาติ
ให้ น าแนวทางการประเมิ นประสิ ทธิ ภาพในการปฏิ บั ติ ราชการของส่ วนราชการในสั งกั ดฝ่ ายบริ หารไปประยุ กต์ ใช้ และส่ งผลการประเมิ น
ให้ ส านั กงาน ก.พ.ร. เพื่ อรายงานต่ อนายกรั ฐมนตรี พร้ อมกั บส่ วนราชการ ซึ่ งเป็ นไปตามมติ ของ ก.พ.ร. ในการประชุ ม ครั้ งที่ 4/2559
เมื่ อ วั น ที่ 25 ตุ ลาคม 2559 ทั้ งนี้ ส าหรั บ การประเมิ นฯ ศู นย์ อ านวยการรั กษาผลประโยชน์ ข องชาติ ทางทะเล ประจ าปี ง บประมาณ
พ.ศ. 2566 จะใช้แนวทางเดียวกับมติ ก.พ.ร. ข้างต้น 8
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
กลไกการประเมินส่วนราชการ
ระดับ 1 คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
•เป็นกลไกของ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการฯ แต่งตั้งโดย อ.ก.พ.ร.ฯ
•พิจารณาให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของรายการตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ระดับกระทรวง
•พิจารณาให้ข้อเสนอแนะในการติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดเพือ่ ขับเคลื่อนการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกัน
ระหว่างส่วนราชการ (Joint KPIs) ตามประเด็นนโยบายสาคัญ (Agenda) ที่กาหนด

ระดับ 2 คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
•เป็นกลไกของส่วนราชการ ประกอบด้วย 2 กลุ่ม
1. ส่วนราชการระดับกระทรวง 18 กระทรวง (ยกเว้นกระทรวงกลาโหม สานักนายกรัฐมนตรี) ผ่านกลไก คณะกรรมการกากับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง
2. ส่วนราชการในสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี และส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง (ยกเว้น
กอ.รมน. สานักงานตารวจแห่งชาติ และศูนย์อานวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล) รวม 22 หน่วยงาน ผ่านกลไกคณะกรรมการ
กากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
9
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
กลไกการประเมินส่วนราชการ
ระดับ 1 คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
1.1 คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดฯ ของส่วนราชการ 1.2 คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดฯ ของจังหวัด
องค์ประกอบ 1) ประธาน อ.ก.พ.ร.ฯ ประธาน
คณะทางานฯ 2) เลขาธิการ ก.พ.ร. คณะทางาน
แต่ละคณะ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิ (ไม่เกิน 3 คน) คณะทางาน
4) ผู้แทนสานักงบประมาณ คณะทางาน
5) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คณะทางาน
6) เจ้าหน้าที่สานักงาน ก.พ.ร. คณะทางานและเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ
1) พิจารณา และให้ความเห็นต่อความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้าหนัก และค่าเป้าหมาย ของส่วนราชการและจังหวัด โดยพิจารณาจากประเด็นสาคัญที่ต้อง
เร่งขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ นโยบายรัฐบาล ฯลฯ
2) ให้ข้อเสนอแนะในการติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการ (Joint KPIs)
3) ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด
4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการฯ มอบหมาย
10
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
กลไกการประเมินส่วนราชการ
ระดับ 2 คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
1.คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง (18 กระทรวง)
แต่งตั้งโดยรัฐมนตรี 1) ปลัดกระทรวง ประธาน
ว่าการกระทรวง 2) รองปลัดกระทรวงที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Chief Change Officer: CCO) รองประธาน
3) ประธาน ค.ต.ป. ประจากระทรวง กรรมการ
4) หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมในกระทรวง หรือรองหัวหน้าส่วนราชการฯ ที่ได้รับมอบหมาย (ทุกกรม) กรรมการ
องค์ประกอบ 5) ผู้อานวยการองค์การมหาชนภายใต้การกากับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กรรมการ
6) ผู้นากลุ่ม ป.ย.ป. กระทรวง หรือผู้แทนกลุ่ม ป.ย.ป. กรรมการ
7) ผู้แทนสานักงบประมาณ กรรมการ
8) ผู้แทนสานักงาน ก.พ.ร. กรรมการ
9) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ
10) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหารของกระทรวง กรรมการและเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ
1) กาหนดตัวชี้วัด น้าหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวงและส่วนราชการในสังกัดกระทรวง
2) ติดตาม กากับ และให้การสนับสนุนเพื่อให้การดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวงและส่วนราชการในสังกัดเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สานักงาน ก.พ.ร. กาหนด
3) บูรณาการตัวชี้วัดขององค์การมหาชนที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยกเว้นองค์การมหาชนที่อยู่ภายใต้ระบบการประเมินผลตามพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน
พ.ศ. 2558
4) แต่งตั้งคณะทางาน หรือมอบหมายบุคคลอื่นใด ดาเนินการตามหน้าที่และอานาจที่ได้รับมอบหมายตามความจาเป็นและเหมาะสม
5) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย
11
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
กลไกการประเมินส่วนราชการ
ระดับ 2 คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
2.คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (22 ส่วนราชการ)
แต่งตั้งโดยรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่กากับส่วนราชการ
1) หัวหน้าส่วนราชการ ประธาน
2) รองหัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาการบริหารการเปลี่ยนแปลง รองประธาน
องค์ประกอบ (Chief Change Officer: CCO)
3) ผู้อานวยการสานัก/กองภายในส่วนราชการ กรรมการ
4) ผู้แทนสานักงบประมาณ กรรมการ
5) ผู้แทนสานักงาน ก.พ.ร. กรรมการ
6) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ
7) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหารของส่วนราชการ กรรมการและเลขานุการ
หน้าที่และอานาจ
1) กาหนดตัวชี้วัด น้าหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
2) ติดตาม กากับ และให้การสนับสนุนเพื่อให้การดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่สานักงาน ก.พ.ร. กาหนด
3) แต่งตั้งคณะทางาน หรือมอบหมายบุคคลอื่นใด ดาเนินการตามหน้าที่และอานาจที่ได้รับมอบหมายตามความจาเป็นและเหมาะสม
4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่รองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่กากับมอบหมาย
12
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
ปี 2565 เปรียบเทียบ ปี 2565 กับ ปี 2566 ปี 2566

ปี 2565 ปี 2566
1 องค์ประกอบการประเมิน 2 องค์ประกอบ 1 องค์ประกอบการประเมิน
▪ การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) เหมือนเดิม
▪ การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)
✓ การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล เพื่อรองรับการทางานแบบ New Normal
✓ ประเมินสถานะของหน่วยงานฯ ในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

2 เน้นบทบาทกระทรวง 2 เน้นบทบาทกระทรวง
▪ กระทรวงกาหนดตัวชี้วัดและติดตามประเมินผลกระทรวงและกรมในสังกัด เหมือนเดิม
▪ กาหนดตัวชี้วัดระดับกระทรวงและถ่ายทอดลงสู่ระดับกรม

3 เชื่อมโยงกับการประเมินผลงานรายบุคคล 3 เชื่อมโยงกับการประเมินผลงานรายบุคคล
▪ นาผลการประเมินฯ ไปเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงาน เหมือนเดิม
รายบุคคลของ ก.พ. (ปลัดกระทรวง/เทียบเท่า อธิบดี/เทียบเท่า ผู้ว่าราชการ
จังหวัด)
13
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
ปี 2565 ปี 2566
ปี 2565 ปี 2566
4 กลไกการประเมินผล 4 กลไกการประเมินผล
▪ คณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ มี 2 ระดับเหมือนเดิม ปรับขั้นตอนเพื่อให้การทางานกระชับมากขึ้น
ราชการ
▪ คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
สานักงาน ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ.ร.
ยกร่าง KPI Basket ยกร่าง Strategic KPIs

คณะทางานฯ เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ คณะทางานฯ เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ


พิจารณา เพื่อพิจารณา พิจารณา เพื่อพิจารณา
KPI Basket KPI Basket Strategic KPIs Strategic KPIs

คณะกรรมการกากับฯ คณะทางานฯ เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ คณะกรรมการกากับฯ เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ


พิจารณา KPI Basket พิจารณา เพื่อพิจารณาให้ความ พิจารณา Strategic KPIs เพื่อพิจารณาให้ความ
และกาหนดตัวชี้วัดระดับกรม ความเหมาะสมตัวชี้วัด เห็นชอบตัวชี้วัด และกาหนดตัวชี้วัดระดับกรม เห็นชอบตัวชี้วัด

สานักงาน ก.พ.ร. สานักงาน ก.พ.ร.


แจ้งตัวชี้วัดแก่ส่วนราชการ แจ้งตัวชี้วัดแก่ส่วนราชการ

สานักงาน ก.พ.ร. เสนอตัวชี้วัดกระทรวงให้รัฐมนตรี สานักงาน ก.พ.ร. เสนอตัวชี้วัดกระทรวงให้รัฐมนตรี


พิจารณาใช้กากับหน่วยงาน พิจารณาใช้กากับหน่วยงาน

14
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
ปี 2565 ปี 2566
5 KPI Basket 5 Strategic KPIs (ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ)
▪ รายการตัวชี้วัดสาคัญของกระทรวงพิจารณาจากความสอดคล้องกับ ▪ Strategic KPIs เป็นตัวเดียวกันหรือตัวชี้วัดที่ถ่ายทอดลงตามระดับ (Cascade)
เป้าหมายและตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปประเทศ กับแผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนระดับชาติอื่น ๆ เอกสาร
และแผนระดับชาติอื่น ๆ Agenda สาคัญ joint KPI ตัวชี้วัดมาตรฐานสากล งบประมาณ แผนงบบูรณาการ
รวมถึงภารกิจ และเป้าหมายของกระทรวง ▪ ให้เป็นตัวชี้วัด Monitor โดยกาหนดเป็นตัวชี้วัดกระทรวงเพื่อใช้ในการติดตามผล
6 ตัวชี้วัด Monitor การพัฒนาระบบราชการในภาพรวม ตลอดระยะเวลา 5 ปี (2566-2570)
▪ ตัวชี้วัดที่มีความสาคัญและไม่สามารถวัดผลได้ในรอบปีการประเมิน ให้ ▪ ให้กระทรวงรายงานผลการดาเนินงานเป็นประจาทุกปี (ไม่เกี่ยวกับการประเมิน
รายงานผลเพื่อนาข้อมูลมาประกอบการวางแผนการทางาน ตามมาตรการปรับปรุงฯ)

7 Joint KPIs 6 Joint KPIs by Agenda


▪ การบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันระหว่างกระทรวง (Joint KPIs) และ ▪ ให้ความสาคัญกับการขับเคลื่อนนโยบายสาคัญ (Agenda)
ระหว่างกระทรวงกับจังหวัด (Function-Area KPIs) รวมทั้งระหว่างกระทรวงกับ ▪ สานักงาน ก.พ.ร. จัดทา Value Chain ของนโยบายสาคัญ (Agenda) ในแต่ละปี
องค์การมหาชน เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ พิจารณา
ยุทธศาสตร์ชาติแผน แผนการปฏิรูปประเทศ ▪ ตรงกับแผนปฏิรูปฯ Strategic KPIs Joint KPIs
แม่บทฯ ▪ สนับสนุนแผนปฏิรูปฯ
1 2
International 3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ/
KPIs 9 แผนสาคัญอื่นๆ
KPI 4 Agenda สาคัญ e-service
ข้อสังเกตคณะทางาน Basket
ตัวชี้วัดฯ และ ค.ต.ป. 8 5 Joint KPIs
7 6
เอกสารงบประมาณ แผนงบประมาณ ▪ JKPIs ภายในกระทรวง
ปี 65 บูรณาการ ปี 65 ▪ JKPIs ระหว่างกระทรวง
▪ JKPIs ระหว่างกระทรวงกับจังหวัด
▪ JKPIs ระหว่างกระทรวง/องค์การมหาชน

15
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
องค์ประกอบการประเมิน ปี 2566
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
1.1 Functional KPIs
• ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ มติ ครม. นโยบายรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เช่น การฟื้นฟูเศรษฐกิจ (Agenda KPI)
• ผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ
• ผลการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน (Joint KPIs)
• ผลการดาเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน งานประจา งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย กฎ
• ดัชนีชี้วัดสากลที่วัดผลตามภารกิจของหน่วยงาน (International KPIs)
1.2 Joint KPIs
2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (ร้อยละ 15)
• การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
• การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
• การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data)
• การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน (Digitalize Process)
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (ร้อยละ 15)
16
1. กรอบแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ต่อ)
การประเมินผลตามมาตรการปรับปรุงฯ ของส่วนราชการ องค์ประกอบที่ 1 Performance Base พิจารณาความเชื่อมโยงจาก Strategic
KPIs และ Joint KPIs เป็นลาดับแรก
องค์ประกอบการประเมิน Strategic KPIs (ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ)
11 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
1. ตัวชี้วัดตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
1.1 Functional KPIs 2. ตัวชี้วัดตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
• ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ มติ ครม. นโยบายรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน เช่น การฟื้นฟู 3. ตัวชี้วัดตามแผนการปฏิรูปประเทศ
เศรษฐกิจ (Agenda KPI)
4. ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ พ.ศ. 2565
• ผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ
• ผลการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน (Joint KPIs) 5. ตัวชี้วัดจากการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
• ผลการดาเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน งานประจา งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย กฎ 6. ตัวชี้วัดตามแผนระดับ 2 หรือ ระดับ 3 ของหน่วยงาน
• ดัชนีชี้วดั สากลที่วัดผลตามภารกิจของหน่วยงาน (International KPIs) 7. ตัวชี้วัดตามความเห็นคณะทางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดฯ

1.2 Joint KPIs Joint KPIs (ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน)

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30) 1. ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก


2. ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (ร้อยละ 15)
3. รายได้จากการท่องเที่ยว
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (ร้อยละ 15)
17
2 ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)

18
2. ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
เปรียบเทียบ KPI Basket กับ Strategic KPIs
KPI Basket ปี 2565 Strategic KPIs ปี 2566
1 รายการตัวชี้วัดสาคัญของกระทรวง (KPI Basket) พิจารณาจากความสอดคล้องกับ 1 รายการตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) เป็นตัวเดียวกันหรือตัวชี้วัดที่
เป้าหมายและตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผน ถ่ายทอดลงตามระดับ (Cascade) กับตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับ 1) ตัวชี้วัดแผน
ระดับชาติอื่น ๆ Agenda สาคัญ joint KPI ตัวชี้วัดมาตรฐานสากล รวมถึงภารกิจ แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
และเป้าหมายของกระทรวง สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (แผนระดับ 2)
2 Strategic KPIs กาหนดให้กระทรวง (หน่วยงานเจ้าภาพ) รายงานผล เพื่อใช้ในการติดตาม
2 กระทรวงพิจารณาตัวชี้วัด (KPI Basket) ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะทางานฯ เพื่อใช้ใน
การพัฒนาระบบราชการในภาพรวม (ไม่ใช้ในการประเมินผลตามมาตรการปรับปรุง
การกาหนดตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ประสิทธิภาพฯ)
กากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ทั้งนี้ กระทรวงสามารถ
พิจารณากาหนดตัวชี้วัดอื่นนอกเหนือจากรายการตัวชี้วัด (KPI Basket) ก็ได้ ซึ่งการ 3 การกาหนดค่าเป้าหมาย Strategic KPIs ใช้ค่าเป้าหมายตามที่กาหนดในแผนระดับ 1 และ
พิจารณาตามข้อมูลและเหตุผลของความสอดคล้องกับเป้าหมายสาคัญของรัฐบาล ระดับ 2

3 ตัวชี้วัดระดับกระทรวงให้พิจารณาถ่ายทอดลงสู่ส่วนราชการระดับกรมภายในกระทรวง 4 Strategic KPIs ใช้ในการติดตามผล 5 ปี (ทบทวนได้ทุกปีตามยุทธศาสตร์ชาติ)

5 ผลักดันให้กระทรวงถ่ายทอด Strategic KPIs เป็นตัวชี้วัดกรม (ไม่บังคับ) ในการประเมินผล


ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ หากกรมใช้ตัวชี้วัดอื่นให้ถือว่าเป็นตัวชี้วัดทดแทน
(Proxy KPI) โดยต้องระบุความสอดคล้องกับ Strategic KPIs ซึ่งสอดคล้องกับตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ชาติ

19
2. ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) (ต่อ)
สรุปภาพรวมตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ปี 2566
จานวนตัวชี้วัด Strategic KPIs รวม 197 ตัวชี้วัด
แผนพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคม
ความสอดคล้องกับแผน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ อื่น ๆ
แห่งชาติ ฉบับที่ 13

89 12 21 75
จานวนตัวชี้วัด
(ตัว) 122 75
197
45.18% 6.09% 10.66% 38.07%
คิดเป็นร้อยละ (%) 61.93 % 38.07%
100 %
หมายเหตุ : อื่น ๆ หมายถึงตัวชี้วัดตาม Basket KPIs 2565, ตัวชี้วัดจากการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ, ตัวชี้วัดตามแผนระดับ 2 หรือ ระดับ 3 ของหน่วยงาน และเพิ่มตัวชี้วัดตามความเห็นคณะทางาน
20
2. ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) (ต่อ)
สรุปจานวนตัวชี้วัด Strategic KPIs ของส่วนราชการ รวม 197 ตัวชี้วัด
ส่วนราชการ 18 กระทรวง จานวน Strategic KPIs ส่วนราชการ 22 ส่วนราชการ จานวน Strategic KPIs ส่วนราชการ 22 ส่วนราชการ จานวน Strategic KPIs
ก. การคลัง 6 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 3 + (1) สานักงาน ก.ป.ร. 3
ก. คมนาคม 6 + (1) สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 3 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 3
ก. การต่างประเทศ 3 สานักงบประมาณ 5 สานักงานราชบัณฑิตยสภา 3
ก. การท่องเที่ยวและกีฬา 9 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 3 สานักงาน ปปง. 4
ก. การพัฒนาสังคมฯ 4 + (1) สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจฯ 2 สานักงาน ป.ป.ท. 1+ (1)
ก. เกษตรและสหกรณ์ 13 สานักงาน ก.พ. 3 ศอ.บต. 2+ (1)
ก. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 10
สานักงาน ก.พ.ร. 2
ก. ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 6
สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 3
ก. พลังงาน 6
กรมประชาสัมพันธ์ 4
ก. พาณิชย์ 11
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 4
ก. มหาดไทย 2 + (3)
ก. ยุติธรรม 6 สานักข่าวกรองแห่งชาติ 3
ก. แรงงาน 10 + (1) สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ 5
ก. สาธารณสุข 7 สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ 5
ก. วัฒนธรรม 6 + (1) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 6
(BOI)
ก. อุตสาหกรรม 8 + (2)
สานักงาน ป.ย.ป. 3
ก. การอุดมศึกษาฯ 7
ก. ศึกษาธิการ 3 สานักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดิน 4
แห่งชาติ
หมายเหตุ : (ตัวเลข) หมายถึง จานวนตัวชี้วัดที่เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างหน่วยงานและไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก
21
Strategic KPIs (ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ)
เชื่อมโยงตัวชี้วัดจากแผนระดับต่าง ๆ (แผนระดับ 1 และ 2) ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ เพื่อใช้ประกอบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการในภาพรวม
แผนระดับ 1 : แผนยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน

แผนระดับ 2
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ฉบับ (ประกอบด้วย 39 ตัวชี้วัด)

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 85 แผนย่อย ประกอบด้วย 163 ตัวชี้วัด


แผนการปฏิรูปประเทศ 13 ด้าน
การบริหาร กระบวนการ
กฎหมาย ยุติธรรม เศรษฐกิจ การป้องกันและ นวัฒนธรรม กีฬา
การเมือง ราชการแผ่นดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สาธารณสุข สื่อสารมวลชน สังคม พลังงาน ปราบปรามการทุจริต การศึกษา แรงงาน และการพัฒนา
และสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ และประพฤติมิชอบ ทรัพยากรมนุษย

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570 (กันยายน 2564) 13 หมุดหมาย


1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
ไทยเป็นประเทศชั้นนา ไทยเป็นจุดหมายของ ไทยเป็นฐานการผลิต ไทยเป็นศูนย์กลางทาง ไทยเป็นประตูการค้าการ ไทยเป็นศูนย์กลางด้านดิจิทัล ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและ ไทยมีพื้นที่และเมือง ไทยมีความยากจนข้ามรุ่น ไทยมีเศรษฐกิจ ไทยสามารถลดความเสี่ยงและ ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสูง ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย
ลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโล และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดย่อมที่เข้มแข็ง ลดลง และคนไทยทุกคนมี ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบ
ด้านสินค้าเกษตรและ การท่องเที่ยวที่เน้น ยานยนต์ไฟฟ้าที่สาคัญ การแพทย์และสุขภาพ อัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย หมุนเวียนและสังคม มีประสิทธิภาพ
จิสติกส์ที่สาคัญของภูมิภาค อัจฉริยะของอาเซียน มีศักยภาพสูง ความคุ้มครองทางสังคมที่ และการเปลี่ยนแปลงสภาพ โจทย์ การพัฒนาแห่งอนาคต
เกษตรแปรรูปมูลค่าสูง คุณภาพและความยั่งยืน ของโลก มูลค่าสูง เติบโตได้อย่างยั่งยืน คาร์บอนต่า ภูมิอากาศ และตอบโจทย์ประชาชน
และสามารถแข่งขันได้ เพียงพอ เหมาะสม

Strategic KPIs (ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ) 22


Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)

กระทรวงสาธารณสุข
Strategic KPIs
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
1. อัตราการเพิ่มขึ้นของจานวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว เป้าหมาย: เพิ่มขึ้นร้อยละ 7
2. อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (คนต่อประชากร 1 แสนคน) เป้าหมาย: ไม่เกิน12 คน ต่อประชากร 1 แสนคน
3. ดัชนีพัฒนาการเด็กสมวัย เป้าหมาย: เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 84
4. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี เป้าหมาย: ไม่น้อยกว่า 70 ปี
5. การจัดอันดับประสิทธิภาพโดย BLOOMBERG /CEO WORLD เป้าหมาย: อันดับที่ 1 ใน 20
แผนการปฏิรูปประเทศ
ไม่มีตัวชี้วัดในแผนการปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (ค่าเป้าหมาย)
ไม่มีตัวชี้วัดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
อื่น ๆ
6. จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 เป้าหมาย: 3,500 หน่วย
7. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) เป้าหมาย: ร้อยละ 60

จานวน 7 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดที่เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล
* หมายถึง ตัวชี้วัดที่เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น) 23
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : อัตราการเพิ่มขึ้นของจานวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยว รหัส : 050303
เชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว (เฉลี่ยร้อยละ)
คาอธิบาย :
• สถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ หมายถึง สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้แก่ กิจการสปา นวดเพื่อสุขภาพ หรือนวดเพื่อเสริม ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ความงาม ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินบันได 2 ขั้น (ภาคบังคับ) และได้รับการรับรอง ดังนี้
• บันไดขั้นที่ 1 ผ่านมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามที่กฎหมายกาหนด โดยสถานประกอบการจะต้องดาเนินการจัดสถานประกอบการ
ให้ได้มาตรฐานตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 ได้แก่ มาตรฐานด้านสถานที่ ความปลอดภัย และ
การให้บริการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพแต่ละประเภทให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง แผนแม่บท : ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว
• บันไดขั้นที่ 2 ผ่านการประเมินตนเอง และได้รับการรับรองเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-2019) จานวน
5 ด้าน 40 ข้อ ในสถานประกอบการสปา นวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อเสริมความงามในส่วนภูมิภาคผู้รับรอง ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
และกรุงเทพมหานครผู้รับรอง ได้แก่ กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แผนแม่บทย่อย :การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
1. สถานประกอบการประเมินตนเองตาม แนวทางการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในสถานประกอบการ 5 หมวด 40 ข้อ เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : สถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบ และ re- check และบริการทางการแพทย์ได้รบั มาตรฐานเพิ่มขึน้
3. หากผลการตรวจสอบผ่าน ถูกต้อง ครบถ้วน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะกดผ่านการประเมิน และใบรับรองจะแสดงผลออกมา
4. ผู้ประกอบการ สามารถปริ้นท์ใบรับรองที่ผ่านการประเมินออกได้เลย ค่าเป้าหมาย
• เงื่อนไข : ภาคบังคับ ประเมินโดย ใช้เกณฑ์ผ่านการรับรองเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-2019) จานวน
5 ด้าน 40 ข้อ ดังนี้ 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
1. ผ่านบันไดขั้นที่ 1 ต้องเป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการแล้ว โดยจะต้องรักษามาตรฐานตามมาตรา 26 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
2. ผ่านบันไดขัน้ ที่ 2 ต้องผ่านการประเมินตนเอง และได้รับการรับรองเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10
(COVID-2019) จานวน 5 ด้าน 40 ข้อ
• ภาคบังคับ ร้อยละของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินและผ่านการรับรอง บันไดขั้นที่ 2 = (A/B) x 100
A = จานวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในพื้นที่จังหวัดเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566)
B= จานวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในพื้นที่จังหวัดเป้าหมายที่ยื่นขอรับการตรวจประเมินตนเองผ่านเกณฑ์การประเมินและผ่านการ
รับรองบันไดขั้นที่ 2 (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566)
• (เป้าหมาย) สถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภท กิจการสปา นวดเพื่อสุขภาพหรือนวดเพื่อเสริมความงาม ในพื้นที่ท่องเที่ยวนาร่อง 8 แห่ง ได้แก่
เชียงใหม่ เชียงราย ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี บุรีรัมย์ ชลบุรี และกรุงเทพมหานคร

หมายเหตุ : - 24
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : อัตราการเพิ่มขึ้นของจานวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยว รหัส : 050303
เชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว (เฉลี่ยร้อยละ) (ต่อ)

ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
เป้าหมาย ปี 2566 : เพิ่มขึ้นร้อยละ 7
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
แผนแม่บท : ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว

2561 2562 2563 2564* 2565 2566 2567 2568 2569 2570 แผนแม่บทย่อย :การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
n/a n/a n/a เพิ่มขึ้น n/a เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : สถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
1,542 แห่ง ร้อยละ 7 และบริการทางการแพทย์ได้รบั มาตรฐานเพิ่มขึน้

ค่าเป้าหมาย
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : 1. ปี 2564 เทียบเคียงข้อมูลการเพิ่มขึ้นของสถานประกอบการนวด และสถานประกอบการด้านสปา ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2564
2. ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข


ช่วงเวลารายงานผล : รายปี
หมายเหตุ : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 25
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (คนต่อประชากร 1 แสนคน) รหัส : 070105
คาอธิบาย :
• อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน เป็นตัวชี้วัดที่บูรณาการการทางานร่วมกันระหว่างกระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวง
สาธารณสุข
• ผู้เสียชีวิต หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน นับตั้งแต่เกิดเหตุจนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุระหว่างนาส่งโรงพยาบาล ที่ห้อง ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ฉุกเฉินระหว่างส่งต่อ (Refer) กรณี Admitted เสียชีวิตในตึกผู้ป่วยภายใน 24 ชม. และเสียชีวิตในตึกผู้ป่วยหลัง 24 ชม.จนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงขอกลับไป
ตายที่บ้าน ทั้งนี้ ให้นับข้อมูลรวมทุกกลุ่มอายุโดยใช้ข้อมูลจากการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน (กระทรวงสาธารณสุข สานักงานตารวจแห่งชาติ และบริษัทกลางคุ้มครอง
ผู้ประสบภัยจากรถ จากัด แผนแม่บท : ประเด็นที่ 7 โครงสร้างพื้นฐาน ระบบ
• อุบัติเหตุทางถนน หมายถึง การชนหรืออุบัติการณ์ซึ่งมีพาหนะที่กาลังเคลื่อนที่เพื่อวัตถุประสงค์ในการเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ ง ซึ่งเกิดบริเวณทางตาม โลจิสติกส์ และดิจิทัล
กฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก รวมทั้งทางส่วนบุคคลเป็นเหตุให้ทรัพย์สินเสียหาย หรือมีผู้บาดเจ็บ หรือมีผู้เสียชีวิต ไม่รวมทางน้า และทางอากาศ
แผนแม่บทย่อย : โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม และระบบโลจิสติกส์
เป้าหมาย ปี 2566 : ไม่น้อยกว่า 12 คนต่อประชากร 1 แสนคน เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
2561* 2562* 2563* 2564* 2565 2566 2567 2568 2569 2570 ค่าเป้าหมาย
31.22 คน 30.53 คน 27.07 คน 25 คน n/a ไม่เกิน 12 คน ต่อประชากร 1 แสนคน 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ต่อ ต่อ ต่อ ต่อ 12 คน 12 คน 12 คน 8 คน 5 คน
ประชากร ประชากร ประชากร ประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร
1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน
ผลการดาเนินงานต่ากว่าค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 (12 คน)
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (เป็น Joint KPI หว่าง กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม
ข้อมูลจาก Injury Data Collaboration Center (IDCC)
ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี
หมายเหตุ : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 26
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ดัชนีพัฒนาการเด็กสมวัย รหัส : 110201
คาอธิบาย : เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย ให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อมทั้งสุขภาวะ เจตคติ
ความรู้และทักษะให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ การส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การส่งเสริมการเกิด
อย่างมีคุณภาพ การส่งเสริมดูแลด้านโภชนาการเด็ก การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางานให้พ่อแม่สามารถ ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
เลี้ย งดูบุ ตรได้ด้วยตนเอง การพัฒนาหน่ วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลพัฒนาเด็กให้มีมาตรฐานและมี ทรัพยากรมนุษย์
ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัยเริ่มตั้งแต่การเกิดอย่างมีคุณภาพ การเจริญเติบโต
และการมีพัฒนาการสมวัย การจั ดบริ การและสวัสดิการสาหรับเด็กปฐมวัย ระบบสนับสนุนการพัฒ นาเด็กปฐมวัย
ตลอดจนกลไกบริหารจัดการเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กที่มีประสิทธิภาพ แผนแม่บท : ประเด็นที่ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต

เป้าหมาย ปี 2566 : เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 84 แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพมีพัฒนาการสมวัย สามารถ


เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น
2561* 2562* 2563* 2564* 2565 2566 2567 2568 2569 2570
ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ เพิ่มขึ้นเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ร้อยละ 84 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
80.6 86.95 82 82 84
ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95
ในปี 2565 (ร้อยละ 80)

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : 1. สธ. สารวจพัฒนาการจากเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
แล้วผลตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน (การเคลื่อนไหว การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก การเข้าใจภาษา การใช้ภาษา การช่วยเหลือตนเองและสังคม)
2. ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
ช่วงเวลารายงานผล : รายปี
หมายเหตุ : : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 27
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (อายุเฉลี่ย) รหัส : 130001
คาอธิบาย :
• เป็นการคาดการณ์จานวนปีโดยเฉลี่ยของการมีชีวิตอยู่ของประชากรอย่างมีสุขภาพที่ดี สะท้อนการคาดประมาณ
จานวนปีโดยเฉลี่ยของการมีชีวิตอยู่ของประชากรโดยปรับกับผลรวมของสถานะสุขภาพระดับต่าง ๆ ในแต่ละช่วงชีวิต ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ซึ่งมีการให้น้าหนักของสถานะสุขภาพเท่ากับ 1 หรือ สุขภาพสมบูรณ์ที่สุด ไปจนถึง 0 ซึ่งหมายถึงการตาย โดยจานวน ทรัพยากรมนุษย์
ปีเฉลี่ยการมีชีวิตอยู่จะถูกปรับค่าให้ลดลงหากประชากรทุกคนไม่ได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ที่สุด และจานวนปีจะลดลงมาก
หากประชากรที่มีชีวิตอยู่นั้นมีสุขภาพไม่ดี แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
มีสุขภาวะที่ดี
• สามารถพิจารณาอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (อายุเฉลี่ย) จากฐานข้อมูล Healthy life expectancy (HALE)
ซึ่งจัดทาโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO)
เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่ดีเพิ่มขึ้น
เป้าหมาย ปี 2566 : ไม่น้อยกว่า 70 ปี
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 ค่าเป้าหมาย
2561 2562* 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
n/a 68.3 ปี n/a n/a n/a ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า 70 ปี ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า
70 ปี 68 ปี 70 ปี 72 ปี 75 ปี
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 (ไม่น้อยกว่า 68 ปี)

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กระทรวงสาธารณสุข

ช่วงเวลารายงานผล : ทุก 5 ปี
หมายเหตุ : : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 28
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 5 : การจัดอันดับประสิทธิภาพโดย BLOOMBERG /CEO WORLD (Proxy) รหัส : 130301 การจัดอันดับประสิทธิภาพ
คาอธิบาย : ระบบบริการสุขภาพ
• (1) ประเมินผลการดาเนินงานโดยการเทียบเคียงจากการจัดอันดับประสิทธิภาพโดย BLOOMBERG ที่มีการจัดอันดับประเทศทั้งหมด
56 ประเทศทั่วโลก โดยพิจารณาจากประสิทธิภาพระบบบริการสุขภาพ ประกอบด้วยดัชนีย่อยคือ 1) การลงทุนในด้านสุขภาพ และ ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
2) อายุคาดเฉลี่ย โดยสามารถวัดอันดับที่ได้ มาจากดัชนีย่อยคือการลงทุนในด้านสุขภาพ (คิดเป็นร้อยละเทียบกับ GDP) และ อายุคาดเฉลี่ย ทรัพยากรมนุษย์
(คิดเป็นจานวนปี)
• (2) พิจารณาจากอันดับระบบสุขภาพดีที่สุดในโลก มีการสารวจโดย CEOWORLD ที่มีการจัดอันดับทั้งหมด 89 ประเทศทั่วโลก ซึ่ง
การจัดอันดับดังกล่าว มีปัจจัยวิเคราะห์ 5 ปัจจัยสาคัญในการวิเคราะห์ ประกอบด้วย (1) โครงสร้างพื้นฐานของระบบบริการสุขภาพ แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
มีสุขภาวะที่ดี
2) บุคลากรทางการแพทย์ (แพทย์, พยาบาล และบุคลากรทางสาธารณสุข ) 3) ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อปี 4) ความพร้อมของยาที่ให้บริการ
และ 5) ความพร้อมของรัฐบาล เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่
ดีเพิ่มขึ้น
เป้าหมาย ปี 2566 : อันดับที่ 1 ใน 20 แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้างสุขภาวะที่ดี
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น
2561* 2562** 2563 2564** 2565 2566 2567 2568 2569 2570
อันดับที่ ค่าเป้าหมาย
อันดับที่ อันดับที่ n/a อันดับที่ n/a อันดับที่ 1 ใน 20
27 6 13 1 ใน 20 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
(BloomBerg) (Ceo world) (Ceo world)
อันดับที่ อันดับที่ อันดับที่ อันดับที่
ผลการดาเนินงานต่ากว่าค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ 1 ใน 25 1 ใน 20 1 ใน 15 1 ใน 15
ในปี 2565 (อันดับ 1 ใน 25)

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : BLOOMBERG (ข้อมูลจากศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) และ
CEOWORLD Magazine (ข้อมูลจาก สศช.)
ช่วงเวลารายงานผล : -
หมายเหตุ : * รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการพัฒนาระบบสถิติข้อมูลและตัวชีว้ ดั เพือ่ ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2564 ** ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 29
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 6 : จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
คาอธิบาย
• คานิยาม
ประชาชน หมายถึง จานวนประชาชนอยูใ่ นพื้นที่ที่เปิดดาเนินการของหน่วยบริการปฐมภูมหิ รือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ทผี่ ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการดูแลประชาชนตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ หมายถึง หน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หมายถึง แพทย์ที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว หรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัวจากหลักสูตรที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้ความเห็นชอบ
1. หลักสูตรพื้นฐานเวชศาสตร์ครอบครัวสาหรับแพทย์ปฐมภูมิ Basic Course of Family Medicine for Primary Care Doctor
2.หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น “เวชศาสตร์ครอบครัวสาหรับแพทย์ปฏิบัติงานในคลินิกหมอครอบครัว” พ.ศ. 2562
คณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ หมายถึง ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งปฏิบัติงานร่วมกันกับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งผ่านการฝึกอบรมด้านสุขภาพปฐมภูมเิ พื่อเป็นผู้สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์เวชศาสตร์
ครอบครัวและผู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าว
บริการสุขภาพปฐมภูมิ เป็นบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดแู ลสุขภาพของบุคคลในบัญชีรายชือ่ ซึ่งมีขอบเขต ดังต่อไปนี้
1. บริการสุขภาพอย่างองค์รวม แต่ไม่รวมถึงการดูแลโรคหรือปัญหาสุขภาพที่จาเป็นต้องใช้เทคนิคหรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ซับซ้อน การปลูกถ่ายอวัยวะ และการผ่าตัด ยกเว้น การผ่าตัดขนาดเล็กซึ่งสามารถฉีดยาชาเฉพาะที่
2. บริการสุขภาพตั้งแต่แรก ครอบคลุมทุกกระบวนการสาธารณสุข ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรั กษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ แต่ไม่รวมถึงการบริการแบบผู้ป่วยนอกของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ การบริการแบบผู้ป่วยใน การ
คลอด และการปฏิบัติการฉุกเฉิน ยกเว้น กรณีการปฐมพยาบาลและการดูแลในภาวะฉุกเฉินเพื่อให้รอดพ้นภาวะฉุกเฉิน
3. บริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ทุกช่วงวัยตั้งแต่ การตั้งครรภ์ ทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทางาน วัยสูงอายุ จนกระทั่งเสียชีวิ ต
4. การดูแลสุขภาพของบุคคลแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การดูแลสุขภาพโดยการแพทย์แผนปัจจุบนั การแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก
5. การบริการข้อมูลด้านสุขภาพและคาปรึกษาด้านสุขภาพแก่บุคคลในบัญชีรายชื่อ ตลอดจนคาแนะนาที่จาเป็นเพื่อให้สามารถตัดสินใจในการเลือกรับบริการหรือเข้าสู่ระบบการส่งต่อ
6. การส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพและมีความรู้ในการจัดการสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ตลอดจนอาจสามารถร่วมตัดสินใจในการวางแผนการดูแลสุขภาพร่วมกับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและ
คณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิได้
7. การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคในระดับชุมชน
• ขอบเขตการประเมิน
1. โรงพยาบาลศูนย์ (34 แห่ง) โรงพยาบาลทั่วไป (92 แห่ง) โรงพยาบาลชุมชน (775 แห่ง) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (9,777 แห่ง) ในจังหวัด / เขตสุขภาพ 12 เขต (ที่มา จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.)
2. เป้าหมายการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมทิ ี่ดาเนินการในพื้นที่ระยะ 10 ปี (ระยะเตรียมการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - 2562) เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปีพ.ศ. 2563 - 2572 จานวนหน่วยบริการ
ปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมทิ ั้งหมด 6,790 หน่วย ทั้งนี้ เป้าหมายเป็นไปตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
• วิธีการเก็บข้อมูล
จัดเก็บจากข้อมูลจานวนหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมใิ นระบบลงทะเบียน
• แหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลจากระบบลงทะเบียน

30
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 6 : จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 (ต่อ)
ข้อมูลพื้นฐาน แผนระยะยาว / Roadmap (2564-2573)
ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 ปีงบประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ผลการดาเนินงาน 353 หน่วย 329 หน่วย ร้อยละ 18.15 ร้อยละ 28.53 ร้อยละ 38.65 เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม
(นับสะสม (นับสะสม (นับสะสม (นับสะสม (2,512 / 2,145 ค่าเป้าหมาย
2,500 หน่วย 3,000 หน่วย 3,500 หน่วย 4,000 หน่วย 4,500 หน่วย
407 หน่วย) 682 หน่วย) 1,180 หน่วย) 1,855 หน่วย) หน่วย)
ปีงบประมาณ 2569 2570 2571 2572 2573

ค่าเป้าหมาย เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม เป้าหมายสะสม


5,000 หน่วย 5,500 หน่วย 6,000 หน่วย 6,500 หน่วย 6,790 หน่วย

ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570


2566 2567 2568 2569 2570
เป้าหมายสะสม 3,500 หน่วย N/A
ผลการดาเนินงาน 3,191 หน่วย

เงื่อนไข : -

หมายเหตุ :

ผู้รับผิดชอบการรายงานผล :
ช่วงเวลารายงานผล : -
หมายเหตุ : 31
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 7 : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)
คาอธิบาย :
• ผู้ป่วยยาเสพติด หมายถึง ผู้ป่วยยาเสพติดทุกระบบ ทุกระดับความรุนแรงที่เข้ารับการบาบัดรักษาและมีการสรุปผลการบาบัดแบบครบโปรแกรม ยกเว้นผู้ป่วยที่มีการจาหน่ายกรณี เสียชีวิต และผู้ป่วยที่ให้เมทาโดน
ระยะยาว (Methadone Maintenance Therapy) ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มา : ระบบข้อมูลการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.)
• สูตรการคานวณ : จานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้เสพ หรือผู้ติด ที่ผ่านการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา และจานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้ใช้ที่ผา่ นการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา (ข้อมูล 1) X 100
จานวนผู้บาบัดรักษา ตามสถานะที่มีการประเมินผลการบาบัดรักษาทั้งแบบครบโปรแกรม/ไม่ครบโปรแกรม (ข้อมูล 2)

ข้อมูลพื้นฐาน : ข้อมูล ปี 2564 ณ 12 ส.ค. 64


ระบบสม ัครใจ (รอบ) ระบบบ ังค ับบำบ ัด (รอบ) ระบบต้องโทษ (รอบ) ทุกระบบ (รอบ)

ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2


ปี
งปม. ข้อมูล
ข้อมูล ไม่ครบ ข้อมูล ไม่ครบ ข้อมูล ไม่ครบ ไม่ครบ
% % % ที่ 1 %
ที่ 1 ครบ โปรแกรม ที่ 1 ครบ โปรแกรม ที่ 1 ครบ โปรแกรม ครบ โปรแกรม
ทงหมด
ั้ ทงหมด
ั้ ทงหมด
ั้ ทงหมด
ั้
โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ
จำหน่ำย จำหน่ำย จำหน่ำย จำหน่ำย

2562 65,117 100,683 82,862 17,821 64.68 27,010 72,662 57,679 14,983 37.17 9,207 25,533 24,989 544 36.06 101,334 198,878 165,530 33,348 50.95

2563 64,008 97,190 81,083 16,107 65.86 37632 95,707 72,897 22,810 39.32 10,249 26,503 26,016 487 38.67 111,889 219,400 179,996 39,404 51.00

2564 38,248 57,025 47,365 9,660 67.07 34,015 95,442 66,227 29,215 35.64 9,611 19,222 18,814 408 50.00 81,874 171,689 132,406 39,283 47.69

ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570


2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 60 N/A
ผลการดาเนินงาน ร้อยละ 58.19
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ :
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล :
ช่วงเวลารายงานผล : - 32
3 ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs)

33
3. ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs)

มติ ก.พ.ร. ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565


เห็นชอบตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 3 ประเด็น ได้แก่
1) การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2) ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค และ
3) รายได้จากการท่องเที่ยว
และให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565


เห็นชอบตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2) ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค และ 3) รายได้จากการท่องเที่ยว เพื่อผลักดันให้นโยบายสาคัญ
(Agenda) ให้บรรลุเป้าหมาย

34
3. ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) (ต่อ)

ประเด็นนโยบายสาคัญ (Agenda) สาหรับการกาหนด Joint KPIs ประจาปีงบประมาณ พ.ศ 2566


ประกอบด้วย 3 ประเด็นดังนี้

ประเด็นเป้าหมาย 1: ประเด็นเป้าหมาย 2: ประเด็นเป้าหมาย 3:


ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค รายได้จากการท่องเที่ยว
เป้าหมายแผนแม่บท
เป้าหมายแผน เป้าหมายแผนแม่บท 050001 านการท่องเที่ยว
แม่บทย่อย : 190001 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้
ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1. ความมั่นคงด้านน้า ตัวชี้วัด
ของประเทศไทยลดลง ของประเทศเพิ่มขึ้น สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ร้อยละ)

ตัวชี้วัดเป้าหมาย 180301
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมในสาขาพลังงานและขนส่งสาขา ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเทียบเคียง เป้าหมายแผนแม่บท 050002 ตัวชี้วัด
อัตราส่วนรายได้จากการ
กระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และสาขาการจัดการของเสียลดลง ดัชนีความมั่นคงด้านน้าของ การจัดอันดับดัชนีความ ท่องเที่ยวของเมืองหลักและ
(ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์) ประเทศ (ระดับ/คะแนน) มั่นคงด้านน้าของประเทศ 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของเมืองรองเพิ่มขึ้น เมืองรอง (สัดส่วน)

35
3. ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) (ต่อ)
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นเป้าหมาย 1 : ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
แผนแม่บทย่อย 18.3 การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ 27 หน่วยงาน 17 จังหวัด* 25 ตัวชี้วัด
เป้าหมาย 180301 : การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยลดลง

V01 V02 V03 V04


นโยบายด้านการลดก๊าซเรือนกระจก การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การดาเนินงานลดก๊าซเรือนกระจก สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
ด้านการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ บนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
• F0101 การกาหนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่ • F0201 ระบบสารสนเทศการจัดทาบัญชีกา๊ ซเรือน • F0301 การดาเนินงานตามนโยบาย และแผนที่ • F0401 กฎหมาย/เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์/กลไกทางการเงิน/กลไก
ชัดเจน กระจกของประเทศไทย เกี่ยวข้อง ตลาดทุน/มาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้อง
• F0102 การประเมินและคาดการณ์ศักยภาพในการลด
ก๊าซเรือนกระจกที่มีประสิทธิภาพ
• F0202 กระบวนการ/ระบบการตรวจวัด การรายงาน
และการทวนสอบ
• F0302 การบูรณาการทางานของทุกภาคีที่เกีย่ วข้อง
• F0303 ศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ
• F0402 งานวิจัย องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในภาคหรือสาขาที่
เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายแผน
• F0103 นโยบายที่เกี่ยวข้อง • F0203 การรายงาน และการติดตามประเมินผลการลด ตรวจวัด การรายงาน การทวนสอบ และการติดตาม สภาพภูมิอากาศ แม่บทย่อย :
• F0104 การบังคับใช้ระเบียบ/กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ก๊าซเรือนกระจกที่เป็นระบบ ประเมินผล • F0403 ข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสร้างความ
ตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วน การปล่อยก๊าซ
• F0404 เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าอย่างยั่งยืน ในระดับเมือง พื้นที่
และอุตสาหกรรม ภายใต้แนวคิด BCG เรือนกระจกของ
• F0405 การให้บริการข้อมูลภูมิอากาศของประเทศ และระบบฐานข้อมูล
ความเสี่ยงเชิงพื้นที่ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประเทศไทยลดลง
• F0406 การบริหารจัดการภัยพิบัติอย่างเป็นระบบและบูรณาการทั้งราย
สาขาและรายพื้นที่ ตัวชี้วัดเป้าหมาย 180301
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวม
ในสาขาพลังงานและขนส่งสาขา
กระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้
ผลิตภัณฑ์ และสาขาการจัดการของเสีย
ลดลง (ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์)
* รายชื่อจังหวัดที่มีการถ่ายทอดตัวชี้วัด 17 จังหวัด ได้แก่ 1) เชียงใหม่ 2) เชียงราย 3) ตาก 4) นครสวรรค์ 5) น่าน 6) พะเยา 7) พิษณุโลก 8) แพร่ 9) แม่ฮ่องสอน 10) ลาปาง 11) ลาพูน
12) อุตรดิตถ์ 13) สุโขทัย 14) กาแพงเพชร 15) พิจิตร 16) เพชรบูรณ์ และ 17) อุทัยธานี 36
3. ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) (ต่อ)
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นเป้าหมาย 2 : ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค
แผนแม่บทย่อย 19.1 การพัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านน้าของประเทศ
เป้าหมาย 190101 : ระดับความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นจากระดับ 3 ให้เป็นระดับ 4 (สูงสุดที่ระดับ 5)
7 หน่วยงาน 27 จังหวัด* 8 ตัวชี้วัด
V01
V02
การเข้าถึงน้าอุปโภค/บริโภค
การบริหารจัดการคุณภาพน้า
อย่างเพียงพอได้มาตรฐาน

กิจกรรม กิจกรรม
• F0101 การสารวจ ออกแบบ มาตรฐานแหล่งน้าต้นทุน • F0201 แหล่งกาเนิดมลพิษทางน้า
• F0102 ประสิทธิภาพระบบน้าประปา • F0202 ระบบบาบัดน้าเสียชุมชน
เป้าหมายแผนแม่บท
• F0103 คุณภาพประปา • F0203 การจัดสรรน้าเพื่อรักษาระบบนิเวศ
• F0104 คุณภาพน้าเพื่อการอุปโภค/บริโภค • F0204 คุณภาพน้าตามแหล่งน้าธรรมชาติ
1. ความมั่นคงด้านน้า
ของประเทศเพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด
ดัชนีความมั่นคงด้านน้าของ
ตัวชี้วัดเป้าหมาย 190101 (V01 , V02) ประเทศ (ระดับ/คะแนน)
ระดับความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20
ตัวชี้วัดเทียบเคียง
* รายชื่อจังหวัดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อมูลพื้นฐาน การจัดอันดับดัชนีความมั่นคง
รายชื่อจังหวัดที่มีการถ่ายทอดตัวชี้วดั 27 จังหวัด ได้แก่ 1) สมุทรปราการ 2) นนทบุรี 3) ปทุมธานี 4) พระนครศรีอยุธยา 5) อ่างทอง 6) สิงห์บุรี 7) ชัยนาท 8) นครสวรรค์ 9) ลพบุรี 10) อุทัยธานี 11) สมุทรสาคร ด้านน้าของประเทศ
12) นครปฐม 13) สุพรรณบุรี 14) อุบลราชธานี 15) ศรีสะเกษ 16) สุรินทร์ 17) บุรีรัมย์ 18) นครราชสีมา 19) ร้อยเอ็ด 20) มหาสารคาม 21) ลาพูน 22) เชียงใหม่ 23) กาแพงเพชร 24) ตาก 25) จันทบุรี 26) ตราด 27) ระยอง 37
3. ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) (ต่อ)
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นเป้าหมาย 3 : รายได้จากการท่องเที่ยว
เป้าหมายแผนแม่บทฯ ประเด็น 5 การท่องเที่ยว 18 หน่วยงาน 27 จังหวัด* 26 ตัวชี้วัด
เป้าหมาย 050101 : เป้าหมาย 050201 : เป้าหมาย 050301 : เป้าหมาย 050401 :
รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รายได้จากท่องเที่ยวเชิงธุรกิจเพิ่มขึ้น รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รายได้จากการท่องเที่ยว
และวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น ความงาม และแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น สาราญทางน้าเพิ่มขึ้น
V01 • F0101 สินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • F0101 มาตรฐานและความปลอดภัยของ V01 • F0101 เส้นทางเชื่อมโยงจากท่าเรือไปยัง
• F0101 เครือข่ายกลุ่มความร่วมมือ V01 • F0102 โครงสร้างพื้นฐานและสิ่ง V01 สินค้าและบริการ แหล่งท่องเที่ยว
ฐานทุนวัฒนธรรม ทางวิชาการ ความพร้อมของ อานวยความสะดวกที่มีประสิทธิภาพ สินค้าและบริการการ •• F0102 มาตรฐานสถานประกอบการ แหล่งท่องเที่ยว • F0102 ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว
ของพื้นที่ • F0102 การวิจัยเชิงพื้นที่ สินค้าและบริการ • F0103 มาตรฐานและความเป็นมือ ท่องเที่ยวเขิงสุขภาพ F0103 ความหลากหลายและความ เชื่อมโยงท่าเรือ • F0103 ขีดความสามารถในการรองรับ
ครอบคลุมของสินค้าและบริการ ที่เชื่อง นักท่องเที่ยว
ของการท่องเที่ยว อาชีพของบุคลากรและผู้ประกอบการ โยงการท่องเที่ยว
• F0201 ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะ เชิงธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่อง
• F0201 บุคลากรด้านการท่องเที่ยวทางน้า
V02
วัฒนธรรม และองค์ความรู้ของท้องถิ่น ที่มีศักยภาพ
V02 • F0202 ศักยภาพชุมชน และ • F0201 การสื่อสารภาพลักษณ์ (Image
V02 •

F0201 มาตรฐานวิชาชีพของบุคลาการ บุคลากรด้าน
การท่องเที่ยวสาราญ • F0202 ระเบียบ กฎหมายที่เอื้อต่อการ
ดาเนินธุรกิจ
เป้าหมายแผนแม่บท 050001
การเพิ่มมูลค่า ผู้ประกอบการ V02 บุคลากรที่เกี่ยวข้อง F0202 บุคลากรทางการแพทย์มีชื่อเสียง
และเป็นที่ยอมรับ ทางน้า และกฎหมาย
• F0203 ความร่วมมือและการพัฒนา and Branding) ด้านการท่องเที่ยวเชิง ในกระบวนการ
ให้กับสินค้า การตลาด ธุรกิจของไทยในระดับโลก ท่องเที่ยวเชิง • F0203 คุณภาพและความหลากหลายของ • F0301 การเป็นท่าเรือเริ่มต้นหรือ 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยว
บริการ และแหล่ง เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ • F0202 กลุ่มตลาดเป้าหมายที่สาคัญใน บุคลากรทางการแพทย์ V03 ปลายทางของการท่องเที่ยวสาราญทางน้า
ท่องเที่ยว ที่มีประสิทธิภาพ ทุกระดับ
สุขภาพ สิ่งอานวยความ • F0302 การสร้างผูใ้ ห้บริการการท่องเที่ยว ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น
ท่องเที่ยว • F0204 มาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว สะดวกและ •
สาราญทางน้า
F0303 การสนับสนุนเครือข่ายธุรกิจ
สินค้า และบริการ • F0301 การดูแลสุขภาพของนักท่องเที่ยว ระหว่างภาคเอกชน
V03 แบบครบวงจร อุตสาหกรรม • F0304 ศักยภาพของอุตสาหกรรมและ ตัวชี้วัด
สิ่งอานวยความ •

F0302 เครือข่ายท่องเที่ยวเชื่อมโยง
F0303 การอานวยความสะดวกในการ
เชื่อมโยง บริการเชื่อมโยง สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อ
V03 • F0301 การตลาด ที่มุ่งเน้นการสื่อสาร V03 • F0301 การประมูลสิทธิ์/จัดงาน/การ สะดวก เดินทางของนักท่องเที่ยวและญาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ร้อยละ)
การตลาดเพื่อ คุณค่าและภาพลักษณ์ของประเทศ การบริหารจัดการ จัดการแข่งขันกีฬา ที่สร้างผลกระทบ • F0401 การสื่อสาร สร้างการรับรู้ แหล่ง
• F0302 การสร้างการตระหนักรู้ต่อ กิจกรรมท่องเทีย่ ว ทางเศรษฐกิจ/สังคมสูง V04 ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
การท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว • F0302 สิ่งอานวยความสะดวกในการ • F0401 การเจาะกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การตลาดที่ • F0402 กิจกรรมการตลาด
สร้างสรรค์และ • F0303 กิจกรรมการท่องเที่ยวที่
เชิงธุรกิจให้บรรลุ V04 • F0402 การตระหนักถึงความสาคัญและ สนับสนุนการ • F0403 การจัดงานที่สอดคล้องกับ
เป้าหมาย จัดงาน การตลาดเพื่อ ช่วงเวลาเทียบท่าของเรือท่องเที่ยว
วัฒนธรรม สร้างสรรค์
สนับสนุนท่องเที่ยว •
ยอมรับในมาตรฐานสาธารณสุข
F0403 เครื่องมือทางการตลาดที่
ท่องเที่ยวสาราญ
ทางน้า
• F0404 เส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ใน
ประเทศไทย
เป้าหมายแผนแม่บท 050002
เชิงสุขภาพ สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
V04
V04 • F0401 ศักยภาพความพร้อมของ สภาพแวดล้อมที่เอื้อ • F0401 ฐานข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวข้อง • F0501 ท่าเรือและร่องน้าเพื่อรองรับเรือ
สภาพแวดล้อมที่เอื้อ บุคลากรการท่องเที่ยวในชุมชน ต่อการส่งเสริม • F0402 เทคโนโลยี นวัตกรรม และ V05 V05 ท่องเที่ยวขนาดต่าง ๆ 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของเมืองรองเพิ่มขึ้น
ต่อการสร้างรายได้ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ • F0501 ฐานข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวข้อง สภาพแวดล้อมที่เอื้อ • F0502 ฐานข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวข้อง
• F0402 ฐานข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวข้อง การท่องเที่ยว ระบบสารสนเทศ การเพิ่มขึ้นของรายได้ • F0502 ความเชื่อมั่นต่อภาพลักษณ์ ต่อการสร้างรายได้ • F0503 การอานวยความสะดวกในการ
จากการท่องเที่ยว • F0403 เทคโนโลยีและนวัตกรรม ต่อเนื่องหลังจาก สินค้า บริการ สถานประกอบการ การท่องเที่ยวสาราญ ประกอบธุรกิจสาราญทางน้า
เชิงสร้างสรรค์และ ประชุม และอันดับจากการ ทางน้า • F0504 กฎ ระเบียบ นโยบายที่เอื้อต่อ ตัวชี้วัด
วัฒนธรรม ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวสาราญทางน้า
อัตราส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวของเมืองหลักและเมืองรอง
(สัดส่วน)
ตัวชี้วัดเป้าหมาย 050101 ตัวชี้วัดเป้าหมาย 050201 ตัวชี้วัดเป้าหมาย 050301 ตัวชี้วัดเป้าหมาย 050401
1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิง 1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ 1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิง 1. อัตราการขยายตัวของรายได้การท่องเที่ยวสาราญ
สร้างสรรค์และวัฒนธรรม (เฉลี่ยร้อยละ) (เฉลี่ยร้อยละ) สุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย (เฉลี่ยร้อยละ) ทางน้า (เฉลี่ยร้อยละ)
* รายชื่อจังหวัดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อมูลพื้นฐาน
1. ตัวชี้วัดรายได้จากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จานวน 7 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต พังงา ยะลา สุราษฎร์ธานี ชลบุรี นราธิวาส กระบี่
2. ตัวชี้วัดรายได้จากการท่องเที่ยวของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย จานวน 20 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ชลบุรี ภูเก็ต กระบี่ สงขลา ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี กาญจนบุรี นครราชสีมา เชียงราย สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น นครศรีธรรมราช พระนครศรีอยุธยา ตราด อุดรธานี สตูล จันทบุรี ตรัง 38
ตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นเป้าหมาย 1: ประเด็นเป้าหมาย 2: ประเด็นเป้าหมาย 3:
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค รายได้จากการท่องเที่ยว

เป้าหมายแผนแม่บท
เป้าหมายแผน เป้าหมายแผนแม่บท 050001 านการท่องเที่ยว
แม่บทย่อย : 190001 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้
ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1. ความมั่นคงด้านน้า ตัวชี้วัด
ของประเทศไทยลดลง ของประเทศเพิ่มขึ้น สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ร้อยละ)

ตัวชี้วัดเป้าหมาย 180301
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมในสาขาพลังงานและขนส่งสาขา ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเทียบเคียง เป้าหมายแผนแม่บท 050002 ตัวชี้วัด
อัตราส่วนรายได้จากการ
กระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และสาขาการจัดการของเสียลดลง ดัชนีความมั่นคงด้านน้าของ การจัดอันดับดัชนีความ ท่องเที่ยวของเมืองหลักและ
(ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์) ประเทศ (ระดับ/คะแนน) มั่นคงด้านน้าของประเทศ 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของเมืองรองเพิ่มขึ้น เมืองรอง (สัดส่วน)

1. ร้อยละคุณภาพน้าประปาหมู่บ้านได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพ 1. ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) แหล่งท่องเที่ยวเชิง


สุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ด้านภูมิ
น้าประปาดื่มได้ (กรมอนามัย)
ปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ให้
มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น (กรมการแพทย์แผนไทยฯ)
2. จานวนที่เพิ่มขึ้นของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิง
สุขภาพได้รับมาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ (กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ)
3. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบ
ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด (อย.)
4. ร้อยละของสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายได้
มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด (อย.)
39
4 ความเชื่อมโยง Strategic KPIs & Joint KPIs
กับการกาหนดตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

40
4. ความเชื่อมโยง Strategic KPIs & Joint KPIs กับการกาหนดตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงฯ
Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่าง
ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทาง เด็กสมวัย ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ ถนน (คนต่อ BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ ประชากร 1 แสน WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ คน) ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

สานักงาน……………………………. หลักกการกาหนดตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน
11 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70) กาหนด Functional KPIs ได้ 3 ลักษณะ
1.1 Functional KPIs 1. ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็น
1. ตัวชี้วัด ……………Strategic KPIs………………… ร้อยละ XX ภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก
2. ตัวชี้วัด ……………Strategic KPIs………………… ร้อยละ XX 2. ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย
3. ตัวชี้วัด ……………Strategic KPIs………………… ร้อยละ XX Strategic KPIs โดยต้องระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs
4. ตัวชี้วัด: .......... Proxy KPIs............................... ร้อยละ XX ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น
5. ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง Strategic KPIs............................... ร้อยละ XX แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัด
1.2 Joint KPIs ที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด
1. ………………………………………………………. ร้อยละ XX เป็นต้น
2. .............................................................. ร้อยละ XX
2 3. ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี)
การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)
2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15
41
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)
Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข
ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทาง เด็กสมวัย ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ ถนน (คนต่อ BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ ประชากร 1 แสน WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ คน) ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

สานักงาน
ปลัดกระทรวง
- -
√ √ - - √ √ -
สาธารณสุข
กรม
การแพทย์
- - - 2. อัตราตายทารก
แรกเกิด
3. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
4. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
- - √ -
เฉียบพลันชผนิด STEMI
5. ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด
รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์
5.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการ
ผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์
5.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการเคมี
บาบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์
5.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการรังสี
รักษา ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์
6. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง พบว่าเสี่ยง
ต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับ
การรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
6.1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด
ภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิก
ผู้สูงอายุ
6.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองพบว่า
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาใน
คลินิกผู้สูงอายุ
หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 42
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)
Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข
ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทางถนน เด็กสมวัย สุขภาพดี ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ (คนต่อประชากร 1 BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ แสนคน) WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

กรม 3. ร้อยละของศูนย์ - - - 1. ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการใน - 2. จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิ - -


เวลเนส (Wellness ระดับปฐมภูมิได้รับการดูแลรักษาด้วย ที่ร่วมจัดบริการการแพทย์แผน
การแพทย์ Center) แหล่งท่องเที่ยว การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ไทย
แผนไทย เชิงสุขภาพที่ได้รับการ
และ ยกระดับแบบมีส่วนร่วม
การแพทย์ และสร้างสรรค์ด้านภูมิ
ปัญญาการแพทย์แผนไทย
ทางเลือก การแพทย์ทางเลือก และ
สมุนไพร ให้มีคุณค่าและ
มูลค่าสูงเพิ่มขึ้น
กรม - - - - - - 1. ร้อยละของคลินิกหมอ 2. ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวช 3. ร้อยละของผู้ป่วยออทิสติก
สุขภาพจิต ครอบครัว (Primary care ยาเสพจิตที่เข้าสู่ (ASD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่
Unit : PCU) มีระบบ/กิจกรรม กระบวนการบาบัดรักษา ได้มาตรฐาน
ในการดูแลสุขภาพจิตและจิต ได้รับการดูแลอย่างมี 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
เวชในชุมชน คุณภาพต่อเนื่องจนถึงการ หายทุเลา (Full remission)
ติดตาม (Retention Rate) 5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวช
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อ
ความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการ
ดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องบนระบบ
ดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า

หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 43
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)

Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข


ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทางถนน เด็กสมวัย สุขภาพดี ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ (คนต่อประชากร 1 BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ แสนคน) WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

-
กรม
ควบคุมโรค
- -
√ 3. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย
กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
- - -
2. จานวนจังหวัดที่ 4. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย
ดาเนินการขับเคลื่อน TSY กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
program มีจานวนเด็ก
และเยาวชนเสียชีวติ หรือ
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทาง
ถนนลดลง

กรมอนามัย 2. อัตราการคลอดมีชีพในหญิง
5. ร้อยละคุณภาพ
น้าประปาหมู่บา้ น
- -
√ - - - -
อายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง
ได้มาตรฐานตาม อายุ 15-19 ปี พันคนลดลง
เกณฑ์คุณภาพ 3. ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง
น้าประปาดื่มได้ ได้รับการดูแลตาม Care Plan
4.อัตราป่วยด้วยโรคอัน
เนื่องมาจากมลพิษทางอากาศ

หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 44
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)

Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข


ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทางถนน เด็กสมวัย สุขภาพดี ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ (คนต่อประชากร 1 BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ แสนคน) WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

กรม - - - - - - - - 1.จานวนนวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่
วิทยาศาสตร์ หรือที่พัฒนา
การแพทย์ ต่อยอด
2.ร้อยละศูนย์แจ้งเตือนภัย
สุขภาพในชุมชนผ่านเกณฑ์การ
ประเมินคุณภาพที่กาหนด
3.ร้อยละ อสม. หมอประจาบ้าน
ได้รับการพัฒนาเป็น อสม.
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
กรม 3. จานวนที่ - - - 1. ร้อยละของประชาชนวัยเด็ก วัยทางาน - - - 2. ร้อยละของสถานพยาบาล
เพิ่มขึ้นของสถาน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการ
สนับสนุน ประกอบการด้าน แข่งขันด้านอุตสาหกรรม
บริการ การท่องเที่ยวเชิง การแพทย์ครบวงจร
สุขภาพ สุขภาพได้รับ
มาตรฐานธุรกิจ
บริการสุขภาพ

หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 45
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) (มติ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 17 ม.ค. 2566)

Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข


ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมี 5. การจัดอันดับ 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทางถนน เด็กสมวัย สุขภาพดี ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยง
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ (คนต่อประชากร 1 BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา กับ Strategic KPIs
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ แสนคน) WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

สานักงาน 4.1 ร้อยละของ - - - - - - - 1. ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่


ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการอนุญาตจาก
คณะกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ ผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริม
การอาหาร ได้รับการ 2. ร้อยละของรายการยาและ
และยา ตรวจสอบได้ เวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉินที่
มาตรฐานตาม มีอัตราสารองไม่น้อยกว่า 1 เดือน
เกณฑ์ที่กาหนด 3. ร้อยละของการโฆษณา
4.2. ร้อยละของ ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ผิด
สถานประกอบการ กฎหมายลดลง
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
กลุ่มเป้าหมายได้
มาตรฐานตาม
เกณฑ์ที่กฎหมาย
กาหนด

หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 46
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กระทรวงสาธารณสุข
Joint KPIs Strategic KPIs : กระทรวงสาธารณสุข
ลดการปล่อย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ก๊าซเรือน อื่น ๆ
กระจก 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของ 2. อัตราผู้เสียชีวิต 3. ดัชนีพัฒนาการ 4.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 6. จานวนการจัดตั้งหน่วย
ตัวชี้วัด
5. การจัดอันดับ 7. ร้อยละของผู้ป่วย
ความมั่นคง จานวนสถาน จากอุบัติเหตุทาง เด็กสมวัย ประสิทธิภาพโดย บริการปฐมภูมิและเครือข่าย ยาเสพติดที่เข้าสู่ ที่ไม่เชื่อมโยงกับ
ด้านน้าอุปโภค ประกอบการด้านการ ถนน (คนต่อ BLOOMBERG /CEO หน่วยบริการปฐมภูมิตาม กระบวนการบาบัด รักษา
บริโภค ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ ประชากร 1 แสน WORLD พระราชบัญญัติระบบสุขภาพ ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง Strategic KPIs
รายได้จาก ได้รับมาตรฐานการ คน) ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จนถึงการติดตาม
การท่องเที่ยว ท่องเที่ยว (Retention Rate)

สรุป
หน่วยงานที่ไม่ - √ √ - - √ √ หน่วยงานที่ไม่
เชื่อมโยง Joint เชื่อมโยง SKPIs
KPIs Proxy Proxy Proxy Proxy Proxy • สานักงาน
• สานักงาน คณะกรรมการ
ปลัดกระทรวง อาหารและยา
สาธารณสุข • กรมวิทยาศาสตร์
• กรมการแพทย์ การแพทย์
• กรมสุขภาพจิต
• กรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์

หมายเหตุ: ตัวอักษรสีน้าเงิน หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการรายงานผล * หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างหน่วยงาน และไม่ได้เป็นหน่วยงานหลัก (รายงานผลโดยหน่วยงานอื่น)
√ หมายถึง ตัวชี้วัดทีเ่ ป็นตัวเดียวกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy) ที่ถ่ายทอดมาจากตัวชีว้ ัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs)
ตัวอักษรสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชือ่ มโยงกับตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) 47
5 แนวทางการกาหนดเกณฑ์การประเมิน และเป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน

48
5. แนวทางการกาหนดเกณฑ์การประเมิน และเป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน

1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ)
แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่
รูปแบบที่ 1.1 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังดีขึ้นเรื่อย ๆ

รูปแบบที่ 1.2 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังขึ้น ๆ ลง ๆ

รูปแบบที่ 1.3 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังลดลงเรื่อย ๆ

รูปแบบที่ 1.4 การกาหนดค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จัดสรรฯ / แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการหรือแผนระยะยาว (Roadmap)

2 การกาหนดเป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน มี 3 กรณี

49
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ)

รูปแบบที่ 1.1 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังดีขึ้นเรื่อย ๆ


ผลดาเนินการ
98
97
96
95
94
2563 2564 2565

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


ผลการดาเนินงานเฉลี่ย ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด
(3 ปี ย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) + interval

50
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ)

ตัตัววอย่
อย่าางง ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด 2563 2564 2565
ร้อยละของจานวนคาขอของผู้เสียหายและจาเลย ร้อยละ 95.25 ร้อยละ 96.89 ร้อยละ 97.16
ที่พิจารณาได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 96.43

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


ร้อยละ 96.43 ร้อยละ 97.16 ร้อยละ 97.89
(ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง) (ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด 3 ปีย้อนหลัง) (97.61 + Interval 0.73 )

ตัตัววอย่
อย่าางง ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด 2563 2564 2565
สัดส่วนปริมาณการขนส่งสินค้าทางรางต่อปริมาณการขนส่งสินค้าทั้งหมด
ร้อยละ 1.22 ร้อยละ 1.4 ร้อยละ 1.44
ภายในประเทศ (ร้อยละ)
ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


ร้อยละ 1.35 ร้อยละ 1.44 ร้อยละ 1.53
(ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง) (ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด 3 ปีย้อนหลัง) (1.44 + Interval 0.09)
51
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

รูปแบบที่ 1.2 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังขึ้น ๆ ลง ๆ


ผลดาเนินการ
94
92
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
90
88 ผลการดาเนินงานที่ต่าที่สุด ผลการดาเนินงานเฉลี่ย ผลการดาเนินงานเฉลี่ย
86
84
(3 ปี ย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) + interval
2563 2564 2565

ตัตัววอย่อย่าางง ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด 2563 2564 2565


อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 88.84 ร้อยละ 91.88 ร้อยละ 87.27
ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 89.33

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


ร้อยละ 87.27 ร้อยละ 89.33 ร้อยละ 91.39
(ผลการดาเนินงานที่ต่าที่สุด 3 ปีย้อนหลัง) (ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง) (89.33 + Interval 2.06)
52
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

รูปแบบที่ 1.3 ผลการดาเนินงาน 3 ปีย้อนหลังลดลงเรื่อย ๆ


ผลดาเนินการ
1000
800 เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
600
400
ผลการดาเนินงานที่ต่าที่สุด ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด
200 (3 ปี ย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) (3 ปีย้อนหลัง) + interval
0
2563 2564 2565

ตัตัววอย่
อย่าางง ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด 2563 2564 2565
สัดส่วนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองต่อการ ร้อยละ 19.42 ร้อยละ 15.62 ร้อยละ 9.75
เดินทางในเมืองทั้งหมด (ร้อยละ)
ผลการดาเนินงานเฉลี่ย 3 ปี ร้อยละ 14.93

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


ร้อยละ 9.75 ร้อยละ 19.42 ร้อยละ 29.09
(ผลการดาเนินงานที่ต่าที่สุด 3 ปีย้อนหลัง) (ผลการดาเนินงานที่ดีที่สุด 3 ปีย้อนหลัง) (19.42 + Interval 9.67 )
53
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

รูปแบบที่ 1.4 การกาหนดค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จดั สรรฯ/แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการหรือแผนระยะยาว (Roadmap)


กรณี : การกาหนดค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จัดสรรฯ

ตัวอย่าง อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี และด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์


ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 ค่าเป้าหมายตามแผน
ค่าเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ
ยุทธศาสตร์จัดสรรฯ
ผลการดาเนินงาน อันดับที3่ 9 อันดับที3่ 8 อันดับที3่ 8 ปีงบประมาณ 2566-2570 2571-2575 2576-2580 2566
เป้าหมาย 1 ใน 30 1 ใน 27 1 ใน 25 อันดับที่ 37

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2567 หรือ
ผลการดาเนินงานปีล่าสุด (2565) เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2566
กาหนดค่าเป้าหมายตามความเหมาะสม (Tailor Made)

อันดับที่ 38 อันดับที่ 37 อันดับที่ 36


(เป้าหมายตามยุทธศาสตร์จัดสรรฯ)

ตัง้ ค่าเป้าหมายมาตรฐานตามแผนยุทธศาสตร์จดั สรฯ ซึง่ น้อยกว่าเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ 54


1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

กรณี : การกาหนดค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จัดสรรฯ (ต่อ)

ตัวอย่าง สัดส่วนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองต่อการเดินทางในเมืองทั้งหมด (เฉลี่ยร้อยละ) (เมืองหลัก)


ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 ค่าเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ ค่าเป้าหมายตามแผน
ผลการดาเนินงาน n/a n/a n/a ปีงบประมาณ 2566-2570 2571-2575 2576-2580 ยุทธศาสตร์จัดสรรฯ
เป้าหมาย เมืองหลักในภูมิภาค เมืองหลักในภูมิภาค เมืองหลักในภูมิภาค 2566
วัดผลเชิงปริมาณในปี 2566 เป็นปีแรก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
เมืองหลักในภูมิภาค
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


กาหนดค่าเป้าหมายตามความเหมาะสม (Tailor Made) เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนของส่วนราชการปี 2566 ค่าเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จัดสรรฯ ปี 66
- มีฐานข้อมูลสัดส่วนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะใน เมืองหลักในภูมิภาคมีสัดส่วนผู้ใช้บริการระบบขนส่ง เมืองหลักในภูมิภาคมีสัดส่วนผู้ใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะ
เขตเมืองหลักในภูมิภาค (%) ทั้ง 7 จังหวัด และนาเสนอผู้บริหาร สาธารณะ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5
สนข./คค.
- ประมวลวิเคราะห์ข้อมูลสัดส่วนการเดินทางด้วยระบบขนส่ง
สาธารณะในเขตเมืองหลักในภูมิภาค(%) ทั้ง 7 จังหวัด และ
นาเสนอผู้บริหาร สนข./คค.
ตัง้ ค่าเป้าหมายมาตรฐานตามแผนแม่บทฯ (ทอน 5 ปี ) ซึง่ น้อยกว่าเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์จดั สรฯ 55
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

กรณี : แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการหรือแผนระยะยาว (Roadmap)

กรณีผลการดาเนินงานปีล่าสุด (2565) น้อยกว่า เป้าหมายตามแผนปี 2566


ตัวอย่าง ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)
ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
ผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 51.00 ร้อยละ 41.69 ร้อยละ 58.19
เป้าหมาย ร้อยละ 60 ร้อยละ 60 ร้อยละ 63 ร้อยละ 63 ร้อยละ 65

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2567 หรือ
ผลการดาเนินงานปีล่าสุด (2565) เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2566
กาหนดค่าเป้าหมายตามความเหมาะสม (Tailor Made)
ร้อยละ 60 + 5
ร้อยละ 58.19 ร้อยละ 60
(Tailor made: เป้าหมายมาตรฐาน +X)

56
1 การกาหนดเกณฑ์การประเมิน (กรณีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ) (ต่อ)

กรณี : แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการหรือแผนระยะยาว (Roadmap) (ต่อ)


กรณีผลการดาเนินงานปีล่าสุด (2565) มากกว่า เป้าหมายตามแผนปี 2566

ตัวอย่าง ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)


ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
ผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 51.00 ร้อยละ 41.69 ร้อยละ 65
เป้าหมาย ร้อยละ 60 ร้อยละ 60 ร้อยละ 63 ร้อยละ 63 ร้อยละ 65

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2567
เป้าหมายที่กาหนดไว้ตามแผนปี 2566 ผลการดาเนินงานปีล่าสุด (2565)
หรือกาหนดค่าเป้าหมายตามความเหมาะสม (Tailor Made)
ร้อยละ 65 + 5
ร้อยละ 60 ร้อยละ 65
(Tailor made: เป้าหมายมาตรฐาน + X)

57
2 การกาหนดเป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน

มี 3 กรณี
กรณีที่ 1 ตัวชี้วัดที่เกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน เป็นเชิงปริมาณ และกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน เป็นเชิงปริมาณ
กรณีที่ 2 ตัวชี้วัดที่เกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน เป็นเชิงปริมาณ และกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน เป็นขั้นตอน
กรณีที่ 3 ตัวชี้วัดที่เกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน เป็นขั้นตอน และกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน เป็นขั้นตอน

ในกรณีที่ 2 และ 3 ในการกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน เป็นขั้นตอนต้องจัดทาแผนการดาเนินการตามตัวชี้วัด


(ต.ค. 65 – ก.ย. 66) เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย ส่วนในกรณีที่ 1 ในการกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน เป็นปริมาณ
หากส่วนราชการใดมีแผนการดาเนินการ (ต.ค. 65 – ก.ย. 66) ควรใช้ประกอบการพิจารณาด้วย

58
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง กรณีที่ 1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
และเป้าหมาย 6 เดือน เป็นเชิงปริมาณ
ตัวชี้วัด 1 : รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
คาอธิบาย :
นิยาม : ข้อมูลการใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยว หมายถึง จานวนเงินที่ใช้จ่ายเพื่อให้ได้รับสินค้าและบริการต่างๆ ระหว่างเดินทางท่องเที่ยว รหัส : 050001 สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้าน
ขอบเขตการประเมิน : รายได้จากการท่องเที่ยวครอบคลุมรายได้จากผูเ้ ยี่ยมเยือนชาวไทยเดินทางท่องเที่ยวในประเทศ(ทั้งแบบพักค้างคืนและเช้าไปเย็นกลับ) และ การท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
วิธีการเก็บข้อมูล : นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ประเทศ (ร้อยละ)
- ข้อมูลรวบรวมจากรายงานสถิติของสานักงานตรวจคนเข้าเมือง และข้อมูลจากบัตร ตม.6
- สารวจภาคสนามโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบ Face to Face และใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิจาแนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ลักษณะการจัดการ เดินทาง และระดับ
รายได้ โดยเป็นการสารวจ ณ บริเวณจุดผ่านแดน (Exit Point) ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการ
นักท่องเที่ยวชาวไทย
- สารวจข้อมูลจากสถานพักแรม โดยวิธีการส่งแบบสอบถามให้สถานพักแรมตอบกลับเป็นรายเดือน แข่งขัน
- สารวจข้อมูลภาคสนามโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบ Face to Face ในแหล่งท่องเที่ยว ครอบคลุมกรุงเทพฯ และ 76 จังหวัด
แหล่งที่มาของข้อมูล : สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นผู้จัดเก็บข้อมูล แผนแม่บท : ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว
เป้าหมาย ปี 2566 : 1,500,000 หน่วย : ล้านบาท
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 เป้าหมาย : ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศด้าน
การท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
2561* 2562* 2563* 2564 2565 2566 ประเทศเพิ่มขึ้น
2,968,198.53 1,466,048.49 300,378.80 1,200,000 1,500,000 ค่าเป้าหมาย
2,915,852.38
(1.80% ) (-50.61% ) (-79.51%)
ผลการดาเนินงาน สูงกว่าค่าเป้าหมายปี 2565 (1,000,000 ล้านบาท) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 22 ร้อยละ 25 ร้อยละ 28 ร้อยละ 30
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
1,200,000 1,800,000
(ผลการดาเนินงาน ปี 65) 1,500,000 (1,500,000 + Interval)
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) = 600,000 ล้านบาท
เงื่อนไข :
หมายเหตุ : ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
ช่วงเวลารายงานผล : ทุกปีงบประมาณ
หมายเหตุ : 59
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง
ตัวชี้วัด 1 : รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา (ต่อ)

แผนการดาเนินการตามตัวชี้วัด (ต.ค. 65 – ก.ย. 66) (ถ้ามี)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


ที่ กิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1 ……………………
2 ……………………
3 ……………………
4 ……………………
5 ……………………
6 ……………………
7 ……………………
8 ……………………

60
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง กรณีที่ 2 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
และเป้าหมาย 6 เดือน เป็นขั้นตอน
ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของสินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย รหัส : 050103 อัตราการขยายตัวของจานวนสินค้าและบริการ
ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา (Proxy) การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมที่
คาอธิบาย : ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
• สินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา เป็นหนึ่งในสินค้าที่มีอัตลักษณ์เชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมเป็นสัญลักษณ์ที่ (เฉลี่ยร้อยละ)
แสดงถึงการมีอัตลักษณ์และนวัตกรรมของสินค้า ซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและดึงดูดให้นักท่องเที่ยวใช้จ่ายมากขึ้น
• พิจารณาจากจานวนสินค้าสินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาปีปัจจุบัน ลบด้วยจานวนสินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทาง
ภูมิศาสตร์ (GI) ที่ได้รับการขึ้นทรัพย์สินทางปัญญาปีก่อนหน้า หารด้วยจานวนสินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ที่ได้รับการขึ้นทรัพย์สินทางปัญญาปีก่อน ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
หน้า คูณด้วย 100
เป้าหมาย ปี 2566 : ขยายตัวร้อยละ 7
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566
แผนแม่บท : ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว
2561* 2562* 2563* 2564 2565 2566
แผนแม่บทย่อย : การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : สินค้าท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
ร้อยละ 19.00 ร้อยละ 11.76 ร้อยละ 13.53 ร้อยละ 2.65 ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
ผลการดาเนินงานเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุในปี 2565 (ขยายตัวร้อยละ 5) เพิ่มขึ้น

เกณฑ์การประเมิน ค่าเป้าหมาย
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ขยายตัว ร้อยละ 5 ขยายตัว ร้อยละ 9 ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว
ขยายตัว ร้อยละ 7
(ผลการดาเนินงาน ปี 65) (ขยายตัวร้อยละ 7 + Interval) ร้อยละ 5 ร้อยละ 7 ร้อยละ 10 ร้อยละ 12
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน)
1. จ้างดาเนินการเพิ่มการจาหน่ายสินค้า GI ผ่านผู้มีอิทธิพลต่อความคิดและการตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายผ่านช่องทางออนไลน์
2. จัดงานส่งเสริมผ่านช่องทางการตลาดสินค้า GI เพื่อการจาหน่ายสินค้าภายในประเทศ จานวน 3 ครั้ง
3. จัดงาน GI Fest ณ MBK
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : - กระทรวงพาณิชย์ เป็นเจ้าภาพขับเคลื่อนเป้าหมายของแผนแม่บทย่อย
- ปี 2565 กาหนดตัวชี้วัด “มูลค่าการค้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่ได้รบั การส่งเสริมของกลุ่มเป้าหมาย (สินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(GI))” เป็นตัวชี้วัดของกระทรวงพาณิชย์
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
ช่วงเวลารายงานผล : ทุกปี 61
หมายเหตุ :* ข้อมูลจาก รายงานแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 ทีมา http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2022/03/11_NS-05_070365.pdf
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง
ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของสินค้าที่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา (Proxy) (ต่อ)
แผนการดาเนินการตามตัวชี้วัด (ต.ค. 65 – ก.ย. 66)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


ที่ กิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1 จ้างดาเนินการเพิ่มการจาหน่ายสินค้า GI ผ่านผู้มีอิทธิพลต่อความคิดและ
การตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายผ่านช่องทางออนไลน์
2 จัดงานส่งเสริมผ่านช่องทางการตลาดสินค้า GI เพื่อการจาหน่ายสินค้า
ภายในประเทศ จานวน 3 ครั้ง
3 จัดงาน GI Fest ณ MBK
4 ……………………
5 ……………………
6 ……………………
7 ……………………
8 ……………………

62
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง กรณีที่ 3 ตัวชี้วัดขั้นตอน
และเป้าหมาย 6 เดือน เป็นขั้นตอน
ตัวชี้วัด 1 : ระดับความสาเร็จของการขับเคลื่อนองค์กรด้วยข้อมูล (Data - Driven Organization)
คาอธิบาย : - เป็นตัวชี้วัดเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายการจัดโครงสร้างและบทบาทภารกิจใหม่ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
- พิจารณาจากความสาเร็จในการขับเคลื่อนองค์กรด้วยข้อมูล (Data - Driven Organization) โดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานจะต้องจัดทาฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ของประเทศที่พร้อมต่อการใช้วิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาฝีมือแรงงานในอนาคตทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
เป้าหมาย ปี 2566 : มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน และมีการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลดังกล่าว รายละเอียดปรากฏตามค่าเป้าหมายปี 2566 ดังตารางด้านล่าง
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566
2561 2562 2563 2564 2565 2566**
n/a n/a n/a n/a n/a 1. มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
2. ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายด้านการ
พัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
3. มีการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) และนาผลการวิเคราะห์ไปใช้สนับสนุน
การตัดสินใจ
ผลการดาเนินงาน
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
1. มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของ 1. มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ 1. มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
ประเทศ 2. ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) 2. ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และสนับสนุนการ
และสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตัดสินใจเชิงนโยบายด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
ของประเทศ 3. มีการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) และนาผลการ
วิเคราะห์ไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน)
1. มีฐานข้อมูลด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
2. ออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของประเทศ
เงื่อนไข :
หมายเหตุ : ** ค่าเป้าหมายจากตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายการจัดโครงสร้างและบทบาทภารกิจใหม่ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
ช่วงเวลารายงานผล :
หมายเหตุ : 63
รายละเอียดตัวชี้วัด ตัวอย่าง
ตัวชี้วัด 1 : ระดับความสาเร็จของการขับเคลื่อนองค์กรด้วยข้อมูล (Data - Driven Organization) (ต่อ)

แผนการดาเนินการตามตัวชี้วัด (ต.ค. 65 – ก.ย. 66)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


ที่ กิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1 ……………………
2 ……………………
3 ……………………
4 ……………………
5 ……………………
6 ……………………
7 ……………………
8 ……………………

64
6 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)

65
6. องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base)

1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (น้าหนักร้อยละ 15)


เลือกจากประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

รายละเอียดตัวชี้วัด e-Service 1.1 การสร้างนวัตกรรมในการ 1.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็น รายละเอียดตัวชี้วัด Open Data

ปรับปรุงกระบวนงานหรือ ดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูล


การให้บริการ (e-Service) ที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูล
• ความสาเร็จในการขับเคลื่อน ที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/
https://shorturl.at/drJ36 การพัฒนางานบริการ สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผย https://shorturl.at/adRU7
Agenda ตามมติ ครม. ข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
(12 งานบริการ) • การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog)
• การยกระดับงานบริการของ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open
ส่วนราชการไปสู่การให้บริการแบบ Data)
ออนไลน์ (L1 L2 L3) • การจัดทาชุดข้อมูลตัวชี้วัดสาหรับการรายงาน
การจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ
อื่น ๆ ประเทศ โดย IMD

1.3 การเชื่อมโยงและแบ่งปันข้อมูล (Sharing Data)


1.4 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไก
หลักในการดาเนินงาน (Digitalize Process)
66
66
6. องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ต่อ)
การกาหนดเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด PMQA 4.0 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็น
2 ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) กลุ่มที่ 1 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ต่ากว่า 350 คะแนน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


(น้าหนักร้อยละ 15)
275 คะแนนปี 2565 350

ผลการประเมิน PMQA 4.0 กลุ่มที่ 2 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตั้งแต่ 350 แต่น้อยกว่า 400 คะแนน
(คะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทั้ง 7 หมวด) เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
350 คะแนนปี 2565 คะแนนปี 2565 + 10 %

กลุ่มที่ 3 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตั้งแต่ 400 - 450 คะแนน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


400 คะแนนปี 2565 คะแนนปี 2565 + 2 %

กลุ่มที่ 4 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มากกว่า 450 คะแนน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


445 (คะแนนปี 2565 + 445)/2 คะแนนปี 2565

67
67
7 แผนการดาเนินงานการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

68
7. แผนการดาเนินงานการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ปฏิทินการติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
มิ.ย. 65 ก.ค. 65 ส.ค. 65 ก.ย. 65 ต.ค. 65
พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค
การดาเนินงานของส่วนราชการ W W W W W W W W W W W W W W W W W W W W W W 65 65 66 66 66 66 66 66 66 66 66 66 66 66
1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4
1. กองติดตามฯ ทาหนังสือเชิญประชุม ชี้แจงกรอบการประเมินฯ แก่ส่วนราชการ 17 20

2. กองติดตามฯ ชี้แจงกรอบการประเมินฯ แก่เจ้าหน้าที่สานักงาน ก.พ.ร. 27

3. สานักงาน ก.พ.ร. ชี้แจงกรอบการประเมินฯ แก่ส่วนราชการ 29

4. กองติดตามส่งหนังสือแจ้งส่วนราชการ ทบทวนเป้าหมาย SKPI และส่งกลับ 29 8


สานักงาน ก.พ.ร. ภายใน 8 ก.ค. 65
5. สานักงาน ก.พ.ร. จัดคลินิกให้คาปรึกษามาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ 11 5
แก่ส่วนราชการ
6. สานักงาน ก.พ.ร. เตรียมข้อมูลประกอบการประชุมคณะกรรมการกากับฯ 18 26
(Review ตัวชี้วัดมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ กับผู้บริหาร)
7. คณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ กระทรวง พิจารณา 25 2
กาหนดตัวชี้วัด และจัดส่งให้สานักงาน ก.พ.ร.
8. สานักงาน ก.พ.ร. เสนอ อ.ก.พ.ร. ประเมินฯ เพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบ
ตัวชี้วัดส่วนราชการ และจังหวัด
9. สานักงาน ก.พ.ร. ชี้แจงกรอบการประเมินฯ แก่ส่วนราชการครั้งที่ 2 องค์ประกอบที่ 2
10. สรุปตัวชี้วัดกระทรวง และความเห็น อ.ก.พ.ร.ฯ เสนอรองนายกรัฐมนตรี /
รัฐมนตรีที่กากับดูแล พร้อมแจ้งกระทรวง
11. ส่วนราชการ (กระทรวง & กรม) ยืนยันข้อมูลตัวชี้วัดส่งสานักงาน ก.พ.ร.
12. ส่วนราชการ (กระทรวง & กรม) รายงานความก้าวหน้าผ่านระบบ e-SAR
13. คณะกรรมการกากับฯ ส่วนราชการพิจารณาคาขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียด
ตัวชี้วัด (ถ้ามี)
14. ส่วนราชการ (กระทรวง & กรม) รายงานผล การดาเนินงาน รอบ 12 เดือน
ผ่านระบบ e-SAR
15. เลขาธิการ ก.พ.ร. ประเมิน (เบื้องต้น) เสนอรองนายกรัฐมนตรี / รัฐมนตรี
(ส่วนราชการ & จังหวัด)
16. นายกรัฐมนตรีรับทราบผลประเมิน (ส่วนราชการ & จังหวัด)
69
8 ความเชื่อมโยงของการประเมินส่วนราชการฯ กับการประเมินผู้บริหารองค์การ

70
8. ความเชื่อมโยงของการประเมินส่วนราชการฯ กับการประเมินผู้บริหารองค์การ
• มติ ครม. วันที่ 14 กันยายน 2564 การประเมินผู้บริหาร การประเมินส่วนราชการ
• มติ ก.พ. วันที่ 22 ธันวาคม 2564 ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการ
จังหวัด
Performance 70%

1. Agenda และ Function


Performance
ข้อมูลประกอบ น้าหนัก 40-70%
70%
การประเมินผู้บริหาร 1. Functional KPIs
• ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ มติ ครม. นโยบายรัฐบาล
งานตามนโยบายของรัฐบาล (Agenda)
ผ่าน ระบบ e-SAR และภารกิจประจาของส่วนราชการ •
โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วน
แผนการปฏิรูปประเทศ
(Function) โดยใช้ตัวชี้วัดและผลการ • การบูรณาการการดาเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน
• ภารกิจพื้ นฐาน งานประจา งานตามหน้าที่
ประเมินจากการประเมินส่วนราชการตาม • ดัชนีชี้วัดสากล
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ
2. Joint KPIs by Agenda
• ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
• ความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค
• รายได้จากการท่องเที่ยว

2. Urgency/assigned tasks (0 - 1 ตัว)


น้าหนัก 0-30% Potential
▪ งานเร่งด่วน เช่น การแก้ปัญหาภัยพิ บัติ
▪ งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิ เศษในช่วง
30%
ประเมินผ่านแบบฟอร์ม ระหว่างรอบการประเมิน 1. Digital
• การพั ฒนาองค์กรสู่ดิจิทัล (e-Service/Digitize
ตามที่ ก.พ. กาหนด Data/Open Data/ Sharing Data/ Digitalize
Competency 30% process)

• การสื่อสารและการสร้างความผูกพั น
2. PMQA
• การเรียนรู้และพั ฒนา • การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบ
• การปฏิรูป / ปรับเปลี่ยนราชการสู่อนาคต ราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
• การรักษาวินัย คุณธรรมและจริยธรรม

รอบการประเมิน 6 เดือน Milestone 12 เดือน Result รอบการประเมิน 12 เดือน 71


71
9 ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส่วนราชการในกระทรวงสาธารณสุข

72
ผลการดาเนินงานของตัวชี้วัดกระทรวง (Basket KPIs) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงสาธารณสุข

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงสาธารณสุขมีการกาหนดตัวชี้วัดกระทรวง (Basket KPIs) จานวน 6 ตัวชี้วัด มีผลคะแนน 96.91 คะแนน
โดยสามารถดาเนินการบรรลุเป้าหมายขั้นมาตรฐาน จานวน 1 ตัวชี้วัด และบรรลุเป้าหมายขั้นสูง จานวน 5 ตัวชี้วัด

73
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 9 ส่วนราชการ มีคะแนนสูงสุด (Max)
เท่ากับ 100.00 คะแนน และคะแนนต่าสุด (Min) เท่ากับ 74.92 คะแนน และมีคะแนนเฉลี)่ย (Average) เท่ากับ 92.98 คะแนน

เมื่อพิจารณาคะแนนของแต่ละส่วนราชการในสังกัดกระทรวง พบว่า มีส่วนราชการที่มีคะแนนสูงกว่า ทั้งคะแนนเฉลี่ยของส่วนราชการทั้งหมด (93.22 คะแนน) และคะแนนเฉลี่ย


ของกระทรวง (92.98 คะแนน) จานวน 6 ส่วนราชการ ได้แก่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สานักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุข และกรมควบคุมโรค
74
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

75
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมการแพทย์

อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เนื่องจากพบปัญหาในการดาเนินงานของส่วนราชการ ทาให้ผลการ


ดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เช่น ระบบการบริการ มีความล่าช้า เตียงไม่เพียงพอ กาลังคนด้านสุขภาพ
แพทย์และพยาบาลเฉพาะทางโรคหลอดเลือดสมองไม่เพียงพอ รวมทั้ง ขาดการสนับสนุนเครือ่ งมือในการคัด
กรอง และการขับเคลื่อนการดาเนินงาน เป็นต้น ส่งผลให้มีผลการดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ 8.79 ซึ่งต่ากว่าค่า
เป้าหมายขั้นต้น (ร้อยละ 8.19)

ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ เนื่องจากพบ


ปัญหาในการดาเนินงานของส่วนราชการ ทาให้ผลการดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เช่น การกระจายตัว
ของศูนย์รังสีรักษายังไม่ทั่วถึงทุกภูมิภาค ปัญหาของระบบการส่งต่อ Cancer Anywhere เป็นต้น ส่งผลให้มีผล
การดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ 57.51 ซึ่งต่ากว่าค่าเป้าหมายขั้นต้น (ร้อยละ 57.92)

76
ต ัวชวี้ ัดกรมกำรแพทย์
ิ ธิภำพในกำรปฏิบ ัติรำชกำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2565
ตำมมำตรกำรปร ับปรุงประสท

1. อ ัตรำตำยของผูป
้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69) ต ัวชวี้ ัดเดิม นำ้ หน ัก
10
คำอธิบำย
นิยำม
1. ผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง ผู ้ป่ วยใน (ผู ้ป่ วยทีร่ ับไว ้นอนพักรักษาในโรงพยาบาล (admit) นานตัง้ แต่ 4 ชัว่ โมงขึน
้ ไป) ทีม
่ ี principal diagnosis (pdx) เป็ นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69)
2. การตายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง การตายจากสาเหตุโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69)
3. การจาหน่ายผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง การทีผ ่ ู ้ป่ วยในออกจากโรงพยาบาลด ้วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69)
ขอบเขตกำรประเมิน : ผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมองทีม
่ ารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาล
สูตรคำนวณ : จานวนครัง้ ของการจาหน่ายสถานะตายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69) จากทุกหอผู ้ป่ วย X 100
จานวนครัง้ ของการจาหน่ายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมองจากทุกหอผู ้ป่ วยในช่วงเวลาเดียวกัน (Stroke :I60-I69)
วิธก
ี ำรเก็ บข้อมูล : ระบบข ้อมูล 43 แฟ้ ม และรวบรวมวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1-12
แหล่งทีม่ ำของข้อมูล : ฐานข ้อมูลจากการประเมินข ้อมูลจาก Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุขและ/หรือข ้อมูลจากรายงาน ตก.2 รวบรวมวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1-12

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
อัตราตายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
ปี งบประมำณ 2561 2562 2563 2564 (Stroke :I60-I69)
8.09 7.87 7.96 8.19
ผลกำรดำเนินงำน
(11,927/147,351) (11,906/151,35) (12,503/157,022) (10,281/125,570) 8.09 8.19
9 7.87 7.96
Growth (%)
- 0.22 -0.09 -0.23
(Growth เฉลีย
่ 4 ปี = )
6
แผนระยะยำว / Roadmap (2565-2567) เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน
(ต.ค.64 – มี.ค.65) 3
ปี งบประมำณ 2565 2566 2567

ค่ำเป้ำหมำย น้อยกว่ำร้อยละ 7 น้อยกว่ำร้อยละ 7 น้อยกว่ำร้อยละ 7 ร้อยละ 8 0


2561 2562 2563 2564
เกณฑ์กำรประเมิน ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)
- ลดอัตราตายของผู ้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
ร้อยละ 8.19 ร้อยละ 7.87 ในโรงพยาบาล
ร้อยละ 7
(ผลกำรดำเนินงำนปี 64) (ผลกำรดำเนินงำนปี 62)
77
ต ัวชวี้ ัดกรมกำรแพทย์
ิ ธิภำพในกำรปฏิบ ัติรำชกำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2565
ตำมมำตรกำรปร ับปรุงประสท

4. ร้อยละของผูป
้ ่ วยทีไ่ ด้ร ับกำรร ักษำ ภำยในระยะเวลำทีก
่ ำหนด นำ้ หน ัก

้ ่ วยมะเร็ง 5 อ ันด ับแรกได้ร ับกำรร ักษำด้วยร ังสรี ักษำภำยในระยะเวลำ 6 สปดำห์
4.3 ร้อยละของผูป ตัวชีว้ ัดต่อเนือ
่ ง
5

คำอธิบำย
นิยำม 1) มะเร็ง 5 อันดับแรก ได ้แก่ มะเร็งตับและท่อน้ าดี (C22,C24) มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด (C33-C34) มะเร็งเต ้านม (C50) มะเร็งลาไส ้ใหญ่และทวารหนั ก (C18-C21)และมะเร็งปากมดลูก (C53)
2) ระยะเวลาการรอคอยรับการรักษาด ้วยรังสีรักษา หมายถึง การกาหนดระยะเวลาในการเข ้าถึงบริการ (Access to Care) การรักษาด ้วยรังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ (42 วัน)
ขอบเขตกำรประเมิน : ผู ้ป่ วยมะเร็งทีต
่ ้องได ้รับการรักษามะเร็งด ้วยรังสีรักษา
สูตรคำนวณ : จานวนผู ้ป่ วยทีแ
่ พทย์วางแผนการรักษาด ้วยรังสีรักษาและได ้รับการรักษาด ้วยรังสีรักษา ≤ 6 สัปดาห์นับตามเกณฑ์ทก
ี่ าหนด X100
จานวนผู ้ป่ วยทีไ่ ด ้รับรังสีรักษาเพือ
่ รักษามะเร็งทัง้ หมดในปี ทรี่ ายงาน
แหล่งทีม
่ ำของข้อมูล : Hospital Based Cancer Registry (Thai Cancer Based หรือ ระบบ Cancer Informatics ของโรงพยาบาล)

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 ร้อยละของผูป ้ ่ วยมะเร็ง 5 อ ันด ับแรก
ได้ร ับกำรร ักษำด้วยร ังสรี ักษำภำยใน
ผลกำรดำเนินงำน 56.50 54.60 62.67 ระยะเวลำ 6 สปดำห์ั
Growth (%) 7.73 -1.9 6.78
(Growth เฉลีย
่ 3 ปี = 4.2 %)
100

แผนระยะยำว / Roadmap (2565-2567) 80


56.5 54.6 61.38
ปี งบประมำณ 2565 2566 2567 60

ค่ำเป้ำหมำย 60 65 65 40
20
เกณฑ์กำรประเมิน
0
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100) เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 2562 2563 2564 (9 เดือน)
6 เดือน (ต.ค.64 – มี.ค.65)
61.69 ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ
57.92 65
(เฉลีย
่ 3 ปี + Growth
(ค่าเฉลีย
่ 3 ปี ) (เป้ าหมายปี 2566) ร้อยละ 58 ่ ลดระยะเวลารอคอยการรักษาด ้วยรังส ี
- เพือ
เฉลีย
่ 3 ปี )
รักษาของมะเร็ง 5 อันดับแรก
78
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมควบคุมโรค

79
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์


แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ในปัจจุบัน ส่งผลให้การเข้ารับบริการลดลง
โดยมีผู้เข้ารับบริการ 30,609,709 ครั้ง จากผู้รับบริการในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐทั้งหมด จานวน
168,516,431 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 18.16 ซึ่งต่ากว่าค่าเป้าหมายขั้นต้น (ร้อยละ 19.87)

80
ต ัวชวี้ ัดกรมกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก
ิ ธิภำพในกำรปฏิบ ัติรำชกำร ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2565
ตำมมำตรกำรปร ับปรุงประสท

Joint KPIs
2. ร้อยละของผูป
้ ่ วยนอกทงหมดที
ั้ ิ ฉ ัย ร ักษำโรค และฟื้ นฟูสภำพ
ไ่ ด้ร ับบริกำร ตรวจ วินจ ภำยในกระทรวง ต ัวชวี้ ัดใหม่ นำ้ หน ัก
20
ด้วยศำสตร์กำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก
คำอธิบำย
• ผูป
้ ่ วยนอก หมำยถึง ประชาชนทีม ่ ารับบริการตรวจ วินจิ ฉั ย รักษาโรค และฟื้ นฟูสภาพแบบไม่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล รวมถึงกลุม ่
กิจกรรมบริการบุคคล (กลุม ่ I บริการการแพทย์แผนไทย) โดยผู ้ประกอบวิชาชีพทีเ่ กีย ่ วข ้องทีไ่ ด ้มาตรฐาน เช่น แพทย์แผนไทย
แพทย์แผนไทยประยุกต์ แพทย์แผนจีน แพทย์แผนปั จจุบน ั พยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการสาธารณสุข เป็ นต ้น ้ ฐำน ปี 2561-2564
ข้อมูลพืน
• กำรบริกำรด้ำนกำรแพทย์แผนไทย หมำยถึง บริการการตรวจ วินจ ิ ฉั ย รักษาโรค และฟื้ นฟูสภาพ เช่น การรักษาด ้วยยาสมุนไพร
การปรุงยาแผนไทยเฉพาะราย ยาแผนไทยทีม ่ ก
ี ญ
ั ชาปรุงผสม การนวด ประคบสมุนไพร อบไอน้ าสมุนไพร ทับหม ้อเกลือ พอกยาสมุนไพร 20
ให ้คาแนะนาการดูแลสุขภาพ การบริการแพทย์แผนไทยทีบ ่ ้าน และการทาหัตถการอืน ่ ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย 16
หรือการบริการอืน ่ ๆ ทีม
่ กี ารเพิม
่ เติมรหัสภายหลัง 12 21.48 21.77 19.87
• กำรบริกำรด้ำนแพทย์ทำงเลือก หมำยถึง การบริการรักษาพยาบาล ได ้แก่ การแพทย์แผนจีน เช่น ฝั งเข็ม รมยา ครอบแก ้ว/ครอบกระปุก 8 16.93
การแพทย์ทางเลือก เช่น สมาธิบาบัด หรือการบริการอืน ่ ๆ ทีม ่ ก
ี ารเพิม
่ เติมรหัสภายหลัง 4
• สถำนบริกำรสำธำรณสุขของร ัฐ สงก ั ัดกระทรวงสำธำรณสุข หมำยถึง โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สถานีอนามัย สถานบริการสาธารณสุขชุมชน ศูนย์สข ุ ภาพชุมชนของโรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข
0 61 62 63 64
• ขอบเขตกำรประเมิน : ประชาชนทีเ่ ข ้ารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกระดับ
• วิธก ี ำรเก็ บข้อมูล : ข ้อมูลจากระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข
• สูตรคำนวณต ัวชวี้ ัด : จานวน (ครัง้ ) ของการบริการทัง้ หมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข x 100
จานวน (ครัง้ ) ของการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รวมถึงกลุม ่ กิจกรรมบริการบุคคล แผนดำเนินงำนระยะยำว (Roadmap)

้ ฐำน
ข้อมูลพืน หมำยเหตุ: แผนการดาเนินงานสิน ้ สุดในปี 2565
อยูร่ ะหว่างการปรับแผนระยะ 5 ปี (66-70)
ปี งบประมำณ 2561 2562 2563 2564
ผลกำรดำเนินงำน ร ้อยละ 16.93 ร ้อยละ 21.48 ร ้อยละ 21.77 ร ้อยละ 19.87

เกณฑ์กำรประเมิน
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100) ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ

เพือ
่ ส่งเสริมให ้ประชาชนเข ้าถึงบริการด ้านการแพทย์แผนไทยและ
ร ้อยละ 19.87 ร ้อยละ 20 ร ้อยละ 20.5
การแพทย์ทางเลือก ทีม ่ ค
ี ณ
ุ ภาพ ครอบคลุมหน่วยบริการสาธารณสุข
เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 64 – มี.ค. 65) หรือแผนดำเนินงำนตำมต ัวชวี้ ัดฯ (Action plan) ทุกระดับ

หน่วยบริการสาธารณสุขมีการดาเนินการตามแนวทางเวชปฏิบต
ั ด ่ ส่งเสริมการใช ้ยาสมุนไพรในระบบบริการสุขภาพ
ิ ้านการแพทย์แผนไทยเพือ 81
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

82
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

83
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมสุขภาพจิต

84
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของกรมอนามัย

85
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2565 ของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

86
10 Q&A

87
10. Q & A
)
Q: สรุปตัวชี้วัดกระทรวง หรือ Strategic KPIs ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และความเห็นจาก อ.ก.พ.ร.ฯ เสนอรองนายกรัฐมนตรี/
รัฐมนตรีที่กากับดูแล
สานักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งกลับมายังกระทรวงเพื่อทราบในช่วงใด

A: สานักงาน ก.พ.ร. อยู่ระหว่างการจัดทาสรุปตัวชี้วัดกระทรวง หรือ Strategic KPIs ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และความเห็นจาก
อ.ก.พ.ร.ฯ เสนอรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีที่กากับดูแล โดยคาดว่าจะสามารถจัดส่งไปยังส่วนราชการได้ภายในเดือนกุมภาพันธ์

Q: การเผยแพร่/จัดส่งคู่มือการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566 จะมีหรือไม่

A: สานักงาน ก.พ.ร. จะเผยแพร่คู่มือการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ


ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านทาง Website ของสานักงาน ก.พ.ร. โดยจะสามารถเผยแพร่ได้ภายในเดือนมีนาคม

88
10. Q & A (ต่อ)
Q: ความพร้อมของระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรั ) บปรุงฯ (e-SAR) รหัสสาหรับเข้าระบบเพื่อดาเนินการ
รายงานผลตัวชี้วัดฯ รวมถึงกาหนดวัน เปิด-ปิดระบบรายงานผล
A: สาหรับรหัสเข้าระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงฯ (e-SAR) จะใช้รหัสเดิม โดยสานักงาน ก.พ.ร. จะ
จัดส่งหนังสือเพื่อแจ้งไปยังส่วนราชการสาหรับช่วงเวลาในการเข้ามารายงานผล พร้อมกับรหัสในการเข้าระบบอีกครั้ง

Q: ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงฯ ยังคงเชื่อมโยงกับการประเมินผู้บริหารของส่วนราชการ โดย


ใช้ข้อมูลการรายงานผลการประเมินส่วนราชการฯ ผ่านระบบรายงาน e-SAR ใช่หรือไม่ และจะมีการชี้แจงแนวทางการประเมินผู้บริหาร
ของส่วนราชการ ในปีนี้ด้วยหรือไม่
A: สาหรับปี 2566 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงฯ ยังคงเชื่อมโยงกับการประเมินผู้บริหารของส่วนราชการ โดยใช้ข้อมูลการ
รายงานผลการประเมินส่วนราชการฯ ผ่านระบบรายงาน e-SAR ทั้งนี้สาหรับการชี้แจงแนวทางการประเมินผู้บริหารของส่วนราชการ อาจ
ต้องรอความชัดเจนจากทางสานักงาน ก.พ.

89
พัฒนาระบบราชการ เพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน
GOOD GOVERNANCE FOR BETTER LIFE

90
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (คนต่อประชากร 1 แสนคน) (SKPIs) ร้อยละ 10
2. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย (SKPIs) ร้อยละ 15
3. จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 (SKPIs) ร้อยละ 25
4. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) (SKPIs) ร้อยละ 20
2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)
5. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล : ร้อยละ 15
5.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) (ร้อยละ 10)
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี
5.1.1 งานบริการ Agenda : ระบบการออกบัตรสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์) (เจ้าภาพหลัก) (7.5)
5.1.2 งานบริการ Agenda : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนแบบเบ็ดเสร็จ (สนับสนุน) (2.5)
5.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงานและข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) (ร้อยละ 5)
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 6 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี)
92
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (คนต่อประชากร 1 แสนคน) ร้อยละ 10 26.92 26.13 25.34 SKPIs
ต่อ ประชากรแสนคน ต่อ ประชากรแสนคน ต่อ ประชากรแสนคน
2. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 15 ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85 SKPIs
3. จานวนการจัดตัง้ หน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิตามพระราชบัญญัตริ ะบบสุขภาพ ร้อยละ 25 3,441 หน่วย 3,500 หน่วย 4,000 หน่วย SKPIs
ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
4. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสูก่ ระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการ ร้อยละ 20 ร้อยละ 58.19 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 SKPIs
ติดตาม (Retention Rate)
5. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15 ไม่เชื่อมโยง SKPIs
5.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) (ร้อยละ 10)
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี
5.1.1 งานบริการ Agenda : ระบบการออกบัตรสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ (เจ้าภาพหลัก) (7.5) ดาเนินการได้ตามแผนปฏิบัติการ ดาเนินการได้ตามแผนปฏิบัติการ (Action ดาเนินการได้ตามแผนปฏิบัติการ
5.1.2 งานบริการ Agenda : ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนแบบเบ็ดเสร็จ (สนับสนุน) (2.5) (Action Plan) พ.ศ. 2566 ร้อยละ 80 Plan) พ.ศ. 2566 ร้อยละ 90 (Action Plan) พ.ศ. 2566 ร้อยละ 100

5.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงานและข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่ •มีรายชื่อชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสามารถ •มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน(Agency Data Catalog) •คุณภาพทุกชุดข้อมูล เป็นไปตาม
(ร้อยละ 5) นาไปใช้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศหรือการ พร้อมแจ้ง URLระบบบัญชีข้อมูล
หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) บริการประชาชน •หน่วยงาน และชุดข้อมูล คาอธิบายชุดข้อมูล ถูกนา มาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร. กาหนด
(1) การพัฒนาระบบบัญชีขอ้ มูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) •มีคาอธิบายชุดข้อมูล (Metadata)ที่ ขึ้นที่ระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากร (20คะแนน)
สอดคล้ องตามมาตรฐานที่ สพร. ก าหนด ข้อมูล (Resource)ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด(15คะแนน) •นาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็น
(14รายการ) ของทุกชุดข้อมูล •ชุดข้ อมูลเปิ ดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบ รูปธรรมตอบโจทย์ตามประเด็นขอบเขตการนา
•มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource)ของ บัญชีข้อมูลภาครัฐ (GDCatalog) (10คะแนน) ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย1ชุดข้อมูล (5
ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด
คะแนน)
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15 445 447.90 450.80 ไม่เชื่อมโยง SKPIs
รวม 100
93
รายละเอียดตัวชี้วัด
Joint KPIs ภายในกระทรวง รหัส : 070105
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (กรม คร./สป.สธ) และ น้าหนัก SKPIs
ข้ามกระทรวง 10
คาอธิบาย :
➢ อั ต ราผู้ เ สี ย ชี วิ ต จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนต่ อ ประชากรแสนคน เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ บู ร ณาการการท างานร่ ว มกั น ระหว่ า งกระทรวงคมนาคม
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
➢ ผู้เสียชีวิต หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน นับตั้งแต่เกิดเหตุจนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุระหว่างนาส่ง
โรงพยาบาล ที่ห้องฉุกเฉินระหว่างส่งต่อ (Refer) กรณี Admitted เสียชีวิตในตึกผู้ป่วยภายใน 24 ชม. และเสียชีวิตในตึกผู้ป่วยหลัง 24 ชม.
จนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงขอกลับไปตายที่บ้าน ทั้งนี้ ให้นับข้อมูลรวมทุกกลุ่มอายุโดยใช้ข้อมูลจากการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน (กระทรวง แผนแม่บท : ประเด็นที่ 7 โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์
และดิจิทัล
สาธารณสุข สานักงานตารวจแห่งชาติ และบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด
➢ อุบัติเหตุทางถนน หมายถึง การชนหรืออุบัติการณ์ซึ่งมีพาหนะที่กาลังเคลื่อนที่เพื่อวัตถุประสงค์ในการเดินทางจากจุดหนึง่ ไปยังจุดหนึง่ ซึ่งเกิด
แผนแม่บทย่อย : โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม และระบบโลจิสติกส์
บริเวณทางตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก รวมทั้งทางส่วนบุคคล เป็นเหตุให้ทรัพย์สินเสียหาย หรือมีผู้บาดเจ็บ หรือมีผู้เสียชีวิต ไม่รวมทางน้า
และทางอากาศ รหัส ICD10 (V01-V89) เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
ค่าเป้าหมาย
วิธีการดาเนินงาน :
จากการประชุมศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2563 ได้นาผลการประชุมระดับโลก ว่าด้วยเรื่องความปลอดภัย 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ทางถนน ครั้งที่ 3 (3 rd Global Ministerial Conference on Road Safety : Achieving Global Goals 2030, Stockholm, 19-20 February 12 คน 12 คน 8 คน 5 คน
2020 โดยในปฏิญญา Stockholm มีการกาหนดเป้าหมายลดการเสียชีวิตและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลง ร้อยละ 50 ภายในปี 2573 ประกอบ ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร
กับตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีกาหนดให้อัตราการเสียชีวิตไม่เกิน 12 ต่อประชากรแสนคน ภายในปี 2570 ศปถ. ได้ให้ความสาคัญ ได้จัดทา 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน
แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2565-2570) และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน
- ศปถ. นาเป้าหมายระดับโลก (12 Global Road Safety Performance Targets) มาเป็นกรอบในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยทางถนน
ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
- ศปถ. มอบหมายให้คณะอนุกรรมการ 8 ชุดภายใต้คณะกรรมการศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปดาเนิน ประชาชนได้รับการป้องกัน และลดอัตราการบาดเจ็บ เสียชีวิต หรือพิการจาก
การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามเป้าหมาย (target) ที่เกี่ยวข้อง พร้อมกาหนดตัวชี้วัด(Indicator) และกากับการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผน อุบัติเหตุทางถนน เพื่อการมีคุณภาพชีวิตในการเดินทางที่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
- ศปถ. มอบหมายให้คณะอนุกรรมการด้านการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผล (คณะอนุกรรมการชุดที่ 6) ติดตามการดาเนินงาน
รวมทั้งประเมินผลการดาเนินงานในภาพรวม และให้รายงานความคืบหน้าต่อศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนเป็นรายไตรมาส
94
รายละเอียดตัวชี้วัด
Joint KPIs ภายในกระทรวง
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (กรม คร./สป.สธ) และ SKPIs
เป้าหมาย ปี 2566 : ข้ามกระทรวง
สูตรการคานวณ : (ประเมิน 12 เดือน) ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) : ตั้งแต่ 1 ก.ค. – 30 มิ.ย. ค่าเป้าหมาย
= จานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 65 – 30 มิ.ย.66) x 100,000 2561 * 2562 * 2563 * 2564 * 2565 2566
จานวนประชากรกลางปี พ.ศ. 2565 31.74 คน 30.57 คน 27.14 คน 27.85 คน N/A
ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร 26.13 คน
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : บูรณาการจาก 3 ฐาน ประกอบด้วย 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน ต่อประชากร
1. กระทรวงสาธารณสุข จากข้อมู ลมรณบัต รและหนั ง สือรับ รองการตาย ของกองยุ ทธศาสตร์และแผนงาน 1 แสนคน
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Median 59-63 = 30.74 คนต่อประชากร 1 แสนคน
2. สานักงานตารวจแห่งชาติ จากข้อมูลในระบบ Crime
หมายเหตุ : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564
3. บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด จากข้อมูล e-claim
โดยแต่ละหน่วยงานจะจัดส่งข้อมูลเข้าระบบบูรณาการข้อมูล ทุก 3 เดือน ซึ่งข้อมูลที่ส่งเข้าระบบในแต่ละรอบ
ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2564 – 2573
จะทาการ update ข้อมูลที่ผ่านมา ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงปัจจุบันและระบบจะทาการประมวลผล และตัดข้อมูลที่
Baseline
ซ้าซ้อนออก สามารถเข้าไปดูรายงานเป็นรายจังหวัดได้ใน website : http://dip.ddc.moph.go.th/new Median 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
59-63 (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง
เกณฑ์การประเมิน 5%) 10%) 15%) 20%) 25%) 30%) 35%) 40%) 45%) 50%)
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) 30.74 29.20 27.66 26.13 24.59 23.05 21.52 19.98 18.44 16.91 15.37
26.92 26.13 25.34
คนต่อประชากร 1 แสนคน คนต่อประชากร 1 แสนคน คนต่อประชากร 1 แสนคน เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ด้วย SDGs กาหนดทศวรรษความปลอดภัยปี 64-73 จึงต้องใช้ข้อมูลปี 63 เป็น baseline
แต่ปี 63 มีการระบาดของ COVID-19 ทาให้ข้อมูลตายน้อยกว่าความเป็นจริง จึงขอใช้ค่า
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (1 ก.ค.65 – 31 ธ.ค.65) มัธยฐาน (Median) 5 ปี (59-63) เป็น Baseline แทน และตั้งเป้าให้ลดลงปีละ 5%
12.78 คนต่อประชากร 1 แสนคน ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (เป็น Joint KPI ระหว่าง
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม ข้อมูลจาก Injury Data Collaboration Center (IDCC)
ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี 95
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย รหัส : 110201 Joint KPIs ภายในกระทรวง น้าหนัก SKPIs
(กรมอนามัย/สป.สธ) 15
คาอธิบาย : เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย ให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อมทั้งสุขภาวะ เจตคติ ความรู้และทักษะ
ให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ การส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ การส่งเสริมดูแลด้าน
โภชนาการเด็ก การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางานให้พ่อแม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ด้วยตนเอง การพัฒนาหน่วยงานและ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลพัฒนาเด็กให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัยเริ่ม ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ตั้งแต่การเกิดอย่างมีคุณภาพ การเจริญเติบโตและการมีพัฒนาการสมวัย การจัดบริการและสวัสดิการสาหรับเด็กปฐมวัย ระบบสนับสนุน ทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจนกลไกบริหารจัดการเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กที่มีประสิทธิภาพ
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 85 แผนแม่บท : ประเด็นที่ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพมีพัฒนาการสมวัย สามารถ
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 84 ร้อยละ 86 ร้อยละ 87 ร้อยละ 88 เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น
ร้อยละ 85
80.6 86.95 82 82 84
ค่าเป้าหมาย
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 (ร้อยละ 80) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
หมายเหตุ : 1. สธ. สารวจพัฒนาการจากเด็กปฐมวัยที่ได้รบั การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
-เฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
แล้วผลตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน (การเคลื่อนไหว การใช้กล้ามเนื้อ
-สร้างความรอบรู้ด้านการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย (HL) แก่ พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครูพี่เลี้ยง มัดเล็ก การเข้าใจภาษา การใช้ภาษา การช่วยเหลือตนเองและสังคม)
-การขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2. ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
-ขับเคลื่อนงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้มาตรการทางกฎหมาย/ข้อเสนอเชิงนโยบาย งบประมาณ พ.ศ. 2566
ช่วงเวลารายงานผล : ตามรอบการรายงาน
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 96
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 : จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ Joint KPIs ภายในกระทรวง น้าหนัก SKPIs
(สป.สธ/กรมการแพทย์
ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 แผนไทยฯ/กรมสุขภาพจิต)
25

คาอธิบาย
• คานิยาม
ประชาชน หมายถึง จานวนประชาชนอยูใ่ นพื้นที่ที่เปิดดาเนินการของหน่วยบริการปฐมภูมหิ รือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ทผี่ ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการดูแลประชาชนตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ หมายถึง หน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ตามประกาศคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูม ิ เรือ่ ง ลักษณะของหน่วยบริการ
และ
เครือข่ายหน่วยบริการทีจ่ ะขึน้ ทะเบียน การขึน้ ทะเบียน และการแบ่งเขตพืน้ ที่ เพือ่ เป็ นหน่วยบริการปฐมภูมหิ รือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูม ิ พ.ศ. 2562
แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หมายถึง แพทย์ที่ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว หรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัวจากหลักสูตรที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้ความเห็นชอบ
1. หลักสูตรพื้นฐานเวชศาสตร์ครอบครัวสาหรับแพทย์ปฐมภูมิ Basic Course of Family Medicine for Primary Care Doctor
2.หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น “เวชศาสตร์ครอบครัวสาหรับแพทย์ปฏิบัติงานในคลินิกหมอครอบครัว” พ.ศ. 2562
คณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ หมายถึง ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขซึ่งปฏิบัติงานร่วมกันกับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งผ่านการฝึกอบรมด้านสุขภาพปฐมภูมเิ พื่อเป็นผู้สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์เวชศาสตร์
ครอบครัวและผู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าว
บริการสุขภาพปฐมภูมิ เป็นบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดแู ลสุขภาพของบุคคลในบัญชีรายชือ่ ซึ่งมีขอบเขต ดังต่อไปนี้
1. บริการสุขภาพอย่างองค์รวม แต่ไม่รวมถึงการดูแลโรคหรือปัญหาสุขภาพที่จาเป็นต้องใช้เทคนิคหรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ซับซ้อน การปลูกถ่ายอวัยวะ และการผ่าตัด ยกเว้น การผ่าตัดขนาดเล็กซึ่งสามารถฉีดยาชาเฉพาะที่
2. บริการสุขภาพตั้งแต่แรก ครอบคลุมทุกกระบวนการสาธารณสุข ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรั กษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ แต่ไม่รวมถึงการบริการแบบผู้ป่วยนอกของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ การบริการแบบผู้ป่วยใน การ
คลอด และการปฏิบัติการฉุกเฉิน ยกเว้น กรณีการปฐมพยาบาลและการดูแลในภาวะฉุกเฉินเพื่อให้รอดพ้นภาวะฉุกเฉิน
3. บริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ทุกช่วงวัยตั้งแต่ การตั้งครรภ์ ทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทางาน วัยสูงอายุ จนกระทั่งเสียชีวิ ต
4. การดูแลสุขภาพของบุคคลแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การดูแลสุขภาพโดยการแพทย์แผนปัจจุบนั การแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก
5. การบริการข้อมูลด้านสุขภาพและคาปรึกษาด้านสุขภาพแก่บุคคลในบัญชีรายชื่อ ตลอดจนคาแนะนาที่จาเป็นเพื่อให้สามารถตัดสินใจในการเลือกรับบริการหรือเข้าสู่ระบบการส่งต่อ
6. การส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพและมีความรู้ในการจัดการสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ตลอดจนอาจสามารถร่วมตัดสินใจในการวางแผนการดูแลสุขภาพร่วมกับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิได้
7. การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคในระดับชุมชน
• ขอบเขตการประเมิน
1. โรงพยาบาลศูนย์ (34 แห่ง) โรงพยาบาลทั่วไป (92 แห่ง) โรงพยาบาลชุมชน (775 แห่ง) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (9,777 แห่ง) ในจังหวัด / เขตสุขภาพ 12 เขต (ที่มา จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.)
2. เป้าหมายการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมทิ ี่ดาเนินการในพื้นที่ระยะ 10 ปี (ระยะเตรียมการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 - 2562) เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปีพ.ศ. 2563 - 2572 จานวนหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมทิ ั้งหมด 6,790 หน่วย ทั้งนี้ เป้าหมาย
เป็นไปตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
• วิธีการเก็บข้อมูล
จัดเก็บจากข้อมูลจานวนหน่วยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมใิ นระบบลงทะเบียน
• แหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลจากระบบลงทะเบียน 97
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 : จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ Joint KPIs ภายในกระทรวง
(สป.สธ/กรมการแพทย์ SKPIs
ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 แผนไทยฯ/กรมสุขภาพจิต)

แผนระยะยาว / Roadmap (2564-2573)


ปีงบประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568
ค่าเป้าหมาย เป้าหมายสะสม 2,500 หน่วย เป้าหมายสะสม 3,000 หน่วย เป้าหมายสะสม 3,500 หน่วย เป้าหมายสะสม 4,000 หน่วย เป้าหมายสะสม 4,500 หน่วย
ปีงบประมาณ 2569 2570 2571 2572 2573
ค่าเป้าหมาย เป้าหมายสะสม 5,000 หน่วย เป้าหมายสะสม 5,500 หน่วย เป้าหมายสะสม 6,000 หน่วย เป้าหมายสะสม 6,500 หน่วย เป้าหมายสะสม 6,790 หน่วย

ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
ผลการดาเนินงาน (หน่วย) 1,991 2,512 3,191 หน่วย - - - - - - - -
ค่าเป้าหมาย (หน่วย) 1,625 2,500 3,000 3,500 4,000 4,500 5,000 5,500 6,000 6,500 6,790
จานวนเพิ่ม (หน่วย) 509 488 500 500 500 500 500 500 500 290
ร้อยละสะสม 37 44 52 59 66 74 81 88 96 100
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) เงื่อนไข : -
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : สานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3,441 หน่วย 3,500 หน่วย 4,000 หน่วย
ช่วงเวลารายงานผล : รอบ 6 เดือน , 9 เดือน และ 12 เดือน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบลงทะเบียน ของ สานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3,100 หน่วย

หมายเหตุ : 98
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) Joint KPIs ภายในกระทรวง (สป.สธ/
กรมการแพทย์/กรมสุขภาพจิต) SKPIs
และข้ามกระทรวง
คาอธิบาย :
• ผู้ป่วยยาเสพติด หมายถึง ผู้ป่วยยาเสพติดทุกระบบ ทุกระดับความรุนแรงที่เข้ารับการบาบัดรักษาและมีการสรุปผลการบาบัดแบบครบโปรแกรม ยกเว้นผู้ป่วยที่มีการจาหน่ายกรณี เสียชีวิต และผู้ป่วยที่ให้เมทาโดน น้าหนัก
ระยะยาว (Methadone Maintenance Therapy) ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มา : ระบบข้อมูลการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) 20
• สูตรการคานวณ : จานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้เสพ หรือผู้ติด ที่ผ่านการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา และจานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้ใช้ที่ผา่ นการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา (ข้อมูล 1) X 100
จานวนผู้บาบัดรักษา ตามสถานะที่มีการประเมินผลการบาบัดรักษาทั้งแบบครบโปรแกรม/ไม่ครบโปรแกรม (ข้อมูล 2)
ข้อมูลพื้นฐาน : ข้อมูล ปี 2565 ณ 30 ก.ย.65
ระบบสมัครใจ (รอบ) ระบบบังคับบาบัด (รอบ) ระบบต้องโทษ (รอบ) ทุกระบบ (รอบ)
ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2
ปี ไม่ครบ ไม่ครบ ไม่ครบ ข้อมูล ไม่ครบ
งปม. ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ครบ โปรแกรม % ครบ โปรแกรม % ครบ โปรแกรม % ที่ 1 ครบ โปรแกรม %
ที่ 1 ทั้งหมด ที่ 1 ทั้งหมด ที่ 1 ทั้งหมด ทั้งหมด
โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ
จาหน่าย จาหน่าย จาหน่าย จาหน่าย
2562 65,117 100,683 82,862 17,821 64.68 27,010 72,662 57,679 14,983 37.17 9,207 25,533 24,989 544 36.06 101,334 198,878 165,530 33,348 50.95
2563 64,008 97,190 81,083 16,107 65.86 37632 95,707 72,897 22,810 39.32 10,249 26,503 26,016 487 38.67 111,889 219,400 179,996 39,404 51.00
2564 38,248 57,025 47,365 9,660 67.07 34,015 95,442 66,227 29,215 35.64 9,611 19,222 18,814 408 50.00 81,874 171,689 132,406 39,283 47.69
2565 35,568 49,355 44,432 4,923 72.07 23,428 51,276 42,216 9,060 45.69 12,513 22,253 21,982 271 56.23 71,509 122,884 108,630 14,254 58.19

เกณฑ์การประเมิน ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570


เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 58.19 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65
เป้าหมาย ร้อยละ 60 ร้อยละ 60 ร้อยละ 63 ร้อยละ 63 ร้อยละ 65
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (1 ตุลาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566)
เงื่อนไข : -
ร้อยละ 45
หมายเหตุ :
ช่วงเวลารายงานผล : รอบ 6 , 9 และ 12 เดือน 99
ตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
น้าหนัก
5.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) 10 potential
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี (12 งานบริการ)
คาอธิบาย : บทบาทของหน่วยงาน
• มติ คณะรั ฐมนตรี วั นที่ 3 สิงหาคม 2564 เห็นชอบการขั บเคลื่อนการให้บริการประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมงานบริการ 12 Agenda 5.1.1 ชื่องานบริการ Agenda ระบบการออกบัตรสุขภาพ
• สานักงาน ก.พ.ร. กาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาทิศทางการพัฒนา (Roadmap) ภายในระยะ อิเล็กทรอนิกส์ (น้าหนัก 7.5)
ไม่เกิน 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) และจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในการขับเคลื่อนเป้าหมายที่กาหนดในแต่ละปี  หน่วยงานเจ้าภาพหลัก
• แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หมายถึง แผนดาเนินการที่ส่วนราชการระบุรายละเอียดกิจกรรมสาคัญที่ ◻ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต้ อ งด าเนิ น การเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย ตามที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ น Roadmap ปี 2566 โดยระบุ ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ให้ชัดเจน/ผลผลิตที่จะได้รับเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาสเพื่อใช้ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อน/เป้าหมายในการวัดความสาเร็จ 5.1.2 ชื่องานบริการ Agenda ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนแบบ
ของแต่ละไตรมาส/การระบุเป้าหมายและบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เบ็ดเสร็จ (น้าหนัก 2.5)
◻ หน่วยงานเจ้าภาพหลัก
แนวทางการประเมิน :
• ประเมินความสาเร็จจากการดาเนินงานตามกิจกรรมที่ได้ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปี 2566  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• โดยพิจารณาจากจานวนกิจกรรมทั้งหมดที่ได้กาหนดไว้ในแต่ละไตรมาสที่ต้องดาเนินการ สามารถดาเนินการได้ตามแผนระยะเวลาที่
กาหนด หมายเหตุ :
• กรณีหน่วยงานเกี่ยวข้องในงานบริการ Agenda หลายงานบริการ เป็นการวัดร้อยละความสาเร็จเฉลี่ยของงานบริการ Agenda ที่ • การกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน : กาหนดเป้าหมายตาม
เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่หน่วยงานเกี่ยวข้องผลักดัน หรือกาหนด
เกณฑ์การประเมิน : เป้าหมายร่วมกันทุกส่วนราชการ
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) • สานักงาน ก.พ.ร. (ทีมขับเคลื่อน e-Service) ติดตาม
ความก้าวหน้าทุก 2 เดือน (ช่วงวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม (เริ่ม ม.ค. 66)
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566 แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566 แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566
ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100
การรายงานผล 12 เดือน : กาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก รายงานผลการดาเนินการตามแผนปฏิบัติการรายปี (ในภาพรวม) ระบุผลผลิตหรือความก้าวหน้า/ผลสาเร็จการดาเนินการของ
แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ระบุไว้
100
ตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
5.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงานและข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่
น้าหนัก
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) 5 potential
(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล(Data Catalog)เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
คาอธิบาย : ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
• บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่ วยงานของรัฐ
• คาอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูล 1) แผนระดับ 2 (แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ
จานวน 14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด ปฏิ รู ป ประเทศ แผนพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคม
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ
• ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนาไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น แห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้ งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์ แห่งชาติ ) และ แผนระดับ 3 ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ
หน่วยงาน
แนวทางการประเมิน • ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
1) ส่วนราชการต้องเลือกประเด็นการดาเนินงานภายใต้ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีชดุ ข้อมูล (Data Catalog)
2) ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กบั กระบวนการทางานตามขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยต้องเป็นกระบวนการทางานภายใต้ภารกิจหลักที่มผี ลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง • ผลการดาเนินงานตามแผนที่เกี่ยวข้อง
3) ให้มีคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด 2) ชุดข้อมูลสนับสนุนการให้บริการประชาชน (e-Service)
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตามในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป 3) ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับสากล*
5) กาหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล
ต่อสาธารณะ ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กาหนด 4) สถิติทางการ (21 สาขา)
6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนาชุดข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้ 5) การดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล หรือ มติ ครม.
7) การนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล / การมี dashboard จากชุดข้อมูล
เป็นต้น 6) ภารกิจหลักของหน่วยงาน
เกณฑ์การประเมิน
หมายเหตุ : * หน่ ว ยงานที่ ต้ อ งด าเนิ น การตามตั ว ชี้ วั ด การจั ด ท า
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ชุดข้อมูลตัวชี้วัดสาหรับการรายงานการจัดอันดับขีดความสามารถใน
• มีรายชื่อชุดข้อมูล ที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบโจทย์ • มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) • คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ การแข่งขันของประเทศ โดย IMD ให้นับเป็นชุดข้อมูลที่ต้องดาเนินการ
การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน พร้ อ มแจ้ ง URL ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน และ แบบเปิดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน) เพิ่มเติมจาก 5 ชุดข้อมูลที่กาหนดตามเงื่อนไขตัวชี้วัด
• มี ค าอธิ บ ายชุ ด ข้ อ มู ล (Metadata) ที่ ส อดคล้ อ งตาม ชุดข้อ มูล คาอธิ บ ายชุดข้ อมู ล ถูก น าขึ้ นที่ ระบบบั ญ ชี • น าข้ อ มู ล เปิ ด ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม
มาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ตอบโจทย์ ต ามประเด็ น ขอบเขตการน าข้ อ มู ล ไปใช้ เงื่อนไข
• มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูล ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 คะแนน) ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน) 1. ในแต่ ละชุด ข้ อ มูล (Data Set) ต้ อ งมีก ารจั ด ท าค าอธิบ ายข้ อ มู ล
เปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชี (Metadata) ครบถ้วนจานวน 14 รายการ หากส่วนราชการมีการ
ข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน) จัดทารายละเอียดไม่ครบ 14 รายการในแต่ละชุดข้อมูล จะไม่นับผล
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) การดาเนินงาน
ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ได้แก่ 2. หน่วยงานจัดทาชุดข้อมูลเปิดไม่น้อยกว่า 5 ชุดข้อมูล
1. หน่วยงานที่ยังไม่มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ทาการติดตั้งระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ให้พร้อมใช้งาน ภายใน ธ.ค. 2565
2. หน่วยงานส่ง Template 1 (ชื่อชุดข้อมูล) และ Template 2 (Metadata) ให้ สสช. ภายใน มี.ค. 2566
101
ตัวชี้วัดที่ 6 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
potential
คาอธิบาย :
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ น้าหนัก
เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุ 15
เป้าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ
และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
เกณฑ์กำรประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุม ่ ด ังนี้
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 2565
กลุม่ ที่ 1 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตา่ กว่า 350 คะแนน
ผลกำรดำเนินงำน กลุม ่ ที่ 2 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
464.40 406.98 428.70 450.80
ตัง้ แต่ 350 แต่น ้อยกว่า 400 คะแนน
กลุม
่ ที่ 3 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
เกณฑ์การประเมิน : (กลุ่มที่ 4) ตัง้ แต่ 400 - 450 คะแนน
กลุม ่ ที่ 4 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) มากกว่า 450 คะแนน

445 447.90 450.80


เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) :
1. ดาเนินการจัดทาร่างประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
1.1 ลักษณะสาคัญขององค์กร (OP) ไม่เกิน 3 หน้า
1.2 แบบประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยตนเอง ทั้ง 6 หมวด (Self Assessment)
1.3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดาเนินงาน (หมวด 7) จานวน 30 ตัวชี้วัด
102
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมการแพทย์
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมการแพทย์
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. อัตราตายทารกแรกเกิด ร้อยละ 10
2. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 10
3. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ร้อยละ 10
4. ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์ ร้อยละ 15
5. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้ม และได้รับการรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ ร้อยละ 10
6. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) (SKPIs) ร้อยละ 15

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


7. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
7.1. การพัฒนาระบบปรึกษาการแพทย์ทางไกล (DMS Telemedicine/Telemedicine) แบบองค์รวม ร้อยละ 15
8. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15
จานวน 8 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี) 104
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมการแพทย์
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. อัตราตายทารกแรกเกิด ร้อยละ 10 ร้อยละ 4.79 ร้อยละ 4.21 ร้อยละ 3.5 Proxy KPIs
2. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 10 ร้อยละ 8.59 ร้อยละ 7.96 ร้อยละ 7 Proxy KPIs
3. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ร้อยละ 10 ร้อยละ 10.05 ร้อยละ 9.05 ร้อยละ 8 Proxy KPIs
4. ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 ร้อยละ 15 Proxy KPIs
และ 6 สัปดาห์
4.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ (ร้อยละ 5) ร้อยละ 69.13 ร้อยละ 71.11 ร้อยละ 76

4.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการเคมีบาบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 5) ร้อยละ 73.74 ร้อยละ 76 ร้อยละ 78.26
ร้อยละ 60.44 ร้อยละ 64.22 ร้อยละ 76
4.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการรังสีรักษา ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 5)

5. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือ ร้อยละ 10 Proxy KPIs


ภาวะหกล้ม และได้รับการรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
5.1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษา (ร้อยละ 5) ร้อยละ 25 >ร้อยละ 30 ร้อยละ 35
ในคลินิกผู้สูงอายุ
5.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการ (ร้อยละ 5) ร้อยละ 25 >ร้อยละ 30 ร้อยละ 35
ดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
6. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสูก่ ระบวนการบาบัดได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 15 ร้อยละ 58.19 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 SKPIs
จนถึงการติดตาม (Retention Rate)
7. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล : การพัฒนาระบบปรึกษาการแพทย์ทางไกล (DMS ร้อยละ 15 - ออกใบเสร็จรับเงินเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์(e-License/ - ออกเอกสารใบเสร็จรับเงินเป็นเอกสาร - สถานพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์สามารถ ไม่เชื่อมโยง SKPI
Telemedicine/Telemedicine) แบบองค์รวม e-Certificate/e-Document) ผ่านทางMobile หรือ เว็บไซต์ อิเล็กทรอนิกส์ (e-License/e-Certificate/ ให้บริการผ่านระบบ DMS Telemedicine
- ผู้ป่วยนอกที่รับบริการในสถานพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ e-Document) ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง /Telemedicine ได้ครบทุกแห่งภายในกันยายน
ใช้บริการด้วยระบบ DMS Telemedicine/Telemedicine Mobile หรือ เว็บไซต์ และผู้รับบริการสามารถ 2566 และกรมการแพทย์มีแผนเชื่อมโยงระบบ
อย่างน้อยร้อยละ 5 * print out เอกสารได้ ผ่าน Citizen Portal
8. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15 350 387.06 425.77 ไม่เชื่อมโยง SKPI
รวม 100
105
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : อัตราตายทารกแรกเกิด ตัวชี้วัดใหม่ น้าหนัก Proxy
10 KPIs
นิยาม : ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกที่รอดออกมาน้าหนัก ≥ 500 กรัม มีชีวิตจนถึง 28 วัน ในโรงพยาบาลสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.)
ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม
ขอบเขตการประเมิน : ทารกที่คลอดและมีชีวิตจนถึง 28 วัน
สูตรคานวณ : จานวนทารกที่เสียชีวิต ≤ 28 วัน X 100 แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
จานวนทารกแรกเกิดมีชีพ คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
วิธีการเก็บข้อมูล : 1. โรงพยาบาลจัดเก็บข้อมูลตามระบบปกติของโรงพยาบาล และส่งข้อมูลเข้าระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวง
แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้าง
สาธารณสุข สุขภาวะที่ดี
2. จัดเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทีมตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และกรมการแพทย์ เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
แหล่งที่มาของข้อมูล : ฐานข้อมูลจากระบบ Health Data Center ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ต่อพันทารกเกิดมีชีพ) 6


5 5 4.81
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 4.36 4.41 4.52 4.21 4.35
4 3.8 3.7
3.4 3.5 3.5
4.52 4.21 4.81 4.43 3
< 3.6 < 3.6 < 3.6 < 3.6 < 3.6
(1,850/409,150) (1,747/414,664) (1,747/363,038) (1,397/315,548) 2
ที่มา : 1
https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformated/format1.php&cat_id=491672679818600345dc1833920051b2&id 0
=0acbbb84a5c774c129dfc849a742d766 วันที่ 26 /07/ 65 : 10.00 น. 2560 2561 2562 2563 2564 2565
เกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ผลงาน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 4.79 ร้อยละ 4.21 ร้อยละ 3.5 หมายเหตุ : -
ค่าเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง 2563 - 2565 ผลงานปี 2563 (ผลงานดีที่สุด) เป้าหมายปี 65

Small Success รอบ 6, 9 และ 12 เดือน : < 3.6 ต่อพันทารกเกิดมีชีพ


106
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัดต่อเนื่อง น้าหนัก Proxy
นิยาม 10 KPIs
1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง ผู้ป่วยใน (ผู้ป่วยที่รับไว้นอนพักรักษาในโรงพยาบาล (admit) นานตั้งแต่ 4 ชั่วโมงขึ้นไป) ที่มี ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
principal diagnosis (pdx) เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60 – I69) ทางสังคม
2. การตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง การตายจากสาเหตุโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60 – I69)
แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
3. การจาหน่ายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง หมายถึง การที่ผู้ป่วยในออกจากโรงพยาบาลด้วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60 – I69)
ขอบเขตการประเมิน : ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาล
คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
สูตรคานวณ : จานวนครั้งของการจาหน่ายสถานะตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(Stroke: I60 – I69) จากทุกหอผู้ป่วย X 100 แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้าง
สุขภาวะที่ดี
จานวนครั้งของการจาหน่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจากทุกหอผู้ป่วยในช่วงเวลาเดียวกัน (Stroke: I60 – I69)
เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
วิธีการเก็บข้อมูล : 1. ระบบข้อมูล 43 แฟ้ม 2. การรวบรวมและวิเคราะห์ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 13 ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น
แหล่งที่มาของข้อมูล : 1. ฐานข้อมูลจากการประเมินข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข 2. การรวบรวมและวิเคราะห์
ในระดับเขตสุขภาพที่ 1 – 13 10
8
6
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ร้อยละ) 4
2
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 0
2560 2561 2562 2563 2564 2565
7.87 7.96 9.03 8.79 <7 <7 <7 <7 <7
(11,906/151,283) (12,503/157,022) (10,660/118,099) (13,586 /154,579 ) เป้าหมาย ผลงาน

เกณฑ์การประเมิน Small Success ปี 2566 รอบ 6, 9, 12 เดือน


เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
< ร้อยละ 7
ร้อยละ 8.59 ร้อยละ 7.96 ร้อยละ 7
ค่าเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง (2563 – 2565) ผลงานดีที่สุดของปี 2563– 2565 เป้าหมายปี 2566
หมายเหตุ : -
107
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI น้าหนัก Proxy
นิยาม ตัวชี้วัดใหม่ 10 KPIs
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI หมายถึง กล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดมาเลี้ยงจนเกิดการตายของกล้ามเนื้อ และมีคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติชนิดเอสทียก
(ST-Elevated Myocardial Infarction) ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
อัตราตายในผู้ป่วย STEMI ทางสังคม
1. ผู้ป่วย STEMI หมายถึง ผู้ป่วย STEMI ที่เป็นผู้ป่วยใน หรือผู้ป่วยมาตรวจที่แผนกฉุกเฉินและมีการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่นที่มศี ักยภาพสูงกว่า (โดยนับการ
เจ็บป่วยในครั้งนั้น เป็น 1 visit) แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
2. การตายของผู้ป่วย STEMI หมายถึง การตายจากสาเหตุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลันชนิด STEMI
ขอบเขตการประเมิน : ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้แก่ - ผู้ป่วยใน รหัส ICD10 WHO I21.0-I21.3 ที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล - ผู้ป่วยใน
คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
รหัส ICD10- WHO I21.0-I21.3 ทั้งหมด แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้าง
สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยใน รหัส ICD10 WHO: I21.0 – I21.3 ที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลทั้งหมด X 100 สุขภาวะที่ดี
จานวนผู้ป่วยใน รหัส ICD10 WHO: I21.0 – I21.3 ที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทั้งหมด เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
วิธีการเก็บข้อมูล : ข้อมูลจาก Thai ACS Registry หรือข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น
แหล่งที่มาของข้อมูล : ข้อมูลจาก Thai ACS Registry หรือข้อมูลจาก HDC http://www.ncvdt.org/Default.aspx
11
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ร้อยละ) 10
9
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 8
7
9.05 <9 <9 <9 <9 <9 2560 2561 2562 2563 9 2565
8.85 10.50 10.60
(678/7,491)
เป้าหมาย ผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) Small Success ปี 2566
ร้อยละ 10.05 ร้อยละ 9.05 ร้อยละ 8 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
ค่าเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง (2563 – 2565) ผลงานดีที่สุดของปี 2563– 2565 (เป้าหมายขั้นต้น – เป้าหมายมาตรฐาน) < ร้อยละ 9 < ร้อยละ 9 < ร้อยละ 9

หมายเหตุ :
108
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์ Proxy
ตัวชี้วัดต่อเนื่อง น้าหนัก KPIs
4.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ (ร้อยละ 5) 15
นิยาม 1) มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งตับและท่อน้าดี (C22,C24) มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด (C33-C34) มะเร็งเต้านม (C50) มะเร็งลาไส้ใหญ่และทวารหนัก (C18-C21) และมะเร็งปากมดลูก
(C53) ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและ
2) ระยะเวลาการรอคอยรับการรักษาด้วยการผ่าตัด หมายถึง การกาหนดระยะเวลาในการเข้าถึงบริการ (Access to Care) การรักษาด้วยการผ่าตัดภายใน 4 สัปดาห์ (28 วัน) โดยนับจาก ความเสมอภาคทางสังคม
- วันที่ตัดชิ้นเนื้อ/เซลล์ ส่งตรวจ เป็นชิ้นเนื้อ/เซลล์ในครั้งที่ใช้ยืนยันวินจิ ฉัยเป็นมะเร็งและนามาสู่การรักษามะเร็ง นับถึงวันที่ได้รับ การผ่าตัดรักษา
- วันสุดท้ายของการรักษาด้วยวิธีอนื่ เช่น รังสีรักษา, เคมีบาบัด โดยนับถึงวันที่ได้รับการผ่าตัดรักษา แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
- ในกรณีที่ไม่มีการตรวจชืน้ เนื้อหรือไม่มีการรักษาด้วยวิธีอนื่ ให้นับตั้งแต่วันที่ทาการตรวจวินจิ ฉัยทางรังสีวิทยา เช่น วันทา CT, MRI, Ultrasound, X-ray โดยนับจากครั้งที่นาผลมาตัดสินใจให้การ
รักษามะเร็ง เป็นต้น คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
- กรณีผู้ป่วยส่งต่อจากสถานพยาบาลอื่น ให้ นับแบบเดียวกับผู้ป่วยใหม่โดยแยกรายงานจังหวัดหรืออาเภอที่ส่งต่อเพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อ แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุน
ขอบเขตการประเมิน : ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องได้รับการรักษามะเร็งด้วยวิธผี ่าตัด การสร้างสุขภาวะที่ดี
สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยที่แพทย์วางแผนการรักษาด้วยการผ่าตัดและได้รับการผ่าตัดรักษา ≤4 สัปดาห์ นับตามเกณฑ์ที่กาหนด X 100 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่
จานวนผู้ป่วยทีไ่ ด้รับการผ่าตัดเพื่อรักษามะเร็งทั้งหมดในปีที่รายงาน ประชากรทุกระดับเข้าถึงได้ดีขนึ้
แหล่งที่มาของข้อมูล : 1. จาก Hospital Based Cancer Registry (Thai Cancer Based หรือ ระบบCancer Informatics ของโรงพยาบาล
2. หน่วยบริการศัลยกรรม ห้องผ่าตัด เคมีบาบัด และรังสีรักษาสามารถบันทึกข้อมูลส่วนที่เกีย่ วข้องผ่าน TCB ได้ ควบคู่กับงานทะเบียนมะเร็ง
Small Success ปี 2566 รอบ 6, 9, 12 เดือน : ≥ ร้อยละ 76

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ร้อยละ) 85


80
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 75
70
74.26 ≥ 76 ≥ 77 ≥ 78 ≥ 79 ≥ 80
71.07 69.99 71.11 65
(22,255/29,967)
60
2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย
เกณฑ์การประเมิน (การตั้งค่าเป้าหมายขึ้นอยู่กับผลการดาเนินงานปี 65) ผลงาน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) หมายเหตุ : การรายงานตัวชี้วดั ผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 โรค ไม่รวมกรณี Metastatic
(Unknown primary)
กรณีที่ 1 ผลปี 65 น้อยกว่าปี 64 ร้อยละ 69.13 ร้อยละ 71.11 ร้อยละ 76
ค่าเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง 2563 - 2565 ค่าที่ดีที่สุด 3 ปี (2563 – 2565) เป้าหมายปี 2566
109
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์ Proxy
4.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการเคมีบาบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 5) ตัวชี้วัดต่อเนื่อง น้าหนัก
15 KPIs
นิยาม 1) มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งตับและท่อน้าดี (C22,C24) มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด (C33-C34) มะเร็งเต้านม (C50) มะเร็งลาไส้ใหญ่และ
ทวารหนัก (C18-C21) และมะเร็งปากมดลูก (C53) ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
2) ระยะเวลาการรอคอยรับการรักษาด้วยเคมีบาบัด หมายถึง การกาหนดระยะเวลาในการเข้าถึงบริการ (Access to Care) การรักษาด้วยเคมีบาบัดภายใน 6
ทางสังคม
สัปดาห์ (42 วัน) โดยนับ จาก
- วันที่ตัดชิ้นเนื้อ/เซลล์ ส่งตรวจ (เป็นชื้นเนื้อ/เซลล์ในครั้งที่ใช้ยืนยันการวินิจฉัยเป็นมะเร็งและนามาสู่การรักษามะเร็ง นับถึงวันที่ผู้ป่วยได้รับ ยาเคมีวันแรก แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
- วันสุดท้ายของการรักษาด้วยวิธีอื่น เช่น รังสีรักษา, ผ่าตัด นับถึงวันที่ผู้ป่วยได้รับยาเคมีวันแรก (การรักษาผ่าตัด นับจากวันที่ผ่าตัด)
- กรณีผู้ป่วยส่งต่อจากสถานพยาบาลอื่น ให้นับแบบเดียวกับผู้ป่วยใหม่โดยแยกรายงานจังหวัดหรืออาเภอที่ส่งต่อเพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อ คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
ขอบเขตการประเมิน : ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องได้รับการรักษามะเร็งด้วยวิธีเคมีบาบัด แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้าง
สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยที่แพทย์วางแผนการรักษาด้วยเคมีบาบัดและได้รับการรักษาด้วยเคมีบาบัด ≤ 6 สัปดาห์ นับตามเกณฑ์ที่กาหนด X 100 สุขภาวะที่ดี
จานวนผู้ป่วยที่ได้รับเคมีบาบัดเพื่อรักษามะเร็งทั้งหมดในปีที่รายงาน เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
แหล่งที่มาของข้อมูล : 1. จาก Hospital Based Cancer Registry (Thai Cancer Based หรือ ระบบCancer Informatics ของโรงพยาบาล ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น
2. หน่วยบริการศัลยกรรม ห้องผ่าตัด เคมีบาบัด และรังสีรักษาสามารถบันทึกข้อมูลส่วนที่เกี่ยวข้องผ่าน TCB ได้ ควบคู่กับงานทะเบียนมะเร็ง
Small Success ปี 2566 รอบ 6, 9, 12 เดือน : ≥ ร้อยละ 76
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ร้อยละ)
85
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
80
72.91 ≥ 76 ≥ 77 ≥ 78 ≥ 79 ≥ 80
73.18 73.01 71.47 75
(27,140/37,222)
70
เกณฑ์การประเมิน (การตั้งค่าเป้าหมายขึ้นอยู่กับผลการดาเนินงานปี 65)
65
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) 2562 2563 2564 2565 เป้าหมาย
ร้อยละ 78.26 ผลงาน
กรณีที่ 2 ผลปี 65 สูงกว่า ปี 64 ร้อยละ 72.91 ร้อยละ 76
(76 + ผลต่างของค่าขั้นต้น
แต่ไม่เกินค่าเป้าหมายปี 66 (ร้อยละ 76) ผลปี 2565 เป้าหมายปี 2566
และค่ามาตรฐาน) หมายเหตุ : การรายงานตัวชี้วดั ผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 โรค ไม่รวมกรณี Metastatic
(Unknown primary)

110
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : ผู้ป่วยโรคมะเร็งสามารถเข้าถึงบริการผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ภายใน 4, 6 และ 6 สัปดาห์ ตัวชี้วัดต่อเนื่อง น้าหนัก Proxy
15 KPIs
4.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการรังสีรักษา ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (ร้อยละ 5)
นิยาม 1) มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งตับและท่อน้าดี (C22,C24) มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด (C33-C34) มะเร็งเต้านม (C50) มะเร็งลาไส้ใหญ่และ ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทวารหนัก (C18-C21) และมะเร็งปากมดลูก (C53) ทางสังคม
2) ระยะเวลาการรอคอยรับการรักษาด้วยรังสีรักษา หมายถึง การกาหนดระยะเวลาในการเข้าถึงบริการ (Access to Care) การรักษาด้วยรังสีรักษาภายใน 6
สัปดาห์ (42 วัน) โดยนับจาก แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้
- วันที่ตัดชิ้นเนื้อ/เซลล์ ส่งตรวจ (เป็นชิ้นเนื้อ/เซลล์ในครั้งที่ใช้ยืนยันการวินิจฉัยเป็นมะเร็งและนามาสู่การรักษามะเร็ง นับถึงวันแรกที่ผู้ป่วยได้รับรังสีรักษา คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
- วันสุดท้ายของการรักษาด้วยวิธีอื่น เช่น เคมีบาบัด, ผ่าตัด นับถึงวันแรกที่ผู้ป่วยได้รับรังสีรักษา (การรักษาผ่าตัด นับจากวันที่ผ่าตัด)
- ในกรณีที่ไม่มีการตรวจชิ้นเนื้อหรือไม่มีการรักษาด้วยวิธีอื่นและผู้ป่วยส่งต่อจากถานพยาบาลอื่นให้ใช้หลักการเดียวกับข้อ 2.ระยะเวลาการรอคอยรับการ แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสร้าง
รักษาด้วยการผ่าตัด สุขภาวะที่ดี
ขอบเขตการประเมิน : ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องได้รับการรักษามะเร็งด้วยรังสีรักษา เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุก
ระดับเข้าถึงได้ดีขึ้น
สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยที่แพทย์วางแผนการรักษาด้วยรังสีรกั ษาและได้รบั การรักษาด้วยรังสีรกั ษา ≤ 6 สัปดาห์ นับตามเกณฑ์ที่กาหนด X 100
จานวนผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาเพื่อรักษามะเร็งทั้งหมดในปีที่รายงาน Small Success ปี 2566 รอบ 6, 9, 12 เดือน : ≥ ร้อยละ 76
แหล่งที่มาของข้อมูล : 1. จาก Hospital Based Cancer Registry (Thai Cancer Based หรือ ระบบCancer Informatics ของโรงพยาบาล
2. หน่วยบริการศัลยกรรม ห้องผ่าตัด เคมีบาบัด และรังสีรักษาสามารถบันทึกข้อมูลส่วนที่เกี่ยวข้องผ่าน TCB ได้ ควบคู่กับงานทะเบียนมะเร็ง 100
80
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) เป้าหมายการดาเนินงาน (ร้อยละ) 60
40
2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
20
57.51 ≥ 76 ≥ 77 ≥ 78 ≥ 79 ≥ 80 0
56.5 54.6 62.5 เป้าหมาย
(10,887/18,931) 2562 2563 2564 2565
เกณฑ์การประเมิน ผลงาน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)


หมายเหตุ : การรายงานตัวชี้วดั ผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 โรค ไม่รวมกรณี
ร้อยละ 60.44 ร้อยละ 64.22 ร้อยละ 76 Metastatic (Unknown primary)
ค่าเฉลี่ยสามปีย้อนหลัง 2563 - 2565 ค่าที่ดีที่สุด 3 ปี (2563 – 2565) เป้าหมายปี 2566
111
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 5 : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
น้าหนัก Proxy
5.1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ (ร้อยละ 5) ตัวชี้วัดต่อเนื่อง 10 KPIs
5.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ (ร้อยละ 5)
นิยาม 1. คลินิกผู้สูงอายุ หมายถึง การจัดระบบบริการสุขภาพแบบผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลระดับ M2 ขึ้นไป ตามรูปแบบที่กรมการแพทย์กาหนด (ทั้งระดับพื้นฐานและ
ยุทธศาสตร์ชาติ :การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ระดับคุณภาพ ตามที่กรมการแพทย์กาหนด)
2. การดูแลรักษา หมายถึง มีระบบการดูแลรักษา ตั้งแต่การตรวจยืนยัน วินิจฉัยสาเหตุ การตรวจรักษาและการดูแลต่อเนื่องในผู้สูงอายุที่มีเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
หรือภาวะพลัดตกหกล้ม
3. จานวนโรงพยาบาลระดับ M2 ขึ้นไป มีทั้งหมด 211 โรงพยาบาล (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทนั สมัยสนับสนุนการสร้างสุขภาวะที่ดี
4. จานวนผู้สูงอายุจากการสารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560 มีจานวน 11,312,447 คน (สานักงานสถิติแห่งชาติ) เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : มีระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานที่ประชากรทุกระดับ
ขอบเขตการประเมิน : ผู้สูงอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป เข้าถึงได้ดีขึ้น
สูตรการคานวณ
1. ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ : ข้อมูลพื้นฐาน 2565
จานวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ X 100
จานวนผู้สูงอายุทั้งหมดที่ได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม 7.1 ภาวะสมองเสือ่ ม ร้อยละ 34.97
2. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ :
จานวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะพลัดตกหกล้มและได้รบั การดูแลรักษาในคลินิกผูส้ ูงอายุ X 100 7.2 ภาวะหกล้ม ร้อยละ 80.29
จานวนผู้สูงอายุทั้งหมดที่ได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม
วิธีการเก็บข้อมูล : 1. คณะประเมินคลินิกผู้สูงอายุ รายงานผลการประเมินผ่าน website สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ เป้ าหมายการดาเนิ นงาน (ร้อยละ)
2. สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ รวบรวม ประเมินผล และออกเป็นรายงานประจาปี และส่งคืนข้อมูลให้กับโรงพยาบาลเป้าหมาย จังหวัด 2566 2567 2568 2569 2570
และ เขตสุขภาพ
แหล่งที่มาของข้อมูล : Website สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ (website http://agingthai.dms.moph.go.th) ≥ 30 ≥ 40 ≥ 50 ≥ 50 ≥ 50
เกณฑ์การประเมิน ≥ 30 ≥ 40 ≥ 50 ≥ 50 ≥ 50
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน Small Success ปี 2566 ภาวะสมองเสื่อม / ภาวะหกล้ม
เป้าหมายขั้นสูง (100)
(50) (75) เงื่อนไข : 1. ทาการประเมินตามคู่มือการลงบันทึกข้อมูลคลินิก
6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
5.1 ภาวะสมองเสื่อม ร้อยละ 25 >ร้อยละ 30 ร้อยละ 35 > ร้อยละ 25 > ร้อยละ 27.5 > ร้อยละ 30 2. เป้าหมายของร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง
ร้อยละ 25 >ร้อยละ 30 ร้อยละ 35 พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ
5.2 ภาวะหกล้ม 112
รายละเอียดตัวชี้วัด
Joint KPIs ภายในกระทรวง (สป.สธ/
ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) กรมการแพทย์/กรมสุขภาพจิต) SKPIs
และข้ามกระทรวง
คาอธิบาย :
• ผู้ป่วยยาเสพติด หมายถึง ผู้ป่วยยาเสพติดทุกระบบ ทุกระดับความรุนแรงที่เข้ารับการบาบัดรักษาและมีการสรุปผลการบาบัดแบบครบโปรแกรม ยกเว้นผู้ป่วยที่มีการจาหน่ายกรณี เสียชีวิต และผู้ป่วยที่ให้เมทาโดน น้าหนัก
ระยะยาว (Methadone Maintenance Therapy) ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มา : ระบบข้อมูลการบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) 15
• สูตรการคานวณ : จานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้เสพ หรือผู้ติด ที่ผ่านการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา และจานวนผู้บาบัดรักษา สถานะผู้ใช้ที่ผา่ นการบาบัดและได้รับการติดตามอย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 1 ปี หลังจากสรุปผลการบาบัดรักษา (ข้อมูล 1) X 100
จานวนผู้บาบัดรักษา ตามสถานะที่มีการประเมินผลการบาบัดรักษาทั้งแบบครบโปรแกรม/ไม่ครบโปรแกรม (ข้อมูล 2)
ข้อมูลพื้นฐาน : ข้อมูล ปี 2565 ณ 30 ก.ย.65
ระบบสมัครใจ (รอบ) ระบบบังคับบาบัด (รอบ) ระบบต้องโทษ (รอบ) ทุกระบบ (รอบ)
ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2 ข้อมูลที่ 2
ปี ไม่ครบ ไม่ครบ ไม่ครบ ข้อมูล ไม่ครบ
งปม. ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ครบ โปรแกรม % ครบ โปรแกรม % ครบ โปรแกรม % ที่ 1 ครบ โปรแกรม %
ที่ 1 ทั้งหมด ที่ 1 ทั้งหมด ที่ 1 ทั้งหมด ทั้งหมด
โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ โปรแกรม หรือ
จาหน่าย จาหน่าย จาหน่าย จาหน่าย
2562 65,117 100,683 82,862 17,821 64.68 27,010 72,662 57,679 14,983 37.17 9,207 25,533 24,989 544 36.06 101,334 198,878 165,530 33,348 50.95
2563 64,008 97,190 81,083 16,107 65.86 37632 95,707 72,897 22,810 39.32 10,249 26,503 26,016 487 38.67 111,889 219,400 179,996 39,404 51.00
2564 38,248 57,025 47,365 9,660 67.07 34,015 95,442 66,227 29,215 35.64 9,611 19,222 18,814 408 50.00 81,874 171,689 132,406 39,283 47.69
2565 35,568 49,355 44,432 4,923 72.07 23,428 51,276 42,216 9,060 45.69 12,513 22,253 21,982 271 56.23 71,509 122,884 108,630 14,254 58.19

เกณฑ์การประเมิน ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570


เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 58.19 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65
เป้าหมาย ร้อยละ 60 ร้อยละ 60 ร้อยละ 63 ร้อยละ 63 ร้อยละ 65
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (1 ตุลาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566)
ร้อยละ 45
113
ตัวชี้วัดที่ 7 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้าหนัก potential
7.1 การพัฒนาระบบปรึกษาการแพทย์ทางไกล (DMS Telemedicine/Telemedicine) แบบองค์รวม 15
คาอธิบาย
นิยาม ระบบ DMS Telemedicine/Telemedicine แบบองค์รวม หมายถึง การพัฒนาระบบ Telemedicine แบบองค์รวม ในรูปแบบ Application มี Function สาหรับให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time
เช่นเดียวกับการสื่อสารผ่านระบบ video conference ที่คู่สนทนาสามารถมองเห็นหน้าและสนทนากันได้ทั้ง 2 ฝ่าย ได้อย่างไร้ข้อจากัดในเรื่องเวลาและสถานที่ ลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอยในโรงพยาบาล ลดการเดินทางมารพ. ของผู้ป่วยและญาติ
สามารถบันทึกการสนทนา ซึ่งบุคลากรทางการแพทย์สามารถใช้ช่วยทาการรักษา วินิจฉัยโรค และให้คาปรึกษาจากทางไกลได้ มีการสั่งยาและการจ่ายเงินผ่านระบบ online ระบบส่งยาทางไปรษณีย์ พร้อมทั้งมีระบบข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล สาหรับผู้ป่วย
เพื่อติดตามดูแลสุขภาพของตนเองผ่าน Smart devices และมีข้อมูลผู้ป่วยสาหรับบุคลากรทางการแพทย์เพื่อการให้รักษาต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
ขอบเขตการประเมิน Application DMS Telemedicine/Telemedicine มี Function การใช้งานครอบคลุมทั้ง 3 Level โดยประเมินจากการใช้งานของ โรงพยาบาลเป้าหมาย เป้าหมาย 6 เดือน : ผู้ป่วยนอกที่รับบริการในสถานพยาบาลสังกัด
สูตรคานวณ Application DMS Telemedicine/Telemedicine มีระบบการให้บริการทั้ง 3 level กรมการแพทย์ ใช้บริการด้วยระบบ DMS Telemedicine/Telemedicine
วิธีการเก็บข้อมูล สารวจและติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาและการใช้งานจาก หน่วยบริการสังกัดกรมการแพทย์ / แหล่งที่มาของข้อมูล สานักดิจิทัลการแพทย์ อย่างน้อย ร้อยละ 2.5 *
ข้อมูลพื้นฐาน แผนระยะยาว / Roadmap (2566 - 2568)
ปีงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 2565 ปีงบประมาณ 2566 2567 2568
ผลการดาเนินงาน - - - - 28 รพ. จานวนผู้ใช้บริการด้วย DMS Telemedicine/Telemedicine
ค่าเป้าหมาย - -
ปี 2565 : จานวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด 2,790,180 ครั้ง ใช้บริการผ่านระบบ DMS Telemed 71,821 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 2.57 . อย่างน้อย 5 ของผู้ใช้บริการที่เป็นผู้ป่วยนอกทั้งหมด
ชื่องาน/กระบวนการ เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) เงื่อนไข*
เป็นผู้ป่วยเดิมที่เคยรักษากับทางโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบปรึกษาการแพทย์ - ออกใบเสร็จรับเงินเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ - ออกเอกสารใบเสร็จรับเงินเป็นเอกสาร - สถานพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์สามารถ แล้ว และสมัครใจเข้ารับการบริการผ่าน
(e-License/e-Certificate/e-Document) อิเล็กทรอนิกส์ (e-License/e-Certificate/ ให้บริการผ่านระบบ DMS ระบบปรึกษาการแพทย์ทางไกล โดยขึ้นอยู่
ทางไกล (DMS กับดุลยพินิจของแพทย์
Telemedicine/Telemedicine) ผ่านทางMobile หรือ เว็บไซต์ e-Document) ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง Telemedicine/Telemedicine หมายเหตุ *
แบบองค์รวม - ผู้ป่วยนอกที่รับบริการในสถานพยาบาลสังกัด Mobile หรือ เว็บไซต์ และผู้รับบริการสามารถ ได้ครบทุกแห่งภายในกันยายน 2566 และ ปรับค่าเป้าหมายจากร้อยละ 15 เป็นร้อยละ
กรมการแพทย์ ใช้บริการด้วยระบบ DMS print out เอกสารได้ กรมการแพทย์มีแผนเชื่อมโยงระบบ ผ่าน 5 เนื่องจาก ผู้ป่วยของหน่วยบริการเฉพาะ
ทางอยู่ในภาวะไม่คงที่จึงไม่สามารถใช้ DMS
Telemedicine/Telemedicine อย่างน้อย Citizen Portal Telemedicine / Telemedicine ในการ
ร้อยละ 5 * รักษาได้
ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ : สะดวก รวดเร็ว ลดความแออัดในโรงพยาบาล ลดระยะเวลารอคอย ได้พูดคุยกับแพทย์เหมือนไป รพ. ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เว้นระยะห่าง ปลอดภัยทั้งผู้ให้บริการและผู้รบั บริการ ป้องกันการรับเชื้อโรคซ้าซ้อน
ประชาชน มีข้อมูลสุขภาพของตนเอง เพื่อการดูแลและสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์เพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง กรณีไม่ไปรักษาที่ รพ.ประจา
114
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 8 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คาอธิบาย
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการพัฒนา
ไปสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0 )
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลีย่ ในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการ
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ผลการดาเนินงาน


ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 500 413.81 405.98 387.06
400
ผลการดาเนินงาน - 413.81 405.98 387.06 300
200
100
เกณฑ์การประเมิน (กลุ่มที่ 2) 2563 2564 2565
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ผลการดาเนินงาน
387.06 425.77 เกณฑ์การประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
350
(คะแนนปี 65) (คะแนนปี 25 65 + 10 %) กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ต่ากว่า 350 คะแนน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (1 ตุลาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566) มีแผนปรับปรุงองค์การ กลุ่มที่ 2 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตั้งแต่ 350 แต่น้อยกว่า 400 คะแนน
กลุ่มที่ 3 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ ตั้งแต่ 400 - 450 คะแนน
เพิ่มศักยภาพของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 เพื่อผลักดันการดาเนินงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนระดับประเทศ กลุ่มที่ 4 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน มากกว่า 450 คะแนน
115
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมควบคุมโรค
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมควบคุมโรค
11 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (Joint KPIs) ร้อยละ 10
2. จานวนจังหวัดที่ดาเนินการขับเคลื่อน TSY program มีจานวนเด็กและเยาวชนเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุทางถนนลดลง ร้อยละ 20
3. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 20
4. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 20
Joint KPIs
-
2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)

5. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 6 ตัวชี้วัด

หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีชมพู หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี)

117
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมควบคุมโรค
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อ ร้อยละ 10 26.92 26.13 25.34 SKPIs
ประชากรแสนคน ต่อ ประชากรแสนคน ต่อ ประชากรแสนคน ต่อ ประชากรแสนคน
2. จานวนจังหวัดที่ดาเนินการขับเคลื่อน TSY Program ร้อยละ 20 6 จังหวัด 12 จังหวัด 16 จังหวัด Proxy KPIs
มีจานวนเด็กและเยาวชนเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ จาก
อุบัติเหตุทางถนนลดลง
3. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 20 ร้อยละ 70.60 ร้อยละ 72.30 ร้อยละ 74 Proxy KPIs
โรคเบาหวาน
4. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 20 ร้อยละ 91 ร้อยละ 93 ร้อยละ 95 Proxy KPIs
โรคความดันโลหิตสูง
5. การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) ร้อยละ 15 • มีรายชื่อชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ • มีระบบบั ญชี ข้ อมู ล หน่ วยงาน (Agency • คุ ณ ภาพทุ ก ชุ ด ข้ อ มู ล เป็ น ไปตาม ไม่เชื่อมโยง SKPI
ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศหรือการบริการ Data Catalog) พร้อมแจ้ง URL ระบบบัญชี มาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร.
เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ประชาชน ข้อมูลหน่วยงาน และชุดข้อมูล คาอธิบายชุด กาหนด (20 คะแนน)
• มี ค า อ ธิ บ า ย ชุ ด ข้ อ มู ล ( Metadata) ข้ อ มู ล ถู ก น า ขึ้ น ที่ ร ะ บ บ บั ญ ชี ข้ อ มู ล • นาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ ได้อย่าง
ที่สอดคล้ องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หน่ ว ยงาน และระบุ ท รั พ ยากรข้ อ มู ล เป็นรูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็น
(14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
• มีคาอธิ บายทรั พยากรข้อ มูล (Resource) คะแนน) อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามลงทะเบียนใน
ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล ภาครั ฐ (GD Catalog)
(10 คะแนน)
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบ ร้อยละ 15 445 452.53 460.06 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
รวม 100
118
รายละเอียดตัวชี้วัด
Joint KPIs ภายในกระทรวง รหัส : 070105
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (กรม คร./สป.สธ) และ น้าหนัก SKPIs
ข้ามกระทรวง 10
คาอธิบาย :
➢ อั ต ราผู้ เ สี ย ชี วิ ต จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนต่ อ ประชากรแสนคน เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ บู ร ณาการการท างานร่ ว มกั น ระหว่ า งกระทรวงคมนาคม
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
➢ ผู้เสียชีวิต หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน นับตั้งแต่เกิดเหตุจนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุระหว่างนาส่ง
โรงพยาบาล ที่ห้องฉุกเฉินระหว่างส่งต่อ (Refer) กรณี Admitted เสียชีวิตในตึกผู้ป่วยภายใน 24 ชม. และเสียชีวิตในตึกผู้ป่วยหลัง 24 ชม.
จนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงขอกลับไปตายที่บ้าน ทั้งนี้ ให้นับข้อมูลรวมทุกกลุ่มอายุโดยใช้ข้อมูลจากการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน (กระทรวง แผนแม่บท : ประเด็นที่ 7 โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์
และดิจิทัล
สาธารณสุข สานักงานตารวจแห่งชาติ และบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด
➢ อุบัติเหตุทางถนน หมายถึง การชนหรืออุบัติการณ์ซึ่งมีพาหนะที่กาลังเคลื่อนที่เพื่อวัตถุประสงค์ในการเดินทางจากจุดหนึง่ ไปยังจุดหนึง่ ซึ่งเกิด
แผนแม่บทย่อย : โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม และระบบโลจิสติกส์
บริเวณทางตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก รวมทั้งทางส่วนบุคคล เป็นเหตุให้ทรัพย์สินเสียหาย หรือมีผู้บาดเจ็บ หรือมีผู้เสียชีวิต ไม่รวมทางน้า
และทางอากาศ รหัส ICD10 (V01-V89) เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
ค่าเป้าหมาย
วิธีการดาเนินงาน :
จากการประชุมศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2563 ได้นาผลการประชุมระดับโลก ว่าด้วยเรื่องความปลอดภัย 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ทางถนน ครั้งที่ 3 (3 rd Global Ministerial Conference on Road Safety : Achieving Global Goals 2030, Stockholm, 19-20 February 12 คน 12 คน 8 คน 5 คน
2020 โดยในปฏิญญา Stockholm มีการกาหนดเป้าหมายลดการเสียชีวิตและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลง ร้อยละ 50 ภายในปี 2573 ประกอบ ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร
กับตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีกาหนดให้อัตราการเสียชีวิตไม่เกิน 12 ต่อประชากรแสนคน ภายในปี 2570 ศปถ. ได้ให้ความสาคัญ ได้จัดทา 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน
แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2565-2570) และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน
- ศปถ. นาเป้าหมายระดับโลก (12 Global Road Safety Performance Targets) มาเป็นกรอบในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยทางถนน
ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
- ศปถ. มอบหมายให้คณะอนุกรรมการ 8 ชุดภายใต้คณะกรรมการศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปดาเนิน
การขับเคลื่อนการดาเนินงานตามเป้าหมาย (target) ที่เกี่ยวข้อง พร้อมกาหนดตัวชี้วัด(Indicator) และกากับการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผน ประชาชนได้รับการป้องกัน และลดอัตราการบาดเจ็บ เสียชีวิต หรือพิการจาก
อุบัติเหตุทางถนน เพื่อการมีคุณภาพชีวิตในการเดินทางที่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
- ศปถ. มอบหมายให้คณะอนุกรรมการด้านการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผล (คณะอนุกรรมการชุดที่ 6) ติดตามการดาเนินงาน
รวมทั้งประเมินผลการดาเนินงานในภาพรวม และให้รายงานความคืบหน้าต่อศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนเป็นรายไตรมาส
119
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน SKPIs
เป้าหมาย ปี 2566 :
สูตรการคานวณ : (ประเมิน 12 เดือน) ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) : ตั้งแต่ 1 ก.ค. – 30 มิ.ย. ค่าเป้าหมาย
= จานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 65 – 30 มิ.ย.66) x 100,000 2561 * 2562 * 2563 * 2564 * 2565 2566
จานวนประชากรกลางปี พ.ศ. 2565 31.74 คน 30.57 คน 27.14 คน 27.85 คน N/A
ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร ต่อประชากร 26.13 คน
วิธีการจัดเก็บข้อมูล : บูรณาการจาก 3 ฐาน ประกอบด้วย 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน 1 แสนคน ต่อประชากร
1. กระทรวงสาธารณสุข จากข้อมู ลมรณบัต รและหนั ง สือรับ รองการตาย ของกองยุ ทธศาสตร์และแผนงาน 1 แสนคน
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Median 59-63 = 30.74 คนต่อประชากร 1 แสนคน
2. สานักงานตารวจแห่งชาติ จากข้อมูลในระบบ Crime
หมายเหตุ : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564
3. บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด จากข้อมูล e-claim
โดยแต่ละหน่วยงานจะจัดส่งข้อมูลเข้าระบบบูรณาการข้อมูล ทุก 3 เดือน ซึ่งข้อมูลที่ส่งเข้าระบบในแต่ละรอบ
ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2564 – 2573
จะทาการ update ข้อมูลที่ผ่านมา ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงปัจจุบันและระบบจะทาการประมวลผล และตัดข้อมูลที่
Baseline
ซ้าซ้อนออก สามารถเข้าไปดูรายงานเป็นรายจังหวัดได้ใน website : http://dip.ddc.moph.go.th/new Median 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
59-63 (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง (ลดลง
เกณฑ์การประเมิน 5%) 10%) 15%) 20%) 25%) 30%) 35%) 40%) 45%) 50%)
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) 30.74 29.20 27.66 26.13 24.59 23.05 21.52 19.98 18.44 16.91 15.37
26.92 26.13 25.34
คนต่อประชากร 1 แสนคน คนต่อประชากร 1 แสนคน คนต่อประชากร 1 แสนคน เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ด้วย SDGs กาหนดทศวรรษความปลอดภัยปี 64-73 จึงต้องใช้ข้อมูลปี 63 เป็น baseline
แต่ปี 63 มีการระบาดของ COVID-19 ทาให้ข้อมูลตายน้อยกว่าความเป็นจริง จึงขอใช้ค่า
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (1 ก.ค.65 – 31 ธ.ค.65) มัธยฐาน (Median) 5 ปี (59-63) เป็น Baseline แทน และตั้งเป้าให้ลดลงปีละ 5%
12.78 คนต่อประชากร 1 แสนคน ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (เป็น Joint KPI ระหว่าง
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม ข้อมูลจาก Injury Data Collaboration Center (IDCC)
ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี 120
รายละเอียดตัวชี้วัด
KPIs ภายในกรม คร.
ตัวชี้วัดที่ 2 : จานวนจังหวัดที่ดาเนินการขับเคลื่อน TSY program มีจานวนเด็กและ น้าหนัก Proxy
เยาวชนเสียชีวิตหรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง 20 KPIs

คาอธิบาย :
การเสียชีวิตและการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนเป็นปัญหาสังคมที่สร้างความสูญเสียให้กับคนไทยมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Z) ยุทธศาสตร์ : โครงสร้างพื้นฐาน
เยาวชนช่วงอายุ 10 - 19 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุด ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนที่ผ่านมา (ปี 2554 - 2563) ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล
มีเด็กและเยาวชนช่วงอายุ 10 - 19 ปีเสียชีวิต 28,444 คน หรือเฉลี่ยปีละ 2,844 คน โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และในอีก 10 ปี ข้างหน้า (ปี 2564-
2573) จากค่าประมาณการแนวโน้มการเสียชีวิตของเด็กและเยาวชน แบบการวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time Series) พบว่า จะมีเด็กแลเยาวชนไทย แผนแม่บทย่อย (Y1): : ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
จะมีโอกาสเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนถึง 37,321 คน หากไม่มีการยกระดับแผนงานการแก้ไขปัญหาอย่าจริงจัง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
ชาติ 20 ปี (Z) ยุทธศาสตร์ โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติก ส์ และดิจิทัล โดยมีแผนแม่บทย่อย (Y1) ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง และ ไม่เกิน 12 ต่อประชากรแสนคน ภายในปี 2570
กาหนดให้อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 12 ต่อประชากรแสนคนภายในปี 2570
วิธีการดาเนินงาน : ค่าเป้าหมาย
1) ขับเคลื่อนเชิงนโยบายระดับชาติ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ ผลักดันความร่วมมือเพื่อจัดทาแผนระดับชาติ (National 2561 - 2565 2566 - 2570 2571 - 2575 2576 - 2580
Program)เพื่อยกระดับการแก้ปัญหา โดยผลักดันให้มีคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานในระดับชาติ ภายใต้ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน 6 24 36 48
2) พัฒนากลไกการจัดการแก้ปัญหาในกลุ่มเด็กและเยาวชนทั้งในระดับจังหวัดและอาเภอร่วมกับศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน จังหวัด จังหวัด จังหวัด จังหวัด
จังหวัด (ศปถ.จังหวัด/ศปถ.อาเภอ) และ พชอ. และสร้างการรับรู้สถานการณ์และพัฒนาแผนงาน Thailand Safe Youth Program (TSY Program)
ในระดับจังหวัด อย่างน้อย 12 จังหวัด
3) การพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ และประสบการณ์“ทักษะคิด การเอาชีวิตรอดภัยบนท้องถนน” (วัคซีนจราจร) การ ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
รับรู้อันตรายและความเสี่ยง (Hazard Perception) รวมถึงพัฒนาครู/วิทยากร ประจาจังหวัด/อาเภอ (Trainer) และมีการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้
เกิดกลไกการจัดการปัญหาอย่างเป็นระบบทุกระดับภายใต้การขับเคลื่อนนโยบาย
ความปลอดภัยทางถนนประจาสถานศึกษา (Road Safety Learning Center) และศูนย์ฝึกอบรมวิทยากร ของจังหวัดและอาเภอ เพื่อให้สามารถลดการตายและการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
4) พัฒนาความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการและเครือข่ายความร่วมมือร่วมในระดับจังหวัด อาเภอ และสถานศึกษา การจัดฝึกอบรมความ ทางถนนของเยาวชนไทยและสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในระยะยาว การ
ปลอดภัยทางถนน“ทักษะคิด การเอาชีวิตรอดภัยบนท้องถนน” (วัคซีนจราจร) ในกลุ่มเด็กและเยาวชน เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแก่เด็กและเยาวชน ลงทุนในกลุ่มเด็กในระยะเริ่มต้น ที่ติดตัวไปจนเป็นวัยผู้ใหญ่ที่ขับขี่ยานพาหนะที่มี
อย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพ พร้อมที่จะเป็นผู้ใหญ่ในอนาคตที่ตระหนักในความปลอดภัยของตนเอง
ครอบครัว ชุมชน
5) ติดตามประเมินผลจานวนจังหวัดที่ดาเนินการ Thailand Safe Youth Program (TSY program) มีผู้เสียชีวิตหรือผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
ทางถนนในกลุ่มเด็กและเยาวชนลดลงร้อยละ 5 เป้าหมายอย่างน้อย 12 จังหวัด
121
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 : จานวนจังหวัดที่ดาเนินการขับเคลื่อน TSY program มีจานวนเด็กและ Proxy
เยาวชนเสียชีวิตหรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง KPIs

สูตรการคานวณ : เป้าหมาย ปี 2566 :


1) จานวนผู้เสียชีวติ ในแด็กและเยาวชนอายุ 10 - 19 ปี ปี 2566 – ปี 2565 X 100 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) : ค่าเป้าหมาย
จานวนผู้เสียชีวิตในแด็กและเยาวชนอายุ 10 - 19 ปี ปี 2565 2561 2562 2563 2564 2565 2566
2) จานวนผู้บาดเจ็บ OPD ในแด็กและเยาวชนอายุ 10 - 19 ปี ปี 2566 – ปี 2565 X 100
- - - - 6 จังหวัด 12 จังหวัด
จานวนผู้บาดเจ็บ OPD ในแด็กและเยาวชนอายุ 10 - 19 ปี ปี 2565
*** อย่างใดอย่างหนึ่ง
ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2566 - 2570 :
เกณฑ์การประเมิน
2566 2567 2568 2569 2570
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) 12 จังหวัด 16 จังหวัด 18 จังหวัด 20 จังหวัด 24 จังหวัด
6 จังหวัด 12 จังหวัด 16 จังหวัด
วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) 1) ช่วงเวลา 12 เดือนในปีงบประมาณ หมายถึง ปีงบประมาณ 2565 = กรกฎาคม 2564 – มิถุนายน 2565
ปีงบประมาณ 2566 = กรกฎาคม 2565 – มิถุนายน 2567
1) ขับเคลื่อนเชิงนโยบายระดับชาติร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ ผลักดันความร่วมมือเพื่อจัดทา
2) การเสี ย ชีวิ ต และการบาดเจ็บ ให้ เลือกฐานข้อมู ลของโรงพยาบาลในจั ง หวั ดหรืออาเภอ ทั้ ง โรงพยาบาลศูน ย์
แผนระดับชาติ โดยผลักดันให้มีคณะอนุกรรมการหรือคณะทางาน ภายใต้ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน โดยเป็นข้อมูลทั้งจังหวัดหรือข้อมูลใน 3 อาเภอนาร่องในจังหวัด
2) พัฒนากลไกการจัดการแก้ปัญหาในกลุ่ มเด็กและเยาวชนทั้งในระดับจังหวัดและอาเภอร่วมกับศูนย์
อานวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด (ศปถ.จังหวัด/ศปถ.อาเภอ) และ พชอ. และสร้างการรับรู้สถานการณ์ เงื่อนไข : -
ทั้ง 77 จังหวัด และมีจังหวัดนาร่องดาเนินการเข้มข้น อย่างน้อย 12 จังหวัด หมายเหตุ : การกาหนดเป้าหมายเป็นจานวนจังหวัดเพื่อให้เกิดการโฟกัสการทางาน แผนงานของจังหวัด
3) การพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ “ทักษะคิด การเอาชีวิตรอดภัยบนท้องถนน” และ ที่ชัดเจนและการติดตามประเมินผล และสัมพันธ์กับการใช้งบประมาณ
พัฒนาครู/วิทยากรประจาจังหวัด/อาเภอ (Trainer) และมีการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และศูนย์ฝึกอบรมนาร่อง ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองป้องกันการบาดเจ็บ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี 122
รายละเอียดตัวชี้วัด
KPIs ภายในกรม คร. รหัส : 130101
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน น้าหนัก Proxy
20 KPIs

คาอธิบาย: ยุทธศาสตร์ชาติ : การพัฒนาและเสริมสร้างสุขภาพคน


1.1 กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองและยังไม่ได้รับการวินิจฉัย
เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยใช้วิธีการตรวจ 2 วิธี ดังนี้
แผนแม่บท : ประเด็น 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
(1) การตรวจระดับน้าตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะจากหลอดเลือดดา
(FPG) ตอนเช้าหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง มีค่า ≥ 126 mg/dl
(2) การตรวจระดับน้าตาลโดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (RCBG) หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคส (RPG) จากการที่ไม่อดอาหาร มีค่า แผนแม่บทย่อย : 13.1 การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะและการป้องกัน
≥ 110 mg/dl และตรวจคัดกรองซ้าตั้งแต่ 1 วันถัดไป โดยวิธีเจาะปลายนิ้ว (FCBG) หรือการตรวจระดับพลาสมากลูโคสในเลือดที่เจาะ และควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ
จากหลอดเลือดดา (FPG) ตอนเช้าหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง มีค่า ≥ 126 mg/dl เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะ
หมายเหตุ : ควรดาเนินการคัดกรองโดยวิธีที่ (1) เป็นอันดับแรกก่อน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการคัดกรองในกลุ่มที่ยังไม่มีอาการและ สามารถดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และสามารถป้องกัน
ลดขั้นตอน ส่วนผู้ที่มีอาการเกี่ยวกับโรคเบาหวานสามารถใช้การคัดกรอง โดยวิธีที่ (2) ได้เลย และลดโรคที่สามารถป้องกันได้ เกิดเป็นสังคมบ่มเพาะจิตสานึกการมีสุขภาพ
ดีสูงขึ้น
1.2 การได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย หมายถึง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัยโดยการตรวจระดับ
พลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการสาธารณสุข โดยสามารถตรวจติดตามยืนยัน ค่าเป้าหมาย
วินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัยป่วยเบาหวาน (ภายใน 180 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติสาหรับ 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
โรคเบาหวาน ≥ ร้อยละ 67 ≥ ร้อยละ 78 ≥ ร้อยละ 80 ≥ ร้อยละ 90

หมายเหตุ : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัยภายใน 1-180 วัน โดยไม่ต้องเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน


ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
1. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานเข้าถึงบริการ โดยได้รับการตรวจติดตาม ยืนยัน
และวินิจฉัยโรคโดยแพทย์
2. ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม และ
ได้รับคาแนะนาการปฏิบตั ิตัวลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
123
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน Proxy
KPIs
เป้าหมาย ปี 2566 :
สูตรคานวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) : ค่าเป้าหมาย
A = จานวนประชากรสงสัยป่วยโรคเบาหวานอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัย
โดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการ 2561 2562 2563 2564 2565 2566
สาธารณสุข โดยสามารถตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัย - - 59.99 63.15 70.60 ≥ ร้อยละ 70
(ข้อมูล HDC วันที่ (ข้อมูล HDC วันที่ 30
ป่วยเบาหวาน (ภายใน 1-180 วัน) ตามแนวทางเวชปฏิบัติสาหรับโรคเบาหวาน 20 ก.ย. 64) ก.ย. 65 : ตรวจติดตาม
B = จานวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและเป็นกลุ่มสงสัย ปรับนิยามตัวชี้วัด ภายใน 180 วัน)
ป่วยโรคเบาหวาน ปรับนิยามตัวชี้วัด

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2566 - 2570 :


บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าระบบ 2566 2567 2568 2569 2570
Health Data Center (HDC) On Cloud ≥ ร้อยละ 70 ≥ ร้อยละ 72 ≥ ร้อยละ 74 ≥ ร้อยละ 76 ≥ ร้อยละ 78
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) เงื่อนไข : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัยภายใน 1 - 180 วัน โดยไม่ต้องเข้ารับ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน
ร้อยละ 70.60 ร้อยละ 72.30 ร้อยละ 74 หมายเหตุ : -
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย ร้อยละ 30
ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี

124
รายละเอียดตัวชี้วัด
KPIs ภายในกรม คร. รหัส : 130101 น้าหนัก Proxy
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 20 KPIs

ยุทธศาสตร์ชาติ : การพัฒนาและเสริมสร้างสุขภาพคน
คาอธิบาย :
กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและมีค่าระดับ
ความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ระหว่าง 140-179 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ระหว่าง 90-109 แผนแม่บท : ประเด็น 13 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ
การได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย หมายถึง กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง แผนแม่บทย่อย : 13.1 การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะและการป้องกัน
ที่บ้าน (ทา Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้องได้รับการติดตามวัดความดัน และควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ
โลหิตด้วยตนเองที่บ้านภายใน 90 วัน หรือ การตรวจวัดความดันโลหิตซ้าในสถานบริการสาธารณสุขเดิม ภายใน 90 วัน ด้วยวิธีการ เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะ
วัดที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 สมาคมความดันโลหิตสูงแห่ง สามารถดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และสามารถป้องกัน
ประเทศไทย หลังจากได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงที่สถานบริการสาธารณสุข หรือในชุมชนแล้ว เพื่อรับการวินิจฉัยโรคความ และลดโรคที่สามารถป้องกันได้ เกิดเป็นสังคมบ่มเพาะจิตสานึกการมีสุขภาพ
ดันโลหิตสูง ดีสูงขึ้น
ค่าเป้าหมาย
หมายเหตุ : การดาเนินงานตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง สามารถดาเนินการได้ 2 วิธี โดยเป้าหมาย 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ผลลัพธ์ในการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย ≥ ร้อยละ 95 (เป้าหมายขั้นสูงของ ปี 66) แต่ควรเน้นผลลัพธ์การตรวจติดตามโดยวิธีการ เป้าหมายปี 65 93 - 97 ...................... ...................
วัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ทา Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) ≥ ร้อยละ 60 จากกลุ่มสงสัยป่วยโรคความ ≥ 80
(ปรับนิยามตัวชี้วดั )
ดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ เนื่องจาก HBPM สามารถทานายการเกิดโรคแทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แม่นยากว่า
การวัดความดันโลหิตที่สถานบริการสาธารณสุข (OBPM) ดังนั้นหากมีความขัดแย้งของผล HBPM กับผลการวัดแบบ OBPM ให้ถือ ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
ผลของ HBPM เป็นสาคัญ 1. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินจิ ฉัย
โดยแพทย์
2. ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการรักษาอย่างถูกต้อง เหมาะสม
และได้รับคาแนะนาการปฏิบตั ิตัวลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น
โรคหัวใจและหลอดเลือด 125
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง Proxy
KPIs
เป้าหมาย ปี 2566 :
สูตรคานวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) : ค่าเป้าหมาย
A = จานวนประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบวัดความดันโลหิต
2561 2562 2563 2564 2565 2566
ด้วยตนเองที่บ้าน (ทา Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้อง
ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ภายใน 90 วัน) หรือ การตรวจวัดความดันโลหิตซ้าใน - - 68.92 78.1 91.61 ≥ ร้อยละ 93
(HDC 16 ส.ค.64) (HDC 20 ก.ย. 65)
สถานบริการสาธารณสุขเดิม (ภายใน 90 วัน) ด้วยวิธีการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ตามแนวทาง ปรับนิยามตัวชี้วดั
การรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 หลังจากได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงที่สถาน
บริการสาธารณสุขหรือในชุมชนแล้ว เพื่อรับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2566 - 2570 :
B = จานวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ
และเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง 2566 2567 2568 2569 2570
≥ ร้อยละ 93 ≥ ร้อยละ 95 ≥ ร้อยละ 97 ≥ ร้อยละ 97 ≥ ร้อยละ 97
วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าระบบ
เงื่อนไข : กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการทา HBPM ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้อง
Health Data Center (HDC) On Cloud ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านภายใน 90 วัน หรือ การทา OBPM ภายใน 90 วัน
เกณฑ์การประเมิน ด้ ว ยวิ ธี ก ารวั ด ที่ ถู ก ต้ อ งตามมาตรฐาน หลั ง จากได้ รั บ การคั ด กรองความดั น โลหิ ต สู ง ที่ ส ถานบริ ก าร
สาธารณสุขหรือในชุมชนแล้ว เพื่อรับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
หมายเหตุ : -
ร้อยละ 91 ร้อยละ 93 ร้อยละ 95
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาสและรายปี
กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย ร้อยละ 60
126
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 : การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) น้าหนัก potential
คาอธิบาย : 15
• บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่ วยงานของรัฐ
• คาอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูล
จานวน 14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ 1) แผนระดับ 2 (แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ
• ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนาไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้ งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์ ปฏิ รู ป ประเทศ แผนพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคม
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ แห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง
แห่งชาติ ) และ แผนระดับ 3 ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ
แนวทางการประเมิน
1) ส่วนราชการต้องเลือกประเด็นการดาเนินงานภายใต้ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีชดุ ข้อมูล (Data Catalog) หน่วยงาน
2) ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กบั กระบวนการทางานตามขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยต้องเป็นกระบวนการทางานภายใต้ภารกิจหลักที่มผี ลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง • ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
3) ให้มีคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตามในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป • ผลการดาเนินงานตามแผนที่เกี่ยวข้อง
5) กาหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล 2) ชุดข้อมูลสนับสนุนการให้บริการประชาชน (e-Service)
ต่อสาธารณะ ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กาหนด
6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนาชุดข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้ 3) ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับสากล*
7) การนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล / การมี dashboard จากชุดข้อมูล 4) สถิติทางการ (21 สาขา)
เป็นต้น
5) การดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล หรือ มติ ครม.
เกณฑ์การประเมิน 6) ภารกิจหลักของหน่วยงาน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
หมายเหตุ : หน่ ว ยงานที่ ต้ อ งด าเนิ น การตามตั ว ชี้ วั ด การจั ด ท า
• มีรายชื่อชุดข้อมูล ที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบโจทย์ • มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) • คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ ชุดข้อมูลตัวชี้วัดสาหรับการรายงานการจัดอันดับขีดความสามารถใน
การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน พร้ อ มแจ้ ง URL ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน และ แบบเปิดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน) การแข่งขันของประเทศ โดย IMD ให้นับเป็นชุดข้อมูลที่ต้องดาเนินการ
• มี ค าอธิ บ ายชุ ด ข้ อ มู ล (Metadata) ที่ ส อดคล้ อ งตาม ชุดข้อ มูล คาอธิ บ ายชุดข้ อมู ล ถูก น าขึ้ นที่ ระบบบั ญ ชี • น าข้ อ มู ล เปิ ด ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เพิ่มเติมจาก 5 ชุดข้อมูลที่กาหนดตามเงื่อนไขตัวชี้วัด
มาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ตอบโจทย์ ต ามประเด็ น ขอบเขตการน าข้ อ มู ล ไปใช้
• มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูล ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 คะแนน) ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน) เงื่อนไข
เปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชี 1. ในแต่ล ะชุ ดข้ อ มู ล (Data Set) ต้ อ งมี ก ารจั ดท าค าอธิบ ายข้ อ มู ล
ข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน) (Metadata) ครบถ้วนจานวน 14 รายการ หากส่วนราชการมีการจัดทา
รายละเอี ย ดไม่ ค รบ 14 รายการในแต่ ล ะชุ ด ข้ อ มู ล จะไม่ นั บ ผล
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) การดาเนินงาน
ส่วนราชการดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ได้แก่ 2. หน่วยงานจัดทาชุดข้อมูลเปิดไม่น้อยกว่า 5 ชุดข้อมูล
1. หน่วยงานที่ยังไม่มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ทาการติดตั้งระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ให้พร้อมใช้งาน ภายใน ธ.ค. 2565
2. หน่วยงานส่ง Template 1 (ชื่อชุดข้อมูล) และ Template 2 (Metadata) ให้ สสช. ภายใน มี.ค. 2566
127
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 6 : การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
คาอธิบาย : 15
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0
• เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้าหมายให้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขึ้นจากผลคะแนนในขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ย ในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้


กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 ต่ากว่า 350 คะแนน
ผลการดาเนินงาน 474 409.64 458.99 460.06 กลุ่มที่ 2 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตั้งแต่ 350 แต่น้อยกว่า 400 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน กลุ่มที่ 3 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตั้งแต่ 400 - 450 คะแนน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) กลุ่มที่ 4 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
445 คะแนน 452.53 คะแนน 460.06 คะแนน มากกว่า 450 คะแนน
ขั้นตอนการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบื้องต้น (หากได้ 400 คะแนนขึ้นไป จะผ่านไป
เพิ่มศักยภาพของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 เพื่อผลักดันการดาเนินงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และแผนระดับประเทศ ประเมินในขั้นตอนที่ 2)
โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ขั้นตอนที่ 2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0
เป้าหมายแผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan) รอบ 6 เดือน (Application Report) (หากได้ 400 คะแนน จะผ่านไปประเมินในขั้นตอนที่ 3)
1. ประชุมเครือข่ายพัฒนาองค์กร กรมควบคุมโรค เพื่อพัฒนาแนวทางการดาเนินงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ปี พ.ศ. 2566 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจประเมินในพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อยืนยันผลการตรวจ Application Report
2. แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทางานยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ กรมควบคุมโรค ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
3. ประชุมคณะทางานยกระดับฯ เพื่อชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และเตรียมความพร้อมในการประเมิน
4. ประเมินองค์กรด้วยเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 ในทุกหมวดถึงระดับ Significance ผ่านโปรแกรมประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (DDC-PMQA 4.0) 128
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Proxy) ร้อยละ 20
2. จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทย (Proxy) ร้อยละ 25

Joint KPIs รายได้จากการท่องเที่ยว (1)


3. ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 25
การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ให้มีคุณค่าและมูลค่าสูง เพิ่มขึ้น

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


4. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
4.1 การพัฒนระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ
เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 5 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี) 130
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วย ร้อยละ 20 ร้อยละ 32 ร้อยละ 35 ร้อยละ 37 Proxy KPIs
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2. จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 25 240 แห่ง 270 แห่ง 300 แห่ง Proxy KPIs
3. ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) ร้อยละ 25 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 JKPI
แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบ จากปี 65 จากปี 65 จากปี 65
มีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก (33 แห่ง) (36 แห่ง) (39 แห่ง)
และสมุนไพร ให้มีคุณค่าและมูลค่าสูง เพิ่มขึ้น
4. การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายใน ร้อยละ 15 • มี ร ายชื่ อ ชุ ด ข้ อ มู ล ที่ มี คุ ณ ค่ า • มี ระ บ บ บั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ วย งา น • คุ ณ ภาพทุ ก ชุ ด ข้ อมู ล เป็ น ไปตา ม ไม่เชื่อมโยง SKPI
หน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่ สามารถน าไปใช้ ต อบโจทย์ ก าร (Agency Data Catalog) พร้อมแจ้ง มาตรฐานคุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร.
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) พัฒ นาประเทศหรื อ การบริ ก าร URL ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน กาหนด (20 คะแนน)
ประชาชน และชุ ดข้ อ มู ล ค าอธิ บ ายชุ ดข้ อ มู ล • นาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็น
• มี ค า อ ธิ บ า ย ชุ ด ข้ อ มู ล ถู ก น า ขึ้ น ที่ ร ะ บ บ บั ญ ชี ข้ อ มู ล รู ป ธรรม ตอบโจทย์ ต ามประเด็ น
(Metadata) ที่ ส อดคล้ อ งตาม หน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล ขอบเขตการน าข้ อ มู ล ไปใช้ ป ระโยชน์
มาตรฐานที่ สพร. ก าหนด (14 (Resource) ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
รายการ) ของทุกชุดข้อมูล (15 คะแนน)
• มี ค าอธิ บ ายทรั พ ยากรข้ อ มู ล • ชุ ด ข้ อ มู ล เปิ ด ทั้ ง หมด ถู ก น ามา
(Resource) ของชุ ด ข้ อ มู ล เปิ ด ลงทะเบี ย นในระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล
ทั้งหมด ภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน)

5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15 350 387.70 426.47 ไม่เชื่อมโยง SKPI
รวม 100
131
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผน น้าหนัก Proxy
ไทยและการแพทย์ทางเลือก รหัส : 130301 20 KPIs
คาอธิบาย อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี
เป็นการคานวณข้อมูลสัดส่วนจานวนการให้บริการ (ครั้ง) ของการบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ
รักษาโรค และการฟื้นฟูสุขภาพ รวมถึงการฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ในหน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) กับจานวนการให้บริการ (ครั้ง) ของการ ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
บริการสาธารณสุขแก่ประชาชนในหน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ทั้งหมด ทรัพยากรมนุษย์
การบริการด้านการแพทย์แผนไทย หมายถึง การบริการตรวจวินิจฉัย ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ เช่น การรักษาด้วยยาสมุนไพร
การนวด/การประคบสมุนไพร/การอบไอน้าสมุนไพร เพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ-ส่งเสริมสุขภาพ การทับหม้อเกลือ การพอกยาสมุนไพร การให้คาแนะนาในการดูแล แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
มีสุขภาวะที่ดี
สุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย รวมถึงการทาหัตถการอื่นๆตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย หรือการบริการอื่นๆที่มีการเพิ่มเติมรหัสภายหลัง
การบริการด้านการแพทย์ทางเลือก หมายถึง การบริการรักษาพยาบาล ได้แก่ การแพทย์ทางเลือกด้านสมาธิบาบัด หรือการบริการอืน่ ๆที่มีการเพิ่มเติมรหัสภายหลัง
วิธีจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมจากระบบรายงานมาตรฐาน 43 แฟ้ม กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่ดีเพิ่มขึ้น
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 35
ค่าเป้าหมาย
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า
- - ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 68 ปี 70 ปี 72 ปี 75 ปี
35.96 37.65 32.02 35 37 39 41 43

ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 ( ร้อยละ 40)

เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
ร้อยละ 32 ร้อยละ 35 ร้อยละ 37 ร้อยละ 34
132
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 : จานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมจัดบริการการแพทย์แผนไทย น้าหนัก Proxy
คาอธิบาย 25 KPIs
เป็นการนับจานวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ขึ้นทะเบียนกับคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 มีแพทย์
เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการดูแลประชาชนตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว และมี แพทย์แผนไทยเข้าไปร่วมให้บริการ จานวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้แก่ การตรวจ วินิจฉัย บาบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ การนวดไทย หน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพ
รวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัยความรู้หรือตาราที่ได้สืบทอดและพัฒ นาสืบต่อกันมา ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย
หมายเหตู : ปัจจุบันมีแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการปฐมภูมิจานวน 1500 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 42 ของหน่วยบริการปฐมภูมิของ สป.
เป้าหมาย ปี 2566 : จานวน 270 แห่ง (ร้อยละ 18 ของหน่วยบริการที่มีแพทย์แผนไทยในหน่วยปฐมภูมิ)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) (นับสะสม) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 (นับสะสม)

2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
- 12 แห่ง 33 แห่ง 152 แห่ง 228 แห่ง 270 แห่ง 300 แห่ง 375 แห่ง 450 แห่ง 600 แห่ง
(ร้อยละ 18) (ร้อยละ 20) (ร้อยละ 25) (ร้อยละ 30) (ร้อยละ 40)

ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 ( 157 แห่ง)

เกณฑ์การประเมิน (นับสะสม)
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
240 แห่ง 270 แห่ง 300 แห่ง
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
- จัดอบรมหลักสูตรเวชปฏิบัติของแพทย์แผนไทยที่ปฏิบัติงานในทีมหมอครอบครัวเพื่อการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
133
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center)/แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม น้าหนัก joint
และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ให้มีคุณค่าและมูลค่าสูง เพิ่มขึ้น 25 KPIs
คาอธิบาย : การยกระดับแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การเข้าร่วมกิจกรรม/การประเมินตามเกณฑ์การยกระดับสถานประกอบการ/แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ตามเกณฑ์ที่กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร่วมกับเครือข่ายเป็นผู้กาหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :
การสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร หมายถึง การสร้างความหลากหลาย และการแสดง กรมการแพทย์แผนไทยและ
อัตลักษณ์ถิ่น วัฒนธรรมชุมชน เพื่อเพิ่มมูลค่าบริการและสินค้าจากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร
ศูนย์เวลเนส (Wellness Center) หมายถึง ที่พักนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร สถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพ สถานประกอบการสปา การแพทย์ทางเลือก
เพื่อสุขภาพ สถานพยาบาล
แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ หมายถึง แหล่งท่องเที่ยวตามนิยามของเกณฑ์การประเมินความพร้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพภูมิปัญญาไทยและสมุนไพร เป้าหมาย 050301 :
เป้าหมาย ปี 2566 : เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากปีที่ผ่านมา (36 แห่ง ) รายได้จากการท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ
ความงาม และแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 (ถ้ามี)
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 V01
เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น สินค้าและบริการ การท่องเที่ยวเชิง
- - - - 30 แห่ง สุขภาพ
ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 ร้อยละ 20
จากปีที่ผ่านมา จากปีที่ผ่านมา จากปีที่ผ่านมา จากปีที่ผ่านมา จากปีที่ผ่านมา
(36 แห่ง) (43 แห่ง) (51 แห่ง) (61 แห่ง) (73 แห่ง) F0103
ความหลากหลายและความครอบคลุม
ผลการดาเนินงาน สูงกว่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุในปี 2565 ของสินค้าและบริการที่เชื่อมโยงการ
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา) ท่องเที่ยว
เกณฑ์การประเมิน
✓ ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงาน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
 ตัวชี้วัดบูรณาการหลายหน่วย
เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากปี 65 (33 แห่ง) เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากปี 65 (36 แห่ง) เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากปี 65 (39 แห่ง) โปรดระบุ ...........................................
............................................................
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) ............................................................
จัดอบรมหลักสูตรพัฒนาผู้ประกอบการด้านเวลเนสเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพความงาม และแพทย์แผนไทยให้กับเมืองหลักและเมืองรองทั่วประเทศที่มีศักยภาพทั้งรูปแบบ onsite และ
online อย่างน้อย 1 ครั้ง และลงพื้นที่ติดตามการดาเนินงานและประเมินผลรับรองสถานประกอบการเพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์เวลเนส/แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ไม่น้อยกว่า 5 พื้นที่ 134
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 4 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้าหนัก
4.1 การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล(Data Catalog)เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) potential
15
คาอธิบาย :
• บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่ วยงานของรัฐ
• คาอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูล ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
จานวน 14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด 1) แผนระดับ 2 (แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ
• ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนาไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ปฏิ รู ป ประเทศ แผนพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคม
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้ งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์ แห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ
แห่งชาติ ) และ แผนระดับ 3 ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ
หน่วยงาน
แนวทางการประเมิน
1) ส่วนราชการต้องเลือกประเด็นการดาเนินงานภายใต้ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีชดุ ข้อมูล (Data Catalog) • ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
2) ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กบั กระบวนการทางานตามขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยต้องเป็นกระบวนการทางานภายใต้ภารกิจหลักที่มผี ลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง • ผลการดาเนินงานตามแผนที่เกี่ยวข้อง
3) ให้มีคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตามในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป 2) ชุดข้อมูลสนับสนุนการให้บริการประชาชน (e-Service)
5) กาหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล 3) ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับสากล*
ต่อสาธารณะ ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กาหนด
6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนาชุดข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้ 4) สถิติทางการ (21 สาขา)
7) การนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล / การมี dashboard จากชุดข้อมูล 5) การดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล หรือ มติ ครม.
เป็นต้น
6) ภารกิจหลักของหน่วยงาน
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) หมายเหตุ : * หน่ ว ยงานที่ ต้ อ งด าเนิ น การตามตั ว ชี้ วั ด การจั ด ท า
ชุดข้อมูลตัวชี้วัดสาหรับการรายงานการจัดอันดับขีดความสามารถใน
• มีรายชื่อชุดข้อมูล ที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบโจทย์ • มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) • คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ การแข่งขันของประเทศ โดย IMD ให้นับเป็นชุดข้อมูลที่ต้องดาเนินการ
การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน พร้ อ มแจ้ ง URL ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน และ แบบเปิดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน) เพิ่มเติมจาก 5 ชุดข้อมูลที่กาหนดตามเงื่อนไขตัวชี้วัด
• มี ค าอธิ บ ายชุ ด ข้ อ มู ล (Metadata) ที่ ส อดคล้ อ งตาม ชุดข้อ มูล คาอธิ บ ายชุดข้ อมู ล ถูก น าขึ้ นที่ ระบบบั ญ ชี • น าข้ อ มู ล เปิ ด ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม
มาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ตอบโจทย์ ต ามประเด็ น ขอบเขตการน าข้ อ มู ล ไปใช้
• มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูล ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 คะแนน) ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน) เงื่อนไข
เปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชี 1. ในแต่ ละชุด ข้ อ มูล (Data Set) ต้ อ งมีก ารจั ด ท าค าอธิบ ายข้ อ มู ล
ข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน) (Metadata) ครบถ้วนจานวน 14 รายการ หากส่วนราชการมีการ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) จัดทารายละเอียดไม่ครบ 14 รายการในแต่ละชุดข้อมูล จะไม่นับผล
การดาเนินงาน
ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ได้แก่ 2. หน่วยงานจัดทาชุดข้อมูลเปิดไม่น้อยกว่า 5 ชุดข้อมูล
1. หน่วยงานที่ยังไม่มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ทาการติดตั้งระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ให้พร้อมใช้งาน ภายใน ธ.ค. 2565
2. หน่วยงานส่ง Template 1 (ชื่อชุดข้อมูล) และ Template 2 (Metadata) ให้ สสช. ภายใน มี.ค. 2566
135
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คำอธิบำย
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือ การประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิง บูรณาการ เพื่อ เชือ ่ มโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้ าหมาย และทิศทางการพั ฒ นาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางให ้

ส่วนราชการพัฒนาไปสูระบบราชการ 4.0
• เพือ
่ ประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลือ ่ นงานให ้บรรลุเป้ าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพือ ่ ยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้ าหมายให ้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขน
ึ้
จากผลคะแนนในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึง่ เป็ นคะแนนเฉลีย ่ ในภาพรวมทัง้ 7 หมวด ประกอบด ้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให ้ความสาคัญ
กับผู ้รับบริการและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู ้ หมวด 5 การมุง่ เน ้นบุคลากร หมวด 6 การมุง่ เน ้นระบบปฏิบต ั ก
ิ าร และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 2565 เกณฑ์กำรประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุม ่ ด ังนี้
กลุม
่ ที่ 1 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ผลกำรดำเนินงำน 470.29 346.61 397.79 387.70 ตา่ กว่า 350 คะแนน
กลุม่ ที่ 2 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 350 แต่น ้อยกว่า 400 คะแนน
กลุม ่ ที่ 3 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 400 - 450 คะแนน
เกณฑ์กำรประเมิน กลุม ่ ที่ 4 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
มากกว่า 450 คะแนน
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)

350 387.70 426.47

เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดำเนินงำนตำมต ัวชวี้ ัดฯ (Action plan)

กรมผ่านการตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบือ
้ งต ้น และได ้ 400 คะแนนขึน
้ ไป เพือ
่ เข ้ารับการประเมินในขัน
้ ตอนที่ 2

ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ

ประชาชนและผู ้รับบริการ ได ้รับบริการจากหน่วยงานภาครัฐทีส


่ ะดวก รวดเร็ว มีคณ
ุ ภาพ มาตรฐาน ตอบสนองความต ้องการ

136
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. จานวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด (จานวน) ร้อยละ 25
2. ร้อยละศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่กาหนด (ร้อยละ) ร้อยละ 25
3. ร้อยละ อสม. หมอประจาบ้านได้รับการพัฒนาเป็น อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน (ร้อยละ) ร้อยละ 20

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


4. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
4.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี
4.1.1 งานบริการ Agenda : การพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้าข้ามแดนทางบกของกลุ่มประเทศ ACMECS ผ่านระบบ National Single (ร้อยละ 7.5)
Window (NSW) (หน่วยงานสนับสนุน)
4.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ (ร้อยละ 7.5)
เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล(Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 5 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี) 138
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. จานวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่ ร้อยละ 25 15 เรื่อง 16 เรื่อง 17 เรื่อง ไม่เชื่อมโยง SKPI
พัฒนาต่อยอด
2. ร้อยละศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนผ่านเกณฑ์การ ร้อยละ 25 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ประเมินคุณภาพที่กาหนด (465 แห่ง) (492 แห่ง) (520 แห่ง)
3. ร้อยละ อสม. หมอประจาบ้านได้รับการพัฒนาเป็น อสม. ร้อยละ 20 ร้อยละ 45 ร้อยละ 55 ร้อยละ 65 ไม่เชื่อมโยง SKPI
วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน (16,323 คน) (19,951 คน) (23,578 คน)

4. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
4.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการ (ร้อยละ 7.5) - พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้า - ทดสอบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้า ส่งออก - สามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ให้บริการ (e-Service) ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับประกอบการผ่านพิธีการ และโลจิสติกส์ สาหรับประกอบการผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้า นาเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับ
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ ศุลกากรนาเข้า ส่งออก (ราย shipment) ผ่านระบบ NSW ส่งออก (ราย shipment) ผ่านระบบ NSW ประกอบการผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้า
Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี ส่งออก (ราย shipment) ผ่านระบบ NSW
4.1.1 งานบริการ Agenda : การพัฒนาระบบเชือ่ มโยงข้อมูล ครบถ้วนทุกพิกัดศุลกากรและรหัสสถิติ
การนาเข้าและส่งออกสินค้าข้ามแดนทางบกของกลุ่มประเทศ
ACMECS ผ่านระบบ National Single Window (NSW) ไม่เชื่อมโยง SKPI
(หน่วยงานสนับสนุน)
4.2. การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่ (ร้อยละ 7.5) - มีรายชื่อชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบโจทย์การ - มีระบบบัญชีข้อมู ลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) พร้อม - คุ ณ ภาพทุ กชุ ด ข้ อมู ลเป็ นไปตามมาตรฐาน
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) พัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน แจ้ง URL ระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน และชุดข้อมูล คาอธิบายชุด คุณลักษณะแบบเปิดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน)
(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล(Data Catalog)เพื่อนาไปสู่ - มีคาอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ ข้อมูล ถูกนาขึ้นที่ระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากร - นาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 คะแนน) ตอบโจทย์ตามประเด็นขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้
- มี ค าอธิ บายทรั พยากรข้ อมู ล(Resource) ของชุ ดข้ อมู ลเปิ ด - ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชีข้อมู ล ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
ทั้งหมด ภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน)
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ ร้อยละ 15 400 432.31 440.96 ไม่เชื่อมโยง SKPI
4.0 (PMQA 4.0)
รวม 100 139
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : จานวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือทีพ่ ัฒนาต่อยอด รหัส : 130001 น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : 25 SKPI
นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ หรือ บริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด ผ่านกระบวนการวิจัย พัฒนา หรือ
การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ หรือบริการเดิมด้วยองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยบุคลากรของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีส่วนร่วม ต้องมี การทดสอบและผ่านการ
รับรองตามกระบวนการที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กาหนด มีการใช้ประโยชน์ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว จาแนกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) เป็นการพัฒนาและนาเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงการปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพดี ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้าง
ยิ่งขึ้น เช่น ชุดทดสอบ ชุดเครื่องมือ ผลิตภัณฑ์รักษาโรค ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
2) นวัตกรรมบริการ (Service Innovation) เป็นการนาเสนอบริการใหม่ที่เกิดจากการสร้างขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงสิ่งเดิม เช่น Test Service การทดสอบความชานาญ แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
OECD GLP ขอการรับรองตามมาตรฐานระดับประเทศและสากล ระบบบริการ Online บริการตรวจสอบเครื่องมือ เป็นต้น มีสุขภาวะที่ดี
3) นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) เป็นการเปลี่ยนแนวทาง หรือวิธีการผลิตสินค้า หรือการให้บริการในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม ด้วยการพัฒนาสร้างสรรค์
กระบวนการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ที่ต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยี กระบวนการ เทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การประยุกต์ใช้แนวคิด วิธีการ กระบวนการใหม่ๆ ที่ส่งผลให้กระบวนการ เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่ดีเพิ่มขึ้น
ผลิตและการทางานโดยรวมมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงขึ้น เช่น กระบวนการออกแบบและพัฒนา กระบวนการจัดการนวัตกรรม เป็นต้น
4) นวัตกรรมการจัดการ (Management Innovation) เป็นการใช้ความรู้ทางด้านการบริหารจัดการมาปรับปรุงระบบโครงสร้างเดิมขององค์กร สามารถตอบสนอง ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข : ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรร
ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น Model Development การใช้ระบบ QR Code การพัฒนาระบบพี่เลี้ยง เป็นต้น มาภิบาล (Governance Excellence)
เทคโนโลยีทางสุขภาพ หมายถึง การรวบรวมความรู้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้อย่างเป็นระบบ ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการดูแล การสร้างเสริมสุขภาพ การ แผนงานที่ 14 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ
ป้องกันรักษาโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย เพื่อให้บุคคลหรือชุมชนมีสุขภาพที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิต รวมถึงเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (เทคโนโลยี โครงการที่ 44 โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ และอุปกรณ์หรือเครื่องมือสุขภาพ) และบริการสุขภาพ (เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการตรวจโรค การรักษาโรค การ สุขภาพ และเทคโนโลยีสุขภาพ
ป้องกันโรค และการสร้างเสริมสุขภาพ) ตัวชี้วัดที่ 1 จานวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่คิดค้นใหม่หรือที่
การพัฒนาต่อยอด หมายถึง การนานวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือเทคโนโลยีสุขภาพที่เคยมีการศึกษา วิจัยประดิษฐ์ คิดค้นขึ้นสาเร็จแล้ว นามาพัฒนาต่อ พัฒนาต่อยอด
ยอดให้เกิดประโยชน์เพิ่มเติมจากเดิม
ค่าเป้าหมาย
เป้าหมาย ปี 2566 : จานวน 16 เรื่อง
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 15 เรื่อง เพิ่มจากปีที่ผ่าน - -
มาไม่น้อยกว่า
- 8 เรื่อง 13 เรื่อง 15 เรื่อง 15 เรื่อง 16 เรื่อง เพิ่มจากปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง 1 เรื่อง
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายปี 2565 (15 เรื่อง)

140
หมายเหตุ : 140
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : จานวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือทีพ่ ัฒนาต่อยอด (ต่อ) ไม่เชื่อมโยง
SKPI
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
แผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan)
15 เรื่อง 16 เรื่อง 17 เรื่อง 1. ทบทวนคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนองค์ความรู้ เทคโนโลยี และ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
1. ทบทวนค าสั่ ง แต่ง ตั้ ง คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นองค์ ค วามรู้ เทคโนโลยี และนวั ต กรรมด้ า นวิ ทยาศาสตร์ก ารแพทย์ 2. สารวจองค์ความรู้/ ต้นแบบ/ สิ่งประดิษฐ์/ นวัตกรรม
และสาธารณสุข 3. จัดทาแผนการถ่ายทอดนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพให้แก่หน่วยงานอื่น
2. สารวจองค์ความรู้/ ต้นแบบ/ สิ่งประดิษฐ์/ นวัตกรรม 4. ยื่นขอจดทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร)
3. จัดทาแผนการถ่ายทอดนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพให้แก่หน่วยงานอื่น 5. ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้
6. จัดทารายงานสรุป พร้อมข้อเสนอแนะเสนอผู้บริหาร (อธิบดี)
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
1) นับผลงานที่นาไปใช้ประโยชน์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
2) นับผลงานเดิมที่ยังไม่เคยนาไปใช้ประโยชน์มาก่อน และนาไปใช้ประโยชน์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไม่นับถ้านาไปใช้ประโยชน์
ในปีงบประมาณอื่นๆ ที่ผ่านมา
3) ผลงานที่มีการพัฒนาต่อยอดมาจากผลงานเดิมและนาไปใช้ประโยชน์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองแผนงานและวิชาการ/สานักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์/สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ช่วงเวลารายงานผล : รายปี

141
หมายเหตุ : 141
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : ร้อยละศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่กาหนด รหัส : 130401 น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย :
25 SKPI
ศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชน หมายถึง ศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนเป้าหมายที่ตั้งอยู่ในชุมชน ตาบล อาเภอ มีศักยภาพในการเฝ้าระวัง รับเรื่อง
ร้องเรียนปัญหาสุขภาพที่เกิดจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ หรือภัยสุขภาพอื่นๆ ในพื้นที่ และดาเนินกิจกรรมตามเกณฑ์คุณภาพที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กาหนด
เกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพศู น ย์ แ จ้ ง เตื อ นภั ย สุ ข ภาพในชุ ม ชน หมายถึ ง เกณฑ์ ที่ ใ ช้ ป ระเมิ น ศู น ย์ แ จ้ ง เตื อ นภั ย สุ ข ภาพในชุ ม ชน ของ ยุทธศาสตร์ชาติ : การพัฒนาและเสริมสร้าง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประกอบด้วย 3 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ปัจจัยพื้นฐานในการบริหารงาน, หมวดที่ 2 ผลงานที่แสดงถึงความสาเร็จของการดาเนินงาน และ ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
หมวดที่ 3 ความยั่งยืน) แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ประชาชนนาไปใช้ในการบริโภคที่เกี่ยวกับ อาหาร ยา เครื่องสาอาง มีสุขภาวะที่ดี
ภัยสุขภาพอื่นๆ ในพื้นที่ หมายถึง ภัยที่เกิดจากปัญหาสุขภาพที่สาคัญในชุมชน ซึ่งอาจเปลี่ยนไปในแต่ละปี อาทิ ภัยสุขภาพที่เกิดจากการระบาดของโรค COVID-19 เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่
ในปี พ.ศ.2565 เป็นต้น ดีเพิ่มขึ้น
องค์ความรู้ หมายถึง ข้อมูล (Data) หรือข่าวสาร (Information) ที่ได้จากการศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาด้านการวิทยาศาสตร์การแพทย์ แผนแม่บทย่อย : การกระจายบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
เทคโนโลยี หมายถึง ชุดทดสอบของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือหน่วยงานอื่น เช่น ชุดทดสอบ สเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ ชุดทดสอบยาฆ่าแมลง เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : การเข้าถึงบริการสาธารณสุขมีความเหลื่อมล้าลดลง
ชุดทดสอบด้านอาหาร ชุดทดสอบด้านเครื่องสาอาง ชุดทดสอบ ATK (COVID-19 Antigen Test Kit) ฯลฯ
คู่มือแนวทางพัฒนาศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชน หมายถึง แนวทางดาเนินการจัดตั้งและพัฒนาศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชน สาหรับหน่วย ค่าเป้าหมาย
บริการสุขภาพ
ฐานข้อมูล หมายถึง ชุดข้อมูลหรือสารสนเทศที่เก็บรวบรวมในระบบฐานข้อมูล (Database System) ของศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชน 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
สูตรการคานวณ : (A/B) x 100
A = จานวนศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่กาหนด ร้อยละ 85 ร้อยละ 100 - -
B = จานวนศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 547 แห่ง (465 แห่ง) (547 แห่ง)
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 90 (492 แห่ง) แผนระยะยาว / Roadmap (2565-2568)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 ตัวชี้วัด 2565 2566 2567 2568
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 ร้อยละศูนย์แจ้ง ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100
- - - - ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 - - เตือนภัยสุขภาพใน (465 แห่ง) (492 แห่ง) (520 แห่ง) (547 แห่ง)
(465 แห่ง) (492 แห่ง) (520 แห่ง) (547 แห่ง)
ชุมชนผ่านเกณฑ์
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายปี 2565 (465 แห่ง) ทีก่ าหนด
142
หมายเหตุ : 142
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : ร้อยละศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่กาหนด (ต่อ) ไม่เชื่อมโยง
SKPI
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95
(465 แห่ง) (492 แห่ง) (520 แห่ง)
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) = ร้อยละ 88 (481 แห่ง)
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : ศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชนเป้าหมายที่ต้องการพัฒนาคุณภาพ จานวน 547 แห่ง
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ช่วงเวลารายงานผล : รายปี
1 2 3 4 5 6

143
หมายเหตุ : : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 143
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ร้อยละ อสม. หมอประจาบ้านได้รับการพัฒนาเป็น อสม. วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : รหัส : 130101 20 SKPI
อสม. หมอประจาบ้าน หมายถึง อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมหลัก สูตรหมอประจาบ้านของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ที่
ปฏิบัติงานในพื้นที่ระดับตาบล 7,255 ตาบล ทั่วประเทศ
อสม. วิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ ชุ ม ชน หมายถึ ง อสม.หมอประจ าบ้ า น ที่ ไ ด้ รั บ การอบรมให้ ค วามรู้ ง านด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ ชุ ม ชน ตามหลั ก สู ต รของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และผ่านเกณฑ์การประเมินเป็น อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 15 แห่ง ยุทธศาสตร์ชาติ :การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
หลัดสูตร อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน หมายถึง เนื้อหาวิชาโครงสร้างการอบรมความรู้ ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 วิชาหลัก (สามารถเพิ่มวิชาที่ 4 ตามปัญหา ทรัพยากรมนุษย์
สุขภาพของพื้นที่) ดังนี้
1. การเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตรายในชุมชน แผนแม่บท : ประเด็นที่ 13 การเสริมสร้างให้คนไทย
2. การใช้ชุดตรวจ ATK ด้วยตนเอง และการรายงานผลในแอพพลิเคชั่น H4U และ Smart อสม. มีสุขภาวะที่ดี
3. บทบาทของ อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนกับการแจ้งเตือนภัยสุขภาพในชุมชน
4. องค์ความรู้อื่นๆ ตามประเด็นมุ่งเน้นของพื้นที่ ได้แก่ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แอพพลิเคชั่นเห็ดพิษ
เกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบความรู้จานวน 15 ข้อ ใช้ทดสอบอสม.หมอประจาบ้านก่อนและหลังการอบรม โดยพิจารณาการผ่านเกณฑ์การประเมินเป็น อสม.วิทยาศาสตร์ เป้าหมาย : คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นและมีความเป็นอยู่ดีเพิ่มขึ้น
การแพทย์ชุมชนจากผลคะแนนการทาแบบทดสอบหลังอบรมต้องได้คะแนน≥ร้อยละ 80 กรณีสอบไม่ผ่านให้ทบทวนความรู้ มีพี่เลี้ยงจาก รพ.สต. ดูแล และทาการประเมินซ้า แผนแม่บทย่อย : การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
ประเมินผลการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพหลังการฝึกอบรมระยะเวลา 1-3 เดือน อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน นาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการ สื่อสาร เผยแพร่ความรู้ หรือ
แจ้งเตือน เพื่อเฝ้าระวังภัยสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ เช่น งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ หรือ ด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพอื่นๆ โดยมีหลักฐานเป็น เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะสามารถดูแล
ใบงานรายบุคคลประจาตัว อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนแต่ละท่าน สุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และสามารถป้องกันได้ เกิดเป็นสังคมบ่มเพาะ
สูตรการคานวณ : สูตรคานวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100 จิตสานึกการมีสุขภาพดีสูงขึ้น
A = จานวน อสม.หมอประจาบ้านที่ได้รับการพัฒนาเป็น อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน
B = จานวน อสม.หมอประจาบ้านเป้าหมายทั้งหมด 36,275 คน ค่าเป้าหมาย
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 55 (19,951 คน) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
ร้อยละ 43 ร้อยละ 100 - -
2565 2566 2567 2568 2569 2570 (15,732 คน) (36,275 คน)
ร้อยละ 43 ร้อยละ 55 ร้อยละ 65 ร้อยละ 75 ร้อยละ 85 ร้อยละ 100
(15,732 คน) (19,951 คน) (23,578 คน) (27,206 คน) (30,833 คน) (36,275 คน)
เกณฑ์การประเมิน
ผลการดาเนินงานบรรลุค่า
เป้าหมายปี 2565 เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
เงื่อนไข : - ร้อยละ 45 ร้อยละ 55 ร้อยละ 65
หมายเหตุ : - การหนดจานวน อสม.หมอประจาบ้านเป้าหมายจากจานวน 7,255 ตาบลๆ ละ 5 คน รวม 36,275 คน (16,323 คน) (19,951 คน) (23,578 คน)
- ข้อมูลจานวน อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชมุ ชนจาก website กรมวิทย์ with you
(https://alert.dmsc.moph.go.th/pages/newsdataview?id=1022) เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) = ร้อยละ 50 (18,137 คน)
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ช่วงเวลารายงานผล : รายปี
หมายเหตุ : 144
ตัวชี้วัดที่ 4 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
ตัวชี้วัด 4.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) น้าหนัก
(1) ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี (12 งานบริการ) potential
7.5
4.1.1 : งานบริการ Agenda : การพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้าข้ามแดนทางบกของกลุ่มประเทศ ACMECS ผ่านระบบ National
Single Window (NSW) (หน่วยงานสนับสนุน)
คาอธิบาย : ยุทธศาสตร์ชาติ: การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขัน
• ACMECS หมายถึง ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: เป็น ได้อย่างยั่งยืน
กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมภิ าคที่จดั ตั้งขึ้น เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างสมดุล ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข: ยุทธศาสตร์ด้านการสร้าง
• กลุ่มประเทศ ACMECS ได้แก่ กัมพูชา สปป. ลาว เมียนมา เวียดนาม และไทย ความสามารถในการแข่งขัน
• ระบบเชื่อมโยงข้อมูลการนาเข้าและส่งออกสินค้าข้ามแดนทางบกของกลุ่มประเทศ ACMECS ผ่านระบบ National Single Window (NSW): กลยุทธ์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์: เสริมสร้างศักยภาพองค์กรใน
เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ส่งออกและนาเข้าสินค้าได้รับความสะดวกรวดเร็วในการยื่นเรือ่ งขออนุมัติอนุญาตผ่านพิธีการศุลกากรทางระบบ NSW ที่สามารถลดขั้นตอน ลดเวลาในการ การยกระดับเป็น ศูนย์กลางข้อมูลอ้างอิงทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจสอบเอกสาร และลดต้นทุนการจัดทาเอกสาร ค่าบริการต่างๆ จากการติดต่อผ่านหลายหน่วยงานและส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการนาเข้า ส่งออกสินค้าของ ทางการ แพทย์และสาธารณสุข
ประเทศไทย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเชื่อมโยงระบบของหน่วยงานให้สามารถส่งข้อมูลเอกสารต่างๆ ใบอนุญาตการนาเข้า ส่งออก ที่เกี่ยวข้องกับพิธีการศุลกากรของ เป้าหมาย: ประเทศมีศูนย์กลางข้อมูลอ้างอิงและสารสนเทศด้าน
ผู้ประกอบการไปยังระบบ NSW ได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่สนับสนุนนโยบายด้านการป้องกันและ
ส่งเสริมสุขภาพ และ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประเทศ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) โครงการหลัก: โครงการการมีส่วนร่วมในการเพิ่มขีดความสามารถ
1. ประสานงานและร่วมดาเนินการทางเทคนิคในการพัฒนาระบบกับกรมศุลกากร เชิงแข่งขันของชาติในสังคม และ เศรษฐกิจดิจิตัล และเศรษฐกิจ
2. ร้อยละ 25 ของกระบวนการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับประกอบการผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้า ฐานนวัตกรมมที่ใช้ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
ส่งออก (ราย shipment) ผ่านระบบ NSW
เงื่อนไข : -
เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ -
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล :
- พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ - ทดสอบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ - สามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้า สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
การนาเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับ นาเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับประกอบการ ส่งออก และโลจิสติกส์ สาหรับประกอบการผ่านพิธี
ประกอบการผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้า ส่งออก ผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้าส่งออก (ราย shipment) การศุลกากรนาเข้า ส่งออก (ราย shipment) ผ่าน ช่วงเวลารายงานผล : รายไตรมาส
(ราย shipment) ผ่านระบบ NSW ผ่านระบบ NSW ระบบ NSW ครบถ้วนทุกพิกัดศุลกากรและรหัสสถิติ
145
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4.2 การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงานและข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนาไปสู่
น้าหนัก potential
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) 7.5
(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล(Data Catalog)เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
คำอธิบำย :
ขอบเขตกำรนนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
• บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จาแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยูใ่ นความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐ 1) แผนระดับ 2 (แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
• คำอธิบำยข้อมูลที่สอดคล้องตำมมำตรฐำนที่ สพร. กำหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบาย แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ
ข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูลจานวน 14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด สังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ ความมั่นคงแห่งชาติ) และ แผนระดับ 3 ที่เกี่ยวข้องกับ
• ข้อมูลสำธำรณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนาไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ภารกิจของหน่วยงาน
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่างๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ใช้งานหรือประมวลผล
ได้หลากหลายซอฟต์แวร์
• ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ • ผลการดาเนินงานตามแผนที่เกี่ยวข้อง
2) ชุดข้อมูลสนับสนุนการให้บริการประชาชน (e-Service)
เป้ าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) ส่วนราชการดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ได้แก่ 3) ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับสากล*
กรณีที่ 1 ส่วนราชการกลุ่มเป้าหมาย 39 ส่วนราชการดาเนินการตามแผน 1. หน่วยงานที่ยังไม่มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ทาการติดตั้งระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน 4) สถิติทางการ (21 สาขา)
การดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ตามข้อที่ 1 และ 2 ให้พร้อมใช้งาน ภายใน ธ.ค. 2565 5) การดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล หรือ มติ ครม.
กรณีที่ 2 ส่วนราชการอื่น ๆ ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. 2. หน่วยงานส่ง Template 1 (ชื่อชุดข้อมูล) และ Template 2 (Metadata) ให้ สสช. 6) ภารกิจหลักของหน่วยงาน
กาหนด ตามข้อที่ 2 ภายใน มี.ค. 2566
หมำยเหตุ : * หน่วยงำนที่ต้องดำเนินกำรตำมตัวชี้วัด
เกณฑ์การประเมิน
กำรจัดทำชุดข้อมูลตัวชี้วัดสำหรับกำรรำยงำนกำรจัด
เป้ าหมายขั้นต้น (50) เป้ าหมายมาตรฐาน (75) เป้ าหมายขั้นสูง (100) อันดับขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ
- มีรายชื่อชุดข้อมูลทีม่ ีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบโจทย์ - มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) - คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็ นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ โดย IMD ให้นับเป็นชุดข้อมูลที่ต้องดำเนินกำรเพิ่มเติมจำก
การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน พร้อมแจ้ง URL ระบบบัญชีขอ้ มูลหน่วยงาน และชุดข้อมูล แบบเปิ ดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน) 5 ชุดข้อมูลที่กำหนดตำมเงื่อนไขตัวชีว้ ัด
- มีคาอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้องตามมาตรฐาน คาอธิบายชุดข้อมูล ถูกนาขึน้ ทีร่ ะบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน - นาข้อมูลเปิ ดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็ นรูปธรรมตอบโจทย์
ที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิ ดทัง้ หมด ตามประเด็นขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย
- มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิ ด (15 คะแนน) 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
ทัง้ หมด - ชุดข้อมูลเปิ ดทัง้ หมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชี
ข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน)
เงื่อนไข :
1. ในแต่ละชุดข้อมูล (Data Set) ต้องมีกำรจัดทำคำอธิบำยข้อมูล(Metadata) ครบถ้วนจำนวน 14 รำยกำร หำกส่วนรำชกำรมีกำรจัดทำรำยละเอียดไม่ครบ 14 รำยกำร ในแต่ละชุดข้อมูล จะไม่นับผลกำรดำเนินงำน 146
2. หน่วยงำนจัดทำชุดข้อมูลไม่นอ้ ยกว่ำ 5 ชุดข้อมูล
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คำอธิบำย
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือ การประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิง บูรณาการ เพื่อ เชือ ่ มโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้ าหมาย และทิศทางการพั ฒ นาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางให ้

ส่วนราชการพัฒนาไปสูระบบราชการ 4.0
• เพือ
่ ประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลือ ่ นงานให ้บรรลุเป้ าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพือ ่ ยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้ าหมายให ้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขน
ึ้
จากผลคะแนนในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึง่ เป็ นคะแนนเฉลีย ่ ในภาพรวมทัง้ 7 หมวด ประกอบด ้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให ้ความสาคัญ
กับผู ้รับบริการและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู ้ หมวด 5 การมุง่ เน ้นบุคลากร หมวด 6 การมุง่ เน ้นระบบปฏิบต ั ก
ิ าร และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 2565 เกณฑ์กำรประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุม ่ ด ังนี้
กลุม่ ที่ 1 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ผลกำรดำเนินงำน - 285.28 422.42 432.31 ตา่ กว่า 350 คะแนน
กลุม ่ ที่ 2 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 350 แต่น ้อยกว่า 400 คะแนน
กลุม ่ ที่ 3 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 400 - 450 คะแนน
เกณฑ์กำรประเมิน กลุม
่ ที่ 4 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
มากกว่า 450 คะแนน
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)

400 432.31 440.96


คะแนนปี 2565 + 2%
ขนตอนกำรประเมิ
ั้ นสถำนะของหน่วยงำนภำคร ัฐในกำรเป็นระบบรำชกำร 4.0
ขนตอนที
ั้ ่1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบือ ้ งต ้น
เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดำเนินงำนตำมต ัวชวี้ ัดฯ (Action plan) (หากได ้ 400 คะแนนขึน ้ ไป จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 2)
ขนตอนทีั้ ่2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ
ประเมินตนเองเบือ
้ งต ้นผ่านระบบรับสมัครออนไลน์ของสานักงาน ก.พ.ร. ตามระยะเวลาทีก
่ าหนด (ขัน
้ ตอนที่ 1) สูร่ ะบบราชการ 4.0 (Application Report)
(หากได ้ 400 คะแนน จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 3)
ขนตอนที ั้ ่3 การตรวจประเมินในพืน ้ ทีป
่ ฏิบต
ั งิ าน เพือ
่ ยืนยันผลการตรวจ
ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ
Application Report
- ยกระดับคุณภาพการปฏิบต
ั งิ านของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ให ้มีคณ
ุ ภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล
- ตอบสนองความต ้องการของประชาชนและส่งมอบบริการ/ผลิตภัณฑ์ทม ี่ ค
ี ณ
ุ ภาพ
147
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. ร้อยละของประชาชนวัยเด็ก วัยทางานมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง ร้อยละ 20

2. ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ร้อยละ 20

Joint KPIs
3. จานวนที่เพิ่มขึ้นของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้รับมาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ ร้อยละ 30

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


4. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
4.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน (e-Service) : การออกใบอนุญาตให้ดาเนินการสถานพยาบาล ร้อยละ 15
กรณีขอเปลี่ยนตัวผู้ดาเนินการ และกรณีขาดต่ออายุใบอนุญาตดาเนินการ
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 5 ตัวชี้วัด

149
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. ร้อยละของประชาชนวัยเด็ก วัยทางาน ร้อยละ 20 ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 89 Proxy KPIs
มีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง
2. ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการแข่งขัน ร้อยละ 20 ร้อยละ 10 ร้อยละ 11 ร้อยละ 12 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
3. จานวนที่เพิ่มขึ้นของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ร้อยละ 30 10 แห่ง 12 แห่ง 17 แห่ง JKPIs/
ได้รับมาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ Proxy KPIs

4. การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน (e-Service) : ร้อยละ 15 ออกเอกสารเป็นเอกสาร ออกเอกสารเป็นเอกสาร สามารถให้บริการผ่านระบบ ไม่เชื่อมโยง SKPI


การออกใบอนุญาตให้ดาเนินการสถานพยาบาล กรณีขอเปลี่ยนตัว
ผู้ดาเนินการ และกรณีขาดต่ออายุใบอนุญาตดาเนินการ อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ Biz Portal ได้ภายในเดือน
(e-Licence/ e-Certificate/ (e-Licence/ e-Certificate/ กันยายน 2566
e-Document) e-Document)
ผ่านทาง Mobile หรือเว็บไซต์ ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง
Mobile หรือเว็บไซต์ และ
ผู้รับบริการสามารถ print out
เอกสารได้
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ร้อยละ 15 400 427.16 435.70 ไม่เชื่อมโยง SKPI
(PMQA 4.0)
รวม 100

150
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของประชาชนวัยเด็ก วัยทางานมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง Proxy
น้าหนัก
คาอธิบาย 20 KPIs
ประชาชนวัยเด็ก วัยทางาน หมายถึง ประชาชนกลุ่มวัยเด็ก อายุ 7-14 ปี และกลุ่มวัยทางานอายุ 15-59 ปี ในพื้นที่เป้าหมายการดาเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ
และพฤติกรรมสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง หมายถึง ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด กลุ่มวัยเด็กมุ่งเน้นพฤติกรรมสุขภาพตาม ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
แนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ และการป้องกันโรคโควิด-19 กลุ่มวัยทางาน มุ่งเน้นพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส และการป้องกันโรคโควิด-19 ในระดับพอใช้ขึ้นไป (ประเด็น : การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี)
พื้นที่เป้าหมายในการดาเนินงาน หมายถึง ชุมชนที่มีการดาเนินงานจัดการสุขภาพที่เหมาะสมให้กับประชาชน จานวน 75,086 แห่ง
แผนแม่บท : แผนย่อยที่ 13.2 การใช้ชุมชนเป็นฐาน
วิธีการประเมิน ในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
ขอบเขตการประเมิน : ประชาชนวัยเด็ก วัยทางานในพื้นที่เป้าหมายในการดาเนินงานปี 2566
เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : จานวนชุมชนสุขภาพดีเพิ่มขึ้น
วิธีการเก็บข้อมูล : สุ่มประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
สูตรการคานวณ (จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสุม่ ประเมินมีความรอบรู้ดา้ นสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในระดับพอใช้ขึ้นไป/จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รบั การ
สุ่มประเมิน HL&HB ทั้งหมด)x100 ค่าเป้าหมาย
ระดับศักยภาพของประชาชนในการจัดการสุขภาพตนเอง
-ระดับปรับปรุง มีค่าคะแนน < ร้อยละ 60 -ระดับพอใช้ มีค่าคะแนน ร้อยละ 60-69 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
-ระดับดี มีค่าคะแนน ร้อยละ 70- 79 -ระดับดีมาก มีค่าคะแนน >ร้อยละ 80 ระดับพอใช้ ระดับพอใช้ ระดับดี* ระดับดี
แหล่งที่มาของข้อมูล : ส่วนกลาง : กองสุขศึกษา, กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ร้อยละ60-80 ร้อยละ80-100 ร้อยละ60-65 ร้อยละ65-70
ส่วนภูมิภาค : ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเขต 1-12, สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
* ยกระดับศักยภาพในการจัดการสุขภาพของประชาชนเป็นระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 60

เกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 87


เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 89 2566
2561 2562 2563 2564 2565 2566
หมายเหตุ: ปี 63 - 64 เป็นช่วงที่มีการระบาดของโควิดละมีมาตรการทีค่ วบคุมพฤติกรรมการปฏิบัติตวั จากหน่วยงานภาครัฐประกอบกับประชาชนตืน่ ตัวในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ มีส่วนทาให้ผลการประเมิน - - - 89.01* 80.46 87
ความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพในช่วงปี 63-64 ค่อนข้างสูง ปี 65 เริ่มมีการผ่อนปรนมาตรการต่าง ๆ มากขึ้นประกอบกับมีการกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ
หมายเหตุ : การประเมินผลดาเนินการโดยวิธีการสุ่มประเมินประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่ได้รบั การส่งเสริม ปี ละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม *ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองระดับพอใช้ขนึ้ ไป
151
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของประชาชนวัยเด็ก วัยทางานมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง Proxy
KPIs
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน
1. จัดทาองค์ความรู้ / แนวทางการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2565 4. พัฒนาศักยภาพแกนนาด้านสุขภาพ
2. สร้างความร่วมมือเครือข่ายการดาเนินงาน/ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานเครือข่ายระดับเขต 5. สนับสนุนคู่มือ แนวทาง องค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานพัฒนาความรอบรู้
(ศบส.เขต1-12) / กาหนดพื้นที่เป้าหมาย ฯ ร่วมกัน ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
3. ชี้แจงแนวทางการดาเนินงานเครือข่ายระดับจังหวัด/พื้นที่ 6. ส่งเสริมให้ชุมชนเป้าหมาย มีการดาเนินงานพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับ
ประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย จานวน หน่วยนับ


ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2566 -2570
ชุมชน 75,086 แห่ง
2566 2567 2568 2569 2570
ประชากรวัยเด็ก 7,523,444 คน
ระดับพอใช้ ระดับพอใช้ ระดับพอใช้ ระดับพอใช้ ระดับพอใช้
ประชากรวัยทางาน 42,428,971 คน ร้อยละ 87 ร้อยละ 89 ร้อยละ 91 ร้อยละ 95 ร้อยละ100
ที่มา: ข้อมูลประชากรกลางปี 2564 และข้อมูลจานวนหมู่บ้าน/ชุมชน กรมการปกครอง

ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเอง (มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง)

152
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
20 SKPI
คาอธิบาย
สถานพยาบาล หมายถึง สถานพยาบาลภาคเอกชนที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร และอยู่ในพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพนา
ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ร่องและพื้นที่การพัฒนาเศรษฐกิจสุขภาพตามนโยบายรัฐบาล เช่น เขตสุขภาพที่ 1 เขตสุขภาพที่ 5 เขตสุขภาพที่ 6 เขตสุขภาพที่ 8 เขตสุขภาพที่ 9 เขตสุขภาพที่ 11
เขตสุขภาพที่ 12 และเขตสุขภาพที่ 13
มีศักยภาพในการแข่งขัน หมายถึง สถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีขีดความสามารถที่สูงขึ้นตามองค์ประกอบของสถานพยาบาลที่มี แผนแม่บท : ประเด็นที่ 2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
คุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล เช่น มาตรฐาน American Accreditation Commission International (AACI) , Global Healthcare Accreditation (GHA),
เป้าหมาย : 1. ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
Planetree International เป็นต้น เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร หมายถึง การดาเนินงานส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ ใน 4 ผลผลิตหลัก ดังนี้ 1) การรักษาพยาบาลทาง 2. ประเทศไทยมี ขีดความสามารถในการแข่งขัน
สูงขึ้น
การแพทย์ (Medical Service) 2) การบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Wellness) 3) การบริการวิชาการ (Academic) และ 4) ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product) เพื่อ
รองรับการเป็นอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร แผนแม่บทย่อย : อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
เกณฑ์การประเมิน เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย
2566
ร้อยละ 10 ร้อยละ 11 ร้อยละ 12 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) 2561 2562 2563 2564 2565 2566 ร้อยละ 10 ร้อยละ 15 ร้อยละ 20 ร้อยละ 25
1. ชี้แจงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพให้แก่สถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมาย
2. ส่งเสริมพัฒนาเพิ่มศัก ยภาพกลุ่มเป้ า หมายให้ มีก ารเตรีย มความพร้อ มเพื่ อ เข้ า สู่ก ารรับ รองมาตรฐานระดับ สากล เช่น มาตรฐาน
------ เป็นตัวชี้วัดใหม่------- ร้อยละ 11
American Accreditation Commission International (AACI) , Global Healthcare Accreditation (GHA), Planetree
International
3. ประชาสั ม พั น ธ์ บ ริ ก ารที่ มี ศั ก ยภาพดึ ง ดู ด ชาวต่ า งชาติ (Magnet) ผ่ า นช่ อ งทางออนไลน์ เช่ น www.thailandmedicalhub.net,
หนังสือพิมพ์ และช่องทางออฟไลน์ เช่น การจัดแสดงนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศ

153
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ไม่เชื่อมโยง
SKPI
วิธีการดาเนินงาน
ระยะเตรียมการ
1. พัฒนาระบบในการประเมินตนเองตามมาตรฐานของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเพื่อเตรียมพร้อมในการพัฒนา
สถานพยาบาลเข้าสู่มาตรฐานระดับสากล
2. จัดตั้งคณะกรรมการตรวจ/ประเมินรับรอง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ค่าเป้าหมาย (Road map) ปี 2566 – 2570
3. พัฒนาเกณฑ์การประเมิน รวมทั้งคู่มือแนวทางการยกระดับเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่การรับรองมาตรฐานของ
สถานพยาบาล 2566 2567 2568 2569 2570
4. ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนาสถานพยาบาลเพื่อเตรียมพร้อมในการข้าสู่มาตรฐานระดับสากล ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
ระยะดาเนินการ 11 12 13 14 15
5. เยี่ยมเสริมพลังสถานพยาบาล ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด
6. รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูลสถานพยาบาลตามเกณฑ์ที่กาหนด
7. รับรองมาตรฐานสากลโดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
8. สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน
สูตรการคานวณ : (ประเมิน 12 เดือน)
จานวนสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ ปีงบประมาณ 2566 x 100
จานวนสถานพยาบาลกลุ่มเป้าหมาย ปีงบประมาณปี 2566
หมายเหตุ :
กลุ่มเป้าหมายได้แก่ สถานพยาบาลภาคเอกชน ในพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพนาร่องและพื้นที่การพัฒนาเศรษฐกิจสุขภาพตามนโยบายรัฐบาล ได้แก่ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ เชียงราย ภูเก็ต
กระบี่ สุราษฎร์ธานี บุรีรัมย์ และ ชลบุรี จานวนทั้งสิ้น 50 แห่ง

154
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 จานวนที่เพิ่ มขึน้ ของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิ งสุขภาพ ได้รบั มาตรฐานธุรกิ จบริ การสุขภาพ น้าหนัก Proxy
นิยาม 30 KPIs
สถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ หมายถึง สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้แก่ กิจการสปา นวดเพื่อสุขภาพ หรือนวดเพื่อเสริมความงาม ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ JKPI
1.ขั้นมาตรฐาน (Standard) ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามที่กฎหมายกาหนด โดยสถานประกอบการจะต้องดาเนินการจัดสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน ตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติสถาน
ประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 ได้แก่ มาตรฐานด้านสถานที่ มาตรฐานด้านความปลอดภัย และมาตรฐานด้านการให้บริการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนดในกฎกระทรวง
2.ขั้นคุณภาพ (Quality) ผ่านการประเมินการควบคุมป้องกันการติดเชื้อในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 5 ด้าน 40 ข้อ ในสถานประกอบการสปา นวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อเสริมความงาม ดังนี้
1 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพดาเนินการประเมินตนเองให้ผ่านตามเกณฑ์ 5 ด้าน 40 ข้อ 2.สานักงานสาธารณสุขจังหวัดตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ให้ผ่านครบทั้ง 5 ด้าน 40 ข้อ
3.สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุ่มตรวจแบบ On line (VDO Call) ตามมาตรการที่กาหนด
3.ขั้นยกระดับ (Advance) ผ่านการตรวจประเมินและได้รับการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ แบ่งออกเป็น 4 ระดับได้แก่ Silver Gold Platinum Diamond สถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่จะขอเข้ารับการประเมินขัน้
ยกระดับ (Advance) ต้องเป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประเภทกิจการนวดเพื่อสุขภาพ กิจการสปา ที่มีขนาดพื้นที่ให้บริการมากกว่า 200 ตารางเมตรขึ้นไป
มาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ หมายถึงมาตรฐานการให้บริการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่มีการดูแลสุขภาพที่ครบวงจร มีเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ใช้เป็นแนวทางในการตรวจประเมินมาตรฐาน ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หมวดที่ 1 ด้าน
สถานที่และสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 2 ด้านบุคลากร หมวดที่ 3 ด้านการบริการ หมวดที่ 4 ด้านผลิตภัณฑ์ หมวดที่ 5 ด้านการควบคุมการติดเชื้อในสถานประกอบการ หมวดที่ 6 ด้านการบริหารจัดการองค์กร
วิธีการดาเนินงาน
1. ขั้นมาตรฐาน
1.1 สถานประกอบการแสดงความจานงยื่นขอรับอนุญาตประกอบการกิจการเป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ยุทธศาสตร์ชาติ : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
1.2 กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดาเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการที่ยื่นขอรับอนุญาต ให้เป็นไป แผนแม่บท : ประเด็นที่ 3.3 แผนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ตามมาตรฐานตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 ความงาม และการแพทย์แผนไทย
1.3 สถานประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการนาใบรับรองปิดไว้ที่หน้าสถานประกอบการเพื่อเป็นสัญลักษณ์การผ่านการรับรอง
2. ขั้นคุณภาพ เป้าหมาย : สถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
2.1 สถานประกอบการที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ดาเนินการประเมินตนเองตามมาตรการการควบคุม และบริการทางการแพทย์ได้รบั มาตรฐานเพิ่มขึน้
ป้องกันการติดเชื้อในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 5 ด้าน 40 ข้อ
2.2 กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบถูกต้องครบถ้วนของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ที่ดาเนินการ
ประเมินตนเองให้ผ่านครบทั้ง 5 ด้าน 40 ข้อ
2.3 กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดาเนินการสุ่มตรวจแบบ On line (VDO Call) ตามมาตรการที่กาหนด ค่าเป้าหมาย
2.4 กรณีสถานประกอบการผ่านตามมาตรการที่กาหนด จะพิจารณาออกใบรับรองให้เป็นสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ
ระดับคุณภาพ 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
2.5 สถานประกอบการนาใบรับรองที่ผ่านการตรวจประเมินจากกองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัด แล้วว่าเป็นสถาน
ประกอบการคุณภาพปิดไว้ที่หน้าสถานประกอบการของตนเอง 7 แห่ง เพิ่มขึ้นปีละ เพิ่มขึ้นปีละ เพิ่มขึ้นปีละ
3. ขั้นยกระดับ (ปี 65) 5 แห่ง 5 แห่ง 5 แห่ง
3.1 สถานประกอบการที่มีขนาดพื้นที่มากกว่า 200 ตารางเมตรขึ้นไป ยื่นแสดงความจานงขอยกระดับสถานประกอบการ
3.2 สถานประกอบการประเมินตนเองตามแบบ Check list มาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ 6 องค์ประกอบ
3.3 กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตรวจความถูกต้อง ครบถ้วน ของสถานประกอบการที่ประเมินตนเองมา
3.4 คณะอนุกรรมการ ลงตรวจประเมินสถานประกอบการที่พร้อมเข้าสู่การยกระดับสู่มาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ
3.5 ประชุมคณะอนุกรรมการ และพิจารณาสถานประกอบการผ่านเกณฑ์มาตรฐานในการยกระดับ 155
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 3 จานวนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของสถานประกอบการด้านการท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ ได้รับมาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ Proxy
KPIs
เกณฑ์การประเมิน JKPI
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
10 แห่ง 12 แห่ง 17 แห่ง
เป้าหมายการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย
1. จัดประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อจัดทาเกณฑ์มาตรฐานธุรกิจบริการสุขภาพ 2566
2. จัดประชุมชี้แจง สสจ. ทั่วประเทศเพื่อชี้แจงเกณฑ์ขั้นมาตรฐาน ขั้นคุณภาพ และขั้นยกระดับ 2561 2562 2563 2564 2565 2566
3. ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครสถานประกอบการเพื่อสุขภาพเข้ารับการพัฒนาเป็นสถานประกอบการขั้นยกระดับ - - - - 7 แห่ง 12 แห่ง

4. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพในจังหวัดเป้าหมายสมัครเข้าร่วมขอรับการประเมินสถานประกอบการขั้นยกระดับ
5. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นยกระดับเพิ่มขึ้น 4 แห่ง

ค่าเป้าหมาย Roadmap ปี 2566-2570 หมายเหตุ 1 : กลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการ ปี 66 เป็นสถานประกอบการนวด หมายเหตุ 2 : กลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการ ปี 65 เป็นสถานประกอบการนวด


เพื่อสุขภาพและกิจการสปาที่มขี นาดพื้นทีใ่ ห้บริการ 200 ตารางเมตรขึ้น ในพื้นที่ เพื่อสุขภาพและกิจการสปาที่มขี นาดพื้นทีใ่ ห้บริการ 401 ตารางเมตรขึ้น ในพื้นที่
2566 2567 2568 2569 2570 ท่องเที่ยวนาร่อง 8 แห่ง ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี ท่องเที่ยวนาร่อง 8 แห่ง ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี
บุรีรัมย์ ชลบุรี และกรุงเทพมหานครที่ผ่านเกณฑ์ประเมินขัน้ มาตรฐานและขัน้ บุรีรัมย์ ชลบุรี และกรุงเทพมหานครที่ผ่านเกณฑ์ประเมินขัน้ มาตรฐานและขัน้
12 แห่ง 17 แห่ง 22 แห่ง 27 แห่ง 32 แห่ง คุณภาพมีจานวนทั้งสิ้น 115 แห่ง คุณภาพมีจานวนทั้งสิ้น 85 แห่ง

156
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 4 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน (e-Service) : น้าหนัก potential
การออกใบอนุญาตให้ดาเนินการสถานพยาบาล กรณีขอเปลี่ยนตัวผู้ดาเนินการ และกรณีขาดต่ออายุใบอนุญาตดาเนินการ 15

คำอธิบำย

• นิยาม e-Service หมายถึง การให ้บริการข ้อมูลและการทาธุรกรรมของภาครัฐผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ ต เพือ ่ ช่วยอานวยความสะดวกให ้แก่ผู ้ขอรับบริการ โดยเกณฑ์ในการพิจารณาว่าระบบสารสนเทศของหน่ วยงานจัดว่าเป็ น
ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ ต ้องเป็ นการให ้บริการกับกลุม
่ เป้ าหมายทีเ่ ป็ นบุคคลภายนอก โดยกลุม
่ เป้ าหมายดังกล่าวอาจเป็ นได ้ทัง้ ประชาชน หน่วยราชการ ภาคธุรกิจ และองค์กร รวมถึงระบบดังกล่าวมีการให ้ข ้อมูล สนั บสนุ น
หรือให ้บริการทีส
่ อดคล ้องกับภารกิจของหน่วยงาน
• การออกใบอนุญาตให ้ดาเนินการสถานพยาบาล (ส.พ.19) หมายถึง การยืน ่ คาขอตามกฎหมายว่าด ้วยสถานพยาบาล เพือ ่ ขอรับใบอนุญาตให ้ดาเนินการสถานพยาบาล ในกรณี ดังต่อไปนี้
1. ขอเปลีย่ นตัวผู ้ดาเนินการสถานพยาบาล (ส.พ.18)
2. ขาดต่ออายุใบอนุญาตดาเนินการ (ส.พ.18)

เกณฑ์กำรประเมิน
หล ักเกณฑ์ เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)
ระดับ 3 (Level 3) ออกเอกสารเป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ออกเอกสารเป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ่ มโยงกับ Biz Portal ขัน
กรณีงานบริการทีเ่ ชือ ้ สูง
การออกเอกสาร (e-Licence/ e-Certificate/ (e-Licence/ e-Certificate/ : สามารถให ้บริการผ่านระบบ Biz Portal ได ้
อิเล็กทรอนิกส์ e-Document) e-Document) ภายในเดือนกันยายน 2566
ผ่านทาง Mobile หรือเว็บไซต์ ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง Mobile หรือเว็บไซต์
และผู ้รับบริการสามารถ print out เอกสารได ้

เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)


สามารถออกใบอนุญาตให ้ดาเนินการสถานพยาบาลกรณีขอเปลีย
่ นตัวผู ้ดาเนินการ และกรณีขาดต่ออายุใบอนุญาตดาเนินการเป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ผา่ นทาง Mobile หรือ เว็บไซต์ได ้

ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ
ประชาชนได ้รับบริการหรือการได ้รับการอานวยความสะดวกจากระบบออนไลน์ทส
ี่ ะดวกรวดเร็ว ประกอบด ้วย การยืน
่ คาขอรับใบอนุญาตให ้ดาเนินการสถานพยาบาล (ส.พ.19) (กรณีขาดต่ออายุ) และคาขอเปลีย
่ นตัว
ผู ้ดาเนินการสถานพยาบาล

หมำยเหตุ
่ กระบวนงาน ส่วนราชการสามารถปรับเปลีย
ชือ ่ นได ้ในภายหลัง

157 157
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คำอธิบำย
• PMQA 4.0 คือ เครือ ่ งมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพือ ่ มโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้ าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพือ
่ เชือ ่ เป็ นแนวทางให ้ส่วน

ราชการพัฒนาไปสูระบบราชการ 4.0 เพือ ่ ประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลือ ่ นงานให ้บรรลุเป้ าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพือ ่ ยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึง่ เป็ นคะแนนเฉลีย ่ ในภาพรวมทัง้ 7 หมวด ประกอบด ้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให ้ความสาคัญ
กับผู ้รับบริการและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู ้ หมวด 5 การมุง่ เน ้นบุคลากร หมวด 6 การมุง่ เน ้นระบบปฏิบต ั ก
ิ าร และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 2565 เกณฑ์กำรประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุม ่ ด ังนี้
กลุม่ ที่ 1 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ผลกำรดำเนินงำน 425.71 327.53 366.26 427.16 ตา่ กว่า 350 คะแนน
กลุม ่ ที่ 2 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 350 แต่น ้อยกว่า 400 คะแนน
กลุม ่ ที่ 3 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 400 - 450 คะแนน
เกณฑ์กำรประเมิน กลุม
่ ที่ 4 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
มากกว่า 450 คะแนน
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)

400 427.16 435.70


ขนตอนกำรประเมิ
ั้ นสถำนะของหน่วยงำนภำคร ัฐในกำรเป็นระบบรำชกำร 4.0
ขนตอนที
ั้ ่1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบือ ้ งต ้น
เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดำเนินงำนตำมต ัวชวี้ ัดฯ (Action plan) (หากได ้ 400 คะแนนขึน ้ ไป จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 2)
1. สรุปผลข ้อมูลป้ อนกลับ (Feedback Report) PMQA 4.0 และจัดทาแนวทางการพัฒนากรมในการเป็ นระบบราชการ 4.0 ขนตอนทีั้ ่2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ
2. แต่งตัง้ คณะกรรมการและคณะทางานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประจาปี งบประมาณ สูร่ ะบบราชการ 4.0 (Application Report)
พ.ศ.2566 (หากได ้ 400 คะแนน จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 3)
3. ดาเนินการจัดทาลักษณะสาคัญองค์การ ไม่เกิน 3 หน ้า และตัวชีว้ ด
ั ผลลัพธ์การดาเนินงาน (หมวด 7) จานวน 30 ตัวชีว้ ด
ั ขนตอนที ั้ ่3 การตรวจประเมินในพืน ้ ทีป
่ ฏิบต
ั งิ าน เพือ
่ ยืนยันผลการตรวจ
4. ประเมินองค์การด ้ายเครือ
่ งมือการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ในทุกหมวด ผ่านโปรแกรมประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 ของ
Application Report
สานักงาน ก.พ.ร.
ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ

- ได ้รับบริการจากหน่วยงานภาครัฐทีม
่ ก
ี ารบริหารจัดการภายในองค์การทีม
่ ป
ี ระสิทธิภาพ
158
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมสุขภาพจิต
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมสุขภาพจิต
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Joint KPIs ภายในกระทรวง / Proxy KPIs
1. ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัว (Primary care Unit : PCU) มีระบบ/กิจกรรมในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน น้าหนักร้อยละ 20
2. ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพจิตที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) น้าหนักร้อยละ 20
Functional KPIs
3. ร้อยละของผู้ป่วยออทิสติก (ASD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน น้าหนักร้อยละ 10
4. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหายทุเลา (Remission) น้าหนักร้อยละ 10
5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องบนระบบดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า น้าหนักร้อยละ 10
2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)
6. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้าหนักร้อยละ 15
6.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service) (น้าหนักร้อยละ 10)
6.2 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน (Digitalize Process) (น้าหนักร้อยละ 5)
7. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนักร้อยละ 15

จานวน 7 ตัวชี้วัด

160
ตัวชี้วัดของกรมสุขภาพจิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ผลการดาเนินงานย้อนหลัง น้าหนัก ค่าเป้าหมายปี 2566


ลาดับที่ ชื่อตัวชี้วัด ความเชื่อมโยง (ร้อยละ) ขั้นต้น ขั้นมาตรฐาน ขั้นสูง
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
องค์ประกอบที่ 1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) น้าหนัก ร้อยละ 70
1 ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัว (Primary care Unit : PCU) Joint KPI 54.96 64.30 87.34 20 60 65 70
มีระบบ/กิจกรรมในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ภายในกระทรวง / (172 แห่ง (616 แห่ง (374 แห่ง
Proxy KPI จาก 313 แห่ง) จาก 958 แห่ง) จาก 428 แห่ง)
(KPI 18)
(รอบ 12 เดือน)
2 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติตที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษา Joint KPI 79.43 88.80 93.45 20 90 93 96
ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม ภายในกระทรวง / (รอบ 11 เดือน)
(Retention Rate) (KPI 10) Proxy KPI

3 ร้อยละของผู้ป่วยออทิสติก (ASD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิต Functional KPI - 46.42 47.02 10 45 48 51


ที่ได้มาตรฐาน (KPI 8) (รอบ 11 เดือน)
4 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหายทุเลา (Remission) (KPI 12) Functional KPI - - - 10 37 40 43
5 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง Functional KPI - - - 10 40 50 60
ต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่อง
บนระบบดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า (KPI 13)

161
ตัวชี้วัดของกรมสุขภาพจิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผลการดาเนินงานย้อนหลัง ค่าเป้าหมายปี 2566
ความ น้าหนัก
ลาดับที่ ชื่อตัวชี้วัด ขั้นต้น ขั้นมาตรฐาน ขั้นสูง
เชื่อมโยง ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 (ร้อยละ)
(50 คะแนน) (75 คะแนน) (100 คะแนน)
องค์ประกอบที่ 2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) น้าหนัก ร้อยละ 30
การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล 15
6.1 การสร้างนวัตกรรมในการ ตัวชี้วัดใหม่ - - - (10) ยื่นเรื่อง/ยื่นคาขอ มีระบบยื่นเรื่อง/ 1. กรณีงานบริการที่เชือ่ มโยงกับ Biz Portal
ปรับปรุงกระบวนงาน ทางออนไลน์ (e-form) ยื่นคาขอทางออนไลน์ ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบ Biz Portal ได้ ภายในกันยายน 2566
หรือการให้บริการ (e-Service) แต่ยังไม่สามารถ (e-form) ที่ประชาชน 2. กรณีงานบริการที่เชือ่ มโยงกับ Citizen Portal
เรื่อง ระบบคัดกรองสุขภาพจิต แนบเอกสารมาพร้อมกัน มีความปลอดภัย รักษา ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบบริการออนไลน์ของหน่วยงานได้
ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (DMIND) ผ่านระบบได้ โดยให้ ข้อมูลส่วนบุคคล และ ภายในกันยายน 2566 และมีแผนการเชื่อมโยงระบบบริการผ่าน
ประชาชนจัดส่งแยก แนบเอกสาร Citizen Portal
มาในรูปแบบ scan file ประกอบการพิจารณาได้ 3. กรณีงานบริการที่ไม่เชือ่ มโยงผ่านระบบ Biz/Citizen Portal
ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบบริการออนไลน์ของหน่วยงานได้
ภายในสิงหาคม 2566
6.2 การพัฒนากระบวนการ ตัวชี้วัดใหม่ - - - (5) ร้อยละ 40 ของหน่วย ร้อยละ 50 ของหน่วย ร้อยละ 60 ของหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต มีระบบเวชระเบียน
ปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยี บริการจิตเวชในสังกัด บริการจิตเวชในสังกัด อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record : EMR) ผู้ป่วยนอก
ดิจิทัลมาเป็นกลไกหลังในการ กรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต เทียบเท่าระดับ 4
ดาเนินงาน (Digitalize Process) มีระบบเวชระเบียน มีระบบเวชระเบียน
เรื่อง การพัฒนาระบบ อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์
เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic (Electronic Medical (Electronic Medical
Medical Record : EMR) ผู้ป่วยนอก Record : EMR) Record : EMR)
ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยนอก
เทียบเท่าระดับ 4 เทียบเท่าระดับ 4
7 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการ ตัวชี้วัดเดิม 435.37 452.62 457.46 15 445 451.23 457.46
เป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
รวม 100 162
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัว (Primary care Unit : PCU) มีระบบ/กิจกรรมในการดูแลสุขภาพจิต Joint KPI ภายในกระทรวง
(สป.สธ/กรมการแพทย์
Proxy
และจิตเวชในชุมชน แผนไทยฯ/กรมสุขภาพจิต)
KPIs
คาอธิบาย :
• คลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Unit: PCU) หมายถึง หน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิที่ดูแลสุขภาพประชาชนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ โดยรวมทีมหมอครอบครัว (Family Medical Care)
ที่ดูแลประชาชนประมาณ 10,000 คน จานวน 3 ทีม ร่วมกันดูแลประชากรประมาณ 30,000 คน (1 cluster) โดยใช้การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันในกลุ่มเครือข่าย เพื่อให้การดูแลสุขภาพประชาชนที่รับผิดชอบ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในที่นี้ PCU ที่จะดาเนินการเป็น PCU ที่มีศักยภาพ (อ้างอิงจากข้อมูลสานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข)
• สูตรคานวณ : จานวน PCU ที่มีระบบ/กิจกรรมในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนในปีงบประมาณ 2566 X 100
จานวน PCU ที่มีศักยภาพทั้งหมดในเขตสุขภาพที่รับผิดชอบ*
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : รายงานข้อมูลจากสถาบัน/โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต 14 แห่ง และศูนย์สุขภาพจิต 12 แห่ง
* ข้อมูลสรุปจำนวน PCU ที่มีศักยภำพ ปีงบประมำณ 2565 ของกระทรวงสำธำรณสุข (จำนวน 1,132 แห่ง ข้อมูล ณ วันที่ 16 กย 65)
เป้าหมาย ปี 2566 : เกณฑ์การประเมิน
น้าหนัก
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 20 เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
2563 2564 2565 2566 60 65 70
54.96 64.30 (เป้าหมาย ปี 67)
87.34 65
(172 แห่ง (616 แห่ง (374 แห่ง เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
จาก 313 แห่ง) จาก 958 แห่ง) จาก 428 แห่ง) 1. สรุปสภาพปัญหา/ความต้องการในการดาเนินงานดูแลสุขภาพจิตของ PCU
(รอบ 12 เดือน) 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน PCU ด้านการจัดบริการ
ผลการดาเนินงาน ค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงาน 3 ปี (63 – 65) = ร้อยละ 68.87
เงื่อนไข : -
แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) :
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570 หมายเหตุ : -
ค่าเป้าหมาย 65 70 75 80 85
163
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่อง Joint KPI ภายในกระทรวง
(สป.สธ/กรมการแพทย์/ Proxy
KPIs
คาอธิบาย : จนถึงการติดตามด้วยระบบดิจิทัล (Retention Rate)
กรมสุขภาพจิต)

• ประชากรกลุ่มเป้าหมายบาบัด หมายถึง ผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่เข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติด และรายงานข้อมูลการบาบัดรักษาในฐานข้อมูลการบาบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.)


• ผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบาบัดรักษา หมายถึง ผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่มีโรคร่วมทางจิตเวชที่เข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติดในหน่วยบริการสังกัดกรมสุขภาพจิต
• กระบวนการบาบัดรักษา หมายถึง รูปแบบการบาบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติด ตามระดับความรุนแรง
• การดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตามด้วยระบบดิจิทัล หมายถึง ผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดได้รับการดูแลช่วยเหลือ บาบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพรอบด้านทั้งด้านกาย จิต สังคม อย่างต่อเนื่องตา มสภาพปัญหา
ของผู้ป่วยเฉพาะราย ตลอดจนถึงการติดตามดูแลช่วยเหลือตามเกณฑ์มาตรฐาน หลังการบาบัดอย่างน้อย 4 ครั้งใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด ยกเว้น ผู้ป่วยที่มีการจาหน่ายกรณีเสียชีวิต โดยสถาบัน /โรงพยาบาลจิตเวช
มี ก ารน าเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มาช่ ว ยในกระบวนการบ าบั ด รั ก ษาและ/หรื อ การติ ด ตามดู แ ลต่ อ เนื่ อ งผู้ ป่ ว ยจิ ต เวชยาเสพติ ด เช่ น การคั ด กรอง/วิ นิ จ ฉั ย การตรวจรั ก ษา (Tele-Psychiatry การให้ ค าปรึ ก ษาและบ าบั ด
กิจกรรมบาบัดรักษาจิตเวชรายกลุ่ม/บุคคล โดยสหวิชาชีพ (Tele-Psychosocial Intervention) การดูแลติดตามต่อเนื่องทางไกล เช่น เยี่ยมบ้าน (Tele Visiting)
• สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ครั้ง ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด X 100
จานวนผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่ได้รับการจาหน่ายทั้งหมด
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : จากฐานข้อมูลการบาบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) ซึ่งรายงานข้อมูลการบาบัดรักษาจากหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต จานวน 14 แห่ง
เป้าหมาย ปี 2566 : เกณฑ์การประเมิน :
น้าหนัก
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 20 เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (50) เป้าหมายขั้นสูง (100)
2563 2564 2565 2566 90 93 96
79.43 88.80 93.45 90
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
(รอบ 11 เดือน)
ผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ครั้ง ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุดการบาบัด ร้อยละ 70
ผลการดาเนินงาน ค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงาน 3 ปี (63 – 65) = ร้อยละ 87.23
แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) : เงื่อนไข : -
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570 หมายเหตุ : การคานวณตัวชี้วัดนี้ ตัวหารจะผันแปรไปตามจานวนผู้ป่วยที่ได้รับการจาหน่ายเพิ่มขึ้น ขณะที่ตัวตั้ง คือ
จานวนผู้ป่วยทีได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง อาจจะยังไม่ครบ 4 ครั้ง ณ วันที่ตัดยอดรายงาน ดังนั้น
ค่าเป้าหมาย 90 92 94 96 98 ผลการดาเนินงานที่ได้ในแต่ละเดือน จึงไม่ใช่ยอดสะสม (อาจเพิ่มขึ้น/ลดลง ตามตัวหารที่เปลี่ยนแปลง)
164
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ร้อยละของผู้ป่วยออทิสติก (ASD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : SKPI
• ผู้ป่วยออทิสติก หมายถึง เด็กอายุระหว่าง 2 - 5 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคออทิสติก (Autism spectrum disorder) ตามมาตรฐานการจาแนกโรคระหว่างประเทศขององค์การอนามัยโลกฉบับที่ 10
(ICD10: International Classification of Diseases and Health Related Problems – 10) หมวด F84.0-84.9 หรือ เทียบเคียงในกลุ่มโรคเดียวกันกับการวินิจฉัยตามเกณฑ์วินิจฉัยโรคของสมาคม
จิตแพทย์อเมริกัน ฉบับที่ 5 (DSM-5: Diagnostic and Statistical Manual of Mental disorders - 5)
• เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน หมายถึง การที่เด็กอายุระหว่าง 2 - 5 ปี ผู้ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคออทิสติก ได้รับการบริการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารสุขภาพจิตและจิตเวชสาหรับ
รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. หรือได้รับการช่วยเหลือตามแนวทางมาตรฐานอย่างเหมาะสมจากหน่วยบริการทุกสถานบริการของประเทศไทย
• สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยออทิสติกอายุ 2 - 5 ปี ในเขตสุขภาพที่เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน X 100
จานวนประชากรประจาปีที่ผ่านมา อายุ 2 - 5 ปี ในเขตสุขภาพทั้งหมด X ค่าความชุกของโรคออทิซึม ร้อยละ 0.6
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : ฐานข้อมูลประชากรประจาปีที่ผ่านมาจากทะเบียนราษฎร์ของ HDC เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมาย ปี 2566 : น้าหนัก เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 10
45 48 51
2563 2564 2565 2566
101.33 46.42 47.02 48 เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
(รอบ 11 เดือน) ผู้ป่วยออทิสติก (ASD) อายุ 2 - 5 ปี เข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 46
ผลการดาเนินงาน ค่าเฉลี่ยผลการดาเนินงาน 2 ปี (64 – 65) = ร้อยละ 46.72
เงื่อนไข :
แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) : 1. บูรณาการกับงานปฐมวัย คัดกรอง PDDSQ ในกลุ่มเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ที่คัดกรองพัฒนาการ
แล้วพบล่าช้าด้านภาษาและสังคม และส่งต่อเข้าพบแพทย์
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570 2. สารวจข้อมูลทรัพยากรด้านจิตเวชเด็กและวัยรุ่น รายจังหวัดในเขตสุขภาพและวิเคราะห์ Gap
การดาเนินงาน วางแผนการแก้ไขปัญหา
ค่าเป้าหมาย 48 51 54 57 60
หมายเหตุ :
1. ปี 2564 มีการปรับฐานข้อมูล ตัดเด็กอายุเกิน 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ออกจากยอด
เข้าถึงบริการสะสมเดิม ทาให้ผลการดาเนินงานลดลง
2. ค่าความชุกของโรคออทิซึม เท่ากับ ร้อยละ 0.6
165
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหายทุเลา (Remission) ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : SKPI
• ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หมายถึง ประชาชนไทยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Depressive Disorder ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกันฉบับที่ 5 (DSM5) บันทึกรหัสตามมาตรฐานการจาแนกโรคระหว่างประเทศ
ขององค์การอนามัยโลกฉบับที่ 10 (ICD-10) หมวด F32.xx และเป็นผู้ป่วยรายใหม่ในปีงบประมาณ 2566
• หายทุเลา หมายถึง ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มารับบริการในโรงพยาบาลจิตเวช และโรงพยาบาลในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 14 แห่ง ได้รับการบาบัดรักษาต่อเนื่อง
จนหายทุเลา (Remission) โดยใช้ผลประเมิน 9Q < 7 ในเดือนที่ 2 และ 3 หลังได้รับการวินิจฉัยและบาบัดรักษา
• สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้ารายใหม่ที่มารับบริการและหายทุเลา ในปีงบประมาณ 2566
จานวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้ารายใหม่ ในปีงบประมาณ 2566 X 100
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : หน่วยบริการจิตเวช 14 แห่ง บันทึกผลลัพธ์การรักษาแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน จนหายทุเลาในระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานที่เชื่อมโยงเข้ากับระบบฐานข้อมูลส่วนกลาง
ของกรมสุขภาพจิต ตามตารางที่กาหนด แล้วให้หน่วยงานนาเข้าข้อมูลผ่านโปรแกรม Remission ใน www.thaidepression.com ของโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
เป้าหมาย ปี 2566 :
น้าหนัก
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 10 เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
(ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหายทุเลา (Remission) ร้อยละ 20
2563 2564 2565 2566
- - - 40 เงื่อนไข : -

แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) :


หมายเหตุ : Baseline ค่าเป้าหมายปี 2566 มาจากค่าเฉลี่ยงานวิจัยของ USA
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570 ร้อยละ 40.75
ค่าเป้าหมาย 40 43 46 49 52
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
37 40 43
166
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 5 : ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่อง ไม่เชื่อมโยง
บนระบบดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า SKPI

คาอธิบาย :
• ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (Serious Mental Illness with High Risk to Violence: SMI-V) (กรมสุขภาพจิต, 2563) หมายถึง ผู้ป่วยด้วยโรคจิตเวชที่มีความผิดปกติทางความคิด อารมณ์หรือ
พฤติกรรม ความเจ็บป่วยทางจิตเวชดังกล่าวส่งผลต่อความเสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรงหรือทาให้เกิดความทุพพลภาพรุนแรง มีผลรบกวนต่อการใช้ชีวิตปกติ จาเป็นต้องได้รับการเฝ้าระวังและดูแลเพื่อป้องกันการกาเริบซ้า มีเกณฑ์จาแนก ดังนี้
1) มีประวัติทาร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต 2) มีประวัติทาร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุรุนแรงทาให้หวาดกลัว สะเทือนขวัญในชุมชน 3) มีอาการหลงผิด มีความคิดทาร้ายตนเอง/ผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิตหรือมุ่งร้ายผู้อื่นแบบ
เฉพาะเจาะจง และ 4) เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง (ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง) รวมทั้งผู้ต้องขังนิติจิตเวชที่ได้รับการปล่อยตัวออกจากเรือนจาและทัณฑสถาน
• การดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องบนระบบดิจิทัล หมายถึง สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในกระบวนการบาบัดรักษาและ/หรือการติดตามดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องผู้ป่วย SMI-V โดยปีที่ 1 มีการติดตาม
อย่างน้อย 4 ครั้ง และปีที่ 2 เป็นต้นไป มีการติดตามอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี เช่น การคัดกรอง/วินิจฉัย การตรวจรักษา (Tele-Psychiatry) การให้คาปรึกษาและบาบัดรักษารายกลุ่ม/บุคคล โดยสหวิชาชีพ (Tele-Psychosocial
Intervention) การดูแลติดตามต่อเนื่องทางไกล เช่น ให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (Tele pharmacy) เยี่ยมบ้านทางไกล (Tele Visiting) และบันทึกการติดตามผ่านระบบสารสนเทศในการติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มเสี่ยง
ต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V CARE) และฐานข้อมูลผู้ป่วยนิติจิตเวช (http://61.19.42.40:10001)
• ไม่กลับเป็นซ้า หมายถึง ผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ที่ได้รับการรักษาจนอาการสงบและได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง ผู้ป่วย SMI-V บนระบบดิจิทัล (SMI-V Care)
และไม่ก่อความรุนแรงซ้า ใน 1 ปี
• สูตรคานวณ : จานวนผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องและไม่กลับเป็นซ้า X 100
จานวนผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ที่ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่องบนระบบดิจิทัล
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : 1. รายงานข้อมูลจากสถาบัน/โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต 14 แห่ง ในระบบบริการการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังกลุ่มเสี่ยง (High Risk Group ) หรือ SMI-V care
2. ฐานข้อมูลผู้ป่วยนิติจิตเวช (โปรแกรมระบบสารสนเทศ กรมสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์)

167
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 5 : ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่อง
บนระบบดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า (ต่อ)

เป้าหมาย ปี 2566 : เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)


น้าหนัก
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 10 ผู้ป่วยโรคจิตเวชกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับการดูแลเฝ้าระวังต่อเนื่อง
2563 2564 2565 2566 บนระบบดิจิทัลโดยไม่กลับเป็นซ้า ร้อยละ 25
- - - 50 เงื่อนไข : -

แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) : หมายเหตุ :


ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570
ค่าเป้าหมาย 50 60 70 80 90

เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (50) เป้าหมายขั้นสูง (100)
40 50 60

168
รายละเอียดตัวชี้วัด
6. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
6.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)

169
รายละเอียดตัวชี้วัด
6. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ตัวชี้วัดใหม่
6.1 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงานหรือการให้บริการ (e-Service)
น้าหนัก
เรื่อง ระบบการคัดกรองสุขภาพจิตด้วยปัญญาประดิษฐ์ (DMIND) ร้อยละ 10

เกณฑ์การประเมิน
หลักเกณฑ์ เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายขั้นมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ระดับ 1 (Level 1) งานบริการ ยื่นเรื่อง/ยื่นคาขอทางออนไลน์ (e-form) แต่ยัง
มีระบบยื่นเรื่อง/ยื่นคาขอทางออนไลน์ (e-form) 1. กรณีงานบริการที่เชื่อมโยงกับ Biz Portal
ที่ยื่นคาขอและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ไม่สามารถแนบเอกสารมาพร้อมกันผ่านระบบได้ ที่ประชาชนมีความปลอดภัย รักษาข้อมูลส่วนบุคคล ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบ Biz Portal ได้ ภายในกันยายน 2566
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยให้ประชาชนจัดส่งแยกมาในรูปแบบ scan file และแนบเอกสารประกอบการพิจารณาได้ 2. กรณีงานบริการทีเ่ ชื่อมโยงกับ Citizen Portal
ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบบริการออนไลน์ของหน่วยงานได้
แนวทางการดาเนินงานของกรมสุขภาพจิต ภายในกันยายน 2566 และมีแผนการเชื่อมโยงระบบบริการ
เป้าหมายรอบ 6 เดือน ผ่าน Citizen Portal
1. มีการเปิดระบบลงทะเบียนออนไลน์เพื่อยื่นขอรับบริการ ระบบการคัดกรองสุขภาพจิตด้วยปัญญาประดิษฐ์ (DMIND) 3. กรณีงานบริการที่ไม่เชื่อมโยงผ่านระบบ Biz/Citizen Portal
2. มีการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนที่เข้าใช้ ระบบการคัดกรองสุขภาพจิตด้วยปัญญาประดิษฐ์ (DMIND) ขั้นสูง : สามารถให้บริการผ่านระบบบริการออนไลน์ของหน่วยงานได้
ภายในสิงหาคม 2566 170
รายละเอียดตัวชี้วัด
6. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ตัวชี้วัดใหม่
6.2 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นกลไกหลักในการดาเนินงาน (Digitalize Process)
เรื่อง การพัฒนาระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record : EMR) ผู้ป่วยนอก น้าหนัก
ร้อยละ 5
คาอธิบาย :
• เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record: EMR) หมายถึง ข้อมูลประวัติการรักษาผู้ป่วยของสถานพยาบาล หรือสถานบริการสารธารณสุข ที่จัดเก็บในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
รวมถึงการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล เพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการรักษาอย่างต่อเนื่อง
• Outpatient Electronic Medical Record Adoption Model (O-EMRAM) หมายถึง เครื่องมือในการวัดระดับความพร้อม EMR (8 Stages) ผู้ป่วยนอก เพื่อการพัฒนาสู่สถานพยาบาลดิจิทัล
• O-EMRAM เทียบเท่าระดับ 4 ประกอบด้วย 1) มีการสั่งการรักษาโดยแพทย์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Computerized Physician Order Entry: CPOE) 2) มีการสั่งยาในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Prescription)
3) มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (Clinical Decision Support) ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมโยงกับคาสั่งแพทย์ 4) มีการเก็บข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้เกี่ยวข้อง
ในการรักษาสามารถเปิดใช้งานได้ 5) สามารถสแกนเอกสารเวชระเบียนส่วนอื่นๆ เข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้เกี่ยวข้องในการรักษาสามารถเปิดใช้งานได้
• ขอบเขตการประเมิน : ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ป่วยนอก หน่วยบริการในสังกัดกรมสุขภาพจิต 20 แห่ง
• วิธีการเก็บข้อมูล/แหล่งที่มาของข้อมูล : รายงานข้อมูลจากสถาบัน/โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต 20 แห่ง
แผนระยะยาว / Roadmap (2566 – 2570) :
ปีงบประมาณ 2566 2567 2568 2569 2570 เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
ร้อยละ 25 ของหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิตมีระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
ค่าเป้าหมาย 50 75 100 - - Medical Record : EMR) ผู้ป่วยนอก เทียบเท่าระดับ 4

เกณฑ์การประเมิน :
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายขั้นมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 40 ของหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต ร้อยละ 50 ของหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต ร้อยละ 60 ของหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต
มีระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record : EMR) มีระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record : EMR) มีระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Record : EMR)
ผู้ป่วยนอก เทียบเท่าระดับ 4 ผู้ป่วยนอก เทียบเท่าระดับ 4 ผู้ป่วยนอก เทียบเท่าระดับ 4
171
รายละเอียดตัวชี้วัด
7. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ตัวชี้วัดเดิม น้าหนัก
คาอธิบาย ร้อยละ 15
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ส่วนราชการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0
เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีสว่ นได้
ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

เกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 กลุ่มที่ 1 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ต่ากว่า 350 คะแนน
ผลการดาเนินงาน 435.37 452.62 457.46
290 350 350 คะแนนขึ้นไป
เกณฑ์การประเมิน กลุ่มที่ 2 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตั้งแต่ 350 แต่น้อยกว่า 400 คะแนน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
350 คะแนนปี 65 คะแนนปี 65 + 10%
445 451.23 457.46
กลุ่มที่ 3 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตั้งแต่ 400 - 450 คะแนน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan)
400 คะแนนปี 65 คะแนนปี 65 + 2%
มีข้อมูลการดาเนินการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 เบื้องต้น ประกอบด้วย
1. ลักษณะสาคัญขององค์การ (OP) กลุ่มที่ 4 : ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มากกว่า 450 คะแนน
2. แบบประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 ด้วยตนเอง (SAQ)
3. ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดาเนินงาน (หมวด 7) 445 (คะแนนปี 2565 + 445)/2 (คะแนนปี 2565)

172
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของกรมอนามัย
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กรมอนามัย
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 15
2. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ร้อยละ 15
3. ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ 15
4. อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษทางอากาศ ร้อยละ 15
Joint KPIs
5. ร้อยละคุณภาพน้าประปาหมู่บ้านได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้ ร้อยละ 10

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


6. การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ร้อยละ 15
7. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 7 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดยต้อง
ระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี) 174
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
กรมอนามัย
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 15 ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85 SKPIs
2. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี ต่อ ร้อยละ 15 25.6 23 21 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ต่อประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี พันคน ต่อประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี พันคน ต่อประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี พันคน

3. ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม ร้อยละ 15 ร้อยละ 93.37 ร้อยละ 95 ร้อยละ 96.5 ไม่เชื่อมโยง SKPI


Care Plan
4. อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษทาง ร้อยละ 15 4970.22 4627.23 4284.25 ไม่เชื่อมโยง SKPI
อากาศ ค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี (ปี 63-65) ค่าที่ดีที่สุด 3 ปี (ปี 63-65) ค่า +- interval
(ค่าความต่างระหว่าง ค่ามาตรฐานและค่าขั้นต้น)

5. ร้อยละคุณภาพน้าประปาหมู่บ้านได้มาตรฐาน ร้อยละ 10 ร้อยละ 20.74 ร้อยละ 25 ร้อยละ 30 JKPI


ตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้
6. การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) ร้อยละ 15 • มีรายชื่อชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสามารถนาไปใช้ตอบ • มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data • คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐาน ไม่เชื่อมโยง SKPI
โจทย์การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน Catalog) พร้ อมแจ้ ง URLระบบบั ญชี ข้ อ มู ล คุณลั กษณะแบบเปิ ดที่ สพร. ก าหนด (20
เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) • มีคาอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้อง หน่วยงาน และชุดข้อมูลคาอธิบายชุดข้อมูล ถูก คะแนน)
ตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของ น าขึ้ นที่ ระบบบั ญชี ข้ อมู ลหน่ วยงาน และระบุ • น าข้ อมู ลเปิ ดไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างเป็ น
ทุกชุดข้อมูล ทรั พยากรข้ อมู ล (Resource) ของชุ ดข้ อมู ลเปิ ด รูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็นขอบเขตการ
• มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของ ทั้งหมด 15 คะแนน) นาข้ อมู ลไปใช้ประโยชน์ อย่ างน้ อย 1 ชุ ด
ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบ ข้อมูล (5 คะแนน)
บัญชีข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน)
7. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็น ร้อยละ 15 400 412.77 421.03 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
รวม 100
175
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย รหัส : 110201 น้าหนัก SKPIs
คาอธิบาย : เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย ให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อมทั้งสุขภาวะ เจตคติ ความรู้และทักษะ 15
ให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ การส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ การส่งเสริมดูแลด้าน
โภชนาการเด็ก การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางานให้พ่อแม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ด้วยตนเอง การพัฒนาหน่วยงานและ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลพัฒนาเด็กให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัยเริ่ม ยุทธศาสตร์ชาติ :ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
ตั้งแต่การเกิดอย่างมีคุณภาพ การเจริญเติบโตและการมีพัฒนาการสมวัย การจัดบริการและสวัสดิการสาหรับเด็กปฐมวัย ระบบสนับสนุน
การพัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจนกลไกบริหารจัดการเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กที่มีประสิทธิภาพ ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 85
แผนแม่บท : ประเด็นที่ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570

2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย : เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพมีพัฒนาการสมวัย สามารถ
80.6 86.95 82 82 84 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85 ร้อยละ 86 ร้อยละ 87 ร้อยละ88 เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น

ค่าเป้าหมาย
ผลการดาเนินงานบรรลุค่าเป้าหมายที่ต้องบรรลุ
ในปี 2565 (ร้อยละ 80) 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) หมายเหตุ : 1. สธ. สารวจพัฒนาการจากเด็กปฐมวัยที่ได้รบั การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
-เฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
-สร้างความรอบรู้ด้านการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย (HL) แก่ พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครูพี่เลี้ยง แล้วผลตรวจคัดกรองผ่านครบ 5 ด้าน (การเคลื่อนไหว การใช้กล้ามเนื้อ
-การขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มัดเล็ก การเข้าใจภาษา การใช้ภาษา การช่วยเหลือตนเองและสังคม)
ผู-ขั้รับบผิเคลืดชอบการรายงานผล : สถาบั
่อนงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ นพัมฒ
กโดยใช้ นาอนามัยเด็กแห่งชาติ
าตรการทางกฎหมาย/ข้ อเสนอเชิกรมอนามั
งนโยบาย ย 2. ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566
ช่วงเวลารายงานผล : ตามรอบการรายงาน
เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : : * ข้อมูลจาก รายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 176
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15- 19 ปี พันคน
คาอธิบาย : 1.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (adjusted) คือ จานวนการคลอดบุตรมีชีวิตของผู้หญิงอายุ 15-19 ปีจากข้อมูลในระบบ Health Data Center (HDC) รหัส :……………….. ไม่เชื่อมโยง
ต่อจานวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน SKPI
2. อัตราการคลอดในวัยรุ่น (อายุต่ากว่า ๒๐ ปี) สะท้อนถึงความพร้อมและคุณภาพชีวิตของเด็กที่กาลังเกิดใหม่ ซึ่งจะเป็นกาลังสาคัญของประเทศ อีกทั้งยังสะท้อนให้
เห็นถึงข้อจากัดของการเข้าถึงบริการ การมีความรู้ ความเข้าใจ และการเลือกใช้วิธีการคุมกาเนิด รวมทั้งการตอบรับต่อสถานการณ์การตั้ง ครรภ์ในวัยรุ่นจากภาครัฐ
การลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรเป็นไปอย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง
รายการข้อมูล 1 : A = จานวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 15 – 19 ปี (จากแฟ้ม Labor) ดูข้อมูลจากจานวนเด็กเกิดมีชีพ (LBORN) และเป็นประชากร TypeArea(PERSON) =1,3 ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ของเขตที่รับผิดชอบ
รายการข้อมูล 2 : B = จานวนหญิงอายุ 15 – 19 ปี ทั้งหมด ในเขตรับผิดชอบ (เฉพาะประชากรTypeArea(PERSON) =1,3)
รายการข้อมูล 3 : a = ค่า adjusted = อัตราคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปีจากฐานทะเบียนราษฎร์ ปี พ.ศ.2564/ อัตราคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปีจากฐานข้อมูล HDC
แผนแม่บท : ประเด็นที่ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
รายการข้อมูล 4 : b = อัตราการคลอดจากระบบ HDC ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 (ปรับเป็นอัตราการคลอด ณ สิ้นสุดไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ) แผนแม่บทย่อย :………………………………………………………………………………………….
ไตรมาสที่ 1 = อัตราคลอด HDC X 4/1 ไตรมาสที่ 2 = อัตราคลอด HDC X 4/2 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย :…………………………………………………………………..
ไตรมาสที่ 3 = อัตราคลอด HDC X 4/3 ไตรมาสที่ 4 = อัตราคลอด HDC X 4/4
A
สูตรคานวณ 1 : อัตราการคลอด HDC (b) = x 1,000
B ค่าเป้าหมาย
สูตรคานวณ 2 : อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี (adjusted) = a x b น้าหนัก
15 2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
พ.ศ. 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน
25 15 10 5
ฐานทะเบียนราษฎร์ 35.0 31.3 28.7 n/a n/a ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน
ระบบHDC 35.5 28.72 29.01 25.9 25.6* 23 21 19 17 15

หมายเหตุ * ข้อมูลจากระบบHDC Q2 ณ 16 ก.ค.65 ผู้รับผิดชอบการรายงานผล :…สานักอนามัยการเจริญพันธุ์…กรมอนามัย….


เป้าหมาย ปี 2566 :..อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน (ไม่เกิน 23 ต่อพันคน)…. ช่วงเวลารายงานผล :… ตามรอบการรายงาน …….
เกณฑ์การประเมิน เงื่อนไข : ข้อมูลการคลอดจากฐานทะเบียนราษฎรอย่างเป็นทางการนั้น จะมีความล่าช้าประมาณ 2 ปี
ปัจจุบันจึงใช้ข้อมูลการเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (adjusted) ใน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ระบบHDC เพื่อติดตามผลการดาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
25.6 23 21 ในปีนั้นๆ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) หมายเหตุ : ข้อมูลค่าเป้าหมาย Health Data Center (HDC)
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน (ไม่เกิน 25.6 ต่อพันคน)
หมายเหตุ ใช้ข้อมูลอัตราการคลอดจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข 177
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan รหัส : 150001 ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : SKPI
1) ผู้สูงอายุ หมายถึง ประชาชนที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
2) ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หมายถึง ผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน (ADL) ≤11 โดยแบ่งเป็นกลุ่มติดบ้าน (ADL 5 - 11 คะแนน) กลุ่มติดเตียง
(ADL 0 - 4 คะแนน) ได้รับการดูแลโดยบุคลากรสาธารณสุข ทีมสหวิชาชีพ ตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ตามชุดสิทธิประโยชน์ทุกสิทธิการรักษาพยาบาล ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการสร้างโอกาสความเสมอ
3) ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง หมายถึง ประชาชนที่มีความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน (ADL) ≤11 โดยแบ่งเป็นกลุ่มติดบ้าน (ADL 5 – 11 คะแนน) กลุ่มติดเตียง ภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
(ADL 0 - 4 คะแนน) ได้รับการดูแลโดยบุคลากรสาธารณสุข ทีมสหวิชาชีพ ตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ตามชุดสิทธิประโยชน์ทุกสิทธิการรักษาพยาบาล
4) ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ หมายถึง การดาเนินงานส่งเสริม พัฒนาสนับสนุนฟื้นฟูและสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการ
ดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาว แผนแม่บท : ประเด็นที1่ 5 พลังทางสังคม
5) แผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) หมายถึง แบบการวางแผนการดูแลช่วยเหลือ ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงจาก Care Manager ทีมผู้เชี่ยวชาญ ครอบครัวและผู้ที่
เกี่ยวข้องในพื้นที่โดยผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงสามารถรับรู้ถึงความช่วยเหลือทีมผู้ให้การช่วยเหลือที่เกี่ยวข้อง
6) การประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์ หมายถึง - การประเมินผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการ
ประกอบกิจวัตรประจาวัน (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ทุกรายรอบ 9 เดือนและ12 เดือน แผนแม่บทย่อย :15.2 การรองรับสังคมสูงวัยเชิงรุก.
- ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ด้าน (โดยคณะกรรมการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข ) เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย 150202 ผู้สูงอายุมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ประเมินผ่าน Blue Book Application กรมอนามัย เพื่อเชื่อมกับการจัดทา Care Plan รายบุคคล ผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)
สูตรการคานวณ ( A/B ) X 100 A = จานวนผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่มีการจัด Care Plan และ Care Plan ได้รับอนุมัติ ค่าเป้าหมาย
B = จานวนผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมดในประเทศที่เข้าร่วมโครงการ LTC
2561-2565 2566-2570 2571-2575 2576-2580
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 95 น้าหนัก
15 90 95 98.5 100
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
หมายเหตุ 1.สธ. การตรวจประเมินคัดกรอง ADL โดยใช้เครื่องมือ Blue book Application และมีระบบการ
89.56 92.45 93.37 95 96.5 98.5 98.5 100 รายงานภาพรวมในระบบ HDC ของกระทรวงสาธารณสุข
2. ค่าเป้าหมายจากยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
เกณฑ์การประเมิน ผู้รับผิดชอบ สานักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ช่วงเวลารายงานผล : ตามรอบรายงานผล
93.37 95 96.5 เงื่อนไข : วิธีการประเมินผล 1) พื้นที่ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ด้าน
2) พื้นที่คัดกรองและประเมินผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจาวัน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) (Barthel Activities of Daily Living : ADL)
- ประเมินสุขภาพและคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ด้าน 3) Care Manager มีการจัดทาแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ทมี่ ีภาวะพึ่งพิงและ Care Plan
- ประเมินคัดกรอง ADLและปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงแล้วดาเนินการจัดทาแผนการดูแลรายบุคคล(Care Plan) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 ได้รับการอนุมัติจากคณะอนุกรรมการ LTC
4) ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) และมี ADL เปลี่ยนแปลงดีขึ้น

หมายเหตุ : ผู้สูงอายุกลุ่มที่ได้รับการดูแลตาม care plan จะขยับและมีทิศทางไม่แน่นอน เนื่องจากเป็นกลุ่ม ติดบ้าน ติดเตียง มีอัตราตาย และการเปลี่ยนกลุ่มตลอดเวลา(ADL) ดีขึ้น ลดลงได้ตลอด การนาเอาคนกลุ่มนี้มาทา care plan วัด ADLปีละ 2ครั้ง คือ
รอบ 9 เดือน และ 12 เดือน แต่นาเข้าสู่การทา care plan คนละ1ครั้งต่อปี 178
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4 : อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษทางอากาศ รหัส : 180001 ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษทางอากาศ หมายถึง อัตราป่วยของกลุ่มโรคที่เกิดจากการรับสัมผัสมลพิษทาง SKPI
อากาศ ได้แก่ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ กลุ่มโรคหัวใจหลอดเลือด กลุ่มโรคตาอักเสบ กลุ่มโรคผิวหนังอักเสบ ตามระบฐานข้อมูล ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม
Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข
สูตรการคานวณ : อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษอากาศ (ต่อแสนประชากร) = [(A/B) x 100,000]
A = จานวนผู้ป่วย (คน) ด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษทางอากาศ แผนแม่บท : ประเด็นที่ 18 การเติบโตอย่างยั่งยืน
B = จานวนประชากรกลางปี จากฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข
แผนแม่บทย่อย 18.4 การจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสารเคมี
เป้าหมาย ปี 2566 : อัตราป่วยด้วยโรคอันเนื่องมาจากมลพิษอากาศ ลดลง น้าหนัก ในภาคเกษตรทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
15 เป้าหมายระดับแผนแม่บทย่อย คุณภาพอากาศ เสียง และความสั่นสะเทือนอยู่ระดับ
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 มาตรฐานของประเทศไทย
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 เงื่อนไข : ข้อมูลผู้ป่วยที่เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาล
แหล่งข้อมูล :
4,759.84 5,523.57 4,627.23 4,627.23 1. จานวนผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ ตามฐานข้อมูล Health Data Center
(ค่าที่ดีที่สุด ด้วยรหัส ICD-10 ดังนี้ J44, J45, I21, I22, I24, H10, L30.9, L50, Z581
ย้อนหลัง 3 ปี) 2. จานวนประชากรกลางปี จากฐานข้อมูลกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข
เกณฑ์การประเมิน วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. สสจ. ติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ อัตราป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทางอากาศ จาก
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข พร้อมทั้งรายงานผลการดาเนินงานตามตัวชีว้ ดั
2. ศูนย์อนามัยที่ 1-12 สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง สานักป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 และสถาบันป้องกัน
4,970.22 4,627.23 4,284.25 ควบคุมโรคเขตเมือง
ค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี (ปี 63-65) ค่าที่ดีที่สุดย้อนหลัง 3 ปี (ปี 63-65) ค่าที่ดีที่สุดย้อนหลัง 3 ปี (ปี 63-65) - interval (ค่าความต่างระหว่างค่า 2.1 ดาเนินการประเมิน ติดตาม และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ อัตราป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทาง
มาตรฐานและค่าขั้นต้น) อากาศในระดับเขตสุขภาพ
2.2 นาข้อมูลมาวิเคราะห์ GAP รวมทั้งจัดทาข้อเสนอแนะเพื่อการวางแผนและพัฒนารูปแบบการดาเนินงาน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขกรณีมลพิษทางอากาศ เพื่อลดอัตราป่วยในระยะต่อไป พร้อมจัดส่ง
- ทบทวนและปรับปรุงแนวทางการดาเนินงาน และจัดส่งคู่มือการดาเนินงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณี ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ปี 2566 และ ให้กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค
ชุดความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของพื้นที่ 3. กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลอัตราป่วยด้วยโรคที่เกีย่ วข้องกับมลพิษทาง
- ประชุมชี้แจงการเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณี ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ปี 2566 อากาศ ในระดับประเทศ รวมทั้งจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานฯ
- เปิดศูนย์เฝ้าระวังและประสานงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณี หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก (Operation Center) ในพื้นที่เสี่ยง 4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดาเนินงานฯ ให้กระทรวงสาธารณสุข
- พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ เตรียมความพร้อมทีมปฏิบัติการ ช่วงเวลารายงานผล : ไตรมาส 4
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย
หมายเหตุ : กลุ่มเป้าหมาย 77 จังหวัด 179
รายละเอียดตัวชี้วัดขับเคลื่อนการบูรณาการร่วมกัน (Joint KPIs) : การจัดการน้าเชิงลุ่มน้าทั้งระบบ
ตัวชี้วัด 5: ร้อยละคุณภาพน้าประปาหมู่บ้านได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้
คาอธิบาย : JKPI
1. “ประปาหมู่บ้าน”หมายความว่า ระบบประปาที่มีขนาดเล็ก ให้บริการในพื้นที่กว้างมากนักอาจจะ 1-2 หมู่บ้าน ประชาชนหรือผู้ใช้น้าในพื้นที่ไม่เกิน 5,000 คน ซึ่งอาจจะมีระบบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :
จัดการโดยเทศบาลตาบล องค์การบริหารตาบล คณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมู่บ้าน หรืออยู่ภายใต้การบริหารของวัด โดยมีระบบการจัดการตั้งแต่แหล่งน้าดิบ ระบบผลิต
ระบบฆ่าเชื้อ และระบบจ่ายน้าสู่ประชาชน 1.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
2. “คุณภาพน้าประปาหมู่บ้าน” หมายถึง คุณภาพน้าประปาที่ได้จากระบบผลิตน้าประปาพร้อมเข้าสู่ระบบจ่ายน้าไปสู่ประชาชนเปรียบเทียบกับเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้ 2.กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
3. “เกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้” หมายถึง คุณภาพน้าประตามประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้ กรมอนามัย พ.ศ.2563 ประกอบด้วย คุณภาพทางกายภาพ
เคมี และชีวภาพ รวมจานวน 21 พารามิเตอร์
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 25 เป้าหมาย 190101 :
น้าหนัก ระดับความมั่นคงด้านน้าอุปโภคบริโภค
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 – 2570 (ถ้ามี) 10 เพิ่มขึ้นจากระดับ 3
ให้เป็นระดับ 4 (สูงสุดที่ระดับ 5 )
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570
ร้อยละ 19.1 ร้อยละ 19.7 ร้อยละ 21.8 ร้อยละ 10 ร้อยละ 20.74 ร้อยละ 25 ร้อยละ 30 ร้อยละ 35 ร้อยละ40 ร้อยละ50 V01
(445 ตย.) (594 ตย.) (597 ตย.) (860 ตย.) (646 ตย.) การเข้าถึงน้าอุปโภค/บริโภค อย่างเพียงพอได้
ข้อมูล ณ วันที่ มาตรฐาน
30 ก.ย. 65
ผลการดาเนินงาน สุ่มคุณภาพน้าประปาหมูบ่ ้านจากระบบผลิต(ต้นท่อ) ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ข้อมูลพื้นฐาน 2561 –2565 ผ่านเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้เฉลี่ยร้อยละ 18.4 การกาหนดค่าเป้าหมาย
ตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 มีแนวโน้มคุณภาพน้าผ่านเกณฑ์ฯลดลง ตัวชี้วัดปี 2566 อ้างอิงจากข้อมูลย้อนหลังและกาหนดร้อยละผ่านเกณฑ์ฯเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 7 จาก
เนื่องจากการปรับใช้เกณฑ์ฯ ใหม่จาก พ.ศ. 2553 (20พารามิเตอร์) เป็นพ.ศ.2563 (21 พารามิเตอร์) F0204
ส่วนใหญ่เป็นระบบประปาหมูบ่ ้านที่บริหารโดยคณะกรรมการบริหารกิจการประปาหมู่บ้านทั้งนี้เมือ่
ร้อยละ 18.4 เป็นร้อ ยละ 25 และเพิ่มขึ้น ร้อยละ5 ในปีถัดไปซึ่งจะสอดคล้องกับการที่ทุกจังหวัดมีการ F0103 คุณภาพประปา
ขับเคลื่อนการดาเนินงานผ่านกลไกระดับจังหวัดและบูรณาการ6หน่วยงานร่วมทัง้ ระดับนโยบายและ ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแนวทางของคณะทางานขับเคลื่อนระบบประปาหมู่บ้านขององค์กรปกครอง F0104 คุณภาพน้าเพื่อการอุปโภค/บริโภค
ปฏิบัติการส่งผลให้คุณภาพน้าปี 2565 มีแนวโน้มผ่านเกณฑ์ฯมากขึ้น ส่วนท้องถิ่นระดับจังหวัดและสอดคล้องกับการจัดทารายการข้อมูลเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัย
สิ่งแวดล้อมของกรมอนามัย รวมถึงสอดคล้องกับโครงการสาคัญปี66ของกระทรวงสาธารณสุขด้วย
เกณฑ์การประเมิน เงื่อนไข : คุณภาพน้าประปาหมู่บา้ นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทีไ่ ด้รับการคัดเลือกเข้าร่วม
โครงการของกรมอนามัย และคุณภาพน้าประปาหมู่บา้ นที่องค์กรปกครองส่วน ✓ ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงาน

เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ท้องถิ่นตรวจทางห้องปฏิบัติการตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้กรมอนามัย พ.ศ. 2563
หมายเหตุ : 1. อ้างอิงจานวนระบบประปาหมูบ่ า้ นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและจานวนองค์กรปกครอง ✓ ตัวชี้วัดบูรณาการหลายหน่วย

ร้อยละ 20.74 ร้อยละ 25 ร้อยละ 30 ส่วนท้องถิ่นจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประจาปี 2565 โปรดระบุ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
2. พ.ศ. 2561-2563 เปรียบเทียบเกณฑ์คณ ุ ภาพนา้ ประปาดื่มได้ กรมอนามัย พ.ศ. 2553 ส่วน พ.ศ.
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) (แนบแผนการดาเนินงาน) 2564
- รายงานผลการดาเนินงานรอบที่ 1 จานวนตัวอย่างน้าที่รับเป้าต่อจานวนตัวอย่างน้าที่ได้ดาเนินการเก็บตรวจวิเคราะห์ฯ เป็ นต้นไปเปรียบเทียบเกณฑ์คณุ ภาพนา้ ประปาดืม่ ได้ กรมอนามัย พ.ศ. 2563
แล้ว
- รายงานผลสาเร็จไตรมาสที่ 1 คุณภาพน้าประปาหมู่บ้านได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพน้าประปาดื่มได้ร้อยละ 20 โดย ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : สานักสุขาภิบาลอาหารและน้า กรมอนามัย
จานวนตัวอย่างน้าที่ผ่านเกณฑ์ฯ ต่อ จานวนตัวอย่างน้าที่ส่งตรวจฯ x 100
ช่วงเวลารายงานผล : ตามรอบการรายงาน
หมายเหตุ : ผลการดาเนินงานขึ้นอยู่กับแผนปฏิบัติการทีพ่ ื้นที่นาไปกาหนดการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในจังหวัด
180
รายละเอียดตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล
ตัวชี้วัดที่ 6: 2(1) การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)ชี้วัด 2 น้าหนัก potential
15
(1)
• บั:ญชีการพั
คาอธิบาย :
ฒนาระบบบั
ข้อมูล หมายถึ ญชีข้อมูดข้ลอมูล(Data
ง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุ Catalog)
ที่จาแนกแยกแยะโดยการจั ดกลุ่มหรือเพื ่อนาไปสู
จัดประเภทข้ อมูลที่อยู่ก ารเปิดเผยข้
่ในความครอบครองหรื อมมูของหน่
อควบคุ ลภาครั ฐฐ (Open Data)
วยงานของรั
• คาอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด หมายถึง คาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สาหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทาการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคาอธิบายข้อมูล ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
จานวน 14 รายการสาหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาและระบุรายละเอียด
• ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ 1) แผนระดับ 2 (แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ
• ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนาไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ปฏิ รู ป ประเทศ แผนพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคม
• คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจากัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้ งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์
ที่มา: ประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ แห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง
แห่งชาติ ) และ แผนระดับ 3 ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ
แนวทางการประเมิน
1) ส่วนราชการต้องเลือกประเด็นการดาเนินงานภายใต้ขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ประเด็น ที่มีชุดข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีชดุ ข้อมูล (Data Catalog) หน่วยงาน
2) ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กบั กระบวนการทางานตามขอบเขตการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยต้องเป็นกระบวนการทางานภายใต้ภารกิจหลักที่มผี ลกระทบต่อการให้บริการประชาชนในระดับสูง • ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด
3) ให้มีคาอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) 14 รายการตามมาตรฐานที่ สพร. กาหนด • ผลการดาเนินงานตามแผนที่เกี่ยวข้อง
4) ชุดข้อมูลที่ขึ้นในระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน (Agency Data Catalog) จะเป็นชุดข้อมูลที่ สสช. ใช้ติดตามในการลงทะเบียนระบบบริการบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) ต่อไป
5) กาหนดให้ส่วนราชการมีระบบบัญชีข้อมูล พร้อมมีข้อมูลสาธารณะ (Open data) ในระบบบัญชีข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูลเปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล 2) ชุดข้อมูลสนับสนุนการให้บริการประชาชน (e-Service)
ต่อสาธารณะ ร้อยละ 100 ของบัญชีข้อมูล ตามแนวทางที่ สพร. กาหนด 3) ดัชนี/ตัวชี้วัดระดับสากล*
6) ชุดข้อมูลเปิด (Open data) ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือผู้รับบริการต้องการและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ หรือส่วนราชการสามารถนาชุดข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการวางแผน พัฒนางานได้
7) การนาข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ประเมินจากหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนาชุดข้อมูลมาวิเคราะห์ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น รายงานวิเคราะห์จากชุดข้อมูล / การมี dashboard จากชุดข้อมูล 4) สถิติทางการ (21 สาขา)
เป็นต้น 5) การดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล หรือ มติ ครม.
เกณฑ์การประเมิน 6) ภารกิจหลักของหน่วยงาน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
• มีรายชื่อชุดข้อมูล ที่มีคุณค่า สามารถนาไปใช้ตอบโจทย์ • มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) • คุณภาพทุกชุดข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ หมายเหตุ : * หน่ ว ยงานที่ ต้ อ งด าเนิ น การตามตั ว ชี้ วั ด การจั ด ท า
การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน พร้ อ มแจ้ ง URL ระบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน และ แบบเปิดที่ สพร. กาหนด (20 คะแนน) ชุดข้อมูลตัวชี้วัดสาหรับการรายงานการจัดอันดับขีดความสามารถใน
• มี ค าอธิ บ ายชุ ด ข้ อ มู ล (Metadata) ที่ ส อดคล้ อ งตาม ชุดข้อ มูล คาอธิ บ ายชุดข้ อมู ล ถูก น าขึ้ นที่ ระบบบั ญ ชี • น าข้ อ มู ล เปิ ด ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม การแข่งขันของประเทศ โดย IMD ให้นับเป็นชุดข้อมูลที่ต้องดาเนินการ
มาตรฐานที่ สพร. กาหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล ข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ตอบโจทย์ ต ามประเด็ น ขอบเขตการน าข้ อ มู ล ไปใช้ เพิ่มเติมจาก 5 ชุดข้อมูลที่กาหนดตามเงื่อนไขตัวชี้วัด
• มีคาอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูล ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด (15 คะแนน) ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล (5 คะแนน)
เปิดทั้งหมด • ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนามาลงทะเบียนในระบบบัญชี เงื่อนไข
ข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) (10 คะแนน) 1. ในแต่ ละชุด ข้ อ มูล (Data Set) ต้ อ งมีก ารจั ด ท าค าอธิบ ายข้ อ มู ล
(Metadata) ครบถ้วนจานวน 14 รายการ หากส่วนราชการมีการ
จัดทารายละเอียดไม่ครบ 14 รายการในแต่ละชุดข้อมูล จะไม่นับผล
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) การดาเนินงาน
ส่วนราชการดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ได้แก่ 2. หน่วยงานจัดทาชุดข้อมูลไม่น้อยกว่า 5 ชุดข้อมูล
ส่วนราชการอื่น ๆ ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานที่ สสช. กาหนด ตามข้อที่ 2
หน่วยงานส่ง Template 1 (ชื่อชุดข้อมูล) และ Template 2 (Metadata) ให้ สสช.
ภายใน มี.ค. 2566 181
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 7 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คำอธิบำย
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือ การประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิง บูรณาการ เพื่อ เชือ ่ มโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้ าหมาย และทิศทางการพั ฒ นาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางให ้

ส่วนราชการพัฒนาไปสูระบบราชการ 4.0
• เพือ
่ ประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลือ ่ นงานให ้บรรลุเป้ าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพือ ่ ยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้ าหมายให ้ส่วนราชการมีคะแนนผลการประเมินในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดีขน
ึ้
จากผลคะแนนในขัน ้ ตอนที่ 1 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็ นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึง่ เป็ นคะแนนเฉลีย ่ ในภาพรวมทัง้ 7 หมวด ประกอบด ้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให ้ความสาคัญ
กับผู ้รับบริการและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู ้ หมวด 5 การมุง่ เน ้นบุคลากร หมวด 6 การมุง่ เน ้นระบบปฏิบต ั ก
ิ าร และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ

้ ฐำน
ข้อมูลพืน
ปี งบประมำณ 2562 2563 2564 2565 เกณฑ์กำรประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุม ่ ด ังนี้
กลุม
่ ที่ 1 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตา่ กว่า 350 คะแนน
ผลกำรดำเนินงำน 379.47 367.74 403.88 412.77 กลุม่ ที่ 2 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 350 แต่น ้อยกว่า 400 คะแนน
กลุม ่ ที่ 3 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัง้ แต่ 400 - 450 คะแนน
เกณฑ์กำรประเมิน กลุม ่ ที่ 4 ส่วนราชการทีม ่ ค ี ะแนนผลการประเมินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
มากกว่า 450 คะแนน
เป้ำหมำยขนต้
ั้ น (50) เป้ำหมำยมำตรฐำน (75) เป้ำหมำยขนสู
ั้ ง (100)

400 412.77 421.03


ขนตอนกำรประเมิ
ั้ นสถำนะของหน่วยงำนภำคร ัฐในกำรเป็นระบบรำชกำร 4.0
ขนตอนที
ั้ ่1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบือ ้ งต ้น
เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดำเนินงำนตำมต ัวชวี้ ัดฯ (Action plan) (หากได ้ 400 คะแนนขึน ้ ไป จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 2)
ขนตอนทีั้ ่2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การ
-จัดทาข ้อมูลและส่งภายในระยะเวลาทีก
่ าหนด สูร่ ะบบราชการ 4.0 (Application Report)
(หากได ้ 400 คะแนน จะผ่านไปประเมินในขัน ้ ตอนที่ 3)
ขนตอนที ั้ ่3 การตรวจประเมินในพืน ้ ทีป
่ ฏิบต
ั งิ าน เพือ
่ ยืนยันผลการตรวจ
ประโยชน์ทป
ี่ ระชำชนจะได้ร ับ
Application Report
- เพิม
่ ศักยภาพของหน่วยงานในการเป็ นระบบราชการ 4.0 เพือ
่ ผลักดันการดาเนินงานในการขับเคลือ
่ นยุทธศาสตร์และแผน
ระดับประเทศ โดยมีเป้ าหมายเพือ
่ ประโยชน์สข
ุ ของประชาชน
182
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
1 การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) (ร้อยละ 70)
Functional KPIs
1. ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต*** ร้อยละ 10
2. ร้อยละของรายการยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉินที่มีอัตราสารองไม่น้อยกว่า 1 เดือน *** ร้อยละ 15
3. ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ผิดกฎหมายลดลง *** ร้อยละ 20

Joint KPIs
4.1 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด ร้อยละ 10
4.2 ร้อยละของสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด ร้อยละ 15

2 การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) (ร้อยละ 30)


5. การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล ร้อยละ 15
5.1 ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี : ระบบการอนุญาตวัตถุอันตราย ณ จุดเดียว (HSSS) (ร้อยละ 5)
5.2 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน (e-Service) (ร้อยละ 10)
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ร้อยละ 15

จานวน 6 ตัวชี้วัด
หมายเหตุ: *ตัวหนังสือสีส้ม หมายถึง ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์สาคัญ (Strategic KPIs) ในกรณีเป็นภารกิจหลักของกรม หรือเป็นเจ้าภาพหลัก , **ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง ตัวชี้วัดทดแทน (Proxy KPI) ในกรณีที่ไม่สามารถวัดด้วย Strategic KPIs โดย
ต้องระบุความเชื่อมโยงกับ Strategic KPIs ให้ชัดเจน ซึ่งอาจจะกาหนดตัวชี้วัดจากแผนระดับ 3 เช่น แผนงานบูรณาการด้านต่าง ๆ เอกสารงบประมาณ หรือตัวชี้วัดที่เป็นภารกิจหลักของกรม หรือตัวชี้วัด Proxy ที่ สศช. กาหนด เป็นต้น ,
***ตัวหนังสือสีม่วง หมายถึง ตัวชี้วัดที่ไม่เชื่อมโยงกับ Strategic KPIs (ถ้ามี) 184
ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เกณฑ์การประเมิน ความเชื่อมโยง
ตัวชี้วัดส่วนราชการ น้าหนัก
เป้าหมายขั้นต้น เป้าหมายมาตรฐาน เป้าหมายขั้นสูง ตัวชี้วัด SKPIs
1. ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต ร้อยละ 10 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ไม่เชื่อมโยง SKPI

2. ร้อยละของรายการยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉินที่มีอัตรา ร้อยละ 15 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ไม่เชื่อมโยง SKPI


สารองไม่น้อยกว่า 1 เดือน
3. ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ผิดกฎหมาย ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 ไม่เชื่อมโยง SKPI
ลดลง
4.1 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบ ร้อยละ 10 ร้อยละ 95.16 ร้อยละ 96.47 ร้อยละ 97.78 JKPIs
ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด
4.2 ร้อยละของสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 15 ร้อยละ 97.07 ร้อยละ 98.75 ร้อยละ 100 JKPIs
ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด

5.1 ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ร้อยละ 5 ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม ไม่เชื่อมโยง SKPI


แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนปฏิบัติการ (Action Plan)
ตามมติคณะรัฐมนตรี : ระบบการอนุญาตวัตถุอันตราย ณ จุดเดียว พ.ศ. 2566 ร้อยละ 80 พ.ศ. 2566 ร้อยละ 90 พ.ศ. 2566 ร้อยละ 100
(HSSS)
5.2 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน ร้อยละ 10 ออกเอกสารเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ออกเอกสารเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สามารถให้บริการผ่านระบบบริการ ไม่เชื่อมโยง SKPI
(e-Service) (e-License/e-Certificate/ (e-License/e-Certificate/ ออนไลน์ของหน่วยงานได้ ภายใน
e-Document) ผ่านทาง Mobile หรือ e-Document) ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง สิงหาคม 2566
เว็บไซต์ Mobile หรือ เว็บไซต์ และผู้รับบริการสามารถ
print out เอกสารได้
6. การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ร้อยละ 15 445 458.96 472.92 ไม่เชื่อมโยง SKPI
(PMQA 4.0)
รวม 100 185
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : ตัวชี้วัดใหม่ 10 SKPI
• นิยาม :
ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการอนุญาต หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ อย. ได้แก่ อาหาร ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เครื่องสาอาง และวัตถุอันตราย ได้รับอนุญาตจาก อย. หรือ สสจ. (กรณีมอบ
อานาจ)
ผู้ประกอบการ หมายถึง ผู้ประกอบการรายย่อยในพื้นที่ 13 เขตสุขภาพ ดังนี้
1. วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการรายย่อยภายในชุมชนที่จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548
2. วิสาหกิจรายย่อย ตามกฎกระทรวงลักษณะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2562
3. สถานที่ผลิตไม่เข้าข่ายโรงงาน ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2562
ได้รับการส่งเสริม หมายถึง ได้รับคาปรึกษา แนะนาให้ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับกฎระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับและมาตรฐานต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมาย จนสามารถได้รับการอนุญาต
ร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการอนุญาตจากผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริม ต่อเขตสุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการส่งเสริมจนสามารถได้รับอนุญาต โดยมีเป้าหมายร้อยละ 50 ต่อเขต
สุขภาพ (สามารถเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง และนับรวมกันทุกผลิตภัณฑ์)
สูตรการคานวณ จานวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับอนุญาต x 100
จานวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริม
• วิธีการเก็บข้อมูล : อย. นาผลพิจารณาอนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภาพจากผู้ประกอบการรายย่อย จากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้าระบบ Health KPI ของกระทรวงสาธารณสุข
• แหล่งที่มาของข้อมูล : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 50
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) 2561 2562 2563 2564 2565 2566
ร้อยละ 10 n/a n/a n/a n/a n/a ร้อยละ 50

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : 186
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 2 : ร้อยละของรายการยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉินที่มีอัตราสารองไม่น้อยกว่า 1 เดือน น้าหนัก ไม่เชื่อมโยง
คาอธิบาย : 15 SKPI
• นิยาม :
1) ยาและเวชภัณฑ์จาเป็นในภาวะฉุกเฉิน หมายถึงยาและเวชภัณฑ์ตามแนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบา ลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกรมการแพทย์
หรือตามกรอบรายการที่ อย. กาหนด และยาและเวชภัณฑ์เพื่อรองรับสถานการณ์หลังโควิด-19
2) อัตราสารอง หมายถึง อัตราส่วนของปริมาณยาและเวชภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการรายงานต่อปริมาณการจาหน่ายยาและเวชภัณฑ์เฉลี่ย /เดือน
หมายเหตุ อัตราสารองยา (เดือน) =ปริมาณยาคงคลัง หรือปริมาณยาที่ผลิตหรือนาเข้ารวมทั้งเดือน /ปริมาณการจาหน่ายยาเฉลี่ยต่อเดือน
อัตราสารองเวชภัณฑ์ (เดือน) =กาลังการผลิตเวชภัณฑ์ หรือปริมาณเวชภัณฑ์คงคลัง หรือปริมาณเวชภัณฑ์ที่ผลิตรวมทั้งเดือน /ปริมาณการจาหน่ายเวชภัณฑ์เฉลี่ยต่อเดือน
สูตรการคานวณ จานวนรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มีอัตราสารองไม่น้อยกว่า 1 เดือน x 100
จานวนรายการยาและเวชภัณฑ์ทั้งหมดตามกรอบที่กาหนด
• ขอบเขตการประเมิน : ผลิตภัณฑ์ยา เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย และเครื่องสาอาง ที่ใช้ในการรักษาหรือป้องกันโรคโควิด-19 และผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับสถานการณ์หลังโควิด-19
• วิธีการเก็บข้อมูล : กองนโยบายแห่งชาติด้านยารวบรวมข้อมูลจากระบบรายงานข้อมูล demand & supply รายการยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉิน และรายงานผล
• แหล่งที่มาของข้อมูล : ระบบรายงานข้อมูล demand & supply รายการยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในภาวะฉุกเฉิน

เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 80
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566
ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) 2561 2562 2563 2564 2565 2566
กรอบรายการและกลไกการติดตามเฝ้ าระวั งยาและเวชภัณฑ์ ที่ได้รับการปรับปรุงให้ ส อดคล้ องกั บ - - - - 85.41 ร้อยละ 80
สถานการณ์โรคโควิด-19 และสถานการณ์หลังโควิด-19

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : 187
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 3 : ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ผิดกฎหมายลดลง ไม่เชื่อมโยง
น้าหนัก
คาอธิบาย : 20 SKPI
นิยาม : โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง โฆษณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ อย.กากับดูแล ได้แก่ อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสาอาง วัตถุอันตราย (ที่ใช้ในบ้านเรือนหรือทางการสาธารณสุข) ยาเสพติดและผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ขอบเขตความรับผิดชอบในการจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย โฆษณาทางสื่ออื่นใดที่สามารถกระจายโฆษณาได้ทั่วประเทศ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกองบรรณาธิการอยู่ในกรุงเทพมหานคร สื่อโทรทัศน์ (ยกเว้นเคเบิ้ลทีวี) สื่อวิทยุกระจายเสียงซึ่งมีที่ตั้งของสถานีที่
ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร และสื่ออินเทอร์เน็ตหรือโซเชียลมีเดีย เช่น เว็บไซต์ทั่วไป เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม ยูทูป ลาซาด้า ช้อปปี้ ฯลฯ
โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง หมายถึง โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีลักษณะข้อความโฆษณา ดังนี้ 1. โฆษณาขายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้รับอนุญาต เช่น โฆษณาอาหารที่ถูกยกเลิกเลขสารบบอาหาร โฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดชื่อ
เครื่องสาอางที่ห้ามผลิต นาเข้า หรือขาย โฆษณาขายยาไม่มีทะเบียนตารับยา 2. โฆษณาอาหารที่มขี ้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่าสามารถบาบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค ความเจ็บป่วย หรืออาการของโรค ที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่าบารุงกาม เสริมสมรรถภาพทางเพศ ที่สื่อหรือแสดงให้
เข้าใจว่าลดน้าหนักได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว 3. โฆษณาผลิตภัณฑ์ยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่แสดงสรรพคุณยาว่าสามารถบาบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรืออาการของโรค ดังนี้ เบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเรื้อน โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด ตับ ม้าม ไต 4. โฆษณา
ขายยาหรือยาเสพติดที่มีการนาไปใช้ผิดวัตถุประสงค์และเป็นภัยต่อสังคม เช่น ยาแก้ไอ ยา tramadol ยานอนหลับ ยาเสียสาว ยาทาแท้ง
โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ผิดกฎหมายลดลง หมายถึง รายการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ฝ่าฝืนกฎหมายที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของ อย. ได้รับการจัดการ และเมื่อตรวจติดตามรายการโฆษณาทางช่องทางสื่อเดิม ปรากฏว่าไม่พบรายการโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมายแล้ว
รายการโฆษณา หมายถึง ชิ้นงานโฆษณา สปอตโฆษณา (กรณีสื่ออินเทอร์เน็ตนับเป็น URL)
การจัดการ หมายถึง การดาเนินการเพื่อระงับหรือไม่ให้เผยแพร่โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย เช่น สั่งระงับโฆษณา/ขอความร่วมมือระงับโฆษณาและเปรียบเทียบปรับ ส่งพนักงานสอบสวน หรือส่งข้อมูลให้ กสทช. หรือหน่วยงานอืน่ ที่เกีย่ วข้อง หรือเจ้าของแพลตฟอร์มระงับหรือไม่ให้
เผยแพร่โฆษณา
สูตรการคานวณ (A-B) x 100 A คือ จานวนโฆษณาผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงที่ตรวจพบว่าผิดกฎหมายทั้งหมด
A B คือ จานวนโฆษณาผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงที่ตรวจติดตามจาก A แล้ว พบยังว่าผิดกฎหมาย
• ขอบเขตการประเมิน : การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประกอบด้วย โฆษณาทางสื่ออื่นใดที่สามารถกระจายโฆษณาได้ทั่วประเทศ เช่น สื่อสิ่งพิม พ์ซึ่งมีกองบรรณาธิการอยู่ในกรุงเทพมหานคร สื่อโทรทัศน์ (ยกเว้นเคเบิ้ลทีวี) สื่อวิทยุกระจายเสียงซึ่งมีที่ตั้งของสถานีที่ตั้งอยู่ใน
กรุงเทพมหานคร และสื่ออินเทอร์เน็ตหรือโซเชียลมีเดีย เช่น เว็บไซต์ทั่วไป เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม ยูทูป ลาซาด้า ช้อปปี้ ฯลฯ
• วิธีการเก็บข้อมูล : ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพรวบรวมข้อมูล
• แหล่งที่มาของข้อมูล : ศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปรามการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ กองผลิตภัณฑ์

เกณฑ์การประเมิน เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 40


เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50
2561 2562 2563 2564 2565 2566
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
- - 27.36 35.13 44.95 40
ร้อยละ 20

เงื่อนไข : -
หมายเหตุ : * 188
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4.1 : ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : JKPI
คาอธิบาย :
1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง อาหาร เครื่องสาอาง และผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่ผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย (นับเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ได้รบั การอนุมตั ิ อนุญาตจาก อย.) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
2. ที่ได้รับการตรวจสอบ หมายถึง ที่ได้รับการดาเนินการเก็บตัวอย่างตามแผนเก็บตัวอย่างและตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ไม่รวมผลการตรวจผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเฝ้าระวังด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น
3. ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน หมายถึง ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สุ่มตัวอย่างตรวจสอบแล้วพบว่าได้มาตรฐานตามที่ อย. กาหนด หรือให้ความเห็นชอบ (ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.เครื่องสาอาง
พ.ศ. 2558 พ.ร.บ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562) เป้าหมาย 050301 :
น้าหนัก รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
สูตรการคานวณ : จานวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด x 100 10
จานวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจสอบและได้รับผลวิเคราะห์ทั้งหมด ความงาม และแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 93
V01
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 สินค้าและบริการการท่องเที่ยวเชิง
สุขภาพ
2561 2562 2563 2564 2565 2566
92.23 94.22 94.76 94.26 96.47 93
F0101
มาตรฐานและความปลอดภัยของ
เกณฑ์การประเมิน สินค้าและบริการ
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 95.16 ร้อยละ 96.47 ร้อยละ 97.78

✓ ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงาน
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
เก็บตัวอย่าง ร้อยละ 40 ของแผนเก็บตัวอย่าง  ตัวชี้วัดบูรณาการหลายหน่วย
โปรดระบุ ...........................................
............................................................
............................................................

เงื่อนไข : การนับผลงาน ไม่นับรวมเรื่องร้องเรียน/กรณีพิเศษ ฯลฯ


ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : อย.
หมายเหตุ : 189
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด 4.2 :ร้อยละของสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : JKPI
คาอธิบาย : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
1. สถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง สถานที่ผลิต นาเข้า จาหน่าย ขาย อาหาร ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เฉพาะที่ต้องได้รับอนุญาตตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.ผลิตภัณฑ์
สมุนไพร พ.ศ. 2562
2. มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด หมายถึง มาตรฐานตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562
เป้าหมาย 050301 :
สูตรการคานวณ : จานวนสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด x 100 น้าหนัก รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
จานวนสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจสอบทั้งหมด 15 ความงาม และแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น
เป้าหมาย ปี 2566 : ร้อยละ 90
V01
ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ค่าเป้าหมาย 2566 สินค้าและบริการการท่องเที่ยวเชิง
2561 2562 2563 2564 2565 2566 สุขภาพ

92.67 96.47 96.01 88.96 98.75 90


F0102
มาตรฐานสถานประกอบการ
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100)
ร้อยละ 97.07 ร้อยละ 98.75 ร้อยละ 100
✓ ตัวชี้วัดเฉพาะหน่วยงาน

เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66)
ตรวจสถานที่ ร้อยละ 40 ของแผนเฝ้าระวัง  ตัวชี้วัดบูรณาการหลายหน่วย
โปรดระบุ ...........................................
............................................................
............................................................
เงื่อนไข : การนับผลงาน ไม่นบั รวมเรือ่ งร้องเรียน กรณีพิเศษ ฯลฯ
ผู้รับผิดชอบการรายงานผล : อย.
หมายเหตุ : 190
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้าหนัก potential
5
ตัวชี้วัด 5.1 ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนางานบริการ Agenda ตามมติคณะรัฐมนตรี (บังคับ)
คาอธิบาย : บทบาทของหน่วยงาน
• มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 สิงหาคม 2564 เห็นชอบการขับเคลื่อนการให้บริการประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 รวมงานบริการ 12 Agenda ชื่องานบริการ Agenda ระบบการอนุญาตวัตถุ
• ส านั ก งาน ก.พ.ร. ก าหนดให้ ห น่ ว ยงานเจ้ า ภาพหลั ก และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งจั ด ท าทิ ศ ทางการพั ฒ นา (Roadmap) ภายในระยะ
ไม่เกิน 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) และจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในการขับเคลื่อนเป้าหมายที่กาหนดในแต่ละปี อันตราย ณ จุดเดียว (HSSS)
• แผนปฏิบั ติ การ (Action Plan) ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 หมายถึง แผนดาเนินการที่ส่ วนราชการระบุรายละเอียดกิจกรรมส าคัญที่ต้อง ◻ หน่วยงานเจ้าภาพหลัก
ดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้กาหนดไว้ใน Roadmap ปี 2566 โดยระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบให้ชัดเจน/ผลผลิตที่จะได้รับเป็นราย  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เดือนหรือรายไตรมาสเพื่อใช้ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อน/เป้าหมายในการวัดความสาเร็จ ของแต่ละไตรมาส/การระบุเป้าหมายและ
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ :
แนวทางการประเมิน : การรายงานผล 12 เดือน : กาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก
• ประเมินความสาเร็จจากการดาเนินงานตามกิจกรรมที่ได้ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปี 2566 กรมโรงงานอุตสาหกรรม รายงานผลการดาเนินการตาม
• โดยพิจารณาจากจานวนกิจกรรมทั้งหมดที่ได้กาหนดไว้ในแต่ละไตรมาสที่ต้องดาเนินการ สามารถดาเนินการได้ตามแผนระยะเวลาที่กาหนด แผนปฏิบัติการรายปี (ในภาพรวม) ระบุผลผลิตหรือ
• กรณีหน่วยงานเกี่ยวข้องในงานบริการ Agenda หลายงานบริการ เป็นการวัดร้อยละความสาเร็จเฉลี่ยของงานบริการ Agenda ที่เกี่ยวข้อง ความก้าวหน้า/ผลสาเร็จการดาเนินการของแต่ละหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องที่ระบุไว้
เกณฑ์การประเมิน :
• สานักงาน ก.พ.ร. (ทีมขับเคลื่อน e-Service) ติดตาม
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) ความก้าวหน้าทุก 2 เดือน (ช่วงวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม ดาเนินการได้ตาม (เริ่ม ม.ค. 66)
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566 แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566 แผนปฏิบัติการ (Action Plan) พ.ศ. 2566
ร้อยละ 80 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 • การกาหนดเป้าหมาย 6 เดือน : กาหนดเป้าหมายตาม
กิจกรรมที่หน่วยงานเกี่ยวข้องผลักดัน หรือกาหนด
เป้าหมายร่วมกันทุกส่วนราชการ
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan)
ทดสอบระบบ

191
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล น้าหนัก potential
10
ตัวชี้วัด 5.2 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงกระบวนงาน (e-Service)
คาอธิบาย : เป้าหมายการยกระดับงานบริการ 3 ระดับ ได้แก่
• เป็นการประเมินผลสาเร็จของการยกระดับงานบริการของส่วนราชการ ไปสู่การให้บริการผ่านออนไลน์เพื่อลดภาระการ ระดับ 1 (Level 1 : L1)
เดินทางมาติดต่อราชการของประชาชน โดยมีเป้าหมายให้มีการยกระดับงานบริการออนไลน์แบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบ งานบริการที่ยื่นคาขอและเอกสารที่เกี่ยวข้องผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
กระบวนการ (End-to-End Process) ตั้งแต่ยื่นคาขอทางอิเล็กทรอนิกส์ (L1) ชาระค่าธรรมเนียม/ค่าบริการทาง ระดับ 2 (Level 2 : L2)
อิเล็กทรอนิกส์ (L2) (ถ้ามี) การออกเอกสารราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ (L3) งานบริการที่ยื่นคาขอและชาระค่าธรรมเนียมผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
หรือช่องทางอื่น ๆ และมีการออกใบเสร็จรับเงินทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
• เป้าหมายงานระดับ 3 (Level 3 : L3) งานบริการที่ยื่นคาขอ ชาระค่าธรรมเนียม และออกใบอนุมัติ/ใบอนุญาต/เอกสาร ระดับ 3 (Level 3 : L3)
ทางราชการได้ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือการอนุมัติผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ งานบริการที่ยื่นคาขอ ชาระค่าธรรมเนียม และออกใบอนุมัติ/ใบอนุญาต/เอกสาร
• การจดทะเบียนสถานประกอบการเครื่องมือแพทย์ หมายถึง การจดทะเบียนสถานที่ที่นาเข้าหรือผลิตหรือเก็บรักษา ทางราชการได้ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือการอนุมัติผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือแพทย์
แนวทางการคัดเลือกงานบริการ
เกณฑ์การประเมิน : • เป็นงานบริการที่ส่วนราชการมีการพัฒนาเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์อยู่แล้ว (L1 /
L2) หรือ L3 แต่ยังไม่สมบูรณ์ เป้าหมาย เพื่อพัฒนางานบริการให้เป็นระบบ
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) บริการอิเล็กทรอนิกส์ได้ตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ (End-to-End Process)
ออกเอกสารเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ออกเอกสารเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สามารถให้บริการผ่านระบบบริการ • เป็นงานบริการที่ส่วนราชการมีแผนในการพัฒนาเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ และ/
(e-License/ (e-License/e-Certificate/e-Document) ออนไลน์ของหน่วยงานได้ ภายใน หรือ มีแผนในการพัฒนาระบบบริการผ่าน Biz Portal หรือ Citizen Portal
e-Certificate/e-Document) ตามมาตรฐาน ETDA ผ่านทาง Mobile สิงหาคม 2566 • เป็นงานบริการที่มีคู่มือประชาชน (คู่มือมาตรฐานกลางสาหรับประชาชน ตาม พ.ร.บ.
ผ่านทาง Mobile หรือ เว็บไซต์ หรือ เว็บไซต์ และผู้รับบริการสามารถ การอานายความสะดวกฯ)
print out เอกสารได้

เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan)


ปรับปรุงโครงสร้างข้อมูล (XML Schema) ให้เป็นไปตามมาตรฐานของสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.)

192
รายละเอียดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 6 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) น้าหนัก potential
15
คาอธิบาย
• PMQA 4.0 คือ เครื่องมือการประเมินระบบการบริหารของส่วนราชการในเชิงบูรณาการ เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการกับเป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทาง
ให้ส่วนราชการพัฒนาไปสู่ระบบราชการ 4.0 เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วนราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน
• พิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
• พิจารณาจากผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมทั้ง 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้
ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และ หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ
เกณฑ์การประเมินปี 2566 ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
ข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 ต่ากว่า 350 คะแนน
กลุ่มที่ 2 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ผลการดาเนินงาน 337.21 392.26 434.37 472.92
ตั้งแต่ 350 แต่น้อยกว่า 400 คะแนน
กลุ่มที่ 3 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
เกณฑ์การประเมิน ตั้งแต่ 400 - 450 คะแนน
กลุ่มที่ 4 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
เป้าหมายขั้นต้น (50) เป้าหมายมาตรฐาน (75) เป้าหมายขั้นสูง (100) มากกว่า 450 คะแนน
445 458.96 472.92
ขั้นตอนการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจพิจารณาจากเอกสารการสมัครเบื้องต้น (หากได้ 400 คะแนนขึ้นไป จะผ่านไป
เป้าหมายการดาเนินงาน 6 เดือน (ต.ค. 65 – มี.ค. 66) หรือแผนดาเนินงานตามตัวชี้วัดฯ (Action plan) ประเมินในขั้นตอนที่ 2)
มีแผนปรับปรุงองค์การ ขั้นตอนที่ 2 การตรวจเอกสารรายงานผลการดาเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0
(Application Report) (หากได้ 400 คะแนน จะผ่านไปประเมินในขั้นตอนที่ 3)
ขั้นตอนที่ 3 การตรวจประเมินในพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อยืนยันผลการตรวจ Application Report

193

You might also like