You are on page 1of 181

ขอสอบในสายอำนวยการ

(งานงบประมาณ การเงิน และการบัญชี

1. งบประมาณมีความสำคัญและประโยชนตอการบริหารอยางไร
ก. เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน
ข. เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัดใหมีประสิทธิภาพ
ค. เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เปนธรรม
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ก. เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน ถาหนวยงานจัดงบประมาณการใชจายอยางถูกตอง
และมีประสิทธิภาพ จะสามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญกาวหนาแกหนวยงานและสังคมโดยหนวยงานตอง
พยายามใชจายและจัดสรรงบประมาณใหเกิดประสิทธิผลไปสูโครงการที่จําเปน โครงการลงทุนเพื่อกอใหเกิด
ความกาวหนาของหนวยงาน/ ข. เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจำกัดใหมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก
ทรัพยากรหรืองบประมาณของหนวยงานมีจำกัด ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตองใชงบประมาณเปนเครื่องมือในการ
จัดสรรทรัพยากรหรือใชจายเงินใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนในการใชและจัดสรรเงินงบประมาณไปใน
แตละดาน และมีการวางแผนการปฏิบัติงานในการใชจายทรัพยากรนั้น ๆ ดวย เพื่อที่จะกอใหเกิดประโยชน
สูงสุดในเวลาที่เร็วที่สุด และใชทรัพยากรนอยที่สุด/ ค. เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่
เปนธรรม งบประมาณสามารถใชเปนเครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่เปนธรรมไปสูจุดที่มีความจําเปน
และทั่วถึงที่จะทําใหหนวยงานนั้นสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ระบบงบประมาณของประเทศไทยในปจจุบันคือระบบงบประมาณแบบใด
ก. แบบแสดงรายการ
ข. แบบแสดงแผนงาน
ค. แบบมุงเนนแผนงานตามยุทธศาสตร
ง. แบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร
(ตอบขอ ง. (สำนักงบประมาณไดมีการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณแบบแผนงาน เปนระบบมุงเนน
ผลงานตามยุทธศาสตร ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2546 เพื่อใหการจัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการ
งบประมาณสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรของรัฐบาลใหบรรลุตามเปาหมายที่กำหนดไวและเกิดประโยชน
อยางแทจริง

3. จำนวนเงินอยางสูงที่อนุญาตใหจายหรือใหกอหนี้ผูกพันไดตามวัตถุประสงคและภายในระยะเวลาที่
กำหนดไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย เปนความหมายของขอใด
ก. งบประมาณรายจาย
ข. งบประมาณรายจายขามป
ค. งบประมาณเหลื่อมป
ง. งบประมาณจัดสรร
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 4
2

4. หนวยหลักในการจัดทำงบประมาณประจำปคือ
ก. กระทรวงการคลัง
ข. สำนักงบประมาณ
ค. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 4 การจัดทำงบประมาณ มาตรา 24

5. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 บัญญัติใหการบริหารงบประมาณรายจาย ตองสอดคลอง


ตามกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
ข. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม
ค. พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491
ง. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 6

6. การกำหนดกรอบประมาณการรายจาย ประมาณการรายรับ และฐานะการคลังของรัฐบาล ตองทำ


ลวงหนาเปนระยะเวลาเทาใด
ก. ไมนอยกวา 1 ป
ข. ไมนอยกวา 3 ป
ค. ไมนอยกวา 5 ป
ง. ไมนอยกวา 7 ป
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 หมวด 2 นโยบายการเงินการคลัง
สวนที่ 2 การดำเนินการทางการคลังและงบประมาณ มาตรา 13

7. ผูอำนวยการตามบทนิยามศัพทแหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมายถึงใคร


ก. ผูอำนวยการสำนักบูรณาการและยุทธศาสตรชาติ
ข. ผูอำนวยการสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ค. ผูอำนวยการสำนักงบประมาณ
ง.ผูอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4

8. หนวยงานของรัฐที่ขอรับหรือไดรับจัดสรรงบประมาณรายจาย และใหหมายความรวมถึง สภากาชาดไทย


ดวย คือความหมายของคำใด
ก. สวนราชการ
ข. รัฐวิสาหกิจ
ค. หนวยงานของรัฐ
ง. หนวยรับงบประมาณ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4
3

9. การนับปงบประมาณเริ่มจากวันใดถึงวันใด
ก. ม.ค. – 31 ธ.ค.
ข. ก.ย.ปปจจุบัน – 31 ส.ค. ปถัดไป
ค. ต.ค. ปปจจุบัน – 30 ก.ย. ปถัดไป
ง. ธ.ค. ปปจจุบัน – 30 พ.ย. ปถัดไป
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4

10. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 กำหนดให


งบรายจายประจำจะตองเบิกจายสะสมเมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 รอยละเทาใด
ก. รอยละ 100
ข. รอยละ 98
ค. รอยละ 90
ง. เบิกเทาใดก็ได
(ตอบขอ ข. (หนังสือ กรมบัญชีกลาง ดวนที่สุดที่ กค 0412.4/ว1299 ลง 30 ธันวาคม 2564
เรื่องมาตรการเรงรัดการเบิกจายงบประมาณและการใชจายภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565

11. แผนงานใดที่หนวยจัดทำขอเสนองบประมาณเบื้องตนเพื่อเปนคาใชจายในการดำเนินการตามหนาที่ความ
รับผิดชอบเปนปกติประจำตามภารกิจ และกฎหมายจัดตั้งของหนวยงานนั้นๆ ซึ่งเปนกลุมงบประมาณรายจาย
กระทรวง/หนวยงาน (Function
ก. แผนงานยุทธศาสตร
ข. แผนงานบูรณาการเพื่อพัฒนาพื้นที่ระดับภาค
ค. แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ
ง. แผนงานพื้นฐาน
(ตอบข อ ง. (คู  มื อการปฏิ บ ั ติ การจั ด ทำคำของบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ ของสำนัก
งบประมาณ

12. งบประมาณ รายการเงินเดือน คาจางประจำ คาเชาบาน ตองจัดทำงบประมาณไวในแผนงานใด


ก. แผนงานบุคลากรภาครัฐ
ข. แผนงานพื้นฐาน
ค. แผนงานยุทธศาสตร
ง. แผนงานบูรณาการ
(ตอบขอ ก. (แผนงานบุคลาการภาครัฐหมายถึง แผนงานที่แสดงรายจายเพื่อการบริหารงานบุคลากร
ภาครัฐ ที่กำหนดไวในงบบุคลากร งบดำเนินงาน รวมทั้งงบเงินอุดหนุน และงบรายจายอื่น ซึ่งเบิกในลักษณะ
งบดังกลาว เกณฑการพิจารณารายการคาใชจายตามแผนบุคลากรภาครัฐ ใหใชจายสำหรับบุคลากรภาครัฐ
จัดสรรงบประมาณโดยมีอัตราคาใชจายเปนรายเดือน หรือจายควบกับเงินเดือน มีจำนวน และอัตราคาใชจาย
ตามกฎหมาย และระเบียบกำหนด
4

13. ตามแนวทางการบริหารงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ถาหนวยงานของ ตร.


มีความจำเปนตองขอโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ไดรับจัดสรรขามงบรายจาย หนวยจะตองดำเนินการ
อยางไรกอน
ก. ใชอำนาจ ผบช. ปรับแผนโอนเปลี่ยนแปลงไปรายการอื่นไดทันที
ข. ใหหนวยขอรับความเห็นขอบจาก ตร. กอนดำเนินการทุกกรณี
ค. ใหสงคืนเงินมาที่ ตร. (ผาน งป.สงป. เพื่อดำเนินการโอนเปลี่ยนแปลงให
ง. ใหขอรับความเห็นชอบไปยังสำนักงบประมาณทุกกรณี
(ตอบขอ ข. (หนังสือ ตร.ดวนที่สุดที่ 0010.181/ว 27 ลง 30 กันยายน 2564 เรื่องแนวทางการ
บริหารงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ ตร. ขอ 3.2

14. หนวยรับงบประมาณจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ สงใหสำนักงบประมาณให


ความเห็นชอบเมื่อใด
ก.กอนวันเริ่มปงบประมาณไมนอยกวา 15 วัน
ข.เมื่อเริ่มตนการใชจายงบประมาณไมนอยกวา 15 วัน
ค.ภายใน 15 วันนับแตสิ้นไตรมาส
ง.ภายใน 15 วันนับแตสิ้นเดือน
(ตอบขอ ก. (ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2562 หมวด 2 แผนการปฏิบัติงานและ
แผนการใชจายงบประมาณ ขอ 9

15. หลักเกณฑวาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร


พ.ศ. 2562 จำแนกประเภทงบประมาณรายจายเปนกี่งบรายจาย
ก. 4 งบรายจาย
ข. 5 งบรายจาย
ค. 6 งบรายจาย
ง. 7 งบรายจาย
(ตอบขอ ข. (หลักเกณฑ วาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงิน
จัดสรร พ.ศ.2562 ขอ 3

16. รายการในขอใด ที่ไมไดเบิกจายโดยตรงกับกรมบัญชีกลาง


ก. คารักษาพยาบาลของขาราชการ
ข. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตรของขาราชการ
ค. เงินบำเหน็จ บำนาญ
ง. เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขาราชการ
(ตอบขอ ง. (ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2562 หมวด 5 การบริหารงบประมาณ
รายจายงบกลาง ขอ 30
5

17. รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานประจำไดแกรายจายในลักษณะใด
ก. คาตอบแทนใชสอย และวัสดุ
ข. คาสาธารณูปโภค
ค. คาครุภัณฑ
ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ข.
(ตอบขอ ง. (รายจายประจำหมายถึง รายจายที่รัฐบาลจายเพื่อใหไดรับสิ่งตอบแทนเปนบริการหรือ
สิ่งของที่ไมใชทรัพยสินประเภททุน

18. งบประมาณรายจายที่ตั้งไวเพื่อจัดสรรใหแกหนวยรับงบประมาณใชจาย โดยแยกตางหากจากงบประมาณ


รายจายของหนวยรับงบประมาณ และใหมีรายการเงินสำรองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเปนดวย คือความหมายในขอใด
ก.งบประมาณรายจายบูรณาการ
ข.งบประมาณรายจายขามป
ค.งบประมาณรายจายงบกลาง
ง. งบประมาณรายจายบุคลากร
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 15

19. ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับเงินผลประโยชนเปนเช็ค พ.ศ. 2537 แบงเช็คที่จะรับชำระเงิน


ผลประโยชนเปนกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
(ตอบขอ ค.) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับเงินผลประโยชนเปนเช็ค พ.ศ. 2537 หมวด 2
ขอ 8

20. การขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังในกรณีที่ไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ สามารถ


ดำเนินการไดตอเมื่อ
ก. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีการกันเงินไวตามระเบียบ
ข. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และไมไดกันเงินไวตามระเบียบ
ค. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีเงินเหลือจายเพียงพอ
ง. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีความจำเปนเรงดวน
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 6 การควบคุมงบประมาณ มาตรา 43

21. จากคำตอบในขอขางตน หากมีความจำเปนตองขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกลาว ตองดำเนินการอยางไร


ก. ขอทำความตกลงกั บ กระทรวงการคลั ง เพื ่ อ ขอขยายเวลาออกไปได อ ี ก ไม เ กิ น 6 เดื อ น
ข. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณและกระทรวงการคลัง เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 3 เดือน
ค. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณและกระทรวงการคลัง เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 6 เดือน
6

ง. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ กระทรวงการคลังและคณะรัฐมนตรี เพื่อขอขยายเวลาออกไป


ไดอีกไมเกิน 6 เดือน
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 6 การควบคุมงบประมาณ มาตรา
43

22. งบประมาณที่ ม ี ว งเงิ น ตั ้ ง แต 1,000 ล า นบาท ขึ ้ น ไป จะต อ งดำเนิ น การอย า งไรจึ ง จะเป น ไปตาม
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัดเสนอผูอำนวยการสำนักงบประมาณตั้งงบประมาณ
ข. รั ฐ มนตรี เ จ า สั ง กั ด เสนอผู  อ ำนวยการสำนั ก งบประมาณเพื ่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี อ นุ ม ั ติ
ค. หน ว ยรั บ งบประมาณเสนอผู  อ ำนวยการสำนั ก งบประมาณเพื ่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี อ นุ ม ั ติ
ง. หนวยรับงบประมาณเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติกอนยื่นคำขอตั้งงบประมาณตอผูอำนวยการสำนักงาน
ประมาณ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สวนที่ 1 การขอตั้งงบประมาณรายจาย
มาตรา 26

23. การให ใช งบประมาณรายจ า ยประจำปงบประมาณที่ล ว งแลว ไปพลางก อน จะกระทำไดในกรณี ใ ด


ก. คณะรัฐมนตรีบริหารการงบประมาณผิดพลาด
ข. รัฐสภาไมรับกฎหมายไวพิจารณา
ค. มีความจำเปนในสถานการณฉุกเฉิน
ง. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจำปออกใชไมทันปงบประมาณใหม
(ตอบขอ ง. (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตา 141 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.
2561 มาตรา 12

24. งบประมาณรายจายของหนวยรับงบประมาณที่กำหนดไวตามกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย จะ
โอนหรือนำไปใชสำหรับหนวยรับงบประมาณอื่นมิได เวนแต
ก. มีพระราชบัญญัติใหโอนหรือนำไปใชได
ข. การโอนงบประมาณรายจายบูรณาการภายใตแผนงานบูรณาการเดียวกัน
ค. การโอนงบประมาณรายจายบุคลากรภายใตแผนงานบุคลากรภาครัฐ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 5 การบริหารงบประมาณรายจาย
มาตรา 35

25. ขอใดไมใชระบบการติดตามประเมินผลทางอิเล็กทรอนิกสของสำนักงบประมาณ
ก. ระบบการวางแผนและจัดทำงบประมาณ(e-Budgeting
ข. การวิเคราะหระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART
ค. ระบบติดตามและรายงานความกาวหนาในการใชจายงบประมาณ (BB EvMIS
ง. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS
7

(ตอบข อ ข. (ระบบการวางแผนและจัด ทำงบประมาณ (e-Budgeting เปน เครื่องมือสำคัญ ในการ


ขับเคลื่อนกระบวนการงบประมาณของทุกหนวยงาน ใหเปนไปตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศของรัฐบาล
อยางมีการบูรณาการในมิติหนวยงาน (Function มิตินโยบายสำคัญ (Agenda และมิติพื้นที่ ( Area / ระบบ
ติดตามและรายงานความกาวหนาในการใชจายงบประมาณ (BB EvMIS เปนเครื่องมือในการติดตามผลการ
ปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณ / ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS
เปนเครื่องมือ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลัง ภาครัฐ /การวิเคราะหระดับความสำเร็จของ
การดำเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART เปนเครื่องมือประเมินตนเองของหนวยงาน

26. สิ่งของที่จัดเปนครุภัณฑโดยสภาพ
ก.สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนแตตามปกติมีอายุการใชงานไมยืนนาน หรือเมื่อนำไปใชงานแลวเกิด
ความชำรุดเสียหาย ไมสามารถซอมแซมใหใชงานไดดังเดิม หรือซอมแซมแลวไมคุมคา
ข. สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใชงานยืนนาน เมื่อชำรุดเสียหายแลวสามารถ
ซอมแซมใหใชงานไดดังเดิม
ค. สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะเมื่อใชแลวยอมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือเปลี่ยนสภาพไปใน
ระยะเวลาอันสั้นหรือไมคงสภาพเดิม
ง. สิ่งของที่ใชเปนอุปกรณประกอบหรืออะไหลสำหรับการซอมแซมบำรุงรักษาทรัพยสินใหกลับคืนสภาพ
ดังเดิมที่มีลักษณะเปนการซอมบำรุงปกติหรือซอมกลาง
(ตอบขอ ข. (หนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุดที่ นร 0704/ว 68 ลง 29 เมษายน 58 เรื่อง การปรับปรุง
หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ และหนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 37 ลง 6 ม.ค.59
เรื่องแนวทางการพิจารณาสิ่งของที่จัดเปนวัสดุและครุภัณฑตามหลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ

27. หนวยรับงบประมาณตองรายงานผลการใชจายงบประมาณ และผลการปฏิบัติงานตอผูอำนวยการสำนัก


งบประมาณอยางไร
ก. ภายใน 30 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ข. ภายใน 45 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 90 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ค. ภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 90 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ง. ภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 120 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 7 การประเมินและการรายงาน สวน
ที่ 2 การรายงาน มาตรา 50

28. การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจายเพื่อจัดหาครุภัณฑหรือสิ่งกอสรางจะตองมีวงเงินตอ
หนวยต่ำกวาเทาใดโดยไมตองขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ
ก.ต่ำกวา 10 ลานบาทและต่ำกวา 1 ลานบาทตามลำดับ
ข.ต่ำกวา1 ลานบาทและต่ำกวา 10 ลานบาทตามลำดับ
8

ค.ต่ำกวา1 แสนบาทและต่ำกวา 1 ลานบาทตามลำดับ


ง.ต่ำกวา 5 ลานบาทและต่ำกวา 10 ลานบาทตามลำดับ
(ตอบขอ ข. (หลักเกณฑวาดวยการใชจายงบประมาณ การโอนจัดสรร หรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร
พ.ศ. 2562 ขอ.8

29. คาใชจายตามแผนงานบุคลากรภาครัฐขอใดไมถูกตอง
ก. เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสูรบ
ข. คาตอบแทนพนักงานราชการ
ค. คาจางประจำ
ง. คารักษาพยาบาล
(ตอบขอ ง. (เกณฑการพิจารณารายการคาใชจายตามแผนบุคลากรภาครัฐ ใหใชจายสำหรับบุคลากร
ภาครัฐ จัดสรรงบประมาณโดยมีอัตราคาใชจายเปนรายเดือน หรือจายควบกับเงินเดือน มีจำนวนและอัตรา
คาใชจายตามกฎหมาย และระเบียบกำหนด

30. งบดำเนินงาน คือ


ก. คาครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง
ข. คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ และคาสาธารณูปโภค
ค. เงินเดือนและคาจางประจำ
ง. รายจายอื่นๆ
(ตอบข อ ข. (หลั กการจำแนกประเภทรายจ า ยตามงบประมาณ แกไขปรั บ ปรุ งตามหนั งสื อ สำนั ก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง 29
เม.ย.58 (1.2 งบดำเนินงาน

31. คาใชจายในการเดินทางไปตางประเทศชั่วคราว เปนงบประมาณประเภทใด


ก. งบรายจายอื่น
ข. งบกลาง
ค. งบดำเนินงาน
ง. งบเงินอุดหนุน
(ตอบขอ ก. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.5 งบรายจายอืน่ (4

32. งบดำเนินงานรายการใดที่หนวยไมสามารถเอาไปใชเปนรายการอื่นได แตสามารถเอารายการอื่นมาใช


ในรายการนี้ได
ก. คาเบี้ยเลี้ยง
ข. คาสาธารณูปโภค
ค. คาซอมแซมยานพาหนะ
ง. คาจางเหมาบริการ
9

(ตอบขอ ข. (หนังสือ ตร.ดวนที่สุดที่ 0010.181/ว 27 ลง 30 ก.ย.64 เรื่องแนวทางการบริหาร


งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ ตร. ขอ 2.3

33. เงินคาเชาบานขาราชการ จัดอยูในงบรายจายใด


ก. งบบุคลากร
ข. งบดำเนินงาน
ค. งบเงินอุดหนุน
ง. งบอื่นๆ
(ตอบขอ ข. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.2.1 (1

34. รายจายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟาหรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณตางๆ ซึ่งเปนการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร


เปนรายจายประเภทใด
ก. งบลงทุน
ข. งบดำเนินงาน
ค. งบรายจายอื่น
ง. งบคาใชสอย
(ตอบข อ ก. (หลั กการจำแนกประเภทรายจ ายตามงบประมาณ แกไขปรับ ปรุ งตามหนังสื อ สำนั ก
งบประมาณที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.3.2 คาที่ดินและสิ่งกอสราง (3

35. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการในประเทศ อยูในงบรายจายใด


ก. งบดำเนินงาน
ข. งบลงทุน
ค. งบอุดหนุน
ง. งบบุคลากร
(ตอบขอ ก. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68
ลง 29 เม.ย.58 (1.2.2 คาใชสอย(1

36. การจายเงินเดือนขาราชการประจำเดือน ใหจายในวันใด


ก. วันทำการกอนวันทำการสุดทายของเดือนสามวันทำการ
ข. วันทำการสุดทายของเดือน
ค. กอนวันสุดทายของเดือนสามวัน
ง. วันสิ้นเดือน
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 พ.ศ.2549 มาตรา 20
10

37. ร.ต.ท.มานะ วองไว ไมมาปฏิบัติราชการ ในเดือนธันวาคม รวมแลว 14 วันทำการ แตมิไดชี้แจงเหตุผล


ความจำเปนใหผูบังคับบัญชาทราบถึงสาเหตุที่ไมมาปฏิบัติราชการแตอยางใดอยากทราบในเดือนธันวาคม
ร.ต.ท.มานะ มีสิทธิไดรับเงินเดือนหรือไมอยางไร
ก. มีสิทธิไดรับเต็มเดือนเนื่องจากขาดราชการไมเกิน 15 วันทำการ
ข. มีสิทธิไดรับเงิน 17 วัน เนื่องจากขาดราชการ 14 วัน
ค. ไมมีสิทธิไดรับเงินเดือน
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบขอ ข.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 มาตรา 16

38. กรณีที่บุตรไปยื่นคำรองตอศาลสั่งเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมาย จะตองยื่นคำรองตอศาลภายในกี่ ป


นับแตวันที่บิดาถึงแกความตายหรือนับแตวันที่ไดรูหรือไดรูถึงความตายของบิดา
ก. 1 ป
ข. 2 ป
ค. 3 ป
ง. 4 ป
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ.2494 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
14 พ.ศ.2526 มาตรา 4

39. การจายเงินบำนาญจะจายในวันใดของเดือน
ก. กอน 5 วันทำการสุดทายของเดือน
ข. กอน 3 วันทำการสุดทายของเดือน
ค. วันทำการสุดทายของเดือน
ง. ไมมีขอถูก
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 พ.ศ.2549 มาตรา 43

40. ความหมายของครุภัณฑ คืออะไร


ก. มีความคงทนและมีอายุการใชงานเกินกวา 1 ป
ข. มีความคงทนและมีอายุการใชงานไมยืนนาน
ค. มีเพื่อใชในการดำเนินงาน มีสภาพเปลี่ยนไปในเวลาอันสั้น
ง. เปนสิ่งของที่เมื่อซอมแซมแลวไมคุมคา
(ตอบขอ ก.)

41. การบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจางในระบบ NEW GFMIS Thai สิ่งใดที่สามารถบงบอกไดวาเปนคาครุภัณฑ


ก. รหัสงบประมาณ
ข. แหลงของเงิน
ค. รหัสกิจกรรม
11

ง. ถูกทั้ง ก และ ข
(ตอบขอ ง.)

40. การกอสรางอาคารที่ทำการสำหรับสวนราชการตามสถานที่ตางนั้น โดยรวมความหมายของ “อาคาร”


ประกอบดวยอะไรบาง
ก. อาคาร,รั้ว,เครื่องปรับอากาศ ฯลฯ
ข. อาคาร,เครื่องปรับอากาศ,คาติดตั้งแอร ฯลฯ
ค. อาคาร,ลิฟท,คาปูสนามหญารอบอาคาร ฯลฯ
ง. อาคาร,สนามกีฬา,คาตอทอรางน้ำ ฯลฯ
(ตอบขอ ก. (ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4

41. การแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในรายงานผลการตรวจรับ/ตรวจการจาง หัวหนาสวนราชการตอง


ทราบตามรายงานผลการตรวจรับ รายการคาครุภัณฑ ตามระเบียบพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจางและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ขอใด
ก. ขอ 175(1
ข. ขอ 175(4
ค. ขอ 176(1
ง. ขอ 176(4
(ตอบข อ ข. (ตามระเบี ย บกระทรวงการคลังวาดว ย การจัดซื้อจัดจางและการบริห ารพัส ดุภ าครัฐ
พ.ศ.2560 ขอ 175 (4

42. ขอใด ไมใช การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร


ก. การเดินทางไปราชการประจำในตางประเทศ
ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราวในประเทศ
ค. การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม
ง. การเดินทางไปราชการประจำในประเทศ
(ตอบขอ ก.) (คาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ประกอบดวย ไปราชการชั่วคราว ไป
ราชการประจำ กลับภูมิลำเนา

43. ขอใด ไมใช คาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว


ก. คาเชาที่พัก
ข. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ค. คาพาหนะ
ง. คาการศึกษาบุตร
(ตอบขอ ง.) (คาใชจายในการเดินทางชั่วคราวประกอบดวย คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง คาเชาที่พัก คาพาหนะ
12

44. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง เบิกในลักษณะใด


ก. รายเดือน
ข. รายวัน
ค. เหมาจาย
ง. แลวแตจะเบิก
(ตอบขอ ค.) (มาตรา 15 เบี้ยเลี้ยงเดินทางใหเบิกไดในลักษณะเหมาะจายภายในวงเงินและเงื่อนไขที่
กระทรวงการคลังกำหนด ตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม

45. การเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ กำหนด ใหเบิกจายจากแหลงของเงินใด


ก. งบบุคลากร
ข. งบกลาง
ค. งบลงทุน
ง. งบดำเนินงาน
(ตอบขอ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ
พ.ศ.2553 ขอ 4 รายการคาใชจาย

46. ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินและ


การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 กำหนดการจายเงินในปจจุบันนี้ ขอไหนถูกตอง
ก. การจายเงินผาน e-payment หรือ เช็ค หรือเงินสด ก็ได
ข. การจายเงินเปนเงินสดหรือเช็ด ก็ได กรณีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท
ค. การจายเงินใหผาน e-payment ใหแกผูมีสิทธิรับเงิน
ง. การจายเงินใหแกผูมีสิทธิรับเงิน ผาน e-payment หรือ เช็ค ก็ได
(ตอบขอ ค.) (ขอ 52 วิธีปฏิบัติในการจายเงิน

47. ขอใดกลาวไมถูกตองในการนำเงินสงคลังและฝากคลัง
ก. เงินเบิกจากคลัง ไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสงคืนคลังภายใน 15 วันทำการ
ข. เงินนอกงบประมาณ ฝากคลังอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
ค. เงินรายไดแผนดิน นำสงอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง วันใดรับเงินเกิน 5,000 บาท นำสงโดยดวนอยาง
ชาไมเกิน 3 วันทำการ
ง. ใหหัวหนาหนวยงานหรือผูไดรับมอบหมายเปนผูนำเงินสงคลัง
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ
รักษาเงิน และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 101 (2

48. เงินที่ขอเบิกจากคลังใชไมหมดสงคืนภายในปงบประมาณเรียกวา
ก. เงินเหลือจายปเกาสงคืน
ข. เงินรายไดแผนดิน
ค. เงินเบิกเกินสงคืน
ง. เงินกันไวเบิกเหลื่อมป
13

(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ


รักษาเงิน และการเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4

49. คาใชจายในตรวจเยี่ยมบำรุงขวัญขาราชการตำรวจที่ไดรับบาดเจ็บที่พักรักษาตัว ณ รพ.ตร. และ


สถานพยาบาลอื่นๆ สามารถเบิกไดครั้งละเทาไร
ก. 2,000 บาท
ข. 3,000 บาท
ค. 4,000 บาท
ง. 5,000 บาท
(ตอบขอ ง.) (หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการ
ปฏิบัติหนาที่ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ ตร. ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 2 มิ.ย.2560

50. รายไดใดที่ไมใชรายไดของกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ก. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
ข. เงินคาปรับตามคำพิพากษาของศาล
ค. เงินที่ไดรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ง. ดอกผลของกองทุน
(ตอบขอ ข.) (ตามพระราชบัญญัติตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 113

51. คาใชจายใด ไมสามารถเบิกจากกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญาได


ก. คาตอบแทนบุคคลภายนอกที่ใหขอมูลขาวสารในการติดตามจับกุมผูตองหาตามหมายจับ
ข. เงินรางวัลเจาหนาที่ผูจับ
ค. เงินคาใชจายในการเดินทางไปสงตัวผูตองหา
ง. เงินสินบนแกผูใหเบาะแสจนจับกุมผูตองหาตามประกาศสืบจับและใหสินบนของตำรวจได
(ตอบขอ ข.) (ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา วาดวย
หลักเกณฑการจายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของขาราชการตำรวจในการทำหนาที่เกี่ยวกับการ
สืบสวนและสอบสวนคดีอาญา พ.ศ.2563 ขอ 14

52. การจายเงินยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักรใหจายไดสำหรับระยะเวลา


การเดินทางที่ไมเกินกี่วัน
ก. สิบหาวัน
ข. สามสิบวัน
ค. หกสิบวัน
ง. เกาสิบวัน
(ตอบขอ ง.) (ระเบียบ กค วาดวยการเบิกเงิน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงิน
สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 64
14

53. สวนราชการใดมีเงินรายไดแผนดินเก็บรักษาในวันใดเปนเงินสดเกินหนึ่งหมื่นบาท ใหนำสงเงินภายใน


กำหนดเวลาขอใด
ก. นำเงินสงภายในวันที่ไดรับเงิน
ข. นำเงินสงโดยเร็ว ภายในวันทำการถัดไป
ค. นำเงินสงโดยดวน แตไมเกินสามวันทำการถัดไป
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (ระเบียบ กค วาดวยการเบิกเงิน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงิน
สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 101 (2

54. ขอใดตอไปนี้เปนโครงการของ Nation e-Payment Master Plan


ก. การใหความรูและสงเสริมการใชธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส
ข. การขยายการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส โดยเฉพาะบัตรเดบิต
ค. e-Payment ภาครัฐ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (แผนยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ
(National e-Payment Master Plan

55. การกำหนดสิทธิและหนาที่ในการทำรายการใหผูใชในงานระบบ KTB Corporate Online เปนหนาที่ของ


ผูใด
ก. Company Administrator Maker
ข. Company Administrator Authorizer
ค. ถูกทั้งขอ ก. และ ข.
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ก.) (อำนาจหนาที่ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 109 ลง 9 ก.ย.
59 เรื่อง การกำหนดตัวบุคคลผูมีสิทธิเขาใชงานในระบบ KTB Corporate Onlineขอ 1.1 (1

56. การจายเงินผานระบบ KTB Corporate Online กรณีการจายเงินเพื่อชำระหนี้บุคคลที่สามที่มีกฎหมาย


อนุญาตใหจายได ขอใดถูกตอง
ก. เงินคาน้ำประปา/คาไฟฟา
ข. หนี้ธนาคาร/หนี้สหกรณ
ค. หนี้ กยศ.
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (หนี้กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา – กยศ. เปนหนี้ที่จะตองชดใชคืนตาม พ.ร.บ.กองทุน
เงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2560

57. การรับเงินผานบริการชำระเงิน (Bill Payment) ผานระบบ KTB Corporate Online ขอใดถูกตอง


ก. สวนราชการใหผูชำระเงินใชใบนำฝากเงิน (Pay-In Slip) ซึ่งปรากฏรหัสหนวยงานผูเบิกที่ใชสำหรับทำ
รายการชำระเงินในการชำระเงินผานชองทางการใหบริการของสาขาธนาคาร
15

ข. สวนราชการที่รับชำระเงินตองออกใบเสร็จรับเงินใหกับผูชำระเงินทุกครั้ง
ค. การรับเงินของสวนราชการใหใชบัญชีเงินฝากธนาคารชื่อบัญชี “...ชื่อสวนราชการ... เพื่อการนำเงินสง
คลังหรือฝากคลัง”
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ขอ ก.ที่ถูกตอง สวนราชการกำหนดแบบใบแจงการชำระเงินเพื่อใหผูชำระเงินใชในการ
ชำระเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารตามที่สวนราชการกำหนด ขอ ข. ที่ถูกตอง เวนแตกรณีที่ผูชำระเงินตองการ
ใบเสร็จรับเงิน ขอ ค. ที่ถูกตอง “...ชื่อสวนราชการ...เพื่อการรับเงินทางอิเล็กทรอนิกส”

58. การนำเงินสงคลังและฝากคลังผานระบบ KTB Corporate Online ขอใดไมถูกตอง


ก. ใหสวนราชการทำรายการนำเงินสงคลังหรือฝากคลัง ในวันทำการถัดจากวันที่มีการรับเงินกอน
ข. ใหทุกสวนราชการนำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง ผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment)
ค. กรณีสวนราชการโอนเงินจากบัญชีธนาคารพาณิชยอื่นที่ไมใชธนาคารกรุงไทยฯ ใหทำผานระบบ
Internet Banking ของแตละธนาคาร เขาบัญชีเงินฝากธนาคารกรุงไทยฯ ที่เปดไวสำหรับนำเงินสงคลังหรือ
ฝากคลัง
ง. ทุกสิ้นวันทำการ ใหสวนราชการตรวจสอบการนำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง จากเอกสารที่พิมพจาก
หนาจอการทำรายการสำเร็จ กับรายการสรุปความเคลื่อนไหวทางบัญชี ที่เรียกจากระบบ KTB Corporate
Online ใหถูกตองตรงกัน
(ตอบขอ ข (ไมใชทุกสวนราชการ ใหเฉพาะสวนราชการผูเบิก นำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง ผานระบบ
อิเล็กทรอนิกส (e-Payment หนังสือ กค ดวนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 140 ลง 19 ส.ค.63 ขอ 3 (3.1

59. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการปดงวดบัญชีในระบบ GFMIS


ก. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 10 ของเดือนนั้น
ข. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1– 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 15 ของเดือนนั้น
ค. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ค. (ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 36 ลง 3 ก.พ.2563

60. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการรับรูสินทรัพยของหนวยงาน
ก. สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั ้งแต
10,000 บาทขึ้นไป
ข. สินทรัพยที่ไดมากอนปงบประมาณ พ.ศ.2563 มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้งแต 5,000 บาท
ขึ้นไป
ค สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2562 มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้งแต 5,000 บาท
ขึ้นไป
16

ง. สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้ งแต


5,000 บาทขึ้นไป
(ตอบขอ ง. (ตามหนังสือ กระทรวงการคลัง ที่ กค 0410.3/ว43 ลง 29 ม.ค.2562

61. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการสงรายงานงบทดลองประจำเดือน ของสวนราชการที่เปนหนวยเบิกจาย


สวนกลาง
ก. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 10 ของเดือนนั้น
ข. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 15 ของเดือนนั้น
ค. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ง. (ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.3/ว 264 ลง 29 ก.ค.2558

62. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปและการขยายเวลาขอเบิกเงินของหนวยงาน
ก. การขอเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณใด ใหกระทำไดแตเฉพาะภายใน
ปงบประมาณนั้น หากไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ ใหขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังได
ในกรณีไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณหรือไดกันเงินไวแลว
ข. การขยายเวลาขอเบิ กเงินจากคลัง ใหขยายออกไปได อีกไม เกิน 6 เดือนของปงบประมาณถั ด ไป
เวนแตมีความจำเปนตองขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกลาว ใหขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง
เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 6 เดือน
ค. การขอเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณใด ใหกระทำไดแตเฉพาะภายใน
ปงบประมาณนั้น หากไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ ใหขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังได
ทุกกรณี ทั้งกรณีกอหนี้ผูกพันและไมมีหนี้ผูกพัน
ง. การขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป หนวยงานตองดำเนินการกอนสิ้นปงบประมาณ โดยปฏิบัติตามวิธีการ
ที่กระทรวงการคลังกำหนด
(ตอบขอ ค. (การขอขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังจะทำไดกรณีที่หนวยรับงบประมาณไดกอหนี้ผูกพันไว
กอนสิ้นปงบประมาณและไดมีการกันเงินไวตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจากคลังแลวเทานั้น

63. เงินประเภทใดที่สวนราชการไมสามารถนำไปใชจายได
ก. เงินงบประมาณ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินรายไดแผนดิน
ง. เงินอุดหนุนทุนวิจัย
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4 “เงินรายไดแผนดิน” หมายความวา เงินทั้งปวงที่หนวยงานของรัฐ
จัดเก็บหรือไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมาย
วาดวยเงินคงคลัง และกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐ บัญญัติไมใหหนวยงานของรัฐนั้น นำไปใช
จายหรือหักไวเพื่อการใด ๆ
17

64. เงินงบประมาณรายจายที่สวนราชการเบิกจากคลังไปแลว แตไมไดจายหรือจายไมหมด หรือจายไปแลวแต


ถูกเรียกคืน และไดนำสงคลังภายหลังสิ้นปงบประมาณ หรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไวเบิกเหลื่ อป
หมายถึงขอใด
ก. เงินนอกงบประมาณ
ข. เงินเหลือจายปเกาสงคืน
ค. เงินเบิกเกินสงคืน
ง. เงินจากการหักรายรับจายขาดและการถอนคืนเงินรายรับ
(ตอบขอ ข.) ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4 “เงินเหลือจายปเกาสงคืน” หมายความวา เงินงบประมาณรายจายที่สวน
ราชการเบิกจากคลังไปแลว แตไมไดจายหรือจายไมหมด หรือจายไปแลวแตถูกเรียกคืน และไดนำสงคลัง
ภายหลังสิ้นปงบประมาณหรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไวเบิกเหลื่อมป

65. การเบิกเงินของสวนราชการ จะเบิกจายไดก็ตอเมื่อ


ก. หนี้ถึงกำหนดชำระ หรือใกลจะถึงกำหนดชำระเบิกจายเงินตอนไหนก็ได
ข. เมื่อมีคาใชจายที่เกิดขึ้น เบิกจายไดตลอดทั้งปงบประมาณ
ค. หนวยงานยอยสงคำขอเบิกไปยังกรมบัญชีกลางโดยตรง
ง. หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไว
หรือมติ ครม.ใหจายไดหรือตามที่ไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลังและมีเงินงบประมาณรองรับ
(ตอบขอ ง.)

66. หลักฐานการจาย ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การ


เก็บรักษาเงิน และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562
ก. หลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันโดยถูกตองแลว
ข. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ค. หลักฐานรายงานการเดินทางไปราชการ คำขออนุมัติเดินทางไปราชการ
ง. หลักฐานคำขอรับเงินผานธนาคาร หรือหลักฐานการโอนเงินผานธนาคาร
(ตอบขอ ก.)

65. สวนราชการจะใชจายหรือกอหนี้ผูกพันก็ตอเมื่อ
ก. หนีส้ ินถึงกำหนดชำระ หรือใกลจะถึงกำหนดชำระเบิกจายเงินตอนไหนก็ได
ข. เมื่อมีคาใชจายที่เกิดขึ้น เบิกจายไดตลอดทั้งปงบประมาณ
ค. หนวยงานยอยสงคำขอเบิกไปยังกรมบัญชีกลางโดยตรง
ง. หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไว
หรือมติ ครม. ใหจายไดหรือตามที่ไดรับอนุญาตจากระทรวงการคลังและมีเงินงบประมาณรองรับ
(ตอบขอ ง. (ตามระเบียบ กค.วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 18 หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไวหรือมติ ครม. อนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับอนุญาตจาก กค.
18

66. ขอใดถือเปนหลักฐานการจาย
ก. ใบสำคัญรับเงินซึ่งผูรับเงินเปนผูออกให ใบเสร็จรับเงิน
ข. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ค. หลักฐานรายงานการเดินทางไปราชราชการ คำขออนุมัติเดินทางไปราชการ
ง. หลักฐานคำขอรับเงินผานธนาคาร
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 44 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสำคัญรับ
เงิน ซึ่งผูรับเงินเปนผูออกให หรือรายงานการจายเงินจากระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment หรือใบรับรอง
การจายเงิน หรือเอกสารอื่นใดที่กระทรวงการคลังกำหนดเปนหลักฐานการจาย

67. การยืมเงินราชการ เพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ตองสงใบสำคัญอยางไร


ก. ผูยืมสงเอกสารใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 30 วันนับแตเดินทางกลับมาถึง
ข. ผูยืมสงเอกสารใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 15 วันนับแตไดรับเงินยืม
ค. ผูยืมรีบดำเนินการสงใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 15 วัน นับแตเดินทางกลับมาถึง
ง. ผูยืมทำเอกสารใบสำคัญเรียบรอยแลวจึงสงชดใช ไมตองรีบดำเนินการ
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบ กค.วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 65 (2 ดังนี้ ขอ 65 ใหผูยืมสงหลักฐานการจายและเงินเหลือจายที่ยืมไป
(ถามี ภายในกำหนดระยะเวลาดังนี้ (2 กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทั้งการเดินทางไปราชการต างประเทศ
ชั่วคราว ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมภายในสิบหาวันนับแตวันกลับมาถึง

68. ขอใดตอไปนี้เปนหลักการและนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับคาใชจาย ตามเกณฑการรับรูคาใชจายตาม


มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2)
ก. ไมสามารถวัดมูลคาของคาใชจายไดอยางมีเหตุผลนาเชื่อถือ
ข. มีความเปนไปไดคอนขางแนในการเกิดขึ้นของคาใชจายและสามารถวัดมูลคาของคาใชจายไดอยางมี
เหตุผลนาเชื่อถือ
ค. ไมมีความแนนอนในการเกิดขึ้นของคาใชจาย
ง. สามารถกำหนดอัตรารอยละของคาใชจายไดอยางมีเหตุและผล
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 23)

69. ขอใดไมจัดอยูในประเภทของรายไดตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2)


พ.ศ.2564
ก. รายไดรอการรับรู
ข. รายไดจากเงินงบประมาณ
ค. รายไดแผนดิน
ง. รายไดจากเงินกูรัฐบาล
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 21)
19

70. คาใชจายคางจาย จัดอยูในบัญชีหมวดใด


ก. หมวด 1 สินทรัพย
ข. หมวด 2 หนี้สิน
ค. หมวด 4 รายได
ง. หมวด 5 คาใชจาย
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 16)

71. ขอใดคือ วัตถุประสงคของหลักการและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และ


นโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564
ก. เพื่อใหหนวยงานของรัฐใชเป นแนวทางในการกำหนดระบบบั ญชี และจัดทำรายงานการเงิน เพื่ อ
วัตถุประสงคทั่ว ไปตามเกณฑ คงค างไดอยางถูกตองเหมาะสมและเป นไปในกรอบมาตรฐานเดียวกั น เพื่ อ
ประโยชนในการจัดทำรายงานการเงินรวมภาครัฐ
ข. เปนแนวทางสำหรับผูตรวจสอบบัญชีในการตรวจสอบรายงานการเงินของหนวยงานของรัฐเพื่อแสดง
ความคิ ด เห็ น ว า ได จ ั ด ทำขึ ้ น ภายใต ก รอบมาตรฐานการบั ญ ชี ภ าครั ฐ และนโยบายการบั ญ ชี ภ าครั ฐ ที่
กระทรวงการคลังกำหนด
ค. เพื่อชวยใหผูใชรายงานการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงในรายงานการเงินซึ่งจัดทำ
ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังกำหนดและสามารถนำ
รายงานการเงินมาวิเคราะหเปรียบเทียบกันได
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 4)

72. ขอใดหมายถึง สวนทุน/สินทรัพยสุทธิ


ก. มูลคาของสินทรัพยทั้งสิ้นของหนวยงาน
ข. มูลคาสวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของหนวยงานหลังจากหักหนี้สิน
ค. มูลคาสวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของหนวยงานหลังจากหักสวนทุน
ง. มูลคาของสินทรัพยทั้งสิ้นของหนวยงานหลังจากหักสวนทุน
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 6)

73. รายการที่เปนเงินตราตางประเทศบันทึกรายการครั้งแรกดวยอัตราใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ
ข. อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ไดมา
ค. อัตราแลกเปลี่ยน ณ ขณะที่กำหนดมูลคายุติธรรม
ง. อัตราแลกเปลี่ยน ณ มูลคายุติธรรม
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 9)

74. ขอใดไมใชสินทรัพย
ก. เงินทดรองราชการ
ข. เงินฝากคลัง
20

ค. รายไดแผนดินรอนำสงคลัง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 11)

75. รายไดคางรับ จัดอยูในบัญชีหมวดใด


ก. หมวด 1 สินทรัพย
ข. หมวด 2 หนี้สิน
ค. หมวด 4 รายได
ง. หมวด 5 คาใชจาย
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 11)

76. การตัดจำหนายสินทรัพยรายตัวในระบบ GFMIS มีกรณีใดบาง


ก. สูญหาย
ข. ชำรุด
ค. เสื่อมสภาพ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนา 3

77. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับครุภัณฑมูลคาต่ำกวาเกณฑ
ก. อายุการใชงานมากกวา 1 ป
ข. ครุภัณฑที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 มูลคาไมถึง 10,000 บาท
ค. รับรูเปนบัญชีคาใชจาย ชื่อบัญชี “คาครุภัณฑมูลคาต่ำกวาเกณฑ”
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 3

78. ตามคูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การบันทึกรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ


ที่เกิดขึ้นเริ่มแรกเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพย มีกี่กรณี อะไรบาง
ก. กรณีเดียว จากการจัดซื้อจัดจาง
ข. 2 กรณี จากการจัดซื้อจัดจางและการรับบริจาค
ค. 3 กรณี จากการจัดซื้อจัดจาง การรับบริจาค และการแลกเปลี่ยน
ง. ไมมีขอใดทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 22

79. สำนักงานตำรวจแหงชาติ ใชวิธีการคำนวณคาเสื่อมราคาสินทรัพยถาวร ดวยวิธีใด


ก. วิธีเสนตรง
ข. วิธีถัวเฉลี่ย
ค. วิธียอดลดลงทวีคูณ
ง. วิธีจำนวนผลผลิต
21

(ตอบขอ ก.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (บทที่ 5

80. ขอใดดำเนินการไดถูกตองเกี่ยวกับสินทรัพยรับบริจาค
ก. ปรับปรุงลดยอดบัญชีรายไดรอการรับรู เขาบัญชีรายไดจากการรับบริจาค ทุกสิ้นเดือน
ข. ตามมูลคาคาเสื่อมราคาประจำเดือนของสินทรัพยนั้น
ค. เมื่อสินทรัพยรับบริจาคหมดอายุการใชงานมีราคาซากคงเหลือไว 1 บาท แตบัญชีรายไดรอรับรู
ปรับปรุงเปนศูนยบาท
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
(กองบัญชี มีนาคม 2553 (หนา 5

81. การรับโอนสินทรัพยระหวางกรม หมายถึง


ก. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางหนวยเบิกจาย ภายในกรมเดียวกัน
ข. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางสวนราชการ กับสวนราชการ
ค. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางศูนยตนทุนภายในหนวยเบิกจาย
เดียวกัน
ง. การรับบริจาคสินทรัพยจากสวนราชการอื่น
(ตอบขอ ข.) (อางอิง คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ (หนา 6

82. การโอนสินทรัพยระหวางกรม หนวยงานทีท่ ำหนาที่บันทึกโอนสินทรัพยในระบบ GFMIS คือหนวยงานใด


ก. หนวยงานผูโอน
ข. หนวยงานผูรับโอน
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. กรมธนารักษ
(ตอบขอ ค.) (อางอิง คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ (กองบัญชี มีนาคม 2553 (หนา 6

83. สำนักงานตำรวจแหงชาติ กำหนดอายุการใชงานครุภัณฑยานพาหนะและขนสง ใหมีอายุการใชงานกี่ป


ก. 3 ป
ข. 4 ป
ค. 5 ป
ง. 5 ป (สำหรับหนวยปฏิบัตกิ าร และ 8 ป (สำหรับหนวยธุรการ
(ตอบขอ ง.) (คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
(กองบัญชี มีนาคม 2553 ภาคผนวก (หนา 145
22

84. ตนทุนในขอใดถือเปนสวนประกอบของราคาทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ


ก. ตนทุนการเตรียมสถานที่
ข. ตนทุนการขนสง เริ่มแรกและการเก็บรักษา
ค. ตนทุนการติดตั้ง และการประกอบ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 17 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 9/32
ขอ 24

85. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับระบบการประเมินผลคุณภาพการบัญชีภาครัฐของกรมบัญชีกลาง
ก. ประเมินดานบัญชีการเงิน และดานบัญชีบริหาร
ข. ประเมินดานเบิกจาย และดานพลาธิการ
ค. ประเมินดานความถูกตอง และประเมินดานความโปรงใส
ง. ไมมีขอใดถูกตอง
(ตอบขอ ก.) (อางอิง เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2564 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว160 ลง 23 มี.ค.64 (หนา 3

86. ตามหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติดานบัญชีภาครัฐของกรมบัญชีกลาง จะประเมินสวนราชการ


ระดับใด
ก. ประเมินภาพรวมระดับกรม
ข. ประเมินภาพรวมระดับหนวยเบิกจาย
ค. ประเมินระดับกรม และประเมินระดับหนวยเบิกจาย
ง. ประเมินระดับกรม ระดับหนวยเบิกจาย และระดับศูนยตนทุน
(ตอบขอ ค.) (อางอิง เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2564 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว160 ลง 23 มี.ค.64 (หนา 4

87. การนำส งรายงานงบทดลองประจำเดือนให สตง. หรือสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน สวนภูมิภาค


ทุกเดือน ตองจัดสงใหทันภายในวันที่เทาใด
ก. วันสิ้นเดือน
ข. วันที่ 5 ของเดือนถัดไป
ค. วันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. วันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ง.) (อางอิง แนวทางการประเมินผลตามเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของ ตร.
ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 (หนา 5

88. มีการซื้อวัสดุเปนคาใชจาย และสิ้นปงบประมาณมีการตรวจนับพัสดุปรากฏวามีวัสดุคงเหลือจะต อง


ปรับปรุงบัญชีอยางไร
ก. เดบิต วัสดุคงคลัง เครดิต คาวัสดุ
ข. เดบิต คาวัสดุ เครดิต วัสดุคงคลัง
23

ค. เดบิต คาวัสดุ เครดิต รายไดรับลวงหนา


ง. เดบิต วัสดุคงคลัง เครดิต คาใชจายรับลวงหนา
(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.32/2743 ลง 16 ก.ย.64 เรื่องการปรับปรุงรายการทางบัญชี การปด
บัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ตร. แนวทางปฏิบัติใ นการ
ปรับปรุงรายการบัญชี การปดบัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ขอ 2.4

89. บัญชีคาเบี้ยประกันภัยรถยนตจายลวงหนาอยูในบัญชีหมวดใด
ก.สินทรัพย
ข.หนี้สิน
ค.ทุน
ง.รายได
(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ หนาที่ 5 รหัสบัญชี 1106010103 ชื่อบัญชี คาใชจายจายลวงหนา

90. คาใชจายคางจาย คืออะไร


ก. จำนวนเงินคาใชจายที่เกิดขึ้นแลวในรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันแตยังไมไดมีการจายเงินการจายเงินจะ
กระทำในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป
ข. จำนวนเงินที่หนวยงานไดรับลวงหนาเปนคาสินทรัพย หรือบริการที่หนวยงาน ยังไมไดสงมอบสินทรัพย
หรือบริการใหในขณะนั้นแตจะสงมอบใหในอนาคต
ค. จำนวนเงินที่หนวยงานไดรับ หรือจัดเก็บแทนรัฐบาล และมีภาระผูกพัน ที่จะตองนำสงคลังเป น
รายไดของแผนดิน
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบขอ ก.) (ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับ
ที่2 พ.ศ.2564 หนา 16

91. รายไดแผนดินรอนำสง อยูในบัญชีหมวดใด


ก. สินทรัพย
ข. หนี้สิน
ค. ทุน
ง. คาใชจาย
(ตอบขอ ข.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว 14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ หนาที่16 รหัสบัญชี 2104010101 ชื่อบัญชีรายไดแผนดินรอนำสงคลัง

92. ขอใดไมใชหมวดบัญชีรายได
ก. รายไดรอรับรู
ข. รายไดเงินนอกงบประมาณ
ค. รายไดคาปรับอื่น
ง. รายไดไมใชภาษีอื่น
24

(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว 14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ


แหงชาติ หนาที่19 รหัสบัญชี 2213010101 ชื่อบัญชีรายไดรอการรับรู

93. การนำสงเงินเบิกเกินสงคืนประเภทเงินนอกงบประมาณฝากคลัง ตองเลือกประเภทเงินใดใน pay in slip


ของสวนราชการ
ก. รายไดแผนดิน
ข. เงินฝากคลัง
ค. เบิกเกินสงคืน
ง. เงินสด
(ตอบขอ ข.) (หนังสือ ที่ กค 0409.3/ว 358 ลง 4 ต.ค.54 เรื่องคูมือการปฏิบัติงานกระบวนการ
เบิกเกินสงคืนผาน GFMIS Web Online หนา 3-33

94. กรณีไดรับดอกเบี้ยที่เกิดจากการนำเงินทดรองราชการฝากธนาคาร สวนราชการจะตองนำสงคลังเปนเงิน


ประเภทใด
ก. รายไดแผนดิน
ข. เงินฝากคลัง
ค. เงินทุนหมุนเวียน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินทดรองราชการ พ.ศ.2562 หมวด 3 การเก็บรักษา
เงิน ทดรองราชการ ขอ 12

95. เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด สวนราชการผูเบิกจะตองนำสงคืนคลังภายในกี่วันทำการ


นับแตวันรับเงินจากคลัง
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบขอ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ
รักษาเงิน และการนำสงเงิน พ.ศ.2562 หนา 26 หมวด 8 การนำเงินสงคลังและฝากคลัง สวนที่ 1 การนำ
เงินสงคลังและฝากคลังของสวนราชการ ขอ 99

96. รายการใดตอไปนี้ไมตองปรับปรุงบัญชีตามเกณฑคงคาง ณ วันสิ้นปงบประมาณ


ก. เงินรับฝากอื่น
ข. รายไดคางรับ
ค. รายไดแผนดินรอนำสงคลัง
ง. คาใชจายจายลวงหนา
25

(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.32/2743 ลง 16 ก.ย.64 เรื่องการปรับปรุงรายการทางบัญชี การปด


บัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ตร. แนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงรายการ
บัญชี การปดบัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน หนา 1

97. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับงบประมาณ
ก. ระเบียบ ก.ต.ช. วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติราชการของผูบัญชาการในฐานะอธิบดีฯ
ข. พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547
ค. กฎ ก.ตร. วาดวยการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ พ.ศ.2547
ง. พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561
(ตอบขอ ค. (กฎ ก.ตร. วาดวยการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ พ.ศ.2547 เปนกฎวาดวยการ
อุทธรณ และการพิจารณาอุทธรณคำสั่งลงโทษทางวินัย และคำสั่งใหออกจากราชการ

98. กรณีหนวยรับงบประมาณตองการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหวางงบรายจาย/ผลผลิต/โครงการ
ภายใตแผนงานเดียวกัน ทำไดภายในอำนาจของใคร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. สำนักงบประมาณ
ค. หัวหนาสวนราชการ
ง. หัวหนาหนวยงาน
(ตอบขอ ค. (หลักเกณฑ วาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงิน
จัดสรร พ.ศ.2562 ขอ 8

99. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปและการขยายเวลาขอเบิกเงินของหนวยงาน
ก. การขอกั น เงิ น งบประมาณไว เ บิ ก เหลื ่ อ มป จะสร า งเอกสารสำรองเงิน เพื ่ อ จองเงิ น งบประมาณ
ปปจจุบันที่ไมสามารถเบิกจายไดทันภายในวันสิ้นปงบประมาณ โดยตรวจสอบเงินงบประมาณคงเหลือจาก
รายงานแสดงยอดงบประมาณตามหนวยรับงบประมาณ (ZFMA55 แลวสรางเอกสารสำรองเงิน เพื่อขอกัน
เงินงบประมาณปปจจุบัน รวมถึงการกอหนี้ผูกพันที่เขาเงื่อนไขไมตองสราง ใบสั่งซื้อสั่งจาง (PO) ในระบบ
GFMIS และจำเปนตองขอขยายเวลาเบิกจายเงินในปงบประมาณถัดไป ตองดำเนินการใหเสร็จสิ้นภายในวันทำ
การสุดทายของเดือน ก.ย.
ข. กรณีหนวยไดขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป สามารถเบิกจายงบประมาณไดถึงวันทำการสุดทาย
ของเดือน มี.ค. หากไมสามารถเบิกจายใหแลวเสร็จ แตยังมีความจำเปนตองใชจายงบประมาณตอไป ใหขอ
ขยายเวลาการเบิกจายงบประมาณไดถึงวันทำการสุดทายของเดือน ก.ย.
ค. กรณีหนวยไดขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป ตอมาไดยกเลิกสัญญาแตไมสามารถกอหนี้ผูกพัน
และทำสัญญาใหมไดทันภายในวันทำการสุดทายของเดือน มี.ค. จะถือวา ณ วันสิ้นเดือน มี.ค. รายการ
นั้นไมมีหนี้ผูกพัน ซึ่งสงผลใหเงินงบประมาณพับไป หรือกรณีหนวยยกเลิกสัญญาและสามารถกอหนี้ผูกพันได
ทันภายในวันทำการสุดทายของเดือน มี.ค. หนวยจะตองเรงรัดการเบิกจายเงินใหเสร็จสิ้นภายในวันทำการ
สุดทายของเดือน ก.ย.
ง. กอนสิ้นปงบประมาณ หากหนวยไมสามารถเบิกจายเงินงบประมาณไดแลวเสร็จภายในระยะเวลา
ที่กำหนด แตมีความจำเปนตองใชจายงบประมาณ และไมไดกอหนี้ผูกพันไว หนวยสามารถขอกันเงินได
26

(ตอบขอ ง. (ตาม พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 43 กรณีที่หนวยไมสามารถ


เบิกเงินจากคลังไดแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ใหขอขยายเวลาเบิกเงินจากคลังได เฉพาะในกรณีที่
หนวยไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ กรณีที่หนวยไมไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ ไม
สามารถขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมปได

100. ใครทำหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการ ตร.


ก. ผูบังคับการกองสวัสดิการ
ข. ผูบังคับการกองการเงิน
ค. เลขานุการตำรวจแหงชาติ
ง. ผูบังคับการกองกฎหมาย
(ตอบขอ ก.) (ตามระเบียบสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2548 ขอ 10
แนวข้อสอบ งานสารบรรณ (50 ข้อ)

1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาแล้วทั้งหมดกี่ฉบับ


ก. 2 ฉบับ
ข. 3 ฉบับ
ค. 4 ฉบับ
ง. 5 ฉบับ
(ตอบ ค.) (4 ฉบับ ประกอบด้วย
1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548
3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560
4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2564)

2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้


ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 13 ให้ปลัดสำนัก
นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้)

3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ใครเป็นผู้ลงนามในระเบียบนี้


ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(ตอบ ก.) (ท้ายระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 พลเอก ประยุทธ์
จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนาม)

4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ให้ใช้บังคับเมื่อใด


ก. นับตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ค. บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2564
ง. ให้ใช้เมื่อพ้น 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้
บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไปเว้นแต่ข้อ 7 และข้อ 10 ให้ใช้บังคับเมื่อพ้น
กำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป และข้อ 8 ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม
พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป)
2
5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ
วัน เดือน ปี พ.ศ. ใด
ก. 23 พฤษภาคม 2564
ข. 24 พฤษภาคม 2564
ค. 25 พฤษภาคม 2564
ง. 26 พฤษภาคม 2564
(ตอบ ค.) (ราชกิจ จานุ เบกษา เล่ ม 138 ตอนพิเศษ 113 ง หน้า 1 ประกาศเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม
2564)

6. ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายความว่า หนังสือราชการที่จัดทำและได้รับ ส่ง หรือเก็บรักษาด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์
ข. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หมายความว่า การรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสาร
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ค. ทะเบียนหนังสือรับ ทะเบียนหนังสือส่ง บัญชีหนังสือส่งเก็บทะเบียนหนังสือเก็บ บัญชี ส่งมอบหนังสือครบ
20 ปี
บัญชีหนังสือครบ 20 ปีที่ขอเก็บเองบัญชีฝากหนังสือ และบัญชีหนังสือขอทำลาย ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 2 ,ข้อ 3 และข้อ 4)

7. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564


หมายความว่าอย่างไร
ก. การรับส่งข้อมูลข่าวสารผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ข. การเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ค. การรับส่งหนังสือโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน
บทนิยาม คำว่า “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” ในข้อ 6แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 และ
ให้ใช้ความต่อไปนี้แทน“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
หรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมถึงการรับส่งโดยใช้ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการหรือที่ส่วนราชการจัดให้แก่เจ้าหน้าที่ และระบบสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์อื่น
ใดตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนดด้วย”)
3
8. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การจัดทำหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์.
ข. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การรับ ส่ง หนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ค. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การเก็บรักษาหนังสือด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ง. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทำลายหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ ๔ วรรค 2 “หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า หนังสือราชการที่จัดทำและได้รับ ส่ง หรือเก็บรักษาด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์”)

9. การบันทึกจัดทำในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หากในระบบมีการบันทึกไว้อยู่แล้ว ข้อใดจะไม่ระบุก็ได้


ก. ชื่อหรือตำแหน่งที่บันทึกถึง
ข. สาระสำคัญของเรื่อง
ค. ชื่อผู้บันทึก
ง. วัน เดือน ปี
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 5 วรรคสอง “ใน
กรณีที่บันทึกจัดทำในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยการพิมพ์ข้อความในไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ
ระบบสื่อสารอื่นใด ที่มีการยืนยันตัวตน จะพิมพ์ชื่อผู้บันทึกแทนการลงลายมือชื่อก็ได้ และจะไม่ลงวัน เดือน ปีที่
บันทึกก็ได้หากระบบมีการบันทึกวัน เดือน ปีไว้อยู่แล้ว”)

10. การติดต่อราชการให้ดำเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก เว้นแต่กรณีใดต่อไปนี้


ก. ข้อมูลข่าวสารที่เป็นความลับ
ข. ข้อมูลข่าวสารลับชั้นลับมาก
ค. ข้อมูลข่าวสารลับชั้นลับที่สุด
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 7 ให้ยกเลิกความ
ในข้อ 29 แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณพ.ศ. 2526 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสำนัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2548 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ข้อ 29 การติดต่อราชการให้ดำเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก เว้นแต่กรณีที่เป็น
ข้อมูลข่าวสารลับชั้นลับที่สุด ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการหรือเป็นสิ่งที่เป็นความลับ
ของทางราชการชั้นลับที่สุดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรั กษาความปลอดภัยแห่งชาติ หรือมีเหตุ
จำเป็นอื่นใดที่ไม่สามารถดำเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้
ในกรณีที่ติดต่อราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ส่งตรวจสอบผลการส่งทุกครั้งและให้ผู้รับ
แจ้งตอบรับเพื่อยืนยันว่าหนังสือได้จัดส่งไปยังผู้รับเรียบร้อยแล้ว ถ้าได้รับการแจ้งตอบรับแล้วส่วนราชการผู้ส่งไม่
ต้องจัดส่งหนังสือเป็นเอกสารตามไปอีก
การส่ งข้ อ ความทางเครื่ อ งมื อ สื่ อ สาร เช่ น โทรศั พ ท์ วิ ท ยุ สื่ อ สาร วิท ยุ ก ระจายเสี ย ง ให้ ผู้ รั บ ปฏิ บั ติ
เช่นเดียวกับได้รับหนังสือ ในกรณีที่จำเป็นต้องยืนยันเป็นหนังสือ ให้ทำหนังสือยื นยันตามไปทันทีสำหรับกรณีที่
ข้อความที่ส่งไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง ให้ผู้ส่งและผู้รับบันทึกข้อความไว้เป็นหลักฐานการส่งหรือจัดเก็บข้อความ
4
ตามวรรคสามด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือเป็นการบันทึกข้อความไว้
เป็นหลักฐานแล้ว”)

11. หนั งสืออิเล็ กทรอนิกส์ ที่เก็บ รักษาไว้ในการสำรองข้อมูล และที่ส่ งให้ สำนักหอจดหมายเหตุแห่ งชาติ กรม
ศิลปากร ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน โดยให้มีความละเอียดไม่น้อยกว่าเท่าไร
ก. 130 dpi
ข. 140 dpi
ค. 145 dpi
ง. 150 dpi
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/4 การเก็บ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากการเก็บไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์อันเป็นผลจากที่ได้มีการรับหรือการส่ง
หนังสือนั้น ให้มีการสำรองข้อมูล ( backup) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้อีกแห่งเป็นอย่างน้อยด้วย ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลตามวรรคหนึ่ง และที่ส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ กรมศิลปากร ตามข้อ 58 ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน เช่น PDF ความละเอียดไม่น้อยกว่า 150 dpi และ
ให้นำหลักเกณฑ์การตั้งชื่อไฟล์ที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 7มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม)

12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีอายุการเก็บหนังสือกี่ปี


ก. 1 ปี
ข. 5 ปี
ค. 20 ปี
ง. ไม่มีอายุการเก็บ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/5 หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้นแต่กรณีมีความจำเป็นต้องเพิ่มพื้นที่
จัดเก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีเหตุผลความจำเป็นอื่นใด หัวหน้าส่วนราชการจะมี
คำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่าด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ ที่เก็บ
มาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้วก็ได้ โดยในการทำลายให้ใช้วิธีลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และให้
ลบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บไว้เป็นเวลานานที่สุดย้อนขึ้นมา
ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลของส่วน
ราชการตามข้อ 89/4 ด้วยโดยอนุโลม โดยหัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมาเป็น
เวลาเกินกว่า 20 ปี ซึ่งได้มีการส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร ตามข้อ 58 แล้ว)

13. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้นแต่กรณี ดังต่อไปนี้


ก. มีความจำเป็นต้องเพิ่มพื้นที่จัดเก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ
ข. หัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีอายุการเก็บเกินกว่า 5 ปี
ค. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้หากเรื่องนั้นๆ ได้มีการดำเนินการเรียบร้อยแล้วให้
ทำลายได้
ง. ไม่มีข้อใดถูก
5
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/5 หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ ไม่มีอายุการเก็บ หนั งสือ โดยปกติให้ เก็บไว้ตลอดไป เว้น แต่กรณี มีค วามจำเป็น ต้องเพิ่มพื้น ที่
จัดเก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีเหตุผลความจำเป็นอื่นใด หัวหน้าส่วนราชการ
จะมีคำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่าด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ
ที่เก็บมาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้วก็ได้ โดยในการทำลายให้ใช้วิธีลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
และให้ลบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บไว้เป็นเวลานานที่สุดย้อนขึ้นมา
ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลของส่วน
ราชการตามข้อ 89/4 ด้วยโดยอนุโลม โดยหัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมาเป็น
เวลาเกินกว่า 20 ปี ซึ่งได้มีการส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร ตามข้อ 58 แล้ว)

14. กรณี จ ำเป็ น ต้องเพิ่ มพื้ น ที่ จัด เก็บ ในระบบสารบรรณอิเล็ กทรอนิกส์ ของส่ ว นราชการ เอกสารในข้อใดไม่
สามารถทำลายด้วยวิธีการลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้
ก. เอกสารจดหมายเหตุ ตามกฎหมายว่าด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ
ข. เอกสารที่มีระยะเวลาเก็บไว้เป็นเวลานานที่สุดย้อนขึ้นมา
ค. เอกสารที่มีอายุการเก็บเกินกว่า 10 ปี
ง. เอกสารที่สำรองข้อมูลไว้มีอายุเกินกว่า 20 ปี
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/5 หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้นแต่กรณีมีความจำเป็นต้องเพิ่มพื้นที่จัดเก็บ
ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีเหตุผลความจำเป็นอื่นใด หัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่ง
ให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่าด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ ที่เก็บมา
เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้วก็ได้ โดยในการทำลายให้ใช้วิธีลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และให้ลบ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บไว้เป็นเวลานานที่สุดย้อนขึ้นมา
ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลของส่วน
ราชการตามข้อ 89/4 ด้วยโดยอนุโลม โดยหัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมาเป็น
เวลาเกินกว่า 20 ปี ซึ่งได้มีการส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร ตามข้อ 58 แล้ว)

15. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การเก็ บ หนั งสื อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ อั น เกิ ด จากการรั บ การส่ งหนั งสื อ นั้ น ให้ มี ก ารสำรองข้ อ มู ล หนั ง สื อ
อิเล็กทรอนิกส์ไว้อีกแห่งเป็นอย่างน้อย
ข. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 20 ปี
ค. หัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่า
ด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ ที่เก็บมาเป็นเวลาเกินกว่า 5 ปีแล้วก็ได
ง. หัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี ซึ่งได้มีการส่งให้
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/4 การเก็บ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากการเก็บไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์อันเป็นผลจากที่ได้มีการรับหรือการส่ง
6
หนั งสื อ นั้ น ให้ มี ก ารสำรองข้ อ มู ล ( backup) หนั งสื อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ว้ อี ก แห่ ง เป็ น อย่ า งน้ อ ยด้ ว ย ทั้ งนี้
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลตามวรรคหนึ่ง และที่ส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ กรมศิลปากร ตามข้อ 58 ให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน เช่น PDF ความละเอียดไม่น้อยกว่า 150 dpi และ
ให้นำหลักเกณฑ์การตั้งชื่อไฟล์ที่กำหนดไว้ในภาคผนวก 7มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม)

16. ผู้ใดมีหน้าที่ออกคำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุ ตามกฎหมายจดหมายเหตุ


แห่งชาติที่เก็บมาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้วก็ได้
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. หัวหน้าส่วนราชการ
ง. เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 ข้อ 89/5 หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้นแต่กรณีมีความจำเป็นต้องเพิ่มพื้นที่จัดเก็บ
ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีเหตุผลความจำเป็นอื่นใด หัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่ง
ให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่าด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ ที่เก็บมา
เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้วก็ได้ โดยในการทำลายให้ใช้วิธีลบออกจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และให้
ลบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บไว้เป็นเวลานานที่สุดย้อนขึ้นมา
ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บรักษาไว้ในการสำรองข้อมูลของส่วน
ราชการตามข้อ 89/4 ด้วยโดยอนุโลม โดยหัวหน้าส่วนราชการจะมีคำสั่งให้ทำลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมา
เป็นเวลาเกินกว่า 20 ปี ซึ่งได้มีการส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร ตามข้อ 58 แล้ว
เมื่อหัวหน้าส่วนราชการมีคำสั่งให้ทำลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วให้นำ
ความในส่วนที่ 3 การทำลาย ของหมวด 3 การเก็บรักษา ยืม และทำลายหนังสือ มาใช้บังคับโดยอนุโลม”)

17. การรับหนังสือด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง


ก. ออกเลขที่ทะเบียนรับและบันทึกลงในทะเบียนหนังสือรับตามลำดับติดต่อกันไปตลอดปีปฏิทิน
ข. ส่งผลการรับหนังสือกลับไปยังผู้ส่งและจัดเก็บเอกสารไว้ในระบบ
ค. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิ กส์ จ ะต้องสามารถเก็บรักษาหนังสื อที่มีการรับส่ งโดยใช้ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์หรือหนังสือที่นำเข้าภายหลังได้
ง. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถแสดงข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติของหนังสือได้
(ตอบ ข.) (ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ าด้ ว ยงานสารบรรณ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ.2564 ภาคผนวก 6
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์
ข้อ 2. เมื่อได้รับหนังสือด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้อง
สามารถดำเนินการดังต่อไปนี้ได้
2.1 ออกเลขที่ทะเบียนรับและบันทึกลงในทะเบียนหนังสือรับตามลำดับติดต่อกันไปตลอดปีปฏิทนิ
2.2 ส่งผลการรับหนังสือกลับไปยังผู้ส่งและจัดส่งให้ผู้รับภายในหน่วยงานต่อไป
7
2.3 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้องสามารถเก็บรักษาหนังสือที่มีการรับส่งโดยใช้ระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์หรือหนังสือที่นำเข้าภายหลังได้ และสามารถแสดงข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติของหนังสือได้
2.4 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้องสามารถแสดงวัน เดือน ปี และเวลาที่รับและส่ งข้อมูล
ข่าวสารหรือหนังสือให้ปรากฏแก่ผู้รับผู้ส่งได้ ในกรณีที่มีการโต้แย้งเรื่องวันและเวลาที่หน่วยงานท าการลงทะเบียน
รับ หนั งสื อ ให้ น ำวัน และเวลาที่ ห นั งสื อเข้าสู่ ระบบสารบรรณอิเล็ กทรอนิ กส์ ของหน่ ว ยงานผู้ รับ ประกอบการ
พิจารณาวันและเวลาการรับส่งหนังสือของผู้รับผู้ส่ ง คือ วันและเวลาที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานได้ลงทะเบียนรับส่ง
หนังสือในระบบ
2.5 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้องสนับสนุนการสืบค้นข้อมูลหนังสือที่มีการจัดเก็บไว้๒.๖
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีระบบสำรองข้อมูล (backup system) ที่สามารถกู้คืนข้อมูลเพื่อป้องกัน
การเสียหายหรือสูญหายของข้อมูลนั้น)

18. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. การรับ การส่ง และการเก็บรักษาหนังสือด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการขั้นต่ำ
ข. ให้หัวหน้าส่วนราชการมอบหมายเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณกลางคนหนึ่งหรือหลายคนเพื่อทำ
หน้าที่รับส่งหนังสือด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ค. ให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้ง ตรวจสอบข้อมูลข่าวสารและหนังสือที่ได้รับในระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการเป็นประจำตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ าด้ ว ยงานสารบรรณ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ.2564 ภาคผนวก 6
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์
ข้อ 4. การรั บ การส่ ง และการเก็ บ รักษาหนั งสื อ ด้ ว ยระบบสารบรรณอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ให้ เป็ น ไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการขั้นต่ำ ดังต่อไปนี้
4.1 หลักเกณฑ์และวิธีการทั่วไป
4.1.1 ให้หัวหน้าส่วนราชการมอบหมายเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณกลางคนหนึ่งหรือ
หลายคนเพื่อทำหน้าที่รับส่งหนังสื อด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งให้
เข้าถึงเอกสารชั้นความลับเพื่อทำหน้าที่รับส่งหนังสือที่มีชั้นความลับเฉพาะในชั้นลับหรือลับมากด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ
4.1.2 ให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้งตาม 4.1.1 ตรวจสอบข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือที่ได้รับในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการเป็นประจำตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด
ทั้งนี้ ต้องไม่น้อยกว่าวันละสองครั้งในเวลาราชการ อย่างน้อยหนึ่งครั้งในช่วงเช้าและอย่างน้อยหนึ่งครั้งในช่วงบ่าย
4.1.3 ให้ผู้ใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์จัดเก็บข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่หน่วยงานได้รับ
ไว้ในสื่อกลางบันทึกข้อมูลตามที่ระเบียบกำหนด และลบข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ไม่จำเป็นต้องใช้งานแล้ว โดย
ดำเนินการเป็นประจำตามระยะเวลาที่เหมาะสม ทั้งนี้ ตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด)
8
19. “OPM” คือ รหัสตัวอักษรโรมันประจำส่วนราชการใด
ก. กระทรวงการคลัง
ข. กระทรวงพาณิชย์
ค. สำนักนายกรัฐมนตรี
ง. กระทรวงคมนาคม
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 รหัสตัวอักษรโรมัน
ประจำส่วนราชการแนบท้ายภาคผนวก 7หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการโดยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
1. รหัสตัวอักษรโรมันประจำกระทรวง ทบวง และส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวง
หรือทบวง ให้กำหนดไว้ ดังนี้ สำนักนายกรัฐมนตรี OPM

20. “RTP” คือ รหัสตัวอักษรโรมันประจำส่วนราชการใด


ก. กระทรวงการคลัง
ข. กระทรวงพาณิชย์
ค. สำนักนายกรัฐมนตรี
ง. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2564 รหัสตัวอักษรโรมัน
ประจำส่วนราชการแนบท้ายภาคผนวก 7 หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการโดยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
1. รหัสตัวอักษรโรมันประจำกระทรวง ทบวง และส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวง
หรือทบวง ให้กำหนดไว้ ดังนี้
สำนักนายกรัฐมนตรี OPM
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ RTP

21. การระบุที่อยู่อีเมล ช่อง (CC) หมายถึงข้อใด


ก. ผู้รับ
ข. ผู้ส่ง
ค. สำเนาถึง
ง. สำเนาลับถึง
(ตอบ ค.) (ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ าด้ ว ยงานสารบรรณ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ.2564 ภาคผนวก 7
หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ในการรั บ ส่ ง และเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล ข่ า วสารและหนั ง สื อ ราชการโดยไปรษณี ย์
อิเล็กทรอนิกส์ฯลฯ
5.3.7 ให้ระบุที่อยู่อีเมลของผู้รับไว้ในช่อง “ถึง” (To) โดยในกรณีที่มีผู้รับหลายคนให้เรียงลำดับที่อยู่
อีเมลในช่องเดียวกัน แต่สำหรับกรณีที่ต้องส่งอีเมลที่ส่งออกเป็นสำเนาให้บุคคลอื่นใดด้วยแล้ว ให้ระบุที่อยู่อีเมล
ของผู้รับสำเนาในช่อง “สำเนาถึง” (CC)โดยให้ส่งสำเนาไปยังที่อยู่อีเมลของเจ้าของเรื่องด้วย (ถ้ามี) และให้ใช้ช่อง
“สำเนาลับถึง” (BCC) สำหรับกรณีดังต่อไปนี้
5.3.7.1 การส่งไปจัดเก็บเป็นสำเนาภายในระบบของส่วนราชการ
9
5.3.7.2 การส่งหนั งสือไปยังผู้รับจำนวนเกินกว่าหนึ่งคนซึ่งส่วนราชการเห็นว่าจำเป็นต้องมีการ
ปกปิดไม่ให้ผู้รับทราบว่าได้ส่งไปยังบุคคลอื่นด้วย)

22. การระบุที่อยู่อีเมล ช่อง (BCC) หมายถึงข้อใด


ก. ผู้รับ
ข. ผู้ส่ง
ค. สำเนาถึง
ง. สำเนาลับถึง
(ตอบ ง.) (ระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ าด้ ว ยงานสารบรรณ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ.2564 ภาคผนวก 7
หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ในการรั บ ส่ ง และเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล ข่ า วสารและหนั ง สื อ ราชการโดยไปรษณี ย์
อิเล็กทรอนิกส์ฯลฯ
5.3.7 ให้ระบุที่อยู่อีเมลของผู้รับไว้ในช่อง “ถึง” (To) โดยในกรณีที่มีผู้รับหลายคนให้เรียงลำดับที่อยู่
อีเมลในช่องเดียวกัน แต่สำหรับกรณีที่ต้องส่งอีเมลที่ส่งออกเป็นสำเนาให้บุคคลอื่นใดด้วยแล้ว ให้ระบุที่อยู่อีเมล
ของผู้รับสำเนาในช่อง “สำเนาถึง” (CC) โดยให้ส่งสำเนาไปยังที่อยู่อีเมลของเจ้าของเรื่องด้วย (ถ้ามี) และให้ใช้ช่อง
“สำเนาลับถึง” (BCC)สำหรับกรณีดังต่อไปนี้
5.3.7.1 การส่งไปจัดเก็บเป็นสำเนาภายในระบบของส่วนราชการ
5.3.7.2 การส่งหนั งสือไปยังผู้รับจำนวนเกินกว่าหนึ่งคนซึ่งส่วนราชการเห็นว่าจำเป็นต้องมีการ
ปกปิดไม่ให้ผู้รับทราบว่าได้ส่งไปยังบุคคลอื่นด้วย

23. หนังสือที่จัดทำขึ้นโดยปกติให้ มีสำเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่ต้นเรื่อง 1 ฉบับ และให้มีสำเนาเก็บไว้ที่หน่วยงานสาร


บรรณกลาง 1 ฉบับ ในกรณีหนังสือที่จัดทำขึ้นและหน่วยงานสารบรรณกลางได้ส่งหนังสือด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์แล้ว จำเป็นต้องเก็บสำเนาเอกสารอีกหรือไม่
ก. จำเป็นต้องเก็บ เพราะง่ายต่อการตรวจสอบ
ข. เก็บหรือไม่เก็บก็ได้ ขึ้นอยู่กับหัวหน้าส่วนราชการกำหนด
ค. ไม่ต้องเก็บเป็นเอกสารอีก เพราะการเก็บสำเนาหนังสือไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งนั้นเป็น
การเก็บสำเนาไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลางแล้ว
ง. ไม่ต้องเก็บเป็นเอกสารอีก เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
ข้อ 9 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของข้อ 30 แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร
บรรณ พ.ศ. 2526 “หนังสือที่จัดทำขึ้นตามวรรคหนึ่งและหน่วยงานสารบรรณกลางได้ส่งหนังสือด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ถือว่าการเก็บำเนาหนังสือไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งนั้น เป็นการเก็บ
สำเนาไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลางตามวรรคหนึ่งแล้ว ทั้งนี้ โดยไม่ต้องเก็บเป็นเอกสารอีก”)

24. เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของเจ้าหน้าที่
ของรัฐ ให้หน่วยงานใดรวบรวมที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลางของหน่วยงานของรัฐทั้งหมด
ก. สำนักนายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
10
ค. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ง. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 หมวด 5 ระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ 89/1วรรคสาม เพื่ อเป็ น การอำนวยความสะดวกให้ แก่ป ระชาชนและการปฏิบั ติงานสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) รวบรวมที่อยู่ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์กลางของหน่วยงานของรัฐทั้งหมดเพื่อเผยแพร่ในที่เดียวกับที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลางของ
ส่วนราชการตามวรรคสามด้วย)

25. ข้อใดที่ไม่มีอยู่ในแบบของหนังสือภายใน
ก. ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
ข. อ้างถึง
ค. สิ่งที่ส่งมาด้วย
ง. หมายเหตุ
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 12)

26. ขนาดของครุฑในกระดาษบันทึกข้อความมีขนาดเท่าไหร่
ก. ขนาดตัวครุฑสูง 5 ซม.
ข. ขนาดตัวครุฑสูง 3 ซม.
ค. ขนาดตัวครุฑสูง 1.5 ซม.
ง. ขนาดตัวครุฑสูง 1 ซม.
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ )

27. เมื่อได้รับหนังสือที่ส่งมาจากภายนอก สิ่งแรกที่จะต้องปฏิบัติคืออะไร


ก. เปิดซองตรวจเอกสาร
ข. ประทับตรารับหนังสือ
ค. ลงทะเบียนรับหนังสือ
ง. จัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วน
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 36 )

28. ตรารับหนังสือให้ประทับไว้ที่ส่วนใดของหนังสือ
ก. มุมบนด้านซ้ายของหนังสือ
ข. มุมบนด้านขวาของหนังสือ
ค. ส่วนที่มีที่ว่างของหนังสือ
ง. ส่วนใดก็ได้ตามแต่เหมาะสม
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 37 )
11
29. กรณีที่หนังสือรับไม่มีชื่อเรื่อง เมื่อจะลงทะเบียนรับหนังสือไว้เป็นหลักฐานจะต้องปฏิบัติอย่างไร
ก. ไม่ต้องลงชื่อเรื่องในทะเบียนหนังสือรับ
ข. ตั้งชื่อเรื่องให้ตามเค้าโครงหนังสือรับ
ค. บันทึกไว้ในช่องหมายเหตุ
ง. ลงสรุปเรื่องย่อไว้
(ตอบ ง. ) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 38 )

30. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมจะต้องเป็นข้าราชการตำแหน่งใดขึ้นไป


ก. ข้าราชการระดับ 5
ข. หัวหน้าแผนก
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
ง. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
(ตอบ ค. ) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 62.3 )

31. บุคคลภายนอกจะยืมหนังสือราชการได้หรือไม่
ก. ย่อมจะยืมได้
ข. ยืมมิได้
ค. ต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ
ง. อธิบดีอนุญาตเพียงคนเดียว
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 65 )

32. บุคคลภายนอกที่ขอดูหรือคัดลอกหนังสือราชการ จะต้องได้รับอนุญาตจากบุคคลใดต่อไปนี้


ก. เจ้าหน้าที่ผู้เก็บรักษาตั้งแต่ระดับ ๓ขึ้นไป
ข. หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
ง. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 65 )

33. การทำลายเอกสารตามระเบียบงานสารบรรณให้ใช้วิธีใด
ก. เผา
ข. ฉีกให้ละเอียด
ค. เครื่องทำลายกระดาษ
ง. วิธีใดก็ได้ที่จะไม่ให้หนังสือนั้นอ่านเป็นเรื่องได้
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 68.5 )

34. กระดาษตราครุฑ ให้พิมพ์ครุฑขนาดใดจึงจะได้มาตรฐาน


ก. ขนาดตัวครุฑสูง 5 ซม.
ข. ขนาดตัวครุฑสูง 3 ซม.
12
ค. ขนาดตัวครุฑสูง 2.5 ซม.
ง. ขนาดตัวครุฑสูง 1 ซม.
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 71.1 และ
ข้อ 75 )

35. กระดาษตราครุฑ ให้พิมพ์ครุฑด้วยหมึกสีอะไร


ก. สีดำ
ข. สีน้ำเงิน
ค. สีม่วง
ง. สีแดง
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 75 )

36. การระบุชั้นความเร็วในหนังสือภายนอก ให้ระบุที่ส่วนใดของหนังสือ


ก. กึ่งกลางกระดาษ
ข. เหนือครุฑ
ค. เหนือที่หนังสือ
ง. เหนือส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 28 )

37. เลขที่หนังสือ “ที่ ตร 0001” อยากทราบว่าเลข 00 ซึ่งเป็นเลขสองตัวแรก หมายถึงส่วนราชการ ระดับใด


ก. กระทรวง
ข. กรม
ค. กอง
ง. แผนก
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ภาคผนวก 1)

38. ผู้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับงานสารบรรณคือใคร
ก.คณะรัฐมนตรี
ข.สำนักนายกรัฐมนตรี
ค.สภานิติบัญญัติ
ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 8)

39. ถ้าต้องการให้รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานใดที่เป็นส่วนราชการใช้รหัสตัวพยัญชนะชองส่วนราชการที่สังกัด
ตัวเลข 2 ตัวแรกที่จะใช้ให้เริ่มจากเลขอะไร
ก. 00
ข. 01
ค. 50
13
ง. 51
(ตอบ ง. ) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ภาคผนวก 1 )

40. เลขประจำส่วนราชการ 2 ตัวแรก ของราชการบริหารส่วนภูมิภาค หมายถึงส่วนราชการใด


ก. สำนักงานจังหวัด
ข. ปกครอง
ค. ตำรวจ
ง. อำเภอและกิ่งอำเภอ
(ตอบง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ภาคผนวก 1 )

41. ตัวเลข 2 ตัวแรกของแผนกต่างๆ ของจังหวัด ให้ใช้เลขอะไร


ก. 00
ข. 01
ค. 50
ง. 90
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ภาคผนวก 1 )

42. ผู้บัญชาการตำรวจแห่ชาติมีหนังสือถึงสมเด็จพระสังฆราช จะต้องใช้คำลงท้ายในหนังสือว่าอย่างไร


ก. ขอแสดงความนับถือ
ข. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพ
ง. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ภาคผนวก 2 )

43. ตราครุฑาที่ใช้ในราชการมีกี่ขนาด
ก. 1 ขนาด
ข. 2 ขนาด
ค. 3 ขนาด
ง. 4 ขนาด
(ตอบข. ) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 71 )

44. งานสารบรรณ คืองานเกี่ยวกับอะไร


ก. การบริหารงานบุคคล
ข. การบริหารงานเอกสาร
ค. การติดต่อราชการ
ง. งานประชาสัมพันธ์
(ตอบ ข.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 6 )
14
45. หนังสือภายนอกใช้ติดต่อราชการใด
ก. ราชการทหาร
ข. ราชการการเมือง
ค. ต่างส่วนราชการ
ง. ราชการต่างประเทศ
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 11 )

46. หนังสือสั่งการมี ๓ ชนิด คือข้อใด


ก.คำสั่ง ข้อบังคับ ลายเซ็น
ข.ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ
ค.ระเบียบ กฎ ข้อบังคับ
ง. คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 15 )

47. หนังสือประชาสัมพันธ์มี ๓ ชนิด อะไรบ้าง


ก.ประกาศ ข่าว แถลงการณ์
ข.ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ
ค.แถลงการณ์ ข่าว คำสั่ง
ง. ระเบียบ ข้อบังคับ ข่าว
(ตอบ ก.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 19 )

48. การปฏิบัติของหน่วยเก็บ เมื่อได้รับเรื่องจากเจ้าของเรื่องแล้ว หากประทับตรากำหนดหนังสือคำว่า “ห้าม


ทำลาย” หรือ “เก็บถึง พ.ศ...” จะต้องประทับตราไว้ที่ส่วนใดของกระดาษแผ่นแรกของหนังสือฉบับนั้น
ก.มุมบนด้านขวา
ข.มุบนด้านซ้าย
ค.มุมล่างด้านขวา
ง. มุมล่างด้านซ้าย
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 55.1 )

49. หนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไปให้ประทับตราด้วยคำว่าอะไร และด้วยหมึกสีอะไร


ก.รักษา, หมึกสีดำ
ข.เก็บ, หมึกสีแดง
ค.ห้ามทำลาย, หมึกสีแดง
ง. ห้ามทำลาย, หมึกสีดำ
(ตอบ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 55.1.1 )
15
50. ส่วนราชการสามารถทำลายหนังสือได้ภายในกำหนดเวลากี่วัน
ก.60 วัน นับแต่วันที่หัวหน้าส่วนราชการพิจารณา
ข.60 วัน นับแต่วันที่สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรพิจารณา
ค.60 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมการทำลายหนังสือพิจารณา
ง. 60 วัน นับแต่วันที่ส่งให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรพิจารณา
(ตอบ ง.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 70.1 )

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 (20 ข้อ)


51. ข้อมูลข่าวสารของราชการ คืออะไร
ก. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ
ข. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ
ค. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540มาตรา 4 )

52. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของหน่วยงานของรัฐ
ก. ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น
ข. ศาลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี
ค. รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
ง. องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ
(ตอบข. ) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 4 )

53. ผู้ใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540


ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
(ตอบ ค. ) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 5 )

54. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารใดไปลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
ก.โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน
ข. มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน
ค. สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีดำเนินงาน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 7 )
16
55.บุคคลใดมีสิทธิเข้าตรวจดู ขอสำเนาหรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารได้
ก. บุคคลที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวข้อง
ข. บุคคลที่ไม่มีส่วนได้เสีย
ค. คนต่างด้าว
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 9 )

56. เมื่อมีการร้องเรียนเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารจะต้องร้องเรียนต่อใคร
ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ง. ประธานรัฐสภา
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 13)

57. ในกรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ผู้ขอจะอุทธรณ์ต่อใคร


ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ง. ประธานรัฐสภา
(ตอบ ค.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 18)

58. การยื่นอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ต้องอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาเท่าใด


ก. 15 วัน นับแต่วันยื่นคำขอ
ข. 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
ค. 30 วัน นับแต่วันยื่นคำขอ
ง. 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 18)

59. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารคณะหนึ่ง ต้องมีไม่น้อยกว่ากี่คน


ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. 7 คน
ง. 9 คน
(ตอบ ก. ) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 36)
17
60. ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยตามมาตรา 14 มีกำหนดเวลาครบกี่ปีหากหน่วยงานของรัฐจะส่งข้อมูลข่าวสาร
มอบให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ก. 50 ปี
ข. 75 ปี
ค. 100 ปี
ง. ไม่มีกำหนดเวลา
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 26)

61. ผู้ใดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐ ไม่จัดพิมพ์ข้อมูล หรือไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู ผู้นั้นมีสิทธิ


ร้องเรียนต่อใคร
ก. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข. ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงานนั้น
ค. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
ง. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบ ก.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 13)

62. จากข้อ 11 ในกรณี ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ คณะกรรมการต้อง


พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
ก. 10 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
ข. 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
ค. 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
ง. 45 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน
(ตอบ ค.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 13 วรรคสอง)

63. ข้อใดคือข้อมูลข่าวสารของราชการ ที่ห้ามมิให้เปิดเผยโดยเด็ดขาด


ก. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ
ข. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ค. การเปิดเผยจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
ง. การเปิดเผยอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 14)
18
64. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้านภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ข. ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด แต่ต้องให้เวลาอันสมควรที่ผู้นั้นอาจ
เสนอคำคัดค้านได้ ซึ้งต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ค. หากข้อมูลข่าวสารราชการกระทบผู้ใด ห้ามมิให้เปิดเผยโดยเด็ดขาด
ง. ให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบแจ้งต่อเจ้าหน้าที่รัฐโดยด่วน
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 17)

65. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารใด หรือมีคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้านของผู้มีประโยชน์


ได้เสีย ผู้นั้นอาจอุทธรณ์ต่อใคร
ก. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
ข. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ค. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
ง. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 18)

66. ถ้าบุคคลใดเห็น ว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนส่วนใดไม่ถูกต้องตามที่เป็นจริง ต้องดำเนินการ


อย่างไร
ก. ยื่นคำขอเป็นหนังสือให้หน่วยงานของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารนั้น
ข. ยื่นอุทธรณ์ต่อสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รรับข้อมูล
ค. ลงบันทึกประจำวันต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อแก้ไขข้อมูล
ง. ยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับข้อมูล
(ตอบ ก.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 25 วรรคสาม)

67. จากข้อ 16 จากกรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารให้ตรงตามที่มีคำขอ


ผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์ต่อใคร
ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ง. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ
(ตอบ ค.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 25 วรรคสี่)
19
68. ข้ อ มู ล ข่ าวสารของราชการที่ อ าจก่ อ ให้ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ สถาบั น พระมหากษั ต ริย์ ต้ อ งส่ งให้ ส ำนั ก
หอจดหมายเหตุแห่งชาติเมื่อครบกี่ปี
ก. 20 ปี
ข. 50 ปี
ค. 60 ปี
ง. 75 ปี
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 26 วรรคสอง (1))

69. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศต้องส่ งให้ สำนักหอจดหมายเหตุแห่ งชาติ


เมื่อครบกี่ปี
ก. 20 ปี
ข. 50 ปี
ค. 60 ปี
ง. 75 ปี
(ตอบ ก.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 26 วรรคสอง (2))

70. ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าข้อมูลข่าวสารนั้นยังไม่ควรเปิดเผย โดยมีคำสั่งขยายเวลาเก็บไว้เป็นการ


เฉพาะรายคำสั่งการขยายเวลานั้นให้กำหนดคราวละกี่ปี
ก. 3 ปี
ข. 5 ปี
ค. 7 ปี
ง. 10 ปี
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 26 วรรคสสาม (2))

71. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารราชการ ต้องรับโทษสถานใด


ก. จำคุกไม่เกินห้าเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
ข. จำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท
ง. จำคุกไม่เกินสี่เดือน หรือปรับไม่เกินสามพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ตอบ ข.) (พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 40)
20
แนวข้อสอบของฝ่ายอำนวยการ สลก.ตร. (20 ข้อ)
ด้านอื่นๆ ที่รับผิดชอบ นอกเหนือจากระเบียบงานสารบรรณเพิ่มเติม

72. วันข้าราชการพลเรือนตรงกับวันที่เท่าใดของทุกปี
ก. 1 มกราคม ของทุกปี
ข. 1 กุมภาพันธุ์ ของทุกปี
ค. 1 มีนาคม ของทุกปี
ง. 1 เมษายน ของทุกปี
(ตอบ ง.) (เป็นวันที่ตรงกับวันประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับแรก คือ วันที่ 1
เมษายน ๒๔๗๒)

73. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน มีผู้ใดเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยตำแหน่ง


ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
ง. เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
(ตอบ ง.) (เลขาธิการ ก.พ.อ้างอิง พ.ร.บ.ระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)

74. ข้าราชการพลเรือน ตาม พ.ร.บ.ระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ.2551 หมายความว่า ข้อใดถูกต้อง


ก. บุ ค คลซึ่ งได้ รั บ การบรรจุ แ ละแต่ งตั้ งตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ให้ รับ ราชการโดยได้ รับ เงิน เดื อ นจากเงิน
งบประมาณในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรือน
ข. ข้ าราชการพลเรื อ น และข้าราชการอื่น ในกระทรวง กรมฝ่ ายพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้ว ยระเบี ย บ
ข้าราชการประเภทนั้น
ค. ข้าราชการฝ่ายทหาร
ง. ถูกทัง้ ข้อ ก.และ ข.
(ตอบ ก.) (อ้างอิง พ.ร.บ.ระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา4)

75. การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นประจำปี คัดเลือกจากสังกัดใด


ก.สังกัดส่วนกลาง
ข.สังกัดส่วนภูมิภาค
ค.สังกัดส่วนท้องถิ่น
ง.ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
(ตอบ ง.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

76. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นที่ปฏิบัติราชการ ใน


สังกัดใด
ก.ในสังกัดส่วนกลาง
ข.ในสังกัดส่วนภูมิภาค
ค.ในสังกัดส่วนท้องถิ่น
21
ง.ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
(ตอบ ก.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

77. ผู้เข้ารับการคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ต้องเป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือนตามกฎหมาย ข้อใดถูกต้อง


ก. เป็นข้าราชการพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนที่ได้รับเงินเดือนจากงบประมาณ
หมวดเงินเดือน ในกระทรวง ทบวง กรม ฝ่ายพลเรือน
ข. เป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบว่าด้วยข้าราชการพลเรือนใน
สถาบันอุดมศึกษา
ค. เป็นข้าราชการตำรวจ ตามกฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2564)

78. ข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่ได้รับการคัดเลือกต้องมีตำแหน่งสูงสุดไม่เกินตำแหน่งใด และมีระยะเวลาปฏิบัติ


ราชการต่อเนื่องไม่น้อยกว่ากี่ปีนับถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีที่เข้ารับการคัดเลือก โดยให้นับต่อเนื่องทุกสังกัดที่
รับราชการ
ก.ประเภทอำนวยการระดับสูง มีระยะเวลาปฏิบัติราชการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี
ข.ประเภทอำนวยการระดับสูง มีระยะเวลาปฏิบัติราชการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 5 ปี
ค.ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ มีระยะเวลาปฏิบัติราชการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 5 ปี
ง.ถูกทั้ง ข้อ ข. และ ค.
(ตอบ ง.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

79. กรณีข้าราชการสังกัดส่วนกลาง และหน่วยงานตั้งอยู่ในภูมิภาค รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่ราชการในต่างประเทศ


ให้คัดเลือกกับต้นสังกัดใด
ก.ต้นสังกัดส่วนกลาง
ข.ในสัดส่วนของจังหวัดนั้น ๆ
ค.ในสังกัดส่วนท้องถิ่น
ง.ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
(ตอบ ก.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

80. การคัดเลือกข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่สังกัดส่วนภูมิภาค ให้หมายความรวมถึงข้าราชการข้อใด หากปฏิบัติ


หน้าที่ในพื้นที่จังหวัดใดให้อยู่ในสัดส่วนการคัดเลือกฯของจังหวัดนั้นๆ
ก.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข.ข้าราชการตำรวจ
ค.ลูกจ้างประจำในสังกัด
ง.ถูกทั้ง 3 ข้อ
(ตอบ ง. ) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)
22
81. จำนวนข้ าราชการพลเรื อ นดี เด่ น ที่ ส่ ว นราชการระดั บ กรมคั ด เลื อ กได้ ขึ้ น อยู่ กั บ จำนวนข้ าราชการและ
ลูกจ้างประจำในส่วนราชการรวมกัน ข้อใดถูกต้อง
ก.จำนวน 1 – 300 คน คัดเลือกได้ไม่เกิน 1 คน
ข.จำนวน 3,001 – 10,000 คน คัดเลือกได้ไม่เกิน 3 คน
ค.จำนวน 10,001 คนขึ้นไป คัดเลือกได้ไม่เกิน 4 คน
ง.ถูกทั้ง 3 ข้อ
(ตอบ ง.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

82. การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นแบ่งออกเป็นทั้งหมดด้วยกันกี่กลุ่ม
ก. 3 กลุ่ม
ข. 4 กลุ่ม
ค. 5 กลุ่ม
ง. 6 กลุ่ม
(ตอบ ข.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2564)

83. กลุ่มที่ 1 ตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง เทียบตำแหน่งประเภทและระดับเท่าข้าราชการตำรวจ ข้อใด


ถูกต้อง
ก. ชั้นยศ พลตำรวจตรี ตำแหน่ง รองผู้บัญชาการ
ข. ชั้นยศ พลตำรวจตรี ตำแหน่ง ผู้บังคับการ
ค. ชั้นยศ พันตำรวจเอก(พิเศษ) ตำแหน่ง รองผู้บังคับการ
ง.ขั้นยศ พันตำรวจเอก ตำแหน่ง ผู้กำกับการ
(ตอบ ข.) (อ้างอิงหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นร1008/ว30 ลง 15 ก.ย.2553 และ นร 1008/ว 4 ลง
27 มี.ค.2558 เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเทียบตำแหน่งอย่างอื่นเท่ากับการดำรงตำแหน่งข้าราชการพล
เรือนสามัญ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551)

84. กลุ่มที่ 3 ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และระดับ


ชำนาญงาน เทียบตำแหน่งประเภทและระดับเท่าข้าราชการตำรวจ ข้อใดถูกต้อง
ก.ชั้นยศ ร้อยตำรวจตรี – ร้อยตำรวจเอก ตำแหน่ง รองสารวัตร
ข.ชั้นยศ สิบตำรวจตรี – ดาบตำรวจ ตำแหน่ง ผู้บังคับหมู่
ค.ลูกจ้างประจำ
ง.ถูกทั้งข้อ ก.และ ข.
(ตอบ ง. ) (อ้างอิงหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นร1008/ว30 ลง 15 ก.ย.2553 และ นร 1008/ว 4 ลง
27 มี.ค.2558 เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเทียบตำแหน่งอย่างอื่นเท่ากับการดำรงตำแหน่งข้าราชการพล
เรือนสามัญ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551)

85. แบบประเมินสำหรับการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นใช้หลักการใด
ก.ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ การครองตน การครองคน การครองงาน การปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรม
และผลงานดีเด่น
23
ข.ประกอบด้วย 4 หั วข้อ ได้แก่ การครองตน การครองคน การครองงาน และการปฏิบัติตามมาตรฐาน
จริยธรรม
ค.ส่วนราชการสามารถกำหนดวิธีวัดและประเมินให้สอดคล้องกับวิธีปฏิบัติของแต่ละส่วนราชการเฉพาะตาม
ลักษณะงานได้และอาจเพิ่มตัวชี้วัดและเกณฑ์พิจารณาภายในส่วนราชการ
ง. ถูกทั้งข้อ ก.และ ค.
(ตอบ ง.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

86. หน่วยงานใดเป็นผู้จัดทำประกาศ ฯ และหนังสือที่ระลึกข้าราชการพลเรือนดีเด่น


ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.กระทรวงมหาดไทย
ค.กระทรวงยุติธรรม
ง.สำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบ ก.) (อ้างอิงคู่มือการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2564)

87. หน่วยงานใดเป็นหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องการคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติ
ก. สมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข. สมาคมแม่บ้านตำรวจแห่งชาติ
ค. สำนักงานเลขานุการตำรวจแห่งชาติ
ง. สำนักงานเลขาธิการ ก.พ.
(ตอบ ก.) (อ้างอิงหลักเกณฑ์การคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ ของสมาคมสภาสังคม
สงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

88. การคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติในโอกาสวันแม่แห่งชาติ มีด้วยกัน กี่ประเภท


ก. 3 ประเภท
ข. 4 ประเภท
ค. 5 ประเภท
ง. 6 ประเภท
(ตอบ ค. ) (ตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ สมาคมสภาสังคม
สงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์)

89. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของแม่ดีเด่นแห่งชาติ
ก. มีสัญชาติไทย
ข. มีอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปี ยกเว้นแม่ของผู้เสียสละ
ค. เป็นผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง. ) (ตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ สมาคมสภาสังคม
สงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์)
24
90. ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดให้มีการคัดเลือกแม่ดีเด่นในประเภทใด
ก. แม่ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
ข. แม่ผู้มีความมานะอดทนขยันหมั่นเพียร
ค. แม่ของลูกผู้ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
ง. แม่ของผู้เสียสละ
(ตอบ ง.) (ตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกแม่ดีเด่นแห่งชาติ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ สมาคมสภาสังคมสงเคราะห์
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์)

91. นอกจากคุณสมบัติทั่วไปแล้ว แม่ดีเด่นประเภทแม่ของผู้เสียสละ ต้องมีคุณสมบัติพิเศษ อย่างไร


ก.คัดเลือกจากแม่ที่มีลูกเป็นทหาร ตำรวจหรืออาสาสมัครซึ่งได้เสียสละในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อความมั่นคง
ของชาติ
ข.คัดเลือกจากแม่ที่มีลูกเป็นทหาร ตำรวจหรืออาสาสมัครซึ่งได้เสียสละในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อการรักษา
ความสงบเรียบร้อย การบรรเทาสาธารณภัย
ค.คัดเลือกจากแม่ที่มีลูกเป็นทหาร ตำรวจหรืออาสาสมัครซึ่งได้เสียสละในการปฏิบัติหน้าที่ประกอบวีรกรรมที่
ควรแก่การยกย่อง หรือทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติอย่างเด่นชัด สมควรเป็นแบบอย่างแก่คนทั่วไป
ง.ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง. ) (ตามหลั ก เกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กแม่ ดี เด่ น แห่ งชาติ ในโอกาสวั น แม่ แ ห่ งชาติ สมาคมสภาสั งคม
สงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์)
25
แนวข้อสอบฝ่ายบริการการประชุมและพิธีการ สำนักงานเลขานุการตำรวจแห่งชาติ (10 ข้อ)

92. วันฉัตรมงคลในปัจจุบัน เป็นวันและเดือนใด


ก. 3 พฤษภาคม
ข. 4 พฤษภาคม
ค. 5 พฤษภาคม
ง. 6 พฤษภาคม
(ตอบ ข.) (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ความหมายของวันฉัตรมงคลไว้ว่า “พระราช
พิธีฉลองพระมหาเศวตฉัตร ทำในวันซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก” ซึ่งตรงกับวันที่ 4 พฤษภาคมของทุกปี)

93. พระราชพิธี หมายถึงข้อใด


ก. งานที่จัดขึ้นโดยรัฐบาลเป็นธรรมเนียม
ข. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิความเชื่อถือตามขนมธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังและเป็นสิริมงคล
ค. พิธีที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้ตามราชประเพณี
ง. งานที่มีหมายกำหนดการซึ่งมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน
(ตอบ ค. ) (พจนานุ กรมฉบั บ ราชบั ณ ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ ความหมายของพระราชพิ ธีไว้ว่า “พิธีที่
พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้ตามราชประเพณี เช่น พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธี
สงกรานต์ พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี.”)

94. คำว่า “พิธี” ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ คือข้อใด


ก. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิความเชื่อถือตามขนมธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังและเป็นสิริมงคล
ข. งานที่จัดขึ้นโดยรัฐบาลเป็นธรรมเนียม
ค. งานหรื อ พิ ธี ที่ รั ฐ บาลกราบบั ง คมทู ล พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เพื่ อ ทราบรั บ ไว้ เ ป็ น งานรั ฐ พิ ธี และมี
หมายกำหนดการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ เป็นองค์ประธาน
ง. งานที่มีหมายกำหนดการซึ่งมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน
(ตอบ ก. ) (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ความหมายของพิธีไว้ว่า “งานที่จัดขึ้นตาม
ลั ท ธิ ห รื อ ความเชื่ อ ถื อ ตามขนบธรรมเนี ย มประเพณี เพื่ อ ความขลั งหรื อ ความเป็ น สิ ริ ม งคลเป็ น ต้ น เช่ น พิ ธี
พระราชทานปริญญาบัตร พิธีมงคลสมรส พิธีประสาทปริญญา”)

95. คำว่า “รัฐพิธี” ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ คือข้อใด


ก. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิความเชื่อถือตามขนมธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังและเป็นสิริมงคล
ข. งานที่จัดขึ้นโดยรัฐบาลเป็นธรรมเนียม
ค. งาน ที่ รั ฐ บ าลจั ด ขึ้ น โดยกราบ บั งคม ทู ลพ ระกรุ ณ าให้ ท รงรั บ ไว้ มี กำห น ดการเป็ น ป ระจำ
ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน
26
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบ ค.) (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ความหมายของรัฐพิธีไว้ว่า “งานที่รัฐบาลจัด
ขึ้นโดยกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงรับไว้มีกำหนดการเป็นประจำ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จ
พระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน เช่นวันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ระลึ กพระบาทสมเด็จพระ
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า.”)

96. ข้อใดเป็นรัฐพิธีประจำปี
ก. วันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ข. วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า
ค. วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง. ) (กองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. ปฏิทินงานพระราชพิธีและรัฐพิธีประจำปีที่สำคัญ
ของจังหวัด (ยกเว้นงานราชพิธีและรัฐพิธีทางศาสนา). เข้าถึงได้จาก http://www.gad.moi.go.th/Piti-20-
02-63.html)

97. คำว่า “กำหนดการ” และ “หมายกำหนดการ” เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร


ก. เหมือนกัน เพราะหมายถึงขั้นตอนของงานที่จะต้องทำตามลำดับ
ข. เหมือนกัน เพราะเป็นเอกสารประเภทประกาศอย่างเดียวกัน
ค. ไม่เหมือนกัน เพราะใช้เป็นเอกสารแจ้งกำหนดขั้นตอนของงานทั่ว ๆ ไป ส่วนหมายกำหนดการ หมายถึงใช้
เป็นเอกสารแจ้งกำหนดขั้นตอนของงานพระราชพิธีโดยเฉพาะ
ง. ไม่เหมือนกัน เพราะหมายกำหนดการจะกำหนดแนวทางปฏิบัติ ส่วนกำหนดการจะบอกเฉพาะลำดับของ
งาน
(ตอบ ค.) (สำนักงานราชบัณฑิตยสภาOffice of the Royal Society บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย”
ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น.)

98. จากข้อ 1-4 ต่อไปนี้ จงเรียงลำดับวันของพระราชพิธีให้ถูกต้อง


1. พระราชพิธีวันปิยมหาราช
2. พระราชพิธีวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์
3. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ก. 4 3 2 1 ข. 2 1 4 3
ค. 2 4 3 1 ง. 3 2 4 1
(ตอบ ค.) (พระราชพิธี หมายถึง งานที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดไว้
เป็นประจำตามราชประเพณี ซึ่งจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธี ก่อนถึงงานพระราชพิธี จะทรงพระ
27
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีหมายกำหนดการพระราชพิธีที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพระราชกรณียกิจ
โดยปรกติแล้วผู้มีตำแหน่งเฝ้าฯ มีหน้าที่จะต้องไปเข้าเฝ้าฯ ในพระราชพิธีดังกล่าว ซึ่งเรียงลำดับในรอบปีได้ดังนี้
1. พระราชพิธีวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์
กำหนดจัดทุกวันที่ 6 เมษายน ของทุกปี
2. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ กำหนดจัดในราวเดือนพฤษภาคม
3. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กำหนดจัดทุกวันที่ 28 กรกฎาคม
ของทุกปี
4. พระราชพิธีวันปิยมหาราช กำหนดจัดทุกวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี)

99. การพระราชพิธีกฐินหลวง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน วัดใดไม่อยู่ใน


รายการเสด็จพระราชดำเนิน
ก. วัดบวรนิเวศวิหาร
ข. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ค. วัดเทพศิรินทราวาส
ง. วัดนิเวศธรรมประวัติ
(ตอบ ข.) (เนื่องจากเป็นวัดหลวง ไม่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษา จากราชกิจจานุเบกษาเล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๕๓ ข
ลง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ หน้า ๓-๕ )

100. วันฉัตรมงคล มีความสำคัญอย่างไร ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน


ก. พระราชพิธีฉลองพระมหาเศวตฉัตร
ข. พระราชพิธีจัดสร้างฉัตรประจำรัชกาล
ค. วันที่ระลึกถึงพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(ตอบ ก.) (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ความหมายของฉัตรมงคลไว้ว่า พระราชพิธี
ฉลองพระมหาเศวตฉัตร ทำในวันซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก.)

101. ข้อใดคือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พ้นสมัยพระราชทานแล้ว
ก. ราชมิตราภรณ์
ข. นพรัตนราชวราภรณ์
ค. ดิเรกคุณาภรณ์
ง. วัลลภาภรณ์
(ตอบ ง.) (สถาปนาขึ้นในรัชกาลที่ 6 ปัจจุบันพ้นสมัยพระราชทานแล้ว อ้างอิง : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์
ร.6. (2561) วัลลาภรณ์. เข้าถึงได้จาก
https://m.facebook.com/rama6memorial/posts/1998848093708454/)
ข้อสอบในสายงานอำนวยการ (งานวินัย)
1. ข้อใดคือการกระทำความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ก. ละทิ้งหน้าที่ราชการในคราวเดียวกันเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุอันควร
ข. ทำอาวุธปืนของทางราชการสูญหายและยินยอมชดใช้
ค. เหยียดหยาม ข่มเหง หรือทำร้ายประชาชนผู้มาติดต่อราชการหรือในระหว่างปฏิบัติหน้าที่
ง. นำอาวุธปืนของทางราชการไปจำนำ
(ตอบข้อ ข.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ข้อ 6.1.1)

2. ข้อใดคือการกระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. ปล่อยปละละเลยให้คู่สมรสเล่นการพนันทีบ่ ้านพักของตัวเอง
ข. เสพสุรามึนเมา ไม่สามารถครองสติได้
ค. ทำสำนวนการสอบสวนล่าช้า
ง. เป็นชู้หรือมีชู้กับสามีหรือภรรยาของผู้อื่น
(ตอบข้อ ง.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 10.1)

3. ข้อใดคือการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. ไม่รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่ ผู้น้อย
ข. กระทำความผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก
ค. ไม่รักษาความลับของทางราชการ
ง. กระทำการอันเป็นเหตุให้แตกความสามัคคีระหว่างข้าราชการตำรวจ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 79)

4. โทษทางวินัยมีกี่สถาน
ก. 5 สถาน
ข. 6 สถาน
ค. 7 สถาน
ง. 8 สถาน
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82)

5. ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินัย
ก. ว่ากล่าวตักเตือน
ข. ภาคทัณฑ์
ค. ให้ออกจากราชการ
ง. ถูกทั้ง ก และ ค
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82)
6. การลงโทษทัณฑกรรม หมายถึงอะไร
ก. การลงโทษแก่ผู้กระทำผิดอันควรต้องรับโทษสถานหนึ่งสถานใดแต่มีเหตุอันควรปรานี
ข. การให้ทำงานโยธา อยู่เวรยาม นอกจากหน้าที่ประจำหรือการให้ทำงานสาธารณประโยชน์
ค. การกักตัวในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควรตามที่กำหนด
ง. ขังในที่จัดไว้เพื่อควบคุมแต่เฉพาะคนเดียวหรือหลายคนรวมกันตามที่จะได้มีคำสั่ง
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82)

7. เมื่อมีอดีตข้าราชการตำรวจถูก กล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ภายหลังเกษียณอายุ ข้าราชการไป


แล้ว ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจต้องเริ่มสอบสวนภายในระยะเวลาเท่าใด
ก. ภายใน ๑ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ข. ภายใน ๑ ปีนับแต่วันที่ทราบเรื่อง
ค. ภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ง. ภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่ทราบเรื่อง
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 มาตรา 94)

8. ข้าราชการตำรวจที่เกษียณอายุไปแล้ว ต่อมาถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาผู้มี


อำนาจต้องสั่งลงโทษภายในระยะเวลาเท่าใด
ก. ภายใน ๓ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ข. ภายใน ๓ ปีนับแต่วันที่เริ่มต้นดำเนินการทางวินัย
ค. ภายใน ๕ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ง. ภายใน ๕ ปีนับแต่วันที่เริ่มต้นดำเนินการทางวินัย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 มาตรา 94)

9. ข้าราชการตำรวจที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ต่อมาได้เกษียณอายุไปแล้ว ผู้บังคับบัญชา


ผู้มีอำนาจต้องสั่งลงโทษภายในระยะเวลาเท่าใด
ก. ภายใน ๓ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ข. ภายใน ๓ ปีนับแต่วันที่เริ่มต้นดำเนินการทางวินัย
ค. ภายใน ๕ ปีนับแต่วันที่ผู้นั้นออกจากราชการ
ง. ภายใน ๕ ปีนับแต่วันที่เริ่มต้นดำเนินการทางวินัย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 มาตรา 94)

10. ข้อใดเป็นเหตุจำเป็นที่ผู้บังคับบัญชามีอำนาจกักตัวข้าราชการตำรวจซึ่งถูกกล่าวหาไว้เพื่อประโยชน์
ในการสอบสวน
ก. ผู้ถูกกล่าวหาจะหลบหนี
ข. ผู้ถูกกล่าวหาจะไปทำร้ายผู้เสียหาย
ค. ผู้ถูกกล่าวหาจะไปข่มขู่พยาน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 88)
11. ข้อใดถือเป็นกรณีที่ข้าราชการตำรวจถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน
ก. ข้าราชการตำรวจเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนได้โดยสม่ำเสมอ
ข. ข้าราชการตำรวจย้ายจากสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ค. ข้าราชการตำรวจไปดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ง. ข้าราชการตำรวจไม่สมัครใจไปปฏิบัติงานตามความประสงค์ของทางราชการ
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 100)

1๒. ผู้บังคับบัญชามีอำนาจกักตัวข้าราชการตำรวจซึ่งถูกกล่าวหาไว้เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนได้เป็น
ระยะเวลาเท่าใด
ก. ไม่เกินอำนาจลงโทษกักขังของผู้สั่งกักตัวและต้องไม่เกิน ๕ วัน
ข. ไม่เกินอำนาจลงโทษกักขังของผู้สั่งกักตัวและต้องไม่เกิน ๗ วัน
ค. ไม่เกินอำนาจลงโทษกักขังของผู้สั่งกักตัวและต้องไม่เกิน ๑๕ วัน
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 88)

1๓. หากผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจพิจารณาแล้วเห็นว่าข้าราชการตำรวจผู้ใดกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
แต่มีเหตุอันควรลดหย่อน ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจจะสามารถลงโทษสถานใดได้
ก. ปลดออก
ข. ตัดเงินเดือน
ค. กักขัง
ง. กักยาม
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 90)

1๔. ข้อใดเป็นอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวนเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน
ก. เรียกให้บริษัทมาให้ถ้อยคำหรือชี้แจงข้อเท็จจริง
ข. เรียกให้หน่วยราชการส่งเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
ค. เรียกให้ห้างหุ้นส่วนส่งผู้แทนหรือบุคคลในสังกัดมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคำ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 93)

1๕. ความผิดวินัยฐานใดผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสามารถลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงได้
ก. ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้ตนเองได้รับประโยชน์ที่มิควรได้
ข. ใช้กิริยาวาจาหรือประพฤติตนในลักษณะที่ไม่สมควร
ค. เหยียดหยามประชาชนผู้ติดต่อราชการ
ง. ประพฤติตนในลักษณะที่ไม่สมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 78)

๑๖. ผู้บังคับบัญชาสามารถใช้อาวุธหรือกำลังบังคับผู้ใต้บังคับบัญชาในกรณีใดได้
ก. เพื่อประโยชน์ในการรักษาวินัยและปราบปรามข้าราชการตำรวจผู้ก่อการกำเริบ
ข. เพื่อบังคับข้าราชการตำรวจผู้ละทิ้งหน้าที่ให้กลับทำหน้าที่ของตน
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และขัอ ข.
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 81)

๑๗. ข้อใดคือความหมายของการสืบสวนข้อเท็จจริง
ก. การแสวงหาข้อเท็จจริง
ข. การแสวงหาพยานหลักฐาน
ค. การรวบรวมพยานหลักฐาน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 4)

๑๘. ข้อใดต่อไปนี้มีกรณีที่ควรทำการสืบสวนข้อเท็จจริง
ก. ผู้ใต้บังคับบัญชามีเหตุควรสงสัยว่ากระทำผิดวินัย
ข. มีส่วนราชการอื่นหรือหน่วยงานอื่นแจ้งมา
ค. ปรากฏเป็นข่าวในสื่อสารมวลชน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 5)

๑๙. ผู้สั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนและคณะกรรมการสืบสวนต้องไม่เป็นบุคคลตามข้อใด
ก. มีส่วนร่วมกระทำและ รู้เห็นเหตุการณ์ในเรื่องที่สืบสวน
ข. มีส่วนได้เสียในเรื่องที่สืบสวน
ค. มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกสืบสวน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 9)

2๐.บุคคลใดต่อไปนี้ไม่อาจแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสืบสวนได้
ก. เป็นบุพการีกับผู้ร้องเรียนกล่าวหา
ข. เป็นคู่สมรสกับผู้ร้องเรียนกล่าวหา
ค. เป็นผู้สืบสันดานกับผู้ร้องเรียนกล่าวหา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 9)

2๑. ประธานกรรมการหรือผู้สืบสวนข้อเท็จจริงต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
ก. เป็นชั้นสัญญาบัตร
ข. มียศไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา
ค. มีตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 10)
2๒. ในการแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงสามารถแต่งตั้งเลขานุการได้กี่คน
ก. ๑ คน
ข. ๒ คน
ค. ๓ คน
ง. แล้วแต่ประธานกรรมการกำหนด
(ตอบข้อ ก) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 10)

2๓. ในการแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงสามารถแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้กี่คน
ก. ๑ คน
ข. ๒ คน
ค. แล้วแต่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนกำหนด
ง. แล้วแต่ประธานกรรมการกำหนด
(ตอบข้อ ค) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 10)

2๔. แบบ สส.๑ คือข้อใดดังต่อไปนี้


ก. การแจ้งข้อกล่าวหา
ข. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน
ค. คำให้การผู้กล่าวหา
ง. คำให้การผู้ถูกกล่าวหา
(ตอบข้อ ข) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 11)

2๕. หากผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมรับทราบคำสั่งแต่งตั้งกรรมการหรือไม่อาจแจ้งผู้ถูกกล่าวหาทราบได้ ให้ผู้สั่งแต่งตัง้


คณะกรรมการดำเนินการอย่างไร
ก. ส่งสำเนาคำสั่งให้ผู้บังคับบัญชา
ข. ส่งสำเนาคำสั่งทางไปรษณีย์ด่วนพิเศษ (EMS)
ค. ส่งสำเนาคำสั่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ง. ติดประกาศที่ทำงานของผู้ถูกกล่าวหา
(ตอบข้อ ค) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 12)

๒๖. เมื่อได้รับทราบคำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนแล้ว ให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงข้อเท็จจริง ต่อประธาน


กรรมการสืบสวนภายในกี่วัน
ก. ๗ วัน
ข. ๑๕ วัน
ค. ๒๐ วัน
ง. ๓๐ วัน
(ตอบข้อ ข) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 12)

๒๗. การส่งเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนต้องส่งให้ผู้ใด


ก. ประธานกรรมการสืบสวน
ข. กรรมการสืบสวน
ค. ผู้บังคับบัญชาของประธานกรรมการสืบสวน
ง. ผู้บังคับบัญชาของคณะกรรมการสืบสวน
(ตอบข้อ ก) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 12)

๒๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสืบสวน
ก. รวบรวมประวัติของผู้ถูกกล่าวหา
ข. จัดทำบันทึกการปฏิบัติงานทุกครั้งที่มีการสืบสวน
ค. ห้ามมิให้บุคคลอื่นเข้าร่วมทำการสืบสวน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 14)

๒๙. การลงมติของที่ประชุมคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงให้ถือเสียงข้างมาก หากคะแนนเสียงในที่ประชุม


เท่ากัน ให้ดำเนินการอย่างไร
ก. ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเป็นเสียงชี้ขาด
ข. ให้ประธานงดออกเสียง
ค. ให้ออกเสียงลงมติใหม่
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ก) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 15)

3๐. ระยะเวลาในการสืบสวนข้อเท็จจริงเริ่มนับตั้งแต่เมื่อใด
ก. นับแต่ประธานกรรมการรับทราบคำสั่ง
ข. นับแต่กรรมการรับทราบคำสั่ง
ค. นับแต่ผู้ถูกกล่าวหารับทราบคำสั่ง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ก) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 17)

3๑. การสืบสวนต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
ก. ไม่เกิน ๑๕ วัน
ข. ไม่เกิน ๓๐ วัน
ค. ไม่เกิน ๔๕ วัน
ง. ถ้าไม่มีการขยายเวลาให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วัน
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 17)

๓2. การสืบสวนข้อเท็จจริง กรณีคณะกรรมสืบสวนดำเนินการสืบสวนไม่แล้วเสร็จ ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ


สืบสวนอนุมัตขิ ยายระยะเวลาสืบสวนได้ไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 17)
๓3. การสืบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 60 วัน
ง. ไม่มีกำหนดระยะเวลา
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 17)

๓4. กรณีการสืบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติม ไม่แล้วเสร็จ ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนอนุมัติ ขยายระยะเวลา


สืบสวนเพิ่มเติมได้ไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 17)

๓5. การสอบปากคำผู้ถูกกล่าวหาและพยานของคณะกรรมการสืบสวนต้องมีกรรมการไม่น้อยกว่ากี่คน
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 23)

3๖. แบบ สส.๒ คือข้อใด


ก. บันทึกปากคำพยาน
ข. บันทึกลงมติของคณะกรรมการ
ค. บันทึกการแจ้งเรื่องที่ถูกกล่าวหาหรือถูกร้องเรียน
ง. บันทึกปากคำผู้ถูกกล่าวหา
(ตอบข้อ ค) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 19)

3๗. ในระหว่างการสืบสวน หากผู้ถูกกล่าวหาย้ายไปอยู่นอกบังคับบัญชาของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน


คณะกรรมการสืบสวนต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ยุติการสืบสวนทันที
ข. แจ้งผู้บังคับบัญชาใหม่ของผู้ถูกสืบสวนให้ทราบ
ค. สืบสวนต่อไปจนเสร็จ
ง. เสนอให้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดใหม่
(ตอบข้อ ค) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 30)

3๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสิทธิของผู้ถูกกล่าวหา
ก. คัดค้านผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข. คัดค้านกรรมการ
ค. นำทนายความหรือที่ปรึกษาเข้าร่วมฟังการสืบสวนได้ แต่ให้ถ้อยคำแทนไม่ได้
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 33-35)

3๙. ข้อใดเป็นหน้าที่ของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน
ก. ตรวจสอบความถูกต้องของสำนวนการสืบสวน
ข. สั่งให้คณะกรรมการสืบสวนเพิ่มเติม
ค. ส่งเรื่องให้พนักงานสอบสวนดำเนินคดีหากมีมูลความผิดอาญา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 36)

4๐. ข้อใดเป็นอำนาจของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวน
ก. สั่งยุติเรื่องถ้าเห็นว่าผลการสืบสวนไม่มีมูล
ข. สั่งลงโทษภายในอำนาจ
ค. เสนอความเห็นต่อผู้บังคับบัญชากรณีมีมูลกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2556 ข้อ 36)

๔๑. เมื ่ อ ข้ า ราชการตำรวจถู ก กล่ า วหาว่ า กระทำผิ ด วิ น ั ย อย่ า งร้ า ยแรง ให้ ผ ู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชาผู ้ ม ี อ ำนาจ
ดำเนินการอย่างไร
ก. สืบสวนข้อเท็จจริง
ข. ตรวจสอบข้อเท็จจริง
ค. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 86)

4๒. ข้อใดเป็นลักษณะต้องห้ามของการเป็นคณะกรรมการสอบสวน
ก. รู้เห็นเหตุการณ์ในเรื่องที่สอบสวน
ข. มีส่วนได้เสียในเรื่องที่สอบสวน
ค. มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 3)

4๓. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ผู้ทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการสอบสวนต้องดำรงตำแหน่งระดับใด


ก. ตำแหน่งระดับสูงกว่าผู้ถูกกล่าวหา
ข. ตำแหน่งระดับไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา
ค. ตำแหน่งระดับเท่ากับผู้ถูกกล่าวหา
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 4)
4๔. หากผู้ถูกกล่าวหามีความประสงค์จะคัดค้านคณะกรรมการสอบสวน ผู้ถูกกล่าวหาจะต้องทำเป็นหนังสือ
ยื่นต่อผู้ใด
ก. ยื่นต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข. ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาเหนือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนขึ้นไปหนึ่งชั้น
ค. ถูกทุกข้อ
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ก.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 37)

4๕. ในการดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนต้องระบุรายละเอียดใดบ้าง


ก. ชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา
ข. เรื่องที่กล่าวหา
ค. ชื่อและตำแหน่งของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสอบสวน
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 5)

4๖. เมื่อประธานกรรมการสอบสวนได้รับสำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนและเอกสารหลักฐานที่
เกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหาแล้ว ต้องดำเนินการประชุมคณะกรรมการสอบสวนเพื่อพิจารณาวางแนวทางการ
สอบสวน รวมทั้งแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบภายในกี่วัน
ก. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ประธานกรรมการสอบสวนได้รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข. ภายใน 20 วันนับแต่วันที่ประธานกรรมการสอบสวนได้รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ค. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ประธานกรรมการสอบสวนได้รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ง. ภายใน 45 วันนับแต่วันที่ประธานกรรมการสอบสวนได้รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
(ตอบข้อ ก.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 15(1))

4๗. คณะกรรมการสอบสวนต้องประชุมพิจารณาลงมติและทำรายงานการสอบสวนเสนอต่อผู้สั่งแต่ งตั้ ง


คณะกรรมการสอบสวนภายในกี่วัน
ก. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้างแล้วเสร็จ
ข. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้างแล้วเสร็จ
ค. ภายใน 45 วันนับแต่วันที่รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้างแล้วเสร็จ
ง. ภายใน 60 วันนับแต่วันที่รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้างแล้วเสร็จ
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 15(5))

4๘. ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดำเนิ นการในแต่ละขั้นตอนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่


กำหนด เมื่อคณะกรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อขอขยายระยะเวลาการ
สอบสวน ในกรณีเช่นนี้ให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสั่งขยายระยะเวลาดำเนินการได้ตามความจำเป็น
ครั้งละกี่วัน
ก. ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
ข. ครั้งละไม่เกิน 30 วัน
ค. ครั้งละไม่เกิน 60 วัน
ง. ครั้งละไม่เกิน 45 วัน
(ตอบข้อ ค.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 15 วรรคสอง)
4๙. ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าข้าราชการตำรวจผู้อื่นมีส่วนร่วมในการกระทำการในเรื่องที่ทำการ
สอบสวนนั้นด้วย คณะกรรมการสอบสวนต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ให้เลขานุการคณะกรรมการสอบสวนรายงานไปยังผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
ข. ให้ประธานกรรมการสอบสวนรายงานไปยังผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
ค. ให้เลขานุการคณะกรรมการสอบสวนรายงานไปยังผู้บังคับบัญชาของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
โดยเร็ว
ง. ให้ประธานกรรมการสอบสวนรายงานไปยังผู้บังคับบัญชาของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
(ตอบข้อ ข.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 28)

๕๐. ในระหว่างการสอบสวน หากผู้ถูกกล่าวหาไปอยู่นอกบังคับบัญชาของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน


คณะกรรมการสอบสวนต้องดำเนินการอย่างไร
ก. รายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกกล่าวหาดำเนินการ
สอบสวน
ข. แจ้งผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกกล่าวหาเพื่อดำเนินการสอบสวน
ค. ทำการสอบสวนต่อไปจนเสร็จ แล้วทำรายงานการสอบสวนและเสนอสำนวนการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน และให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาคนใหม่ของ ผู้ถูก
กล่าวหาเพื่อดำเนินการต่อไป
ง. ทำการสอบสวนต่ อ ไปจนเสร็ จ แล้ ว ทำรายงานการสอบสวนและเสนอสำนวนการสอบสวนต่ อ
ผู้บังคับบัญชาคนใหม่ของผู้ถูกกล่าวหาเพื่อดำเนินการต่อไป
(ตอบข้อ ค.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 30)

5๑. เมื่อคณะกรรมการสอบสวนได้ร วบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ เสร็จแล้ว ต้องประชุมพิจารณาลงมติ


อย่างไรบ้าง
ก. ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยหรือไม่ ถ้าผิดเป็นความผิดวินัยกรณีใด ตามมาตราใด และควรได้รับโทษ
สถานใด
ข. ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยกระทำผิดวินัยอันมิใช่ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง หรือหย่อนความสามารถใน
อันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพร่องในหน้าที่ราชการหรือประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำแหน่งในอันที่จะ
ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือไม่ อย่างไร
ค. กรณีไม่ได้ความแน่ชัดว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง แต่มีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่
ถูกสอบสวน หากจะให้รับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการและควรให้ออกจากราชการหรือไม่
อย่างไร
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 31)

5๒. เมื่อคณะกรรมการสอบสวนได้เสนอสำนวนการสอบสวนให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแล้ ว
ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนต้องพิจารณาสั่งการให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
ก. ไม่เกิน 60 วันนับแต่วันที่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับสำนวน
ข. ไม่เกิน 180 วันนับแต่วันที่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับสำนวน
ค. ไม่เกิน 240 วันนับแต่วันที่ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้รับสำนวน
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 36)
5๓. ในการสอบสวน ผู้ถูกกล่าวหาสามารถนำบุคคลใดเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้
ก. ทนายความ
ข. ที่ปรึกษา
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2547 ข้อ 38 วรรคท้าย)

5๔. คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการพิจารณาสั่งลงโทษมีระดับใดบ้าง
ก. ระดับ ตร.
ข. ระดับ บช.
ค. ระดับ บก.
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการพิจารณาสั่งลงโทษ พ.ศ.2547 ข้อ 3)

5๕. คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการพิจารณาสั่งลงโทษในระดับ บก. จะต้องมีองค์ประชุมจำนวนเท่าใด


ก. อย่างน้อย 3 คน
ข. อย่างน้อย 5 คน
ค. อย่างน้อย 7 คน
ง. อย่างน้อย 9 คน
(ตอบข้อ ก.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการพิจารณาสั่งลงโทษ พ.ศ.2547 ข้อ 3(3))

5๖. ข้อใดไม่ใช่ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
ก. กระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงต่อหน้าผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจลงโทษ
ข. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวันและผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการสืบสวนแล้ว
เห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยกรณีที่เป็นความผิดปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ.2547 ข้อ 2)

5๗. ข้อใดเป็นวิธีการของผู้บังคับบัญชาเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจมีวินัย
ก. สร้างขวัญและกำลังใจอย่างพอเพียงและเหมาะสม
ข. ปกครองและดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความเที่ยงธรรมและเสมอหน้ากั น โดยมุ่งเน้นส่งเสริมคนดีและ
งดเว้นการช่วยเหลือผู้ประพฤติผิดวินัย
ค. จูงใจหรือกระทำการอื่นใดในอันที่จะเสริมสร้างและพัฒนาทัศนคติ จิตสำนึก และพฤติกรรมให้เป็นผู้มีวินัย
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยวิธีเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจมีวินัยฯ พ.ศ.2549 ข้อ 4)

5๘. ข้อใดเป็นวิธีการของผู้บังคับบัญชาเพื่อป้องกันมิให้ข้าราชการตำรวจกระทำผิดวินัย
ก. เอาใจใส่ สังเกตการณ์ รายงานเหตุ และขจัดเหตุที่อาจก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัยในเรื่องที่อยู่ในวิ สัยที่
จะดำเนินการป้องกันตามควรแก่กรณีได้
ข. กวดขัน ควบคุม กำกับดูแล การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชา ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ
ของทางราชการอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและเป็นผลดีต่อทางราชการ
ค. ดำเนินการทางวินัยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด และด้วยความรวดเร็ว เป็นธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยวิธีเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจมีวินัยฯ พ.ศ.2549 ข้อ 5)

5๙. เมื่อข้าราชการตำรวจถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือต้องหาว่า


กระทำความผิดอาญาหรือถูกฟ้องคดีอาญา เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
การสั่งพักราชการ จะสั่งได้เมื่อมีเหตุใด
ก. ถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือต้องหาว่ากระทำความผิดอาญาหรือถูกฟ้องคดีอาญาในเรื่องเกี่ยวกับการทุจริต
ต่อหน้าที่ราชการ หรือเกี่ยวกับความประพฤติหรือพฤติการณ์อันไม่น่าไว้วางใจ และพนักงานอัยการมิได้รับเป็น
ทนายแก้ต่างให้ และผู้มีอำนาจพิจารณาเห็นว่าถ้าให้คงอยู่ในหน้าที่ราชการอาจเกิดการเสียหายแก่ราชการ
ข. มีพฤติการณ์ที่แสดงว่าถ้าคงอยู่ในหน้าที่ราชการจะเป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนพิจารณา หรือจะ
ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
ค. อยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดีอาญาหรือต้องจำคุกโดยคำพิพากษาและได้ถูก
ควบคุม ขัง หรือต้องจำคุกเป็นเวลาติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน แล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน พ.ศ.2547 ข้อ 3)

6๐. ในการดำเนินการทางวินัย ต้องคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง


ก. ความประพฤติและการปฏิบัติที่ผ่านมาของผู้กระทำผิด
ข. มูลเหตุจูงใจ สภาพแวดล้อม
ค. ความรู้สำนึกในการกระทำและแก้ไขเยียวยาผลร้ายหรือผลกระทบหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทำ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยวิธีเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจมีวินัยฯ ข้อ 5 วรรคท้าย)

6๑. กรณีมีพฤติการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐ


มิให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด พ.ศ.๒๕๔๒
ก. กักขัง ๓๐ วัน
ข. ปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี
ค. ให้ออกหย่อนความสามารถ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(ตอบข้อ ข.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 16.3)

6๒. ด.ต.แทนใจ ได้รับสิทธิพักอาศัยห้องพักของทางราชการ ได้นำสุนัขมาเลี้ยงไว้หน้าห้องพักของตน


การกระทำของ ด.ต.แทนใจ
ก. ไม่ผิดวินัยเพราะไม่มีระเบียบห้ามเลี้ยงสุนัขในบ้านพักราชการ
ข. ไม่ผิดวินัยเนื่องจากสุนัขไม่ได้มาถ่ายอุจจาระเลอะหน้าห้องผู้ใด
ค. ผิดวินัยไม่ร้ายแรงเพราะไม่ปฏิบัติตามระเบียบและข้อปฏิบัติของผู้พักอาศัย
ง. ผิดวินัยอย่างร้ายแรงเพราะเป็นการนำห้องพักไปใช้ในการอื่นนอกจากการพักปกติ
(ตอบข้อ ค.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง 13.1)
6๓. พฤติการณ์ข้อใดเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ก. ได้รับสิทธิอาศัยในอาคารบ้านพักของทางราชการ แล้วเอาไปให้ผู้อื่นเช่า
ข. เป็นชู้หรือมีชู้กับภรรยาหรือสามีของผู้อื่น
ค. จดทะเบียนสมรสซ้อน
ง. เล่นการพนันผิดกฎหมาย
(ตอบข้อ ค.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง 12.3)

6๔. พฤติการณ์ข้อใดเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. เสพสุรามึนเมาจนไม่สามารถครองสติได้ จนเกิดเรื่องเสื่อมเสียหรือเสียหาย
ข. ทำอาวุธปืนของทางราชการหายและไม่ยอมชดใช้ราคา
ค. ขับขี่รถยนต์โดยประมาทเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บถึงแก่ความตาย
ง. มีอาวุธปืนผิดกฎหมายไว้ในความครอบครอง
(ตอบข้อ ง.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 8.1)

6๕. ร.ต.ต.วิศรุต บางน้ำดี รอง สว. กับพวก ไปรับประทานอาหารและดื่มสุราที่ร้านอาหาร ตั้งแต่ ๒๓.๐๐ น.


จนถึง ๐๓.๐๐ น. ของวันใหม่ เมื่อพนักงานมาเก็บค่าอาหาร ได้พูดเสียงดังกับพนักงานว่า “ไม่จ่ายได้มั๊ย โต๊ะนี้มี
ตำรวจกิน” แต่ได้ชำระค่าอาหารไปทั้งหมด การกระทำดังกล่าวเป็นความผิดวินัยหรือไม่
ก. ไม่เป็นความผิดวินัยเนื่องจากได้จ่ายค่าอาหารไปทั้งหมด
ข. ผิดวินัยไม่ร้ายแรงเพราะใช้กิริยาวาจาหรือประพฤติตนในลักษณะที่ไม่สมควร
ค. ไม่ผิดวินัยเพราะเป็นการพูดเล่น หยอกล้อกับพนักงาน
ง. ผิดวินัยไม่ร้ายแรงเพราะอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 78(12))

6๖. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. การลงโทษกักยาม ให้นำตัวผู้ถูกลงโทษไปกักไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งตามที่เห็นสมควร
ข. การลงโทษกักขัง ให้นำตัวผู้ถูกลงโทษไปรับโทษที่หน่วยงานอื่นที่ผู้ถูกลงโทษมิได้ประจำอยู่
ค. การลงโทษกักขัง ให้ลงโทษกักขังไว้ในสถานที่จัดไว้โดยเฉพาะ ห้ามมิให้กักขังรวมกับผู้ต้องหา โดยไม่มีข้อยกเว้น
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบข้อ ง.) (กฎ ก.ตร.ว่าด้วยอำนาจการลงโทษฯ พ.ศ.2547 ข้อ 7 - 9)

6๗. การว่ากล่าวตักเตือน ข้อใดถูกต้อง


ก. เป็นโทษที่ต่ำกว่าภาคทัณฑ์
ข. การกระทำยังไม่ถึงกับเป็นความผิดวินัย
ค. เป็นความผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ
ง. ว่ากล่าวตักเตือนเป็นโทษทางวินัยสถานหนึ่ง
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 89)

6๘. ระดับโทษของ ตร. กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการไม่เกินกว่า ๑๕ วัน กำหนดเป็นสถานโทษใด


ก. กักยาม
ข. กักขัง
ค. ตัดเงินเดือน
ง. ปลดออก
(ตอบข้อ ข.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ข้อ 1.4)

6๙. ข้อใดเป็นโทษทางวินัยร้ายแรง
ก. ให้ออกจากราชการ
ข. กักขัง
ค. ให้ออกจากราชการไว้ก่อน
ง. ปลดออก
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 90)

7๐. ส.ต.ต.แทนใจ ได้ร ับ มอบอาวุธ ปืน ของทางราชการ เพื่อ ใช้ในการปฏิบัติห น้าที่ ต่อมาได้ล าพักร้อน
และเดินทางกลับบ้านพักที่ต่างจังหวัดเพื่อไปร่วมงานบวชน้องชายของตน โดยนำอาวุธปืนดังกล่าวติดตัวไปด้วย
ในวันอุปสมบท ส.ต.ต.แทนใจ ได้ยิงปืนประจำกายดังกล่าวขึ้นฟ้า จำนวน ๕ นัด เพื่อเอาฤกษ์ก่อนนำนาค
ไปอุปสมบทที่วัด
ก. ส.ต.ต.แทนใจ ไม่มีความผิดวินัย เพราะไม่มีเจตนาจะยิงผู้ใด
ข. ส.ต.ต.แทนใจ ไม่มีความผิดวินัย เพราะได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นอาวุธปืนประจำกาย
ค. ส.ต.ต.แทนใจ มีความผิดวินัยไม่ร้ายแรง แต่ได้รับยกเว้นโทษเพราะมีเหตุจำเป็น
ง. ส.ต.ต.แทนใจ มีความผิดวินัยร้ายแรงเพราะเป็นการยิงปืนในเมือง หมู่บ้าน หรือชุมนุมชนโดยใช่เหตุ
(ตอบข้อ ง.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 8.2)

7๑. เจ้าหน้าที่ตำรวจทำสัญญากู้ยืมเงินจากบริษัทเอกชน ต่อมาเมื่อถึงกำหนดไม่ยอมชดใช้ จนมีการฟ้องร้อง


เป็นคดี แล้วไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. ไม่ผิดวินัยเพราะเป็นเรื่องทางแพ่งแม้ภายหลังจะผิดสัญญาประนีประนอม
ข. ผิดวินัยไม่ร้ายแรงระดับโทษภาคทัณฑ์ หรือกักยาม ๓ วัน ตามควรแก่กรณี
ค. ผิดวินัยร้ายแรงระดับโทษปลดออก
ง. ไม่ผิดวินัยแม้ภายหลังผิดสัญญาเพราะเจ้าหนี้สามารถใช้สิทธิทางศาลต่อไปได้
(ตอบข้อ ข.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ข้อ 15.2)

7๒. ตามตารางอำนาจและอัตราการลงโทษข้าราชการตำรวจที่ ก.ตร. กำหนด สว.กระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง


ผกก. มีอำนาจลงโทษตามข้อใด
ก. กักยาม ๓ วัน
ข. กักยาม ๗ วัน
ค. กักขัง ๓ วัน
ง. กักขัง ๗ วัน
(ตอบข้อ ก.) (ตารางอำนาจและอัตราการลงโทษข้าราชการตำรวจที่ ก.ตร. กำหนด)

7๓. ข้อใดเป็นการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. เดินทางออกนอกประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต
ข. พนักงานสอบสวนเกียจคร้านทำสำนวนคดีอาญาล่าช้า
ค. ได้รับสิทธิอาศัยในอาคารบ้านพักของทางราชการแล้วเอาไปให้ผู้อื่นเช่า
ง. ประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ต้องหาหรือผู้ถูกควบคุมหลบหนี
(ตอบข้อ ค.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 13)

7๔. ข้อใดเป็นการกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
ก. ข้าราชการตำรวจเกี่ยวข้องกับหญิงอื่นหรือชายอื่น โดยที่ตนเองมีภรรยาหรือสามีอยู่แล้ว และเกิดเรื่อง
เสื่อมเสียหรือเสียหาย
ข. เขียนบัตรสนเท่ห์กล่าวหาผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชาเขียนบัตรสนเท่ห์กล่าวหาผู้ใต้บังคับบัญชา
สอบสวนแล้วไม่เป็นความจริง
ค. เกี่ยวกับการเสพหรือติดยาเสพติด กรณีได้เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ผลการฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นที่พอใจของคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ง. ยิงปืนด้วยความคึกคะนอง
(ตอบข้อ ก.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ข้อ 12.1)

7๕. การละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันในคราวเดียวเกินกว่า ๑๕ วันโดยไม่มีเหตุอันสมควร ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง


ก. ให้นับเฉพาะวันทำการเท่านั้น
ข. ต้องนับวันละทิ้งติดต่อกันทุกวันโดยรวมวันหยุดราชการด้วย
ค. การเข้าเวรเป็นชั่วโมงแล้วพัก ในวันพักไม่ถือเป็นวันปฏิบัติราชการ
ง. ขาดราชการตั้งแต่วันอังคารแล้วมาปฏิบัติหน้าที่ในวันพุธสัปดาห์ถัดไป วันขาดราชการไม่นับวันหยุดราชการ
(ตอบข้อ ข.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อสังเกตท้ายข้อ 2)

7๖. ข้อใดเป็นสถานโทษทางวินัยที่ต่ำที่สุด
ก. ภาคทัณฑ์
ข. ตัดเงินเดือน
ค. ว่ากล่าวตักเตือน
ง. ทำทัณฑ์บน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82)

7๗. คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอำนาจไต่สวนและวินิจฉัยในเรื่องใด


ก. ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ
ข. ความผิดต่อหน้าที่ในการยุติธรรม
ค. ร่ำรวยผิดปกติ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 84)

7๘. เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเท็จจริงแล้วมีมติวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐกระทำผิดฐานทุจริตฯ และส่ง


รายงานสำนวนการไต่สวนฯ ไปยังผู้บังคับบัญชาแล้ว ต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันรับเรื่อง
ข. ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันรับเรื่อง
ค. ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันรับเรื่อง
ง. ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 93)
7๙. ไม่ส่งมอบสำนวนที่อยู่ในความรับผิดชอบเมื่อได้รับการแต่งตั้งให้พ้นหน้าที่สอบสวน และเกิดความเสียหาย
ไม่ร้ายแรง ระดับโทษ คือ
ก. กักขัง ๓ วัน
ข. กักยาม ๓ วัน
ค. ปลดออก
ง. ไล่ออก
(ตอบข้อ ข.) (มาตรฐานการลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ข้อ 10.13)

8๐. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้
(ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ) ระดับโทษ คือ
ก. กักขัง ๓๐ วัน
ข. ปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี
ค. ปลดออก
ง. ไล่ออก
(ตอบข้อ ง.) (แนวทางการลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ข้อ 1)

8๑. เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรงและมีคำสั่งลงโทษทางวินัย แก่ข้าราชการตำรวจ


ผู้ใดแล้ว ให้รายงานการดำเนินการทางวินัยต่อผู้ใด
ก. ผู้บังคับบัญชาที่มีตำแหน่งเหนือผู้ดำเนินการทางวินัยหนึ่งชั้น
ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและคดี
ง. รายงาน ก. และ ข.
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 3)

82. การรายงานตามข้อ ๘1 ให้รายงานภายในกี่วันนับแต่วันที่มีคำสั่ง


ก. 7 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 3 วรรคสอง)

83. เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรงและมีคำสั่งลงโทษไล่ออกจากราชการ แก่ข้าราชการ


ตำรวจผู้ใดแล้ว ให้รายงานการดำเนินการทางวินัยต่อผู้ใด
ก. ผู้บังคับบัญชาที่มีตำแหน่งเหนือผู้ดำเนินการทางวินัยหนึ่งชั้น
ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและคดี
ง. ก.ตร.
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 7)
84. การรายงานตามข้อ ๘3 ให้รายงานภายในกี่วันนับแต่วันที่มีคำสั่ง
ก. 7 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 7 วรรคสอง)

85. การรายงานการดำเนินการทางวินัยต่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ให้รายงานผ่านหน่วยงานใด


ก. กองกฎหมาย
ข. กองวินัย
ค. สำนักงานกำลังพล
ง. กองคดีปกครองและคดีแพ่ง
(ตอบข้อ ข.)

86. ข้าราชการตำรวจต้องรายงานตนเมื่อต้องหาคดีอาญา ครั้งแรกให้รายงานภายในกี่วัน นับแต่ถูกจับกุมหรือ


แจ้งข้อหา หรือศาลประทับรับฟ้อง
ก. ๗ วัน
ข. ๙ วัน
ค. ๑๕ วัน
ง. ๓๐ วัน
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 1 ความประพฤติ
และระเบียบวินัย พ.ศ.2555 บทที่ 3 ข้อ 1)

87. การรายงานความคืบหน้าของคดีจนกว่าคดีจะถึงที่สุด เป็นหน้าที่ของผู้ใด


ก. ข้าราชการตำรวจที่ต้องคดี
ข. พนักงานสอบสวน
ค. ผู้บังคับบัญชา
ง. ถูกทั้ง ก. และ ค.
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 1 ความประพฤติ
และระเบียบวินัย พ.ศ.2555 บทที่ 3 ข้อ 2.3)

88. เมื่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติพิจารณาสั่งสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงเสร็จสิ้นแล้ว ดำเนินการต่อไปอย่างไร


ก. ส่งสำนวนการสอบสวนไปยัง ก.ตร. โดยไม่ต้องมีความเห็น
ข. รายงานความเห็นไปยัง ก.ตร. และส่งสำนวนการสอบสวนคืนหน่วย
ค. รายงานผลพร้อมสำนวนการสอบสวน เอกสารที่เกี่ยวกับการพิจารณา และคำสั่งที่เกี่ยวข้องไปยัง ก.ตร.
ง. ส่งเรื่องให้กองวินัยเก็บเป็นข้อมูลสถิติด้านวินัย
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ พ.ศ.2547 ข้อ 7 วรรคสอง)

89. การรายงานตามข้อ ๘8 ให้รายงานภายในกี่วันนับแต่วันพิจารณามีความเห็น


ก. 10 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 7 วรรคสอง)

90. นอกจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแล้ว ผู้ใดมีอำนาจสั่งไล่ข้าราชการตำรวจออกจากราชการ


ก. ผู้บัญชาการหรือตำแหน่งเทียบเท่า
ข. ผู้บังคับการหรือตำแหน่งเทียบเท่า
ค. ผู้กำกับการหรือตำแหน่งเทียบเท่า
ง. ข้อ ก. และ ข.
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ พ.ศ.2547 ข้อ 8)

91. การดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ถึงที่สุดเมื่อใด


ก. เมื่อผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยที่มีตำแหน่งเหนือผู้ดำเนินการทางวินัยหนึ่งชั้น ได้พิจารณาตาม
มาตรา ๙๑ วรรคสองแล้ว เว้นแต่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเห็นว่าเป็นกรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ข. เมื่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นผู้ดำเนินการทางวินัย และได้สั่งการทางวินัยไปแล้ว
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข. แล้วแต่กรณี
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ พ.ศ.2547 ข้อ 9 (1))

92. การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ให้อุทธรณ์คำสั่งต่อผู้ใด


ก. ผู้บังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ
ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ก.ตร.
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ พ.ศ.2547 ข้อ 9 (1) วรรคท้าย)

93. เมื่อมีการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง การดำเนินการทางวินัยจะถึงที่สุดเมื่อใด


ก. เมื่อผู้ถูกกล่าวหายื่นอุทธรณ์
ข. เมื่อผู้บังคับบัญชาหรือ ก.ตร. ได้รับหนังสืออุทธรณ์
ค. เมื่อมีผลการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ พ.ศ.2547 ข้อ 9 (1) วรรคท้าย)

94. การดำเนินการทางวินัยอย่างร้ายแรง ถึงที่สุดเมื่อใด


ก. เมื่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ มีความเห็นว่าเป็นความผิดวินัยร้ายแรง
ข. เมื่อ ก.ตร. มีมติรับทราบการดำเนินการทางวินัย
ค. เมื่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือรายงาน ก.ตร. ทราบ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบ ก.ตร.ว่าด้วยการรายงานฯ ข้อ 9(2))
95. ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจสั่งปลดหรือไล่ข้าราชการตำรวจตำแหน่งตั้งแต่ รอง ผบก. ลงมา ออกจากราชการ
คือผู้บังคับบัญชาที่ดำรงตำแหน่งระดับใด
ก. ผู้บัญชาการ
ข. รองผู้บัญชาการ
ค. ผู้บังคับการ
ง. ทั้ง ก. และ ข.
(ตอบข้อ ก.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 1)

96. กรณีข้าราชการตำรวจระดับ ผกก. มีคำสั่งลงโทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรงแก่ข้าราชการตำรวจระดับรอง สว.


และได้รายงาน ผบก. และ ผบช. เห็นชอบการดำเนินการทางวินัยดังกล่าวว่าถูกต้องเหมาะสมแล้ว และไม่เป็น
ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถือว่าการดำเนินการทางวินัยถึงที่สุดเมื่อใด
ก. ถึงที่สุดนับแต่ ผกก. มีคำสั่งลงโทษทางวินัย
ข. ถึงที่สุดนับแต่ ผบก. หรือตำแหน่งเทียบเท่าเห็นชอบการดำเนินการทางวินัย
ค. ถึงที่สุดนับแต่ ผบก. รายงานการดำเนินการทางวินัยไปยัง ผบช. โดยไม่มีความเห็น
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ข.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 2.1.1)

97. เมื่อมีการดำเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรงแก่ข้าราชการตำรวจผู้ใด และผู้บังคับบัญชาซึ่งดำรงตำแหน่งเหนือ


ผู้ดำเนินการทางวินัยเห็นชอบการดำเนินการดังกล่าวและไม่เป็นความผิดวินัยร้ายแรง ให้ดำเนินการต่อไปอย่างไร
ก. รายงานผลการพิจารณาให้กองวินัยทราบ เพื่อเป็นข้อมูลสถิติด้านวินัย
ข. เก็บเรื่องโดยไม่ต้องแจ้งกองวินัย เนื่องจากเป็นเรื่องวินัยไม่ร้ายแรง
ค. แจ้งให้ ก.ตร. ทราบ
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ก.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 2.1.1)

98. การดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการตำรวจที่ร่วมกระทำผิดด้วยกัน แต่อยู่ต่างสังกัดในกองบัญชาการ


เดียวกัน ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัย คือผู้บังคับบัญชาในข้อใด
ก. ผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดของข้าราชการตำรวจแต่ละคน
ข. ผู้บัญชาการของกองบัญชาการนั้น
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ แล้วแต่กรณี
(ตอบข้อ ข.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 6)

99. การดำเนิ น การทางวิ น ั ย กั บ ข้ า ราชการตำรวจที ่ ร ่ ว มกระทำผิ ด ด้ ว ยกั น แต่ อ ยู ่ ต ่ า งกองบั ญ ชาการ


ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัย คือผู้บังคับบัญชาในข้อใด
ก. ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการตำรวจที่กระทำผิดวินัยซึ่งมียศสูงสุด
ข. ผู้บัญชาการของกองบัญชาการนั้น
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ แล้วแต่กรณี
(ตอบข้อ ค.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 6)
100. เมื่อผู้บังคับบัญชาได้มีคำสั่งในเรื่องใด เช่น คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง คำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน คำสั่งลงโทษ คำสั่งยุติเรื่อง ฯลฯ ให้ดำเนินการต่อไปอย่างไร
ก. รายงานคำสั่ง จำนวน 3 ฉบับ ไปยังผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผ่านผู้บังคับการกองวินัย) ภายใน
10 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่ง
ข. รายงานไปยังผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผ่านผู้บังคับการกองวินัย) ภายใน 10 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่ง
โดยไม่ต้องส่งสำเนาคำสั่งดังกล่าวไปด้วย
ค. รายงานคำสั่ง จำนวน 1 ฉบับ ไปยังผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เมื่อใดก็ได้
ง. ผิดทุกข้อ
(ตอบข้อ ก.) (คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 เรื่อง การมอบอำนาจการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 9)
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ส่วนที่ ๑ ความรู้ทั่วไปด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อที่ ๑ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ มี ๔ ส่วน ข้อใดไม่ใช่
ก. HARDWARE
ข. SOFTWARE
ค. PEOPLEWARE
ง. BUDGETING
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๒ การจับภาพหน้าจอบน Windows ๑๐ เพื่อเก็บเป็นไฟล์รูปทำได้ด้วยวิธีใด
ก. กดปุ่ม Windows + Print Screen พร้อมกัน
ข. กดปุ่ม Windows + Shift + S เพื่อใช้ Snip & Sketch ในการจับภาพหน้าจอ
ค. กดปุ่ม Print Screen แล้ววางในโปรแกรม Paint บันทึกเป็นไฟล์
ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๓ ข้อใดไม่ใช่ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop)
ก. Windows
ข. Linux
ค. Ubuntu
ง. iOS
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๔ ข้อใดต่อไปนี้เป็นอุปกรณ์ที่ป้อนข้อมูลเข้า (Input) ให้กับคอมพิวเตอร์
ก. เครื่องอ่านบัตรประชาชน (Card Reader)
ข. จอภาพ
ค. ลำโพง
ง. CPU
คำตอบ ก.
ข้อที่ ๕ ส่วนประกอบใดของคอมพิวเตอร์ที่ขาดหายหรือไม่มี เครื่องก็ยังสามารถใช้งานได้ตามปกติ
ก. Mainboard
ข. CD Drive
ค. RAM
ง. Power Supply
คำตอบ ข.
กำหนดตัวเลือกต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อต่อไป
a. USB Port
b. DVI Port
c. HDMI Port
d. Display Port
e. VGA Port
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อที่ ๖ Port ตามข้อใดต่อไปนี้มีหน้าที่ใช้เชื่อมต่อกับจอภาพ


ก. a, c, d, e
ข. b, c, d, e
ค. a, b, d, e
ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๗ Random Access Memory (RAM) มีหน้าที่อย่างไร
ก. ทำหน้าที่เป็นหน่วยบันทึกข้อมูลระยะยาว แม้ไม่มีไฟเลี้ยงข้อมูลก็ยังอยู่ครบถ้วนเช่นเดิม
ข. ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่อุปกรณ์ (Input) ส่งมาแล้วนำมาแสดงผลบนหน้าจอ
ค. ทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำหลัก รับข้อมูลหรือชุดคำสั่งจากโปรแกรมส่งไปยัง CPU เพื่อประมวลผล
ง. ทำหน้าที่จ่ายกระแสไฟให้กับเมนบอร์ด
คำตอบ ค.
จากตัวเลือกต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ ๘ – ๑๐
a. Keyboard
b. Handy Drive/Thumb Drive
c. Oracle
d. Speaker
e. Monitor
f. Adobe Photoshop
g. Printer
h. Card reader
i. Switching hub
j. Sign Pad
k. Thin Client

ข้อที่ ๘ ข้อใดต่อไปนี้คือฮาร์ดแวร์ (Hardware)


ก. a, b, d, e, g
ข. c, f
ค. b, c, e, g,
ง. ทุกตัวเลือกคือฮาร์ดแวร์
คำตอบ ก.
ข้อที่ ๙ ข้อใดต่อไปนี้คือซอฟท์แวร์ (Software)
ก. a, b, d, e, g
ข. c, f
ค. b, c, e, g,
ง. ไม่มีข้อถูก
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

คำตอบ ข.
ข้อที่ ๑๑ รูปของอุปกรณ์ด้านล่าง คืออุปกรณ์ตามข้อใด

ก. Sign Pad (ข้อ J)


ข. Card Reader (ข้อ h)
ค. Switching Hub (ข้อ i)
ง. Thin Client (ข้อ k)
คำตอบ ก.
ข้อที่ ๑๒ ข้อใดคือ Browser ทางเลือกอื่นนอกจาก Microsoft Internet Explorer ที่มากับระบบปฏิบัติการ Windows
ก. Opera
ข. Google Chrome
ค. Brave Browser
ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๑๓ ข้อใดคือวิธีการเปลี่ยนชื่อไฟล์ในระบบปฏิบัติการ Windows
ก. คลิกที่ไฟล์สองครั้ง โดยมีระยะห่างระหว่างการคลิกซ้ำ
ข. กดปุ่ม F2
ค. คลิกขวาบนไฟล์ที่ต้องการแล้วเลือกเมนู Rename
ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๑๔ พฤติกรรมใดสุ่มเสี่ยงให้เกิดการติดไวรัสคอมพิวเตอร์จนเกิดความเสียหายกับข้อมูลหรือระบบปฏิบัติการ
ก. ดาวน์โหลดโปรแกรมเถื่อนจากเว็บไซต์ที่ไม่น่าไว้ใจมาใช้งาน
ข. อัปเดตระบบปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอ
ค. ปิดคอมพิวเตอร์โดยการกดปุ่มสวิทช์ค้างไว้จนดับ
ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ ก.
จากตัวเลือกต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อที่ ๑๕ - ๑๗
a. Ubuntu
b. Microsoft Edge
c. Microsoft Windows 10
d. Microsoft Office Excel
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

e. MacOS Monterey
f. Linux
g. LINE
h. Amazon
i. Mp4
j. Jpeg
k. TIFF
l. GIF
ข้อที่ ๑๕ ข้อใดต่อไปนี้เป็นซอฟท์แวร์ระบบปฏิบัติการ
ก. a, b, d, f, g
ข. a, c, e, f
ค. b, d, g
ง. b, c, d, f
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๑๖ ข้อใดต่อไปนี้เป็นซอฟท์แวร์ประยุกต์
ก. a, b, d, f, g
ข. a, c, e, f
ค. b, d, g
ง. b, c, d, f
คำตอบ ค.
ข้อที่ ๑๗ ข้อใดต่อไปนี้เป็นนามสกุลของไฟล์วีดีโอ
ก. i
ข. j
ค. k
ง. l
คำตอบ ก.
ข้อที่ ๑๘ Universal Serial Bus เป็น Port มาตรฐานที่มีหน้าที่หลายประเภท ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของ USB
ก. โอนถ่ายสัญญาณข้อมูลระหว่างอุปกรณ์
ข. โอนถ่ายพลังงานระหว่างอุปกรณ์
ค. ส่งข้อมูล Input ให้หน่วยประมวลผลกลางทำงาน
ง. ประมวลผลข้อมูลส่งให้อุปกรณ์ปลายทางแสดงผล
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๑๙ ข้อใดต่อไปนี้คือการส่งข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
ก. นายแดงฝากไฟล์ไว้บน Dropbox แล้วแชร์ลิงก์ให้กับเพื่อนร่วมงานใช้งานไฟล์
ข. นายเขียวส่งอีเมลให้เอกชนพร้อมแนบ resume เพื่อสมัครงาน
ค. นางสาวส้มส่ง USB Drive ให้นายดำ โดยแจ้งการส่งดังกล่าวผ่านไลน์
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ง. ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง


คำตอบ ง.
ข้อที่ ๒๐ เพื่อป้องกันไม่ให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เสียหายจากฟ้าผ่า ไฟฟ้าเกิน ไฟฟ้าตก ไฟฟ้าดับ และยืดอายุการ
ใช้งาน ข้อใดที่สามารถครอบคลุมการป้องกันทั้งหมดได้
ก. ใช้เครื่องกรองไฟฟ้าให้กระแสนิ่ง
ข. ใช้เครื่องสำรองไฟ UPS
ค. ใช้ปลั๊กสามตาพร้อมกับลงสายดินให้เรียบร้อย
ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๒๑ ในห้วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส Covid การประชุมนิยมใช้โปรแกรมประยุกต์ เพื่อเป็นตัวจัดการ
การประชุมทางไกล โปรแกรมประยุกต์ข้อใดต่อไปนี้สามารถใช้ในการนัดประชุมทางไกลผ่านระบบ
ออนไลน์ได้ (Video Conference)
ก. LINE
ข. Zoom และ Cisco WebEx
ค. TikTok
ง. Facebook Live
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๒๒ ในการเปลี่ยนภาษา ปุ่มใดเป็นปุ่มคีย์ลัดมาตรฐานของ Windows ๑๐ ขึ้นไป ที่แม้ไม่ได้ตั้งก็สามารถใช้ได้ทันที
ก. Ctrl + Shift
ข. Grave Accent ( ` )
ค. Ctrl + Alt + Shift
ง. Windows + Space bar
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๒๓ เครื่องวิเคราะห์ (Analytic Engine) ที่ประกอบด้วยส่วนสำคัญ ๔ ส่วน คือ ส่วนจัดเก็บข้อมูล ส่วน
ประมวลผล ส่วนควบคุม และส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ โดยทั้งหมดได้กลายเป็นวิธีการประดิษฐ์
คอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา ผู้ที่คิดค้นเครื่องดังกล่าวได้กลายเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์ ข้อใดคือชื่อของบิดา
แห่งคอมพิวเตอร์
ก. แอลัน ทัวริ่ง (Alan Turing)
ข. ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage)
ค. ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton)
ง. โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison)
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๒๔ ข้อใดที่ไม่ใช่ Platform e-Commerce ที่ใช้แพร่หลาย ในปัจจุบัน
ก. TMALL/ SUNING
ข. AMAZON/ e-BAY
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ค. SHOPEE/ LAZADA
ง. SLACK/ LINE
คำตอบ ง.
ข้อที่ ๒๕ พฤติกรรมใดต่อไปนี้ เป็นการใช้เทคโนโลยีช่วยในการศึกษาหาความรู้
ก. วิริยะใช้คอมพิวเตอร์เปิด Photoshop เพื่อตัดต่อภาพ
ข. สมศักดิ์ใช้มือถือเรียกดูวิดีโอสอนการทำอาหาร
ค. จินตหราใช้แล็ปท็อปในการค้นหาสินค้าที่ต้องการซื้อ
ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ ข.
ข้อที่ ๒๖ โดยทั่วไปแล้วเมนบอร์ดจะมีช่องเสียบอุปกรณ์ไมค์และลำโพงหรือหูฟังมากับตัวอยู่แล้ว โดยเป็นลักษณะ
ของช่องเสียบ ๓.๕ มม. มีสีระบุช่องที่เสียบเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกยี่ห้อที่ผลิตออกมา ถ้าหากต้องการเสียบ
ไมค์ ช่องสีใดคือช่องที่ถูกต้อง
ก. สีชมพู
ข. สีขาว
ค. สีฟ้า
ง. สีเขียว
คำตอบ ก.
ข้อที่ ๒๗. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)
ก. Vimeo
ข. Telegram
ค. Canva
ง. Line
คำตอบ ค.

---------------------------------------------------------
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ส่วนที่ ๒ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนงาน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของ ตร.


ข้อที่ ๒๘ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นหน่วยงานระดับกระทรวง ที่ถูกกำหนดให้ทำหน้าที่
วางแผนส่งเสริม พัฒนา และดําเนินกิจการเกี่ยวกับดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม การอุตุนิยมวิทยา การสถิติและ
ราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของกระทรวงดิจิทัล รวมทั้งกำหนดนโยบายด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารของรัฐบาล ให้กับทุกหน่วยราชการ ข้อใดมิใช่หน่วยงานในกำกับของกระทรวงฯ
ก. สำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ข. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.)
ค. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (สรอ.)
ง. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
คำตอบ ค.
ข้อที่ ๒๙ ตามวิธีการจัดหาตามระเบียบพัสดุฯ ซึ่งรวมถึงการจัดหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยนั้น หน่วยงาน
ที่ประสงค์จะจัดหาระบบสารสนเทศ ต้องจัดทำเอกสารที่เรียกว่าอะไร เพื่อนำไปสู่การจัดหาตามระเบียบ
ก. GFMIS
ข. TOR
ค. Bidding
ง. E-Pension
ตอบ ข.
ข้อที่ ๓๐ ให้จับคู่หน่วยผู้พัฒนาระบบ - ระบบงาน ณ ปัจจุบัน ให้ถูกต้อง
ก. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง - ระบบ PIBICS
ข. กองทะเบียนประวัติอาชญากร – ระบบ CIS/ประกาศสืบจับ และบุคคลพ้นโทษ
ค. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง - ระบบ I/๒๔-๗
ง. กองการต่างประเทศ - ระบบ AWIS
ตอบ ข.
ข้อที่ ๓๑ หน่วยงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอำนาจหน้าที่ในการสืบสวน สอบสวน การกระทำผิดทาง
เทคโนโลยีในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีเครื่องมือ และความรู้ในการดำนินการมีหลายหน่วยงาน หน่วยงานต่อไปนี้
หน่วยงานใด มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย
ก. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง
ข. กองบัญชาการสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโลยี และกองบังคับการปราบปรามอาชญากรรม
ทางเทคโนโลยี
ค. กองบังคับการปราบปราม และกองตำรวจสื่อสาร
ง. กองบังคับการสนับสนุนทางเทคโนโลยี
ตอบ ข.
ข้อที่ ๓๒ ระบบสารสนเทศใด ไม่ใช่ ระบบสารสนเทศหลักของ ตร
ก. ระบบ POLIS
ข. ระบบ CRIMES
ค. ระบบ AWIS
ง. ระบบ PBICS
ตอบ ค. เนือ่ งจากเป็นระบบที่สำนักงานศาลยุติธรรม เป็นผู้พัฒนา
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อที่ ๓๓ ปัจจุบัน ระบบสารสนเทศใด ของ ตร. ที่เป็นระบบงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่สายงาน


ป้องกันปราบปรามและสืบสวน ระดับสถานีตำรวจ
ก. ระบบ POLIS
ข. ระบบ CRIMES
ค. ระบบ AWIS
ง. ระบบ PBICS
ตอบ ข.
ข้อที่ ๓๔ หากท่านปฏิบัติงานในสายงานอำนวยการ ระบบสารสนเทศใดของ ตร. ที่จะเป็นระบบสารสนเทศหลัก
ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของท่าน
ก. ระบบ POLIS
ข. ระบบ CRIMES
ค. ระบบ AWIS
ง. ระบบ PBICS
ตอบ ก.
ข้อที่ ๓๕ การจัดหาโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวกับซอฟท์แวร์ ซึ่งมีวงเงินงบประมาณสูง ข้อใดควร
คำนึงน้อยที่สุด
ก. ความสามารถของฟท์แวร์ที่ตรงกับความต้องการ
ข. ทางราชการเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ และไม่มีภาระผูกพัน
ค. งบประมาณในการบำรุงรักษา เมื่อพ้นระยะประกัน
ง. การนำไปใช้ประโยชน์ร่วมกับระบบอื่น
ตอบ ง.
ข้อที่ ๓๖ ปัจจุบันข้อใด คือชื่อย่อผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ถูกต้อง
ก. MCIO
ข. CFO
ค. DCIO
ง. CHRO
ตอบ ข้อ ค.
ให้ใช้ข้อมูลนี้กับคำถามกับข้อที่ ๓๗-๓๙
ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ กำหนดแนวทางการบริหารจัดการผู้บริหารเทคโนโลยี
สารสนเทศระดับสูงภาครัฐ โดยกำหนดระดับ องค์ประกอบ คุณสมบัติและหน้าที่ความรับผิดชอบไว้ ๕ ระดับ ขอบเขต
ความรับผิดชอบ ๑๑ ด้าน รวมทั้งจัดให้มีทีมงานสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน โดยเป็นการยกเลิกมติ
คณะรัฐมนตรีเดิมเมื่อ ๙ กันยายน ๒๕๔๑ ทั้งนี้ในส่วนของวงเงินที่ต้องเสนอให้คณะกรรมการบริหารเทคโนโลยี
สารสนเทศระดับสูงภาครัฐพิจารณา ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงยังใช้เกณฑ์เดิม (โครงการที่มีวงเงินตั้งแต่ ๑๐๐ ล้านบาท
ขึ้นไป)
ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มีการปรับปรุงคำสั่งเรื่องผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง
ตามคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ ๒๕๘/๒๕๖๔ ลง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการ
จากหน่วยงานต่าง ๆ รวม ๒๘ ตำแหน่ง และกำหนดอำนาจหน้าที่และวงเงินของโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่
จะต้องเข้าพิจารณาก่อนส่งเรื่องไปยังสำนักงบประมาณ
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อที่ ๓๗. ข้อใดไม่ใช่ชื่อย่อของคณะกรรมการบริหารระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศระดับหน่วยงานที่มี


การกำหนดใหม่
ก. MCIO
ข. DCIO
ค. PCIO
ง. CIOA
ตอบ ง.
ข้อที่ ๓๘. ตามข้อมูลในวรรค ๒ ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ปัจจุบันผู้ที่ทำหน้าที่ผู้บริหารเทคโนโลยี
สารสนเทศ คือข้อใด
ก. รอง ผบ.ตร. หรือ ผู้ช่วย ผบ.ตร. (งานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม) ที่ได้รับมอบหมาย
ข. รอง ผบ.ตร. หรือ ผู้ช่วย ผบ.ตร. (งานบริหาร) ที่ได้รับมอบหมาย
ค. รอง ผบ.ตร. หรือ ผู้ช่วย ผบ.ตร. (งานด้านความมั่นคง) ที่ได้รับมอบหมาย
ง. รอง ผบ.ตร. หรือ ผู้ช่วย ผบ.ตร. (งานด้านกิจการพิเศษ) ที่ได้รับมอบหมาย
ตอบ ข้อ ข.
ข้อที่ ๓๙. กรอบวงเงินของโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อใด ที่จะต้องเสนอให้คณะกรรมกาบริหารเทคโนโลยี
สารสนเทศระดับสูงของ ตร. เป็นผู้พิจารณา
ก. ๑ - ๒๐ ล้านบาท
ข. ๒๐ - ๕๐ ล้านบาท
ค. ๕๐.๐๑ – ๙๙.๙๙ ล้านบาท
ง. ๑๐๐ ล้านบาทขึ้นไป
ตอบ ค.
ข้อที่ ๔๐. ปัจจุบัน การใช้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เป็นระบบที่หน่วยงานด้านความมั่นคงของรัฐ ให้
ความสำคัญและจัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ซึ่งในเรื่องดังกล่าวมีแนวทาง หลักเกณฑ์ ที่รัฐบาล
โดยคณะกรรมการบริหารการบูรณาการแผนและระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ทั่วประเทศ กำหนดขึ้นโดยแยก
ขั้นตอนระหว่างหน่วยงานส่วนกลาง กับหน่วยงานส่วนภูมิภาค หากหน่วยงานใดจะขอจัดทำโครงการเพื่อจัดหาระบบ
กล้องโทรทัศน์วงจรปิดต้องดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด ข้อใดเรียงลำดับการเสนอเรื่องได้ถูกต้องที่สุด
ก. กรณีที่เป็นหน่วยงานในส่วนกลาง เป็นผู้เสนอโครงการและวงเงินโครงการไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน ให้เสนอเรื่อง
ผ่าน DCIO หน่วย - DCIO ตร. - สำนักงบประมาณ
ข. กรณีเป็นหน่วยงานในส่วนภูมิภาค เป็นผู้เสนอโครงการและวงเงินโครงการไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน ให้เสนอเรื่อง
ผ่าน DCIO ของหน่วย- DCIO ตร.- คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการเชื่อมโยง CCTV ทั่วประเทศ
ค. กรณีเป็นหน่วยงานในส่วนภูมิภาค เป็นผู้เสนอโครงการและวงเงินเกินกว่า ๑๐๐ ล้าน ให้เสนอเรื่องผ่าน
DCIO ของหน่วย- คณะทำงานบริหารจัดการข้อมูลและการใช้ประโยชน์กล้อง CCTV ระดับจังหวัด -
DCIO ตร.- คณะกรรมการขับเคลื่อนการเชื่อมโยง CCTV ทั่วประเทศ - กระทรวง DES - และสำนัก
งบประมาณ
ง. กรณีเป็นหน่วยงานในส่วนกลาง และวงเงินไม่เกินกว่า ๑๐๐ ล้านบาท ให้เสนอเรื่องผ่าน DCIO ของหน่วย-
DCIO ตร.- คณะกรรมการขับเคลื่อนการเชื่อมโยง CCTV ทั่วประเทศ - กระทรวง DES และสำนัก
งบประมาณ
ตอบ ข้อ ค.
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อที่ ๔๑. ปัจจุบันสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้พัฒนา Application ใช้งานบน Device ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความ


สะดวกแก่ข้าราชการตำรวจในสายงานที่กำหนด ให้สามารถตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล ตามอำนาจหน้าที่ในแต่ละกรณี
หากในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ ท่านต้องการทราบสิทธิประโยชน์ สวัสดิการ ของท่านเองผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
ท่านจะเข้าใช้ Application ในระบบใด
ก. Application จากระบบ POLIS
ข. Application จากระบบ CRIMES ONLINE
ค. Application “แทนใจ”
ง. Application “Police 4.0”
ตอบ ข้อ ค.
ข้อที่ ๔๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของระบบเครือข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private Network : VPN) ของ
สำนักงานตำรวจแห่งขาติ
ก. สามารถควบคุมดูแลเครือข่ายและขยายเครือข่ายไปยังจุดที่ต้องการได้
ข. สามารถใช้งานแบบสาธารณะจากทีไหนก็ได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ค. รักษาความลับของข้อมูลและสามารถจำกัดการใช้งานเฉพาะบุคคลในองค์กรได้เท่านั้น
ง. มีความปลอดภัยป้องกันการโจมตีจากภายนอกได้
ตอบ ข.
ข้อที่ ๔๓. ระบบเครือข่ายในสถานีตำรวจ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร
ก. แลน (LAN)
ข. แวน (WAN)
ค. แมน (MAN)
ง. อินเตอร์เน็ต (Internet)
ตอบ ก.
ข้อที่ ๔๔. ตามข้อกำหนด ตร. อุปกรณ์ใดไม่ควรนำมาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ติดตั้ง
ณ หน่วยงานของท่าน
ก. Access Point
ข. เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
ค. อุปกรณ์ Router อื่นๆ เพื่อกระจายสัญญาณให้กับ computer อื่นๆ
ง. ถูกต้องข้อ ก และ ค
ข้อที่ ๔๕ ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์การใช้งานระบบเครือข่ายสารสนเทศของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. หน่วยงานในสำนักงานตำรวจแห่งชาติสามารถใช้งานระบบสารสนเทศต่างๆ ของสำนักงานตำรวจ
แห่งชาติ ผ่านระบบเครือข่ายภายในได้
ข. เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกของสำนักงานตำรวจ
แห่งชาติ ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
ค. สำนักงานตำรวจแห่งชาติสามารถควบคุมการใช้งาน ตรวจสอบดูแลและเฝ้าระวังระบบเครือข่ายได้
ง. ให้บริการระบบสารสนเทศต่างๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติผ่านระบบเครือข่ายแบบสาธารณะหรือ
อินเทอร์เน็ต
ตอบ ง.
ข้อที่ ๔๖. ระบบ SSLVPN คือข้อใด
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ก. ระบบ SSLVPN เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ Thin Client ที่หน่วยงานของ ตร. ทั่วประเทศผ่านสาย


LAN เพื่อเชื่อมต่อระบบ CRIMES/POLIS
ข. ระบบ SSLVPN เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบ Internet เพื่อเชื่อมต่อระบบ CRIMES/POLIS
ค. ระบบ SSLVPN เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ Thin Client ที่หน่วยงานของ ตร. ทั่วประเทศผ่านระบบ
Internet เพื่อเชื่อมต่อระบบ CRIMES/POLIS
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
ตอบ ข.
ข้อที่ ๔๗. ระบบ CRIMES ที่ใช้งานบนเครื่อง Thin Client ใช้งานผ่านเครือข่ายใด
ก. ระบบเครื อข่ายสารสนเทศ ตร. (VPN)
ข. Internet 3G/4G/5G
ค. Free Wi-Fi
ง. Wi-Fi ของแต่ละสถานีตำรวจ
ตอบ ก.
ข้อที่ ๔๘ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบ CRIMES
ก. เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลการรับแจ้งเกี่ยวกับคดี
ข. เป็นเครื่องมือในการสืบสวน สอบสวน ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม อำนวยความสะดวกให้กับ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ค. เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลกำลังพล พัสดุและงบประมาณ
ง. รองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
ตอบ ค.
ข้อที่ ๔๙. แนวคิดของกระบวนการทำงานระบบ CRIMES ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. เสมียนคดีเป็นผู้บันทึกข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคดี
ข. เสมียนประจำวันบันทึกข้อมูลเบื้องต้นเฉพาะที่จะรับเป็นเลขคดีเท่านั้น ->และส่งต่อให้พนักงาน
สอบสวนบันทึกเพิ่มเติม ->เสมียนคดีบันทึกการส่งสำนวน, ผลคดี -> เสมียนประจำวันสามารถบันทึก
ข้อมูลเบื้องต้นได้ทันที ->ส่งต่อให้พนักงานสอบสวนบันทึกเพิ่มเติมในรายละเอียด ->หัวหน้าสถานี/
หัวหน้างานสอบสวนบันทึก อนุมัติถอนหมายจับ,อนุมัติสำนวน -> เสมียนคดีบันทึกการส่งสำนวน, ผล
คดี -> และข้อมูลจะส่งต่อไปยัง อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ เปรียบเสมือนสายพานข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค.
ข้อที่ ๕๐. ชื่อโปรแกรมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำหรับช่วยทำเอกสารประกอบสำนวน ตามระเบียบคำสั่ง
ของ ตร. เพื่ออำนวยความสะดวกและให้เกิดความรวดเร็วในการจัดทำเอกสารประกอบสำนวนของ
พนักงานสอบสวนคือโปรแกรมใด
ก. ระบบ CRIMES
ข. ระบบติดตามความคืบหน้าภาคประชาชน
ค. ระบบ E-Learning
ง. ระบบสำนวนอิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ง.
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อที่ ๕๑ ระบบ AWIS คือระบบอะไร


ก. ระบบสืบค้นหมายจับ
ข. ระบบประมวลผลข้อมูลอัจฉริยะ
ค. ระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลหมายจับอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างศาลยุติธธรมและ ตร.
ง. ระบบป้องกันปราบปรามอาชญกรรม
ตอบ ค.
ข้อที่ ๕๒. ระบบงานที่จะมาทดแทนการเขียนประจำวันเอกสารหาย หรือประจำวันแบบเล่มรูปแบบอื่นๆ คือ
ระบบงานใด
ก. ระบบสำนวนอิเล็กทรอนิกส์
ข. ระบบบันทึกคดีอาญา/จราจร
ค. ระบบประจำวันอิเล็กทรอนิกส์ (PDAR)
ง. ระบบสืบค้นข้อมูล CRIMES Online
ตอบ ค.
ข้อที่ ๕๓ ระบบงานในข้อใด ไม่มีในระบบ CRIMES
ก. ระบบคดีอาญา, จราจร
ข. ระบบใบสั่งจราจร
ค. ระบบประจำวันเอกสารหาย
ง. ระบบสืบค้นข้อมูล
ตอบ ข.
ข้อที่ ๕๔. “เมื่อเริ่มใช้งานระบบ CRIMES ทุก สภ. ทั่วทั้งประเทศแล้ว ระบบ POLIS จะถูกเปลี่ยนเป็นระบบ
สนับสนุน(Back-end)”จากคำกล่าวดังกล่าว ระบบสนับสนุน(Back-end) หมายถึงระบบใด
ก. ระบบคดีอาญา/จราจร
ข. ระบบงานป้องกันปราบปรามอาชญกรรม
ค. ระบบกำลังพลและพัสดุ(POLIS)
ง. ระบบการเงินและงบประมาณ
ตอบ ค.
ข้อที่ ๕๕. การเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอกของระบบสารสนเทศสถานีตำรวจ ไม่ได้เชื่อมโยงกับหน่วยงานใด
ก. กรมขนส่งทางบก
ข. กรมการปกครอง
ค. หมอพร้อม
ง. สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
ตอบ ค.
ข้อที่ ๕๖ ระบบ CRIMES ที่ใช้งานบนเครื่อง Thin Client ใช้งานผ่านเครือข่ายใด
ก. ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ตร. (VPN)
ข. Internet 3G/4G/5G
ค. Free WiFi
ง. WiFi ของโรงพัก
ตอบ ก.
ข้อที่ ๕๗ บุคคลในข้อใดสามารถเข้าใช้งานระบบ CRIMES ได้
ข้อสอบ ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานฝ่ายอำนวยการ

ก. อัยการ
ข. ทนายความ
ค. ประชาชนทั่วไป
ง. ข้าราชการตำรวจ
ตอบ ง.
ข้อที่ ๕๘ ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของระบบประจำวันอิเล็กทรอนิกส์
ก. การจัดเก็บประจำวันเป็นไปอย่างเป็นระบบ ง่ายต่อการสืบค้น
ข. การบริการประชาชนสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เอกสารสามารถอ่านได้ง่าย
ค. รองรับการแจ้งความได้ทั่วประเทศ และป้องกันการแจ้งซ้ำซ้อนได้
ง. การแจ้งประจำวันเป็นหลักฐาน ผู้แจ้งไม่จำเป็นต้องมาพบกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ
ตอบ ง.
ข้อที่ ๕๙. วิธีการในการกำหนดให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งานระบบสารสนเทศ คือการใช้ 2 factor
authentication ข้อใดคือคำตอบที่ถูกต้อง
ก. ระบบลงทะเบียนตัวตน
ข. ระบบยืนยันตัวตน ๒ ชั้น
ค. ระบบตรวจสอบข้อมูลบุคคล ๒ ชั้น
ง. ระบบสำรองข้อมูล ๒ ชั้น
ตอบ ข.
ข้อที่ ๖๐. การนำข้อมูลมาประมวลผล แล้วจัดทำรายงานเพื่อนำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อน
และแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน ในส่วนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รายงานสรุปใดที่เป็นรายงานสรุปหลักที่ใช้
ในการบริหารงาน
ก. สถิติคดีอาญา ๕ กลุ่ม
ข. สถิติคดีอาญา ๔ กลุ่ม
ค. รายงานสรุปการบันทึกประจำวัน
ง. สถิติคดีอาญา-จราจร จำแนกตามสาเหตุ รายเดือน
ตอบ ข.
1
คำสั่ง ให้ทำเครื่องหมาย  เพื่อเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. INTERNATIONAL TELECOMMUNICATION UNION (ITU) หมายถึง
ก. สหภาพสากลไปรษณีย์ ข. สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
ค. สหภาพวิทยุระหว่างประเทศ ง. สหภาพวิทยุสมัครเล่นสากล
2. กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคมที่บังคับใช้ในปัจจุบัน คือข้อใด?
ก. พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2489
ข. พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498
ค. พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร พ.ศ. 2491
ง. พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร พ.ศ. 2497
3. องค์กรใดเป็นผู้จัดสรรคลื่นความถี่และกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ?
ก. กสทช. ข. กกต.
ค. กระทรวง ICT ง. ITU
4. ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ ประเทศไทยอยู่ในภูมิภาคใด ?
ก. ภูมิภาคที่ 1 ข. ภูมิภาคที่ 2
ค. ภูมิภาคที่ 3 ง. ภูมิภาคที่ 4
5. คำว่า “คลื่นแฮรตเซียน” ตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 หมายความว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่
มีความถี่ระหว่าง ?
ก. 10 เมกะไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 เมกะไซเคิลต่อวินาที
ข. 10 เมกะไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 กิโลไซเคิลต่อวินาที
ค. 10 กิโลไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 เมกะไซเคิลต่อวินาที
ง. 10 กิโลไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 กิโลไซเคิลต่อวินาที
6. คำว่า “สถานีวิทยุคมนาคม” ตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 หมายความว่า ?
ก. ที่ส่งวิทยุคมนาคม ข. ที่รับวิทยุคมนาคม
ค. ที่ส่งและรับวิทยุคมนาคม ง. ถูกทุกข้อ
7. ห้ามมิให้ผู้ใดทำ มี ใช้ นำเข้า นำออก หรือค้า ซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจาก?
ก. อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข ข. ปลัดกระทรวง ICT
ค. เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
8. ใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม มีอายุ ?
ก. 1 ปีนับแต่วันออก ข. 3 ปีนับแต่วันออก
ค. 5 ปีนับแต่วันออก ง. ตลอดอายุของเครื่องวิทยุคมนาคม
9. ใบอนุญาตให้ตั้งสถานีวิทยุคมนาคม มีอายุ ?
ก. 1 ปีนับแต่วันออก
ข. 3 ปีนับแต่วันออก
ค. 5 ปีนับแต่วันออก
ง. ตลอดระยะเวลาที่ผู้รับใบอนุญาตใช้สถานีตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาตเป็นสถานีวิทยุคมนาคม
2
10. ข้อใดคืออัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ?
ก. 100 บาท ข. 200 บาท
ค. 500 บาท ง. 1,000 บาท
11. ข้อใดคืออัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ตั้งสถานีวิทยุคมนาคม กำลังส่ง 5 วัตต์ แต่ไม่เกิน 10 วัตต์ ?
ก. 100 บาท ข. 200 บาท
ค. 500 บาท ง. 1,000 บาท
12. ผู้มีอำนาจทำการเปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 คือ ?
ก. เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต ข. พนักงานอัยการ
ค. พนักงานสอบสวน ง. ถูกทุกข้อ
13. ระวางโทษฐานใช้เครื่องวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาต คือ ?
ก. ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
14. ระวางโทษฐานจงใจกระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม คือ ?
ก. ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
15. เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 ตามประกาศ กสทช. เรื่อง การใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
แบบสังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยงานของรัฐ หมายความว่า ?
ก. เครื่องวิทยุคมนาคมที่ผู้ใช้สามารถตั้งความถี่วิทยุได้เองจากภายนอกเครื่องวิทยุคมนาคม
ข. เครื่องวิทยุคมนาคมที่ผู้ใช้ไม่สามารถตั้งความถี่วิทยุได้เองจากภายนอกเครื่องวิทยุคมนาคม แต่สามารถตั้ง
ความถี่วิทยุด้วยเครื่องตั้งความถี่วิทยุ (Programmer) หรือโดยวิธีอื่น
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
16. หน่วยงานใดต่อไปนี้ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 ?
ก. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ข. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ค. สำนักงาน ป.ป.ช. ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค.
17. บุคคลซึ่งมีฐานะในข้อใด ที่สามารถใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 ได้ ?
ก. เป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์กรของรัฐ
ข. เป็นพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. เป็นบุคคลธรรมดาที่ได้รับอนุญาตให้ร่วมใช้ความถี่วิทยุกับหน่วยงานราชการที่ได้รับการจัดสรรความถี่วิทยุ
ง. ถูกทุกข้อ
18. ข้อใดคือข้อปฏิบัติในการใช้ความถี่วิทยุของหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ?
ก. ใช้ความถี่วิทยุในกิจการวิทยุสมัครเล่น ข. ใช้ความถี่วิทยุที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น
ค. ใช้ความถี่วิทยุใดก็ได้ตามความพึงพอใจ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
3
19. เอกสารใดต่ อไปนี้ ที่ท่ า นใช้สำหรับ แสดงต่อเจ้า พนั กงานเมื่ อ ถูกตรวจค้น ในกรณี ที่ เครื่ องวิท ยุค มนาคม
ดังกล่าวเป็นเครื่องวิทยุคมนาคมของหน่วยงานที่ท่านสังกัดอยู่ ?
ก. บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ข. บัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม
ค. ใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
20. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ?
ก. หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ความถี่วิทยุต้องจัดทำบัญชีเบิกจ่ายเครื่องวิทยุคมนาคมของหน่วยงาน
ข. การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ ไม่จำเป็นต้องดำเนินไปเพื่อราชการของหน่วยงาน
ค. บุคคลที่มีฐานะเป็นผู้ใหญ่บ้าน ไม่สามารถใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ได้
ง. ผู้ ที่ ใช้ เครื่ อ งวิ ท ยุ ค มนาคมแบบสั ง เคราะห์ ค วามถี่ ข องหน่ ว ยงานราชการและรั ฐ วิ สาหกิ จ ต้ อ งได้ รั บ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นก่อน
21. ความถี่วิทยุ 136 - 174 MHz (เมกะเฮิรตซ์) เป็นความถี่วิทยุในย่านใด ?
ก. UHF (ยู-เอช-เอฟ) ข. HF (เอช-เอฟ)
ค. VHF (วี-เอช-เอฟ) ง. LF (แอล-เอฟ)
22. อุปกรณ์ใดทำหน้าที่รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แพร่กระจายในอากาศแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า ?
ก. สายดิน ข. สายนำสัญญาณ
ค. ลำโพง ง. สายอากาศ
23. การติดต่อสื่อสารโดยวิธีผลัดกันส่ง-รับข่าวสาร และใช้ความถี่เดียว เรียกว่าการติดต่อแบบใด ?
ก. ฟูล ดูเพล็กซ์ (FULL DUPLEX) ข. ฮาล์ฟ ดูเพล็กซ์ (HALF DUPLEX)
ค. เซมิ ดูเพล็กซ์ (SEMI DUPLEX) ง. ซิมเพล็กซ์ (SIMPLEX)
24. เหตุใดสายอากาศย่านความถี่ VHF ในการใช้งานต้องติดตั้งให้อยู่ในตำแหน่งสูงที่สุดเท่าที่จะทำได้ ?
ก. เพื่อให้คู่สถานีเห็นตำแหน่งที่ท่านออกอากาศ ข. เพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟ้า
ค. เพื่อให้แพร่กระจายคลื่นได้ไกลที่สุด ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ค.
25. การที่กำลังส่งของเครื่องรับ-ส่งวิทยุแบบมือถือลดน้อยลงกว่าปกติ โดยทั่วไปมีสาเหตุมาจาก ?
ก. แบตเตอรี่ที่ใช้เสื่อมคุณภาพ ข. วงจรภาคส่งของเครื่องเสื่อมคุณภาพ
ค. วงจรภาครับของเครื่องเสื่อมคุณภาพ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
26. ข้อใดคือ หมายเลขทะเบียนวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่ทางบก ?
ก. NTC ID. B30099 – 09 – 1122 ข. NTC ID. B19900 – 08 – 1221
ค. NTC ID. B10099 – 09 – 1122 ง. NTC ID. B59900 – 08 – 1221
27. เครื่องวิทยุคมนาคมสามารถจำแนกออกตามลักษณะการใช้งานได้กี่ชนิด ?
ก. 2 ชนิด ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนิด ง. 5 ชนิด
28. เครื่องวิทยุคมนาคมชนิดใด ที่อนุญาตให้ใช้งานได้โดยมีกำลังส่งไม่เกิน 5 วัตต์ ?
ก. ชนิดเคลื่อนที่ ข. ชนิดประจำที่
ค. ชนิดมือถือ ง. ถูกทุกข้อ
29. ข้อใดคือหลักปฏิบัติในการพกพาเครื่องวิทยุคมนาคมของทางราชการ
ก. มีบัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ข. มีบัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม
ค. ไม่ต้องมีเอกสารใดเนื่องจากได้รับยกเว้น ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
4
30. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ใช่หลักปฏิบัติในการใช้งานเครื่องวิทยุคมนาคมชนิดมือถือ ?
ก. ส่งออกอากาศให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้
ข. ส่งออกอากาศด้วยกำลังส่งต่ำเมื่อระยะทางการติดต่อใกล้
ค. ส่งออกอากาศด้วยกำลังส่งสูงเมื่อระยะทางการติดต่อไกล
ง. ถูกทุกข้อ
31. “สายลม 01 จาก สายลม 02 ว.2 เปลี่ยน” เป็นการเรียกขานแบบใด ?
ก. เรียกขานแบบไม่เจาะจงสถานี ข. เรียกขานแบบเจาะจงสถานี
ค. เรียกขานเพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉิน ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
32. ประมวลสัญญาณวิทยุ (รหัส ว.) มีไว้เพื่อ ?
ก. ใช้แทนข้อความหรือประโยคในการติดต่อสื่อสารทางวิทยุคมนาคม
ข. ให้คู่สนทนาเข้าใจข่าวสารได้ยากยิ่งขึ้น
ค. ให้คุณภาพของเสียงในขณะสนทนามีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค.
33. “ ว.3 ” หมายความว่า ?
ก. ได้ยินแล้ว/รับทราบแล้ว ข. ขอทราบที่อยู่
ค. ให้ติดต่อทางโทรศัพท์ ง. ให้ทวนข้อความซ้ำอีกครั้ง
34. “ ขอทราบ ว.1 ว.16 ” หมายความว่า ?
ก. ขอทราบที่อยู่และให้ติดต่อทางโทรศัพท์ ข. ขอทราบที่อยู่และขอทดสอบสัญญาณวิทยุ
ค. ขอแจ้งเวลาและแจ้งข้อความทางวิทยุ ง. ขอทราบที่อยู่และให้ไปพบ
35. ข้อใดต่อไปนี้หมายถึง “พบวัตถุต้องสงสัยเกี่ยวกับระเบิดที่บริเวณหน้าธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่” ?
ก. พบเหตุ 500 ว.1 หน้าธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่
ข. พบเหตุ 510 ว.1 หน้าธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่
ค. พบเหตุ 511 ว.2 หน้าธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่
ง. พบเหตุ 512 ว.2 หน้าธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่
36. เมื่อท่านรับทราบหรือเข้าใจข้อความ ข่าวสารที่สถานีแม่ข่ายได้แจ้งมานั้น ให้ท่านตอบกลับว่า ?
ก. ว.1 ว.5 ข. ว.2 ว.7
ค. ว.1 ว.16 ง. ว.2 ว.8
37. ข้อใดคือหลักในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อให้เกิดการติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ?
ก. ใช้ความถี่วิทยุที่ถูกต้อง โดยได้รับอนุญาตจาก กสทช.
ข. ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ค. ผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่ กสทช. กำหนด
ง. ถูกทุกข้อ
38. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง สำหรับการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในข่ายราชการและรัฐวิสาหกิจ?
ก. ใช้ถ้อยคำไม่สุภาพหรือใช้คำหยาบคายในการติดต่อสื่อสาร
ข. ไม่รับส่งข่าวสารอันมีเนื้อหาละเมิดต่อกฎหมายบ้านเมือง
ค. ส่งเสียงดนตรี รายการบันเทิง การโฆษณาทุกประเภท
ง. ติดต่อสื่อสารในขณะมึนเมาหรือควบคุมสติไม่ได้
5
39. ข้อใดคือคุณสมบัติของผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมตามประกาศ กสทช. เรื่อง การใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
แบบสังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยงานของรัฐ ?
ก. สำเร็จการอบรมหลักสูตรการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่
ข. ได้รับการรับรองจากหน่วยงานต้นสังกัดให้เข้าร่วมข่ายสื่อสาร
ค. ได้รับใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมจาก กสทช. กรณีใช้เครื่องวิทยุคมนาคมส่วนตัว
ง. ถูกทุกข้อ
40. ผู้ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมข่ายสื่อสารของหน่วยงานของรัฐ จะสิ้นสุดสิทธิดังกล่าวเมื่อใด ?
ก. จนกว่าหน่วยงานต้นสังกัดจะแจ้งยกเลิกสิทธิ ข. ลาออก หรือเกษียณอายุราชการ
ค. ใช้ได้ตลอดไปไม่มีระยะเวลาสิ้นสุด ง. ไม่มีข้อใดถูก
ความรู้พื้นฐานในงานฝ่ายอำนวยการ

ข้อ 1 ฝ่ายอำนวยการหลักของสำนักงานตำรวจแห่งชาติแบ่งเป็นกี่สายงาน
ก. 4 สายงาน ได้แก่ งานกำลังพล งานข่าว งานแผนงาน และงานยุทธศาสตร์
ข. 5 สายงาน ได้แก่ งานกำลังพล งานข่าว งานแผนงานและงานยุทธศาสตร์ งานส่งกำลัง บำรุง
และงานชุมชนมวลชนสัมพันธ์หรืองานกิจการพลเรือน
ค. 5 สายงาน ได้แก่ งานกำลังพล งานข่าว งานแผนงาน งานยุทธศาสตร์ และงานส่งกำลังบำรุง
ง. 4 สายงาน ได้แก่ งานกำลังพล งานข่าว งานส่งกำลังบำรุง และงานชุมชนมวลชนสัมพันธ์
(ตอบข้อ ข.)
ฝายอํานวยการประสานงานหรือฝายอํานวยการหลัก ไดแก ฝายอํานวยการที่รับผิดชอบ งานอํานวยการหลัก
ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ 5 สายงาน คือ งานกําลังพล งานขาว งานแผนงานและยุทธศาสตร งานสงกําลังบํารุง
และงานชุมชนมวลชนสัมพันธ

ข้อ 2 ฝ่ายอำนวยการแบ่งเป็นกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท ได้แก่ ฝ่ายอำนวยการหลัก ฝ่ายอำนวยการรอง
ข. 2 ประเภท ได้แก่ ฝ่ายอำนวยการหลัก ฝ่ายอำนวยการสนับสนุน
ค. 3 ประเภท ได้แก่ ฝ่ายอำนวยการหลัก ฝ่ายอำนวยการสนับสนุน ฝ่ายอำนวยการพิเศษ
ง. 3 ประเภท ได้แก่ ฝ่ายอำนวยการประสานงานหรือฝ่ายอำนวยการหลัก ฝ่ายอำนวยการพิเศษ ฝ่าย
อำนวยการประจำตัว
(ตอบข้อ ง.)
ฝ่ายอำนวยการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
ฝ่ายอำนวยการประสานงานหรือฝ่ายอำนวยการหลัก ได้แก่ ฝ่ายอำนวยการที่รับผิดชอบงานอำนวยการหลัก
ของสำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ 5 สายงาน คื อ งานกำลั ง พล งานข่ า ว งานแผนงานและยุ ท ธศาสตร์
งานส่งกำลังบำรุง และงานชุมชนมวลชนสัมพันธ์
ฝ่า ยอำนวยการพิเ ศษ ได้แก่ ผู้ที่ร ับผิดชอบในการช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาด้วยการปฏิบัติงานในหน้าที่
ที่ต้องการความชำนาญเป็นพิเศษเฉพาะด้าน ตามสาขาวิชาชีพเทคนิค และงานในหน้าที่อื่น ๆ ที่มีขอบเขต
น้อยกว่าหน้าที่ของฝ่ายอำนวยการหลัก เช่น การสื่อสาร การประมวลผลข้อมูลข้อสนเทศ ฯลฯ
ฝ่ายอำนวยการประจำตัว ได้แก่ ผู้ที่รับผิดชอบการให้ความช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาในเรื่ องกิจการเฉพาะ
หรืองานในหน้าที่พิเศษ อันได้แก่ ตำแหน่งนายเวร หรือนายตำรวจประจำสำนักงานผู้บังคับบัญชา

ข้อ 3 ฝ่ายอำนวยการที่มีความชำนาญเฉพาะด้าน มีหน้าที่แนะนำหรือให้ข้อมูลข่าวสาร และข้อเสนอแนะ


ต่อผู้บังคับบัญชาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเทคนิคต่าง ๆ หมายถึงฝ่ายอำนวยการประเภทใด
ก. ฝ่ายอำนวยการประสานงาน
ข. ฝ่ายอำนวยการหลัก
ค. ฝ่ายอำนวยการพิเศษ
ง. ฝ่ายอำนวยการกิจการเฉพาะ
(ตอบข้อ ค.)
ฝายอํานวยการพิเศษ ไดแก ผู ที่รับผิดชอบในการชวยเหลือผู บังคับบัญชาดวยการปฏิบัติงานในหนาที่ที่
ตองการความชํานาญเปนพิเศษเฉพาะดาน ตามสาขาวิชาชีพเทคนิค และงานในหนาที่อื่น ๆ ที่มีขอบเขต
นอยกวาหนาที่ของฝายอํานวยการประสานงานหรือฝายอํานวยการหลัก แตมีลักษณะเฉพาะเจาะจงกวา
และมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับ เรื่ องเทคนิค เชน การสื่อสาร การประมวลผลขอมูลสารสนเทศ ฯลฯ
การใหความชวยเหลือตอผูบังคับบัญชาของฝายอํานวยการพิเศษ จะทําไดโดยการแนะนํา หรือใหขอมูลขาวสาร
และขอเสนอแนะตอผูบังคับบัญชาในสวนที่เกี่ยวของกับงานดานเทคนิคตาง ๆ

ข้อ 4 การรักษาความปลอดภัยและอำนวยการความสะดวกให้กับผู้บังคับบัญชาคือฝ่ายอำนวยการประเภทใด
ก. ฝ่ายอำนวยการพิเศษ
ข. ฝ่ายอำนวยการจราจร
ค. ฝ่ายอำนวยการเฉพาะกิจ
ง. ฝ่ายอำนวยการประจำตัว
(ตอบข้อ ง.)
ฝายอํานวยการประจําตัว ไดแก ผูที่รับผิดชอบการใหความชวยเหลือผูบังคับบัญชาในเรื่องกิจการเฉพาะ หรือ
งานในหนาที่พิเศษ อันไดแก ตําแหนงนายเวร หรือ นายตํารวจประจําสํานักงานผู บังคับบัญชา ซึ่งปฏิบัติงาน
โดยตรงตอผูบังคับบัญชา มีหนาที่ความรับผิดชอบในเรื่องตาง ๆ ดังนี้
1 ชวยเหลือผูบังคับบัญชาในการแบงเวลาปฏิบัติราชการและกิจกรรมอื่น ๆ โดยปลดเปลื้องจากงาน
ทีไ่ มจําเปน เพื่อใหสามารถใชเวลาในการปฏิบัติงานตามหนาที่ไดมากขึ้น
2. การรักษาความปลอดภัยและอํานวยการความสะดวกใหกับผูบังคับบัญชา
3. ชวยเหลือในการจัดตารางเวลาการปฏิบัติราชการ
4. เตรียมการและดําเนินงานเกี่ยวกับการเดินทางของผูบังคับบัญชา
5. การรับรองผูมาติดตอราชการกับผูบังคับบัญชา
6. การประสานงานที่เกี่ยวของกับพิธีการ ในสวนที่เกี่ยวของกับผูบังคับบัญชา
7. การปฏิบัติงานดานธุรการของผูบังคับบัญชา
8. การกํากับดูแลเจาหนาที่อื่นประจําสํานักงานผูบังคับบัญชา เชน พลขับ เจาหนาที่ธุรการ

ข้อ 5 ตำแหน่งนายเวร หรือ นายตำรวจประจำสำนักงานผู้บังคับบัญชา หมายถึง ฝ่ายอำนวยการประเภทใด


ก. ฝ่ายอำนวยการพิเศษ
ข. ฝ่ายอำนวยการเฉพาะกิจ
ค. ฝ่ายอำนวยการประจำตัว
ง. ฝ่ายอำนวยการประสานงาน
(ตอบข้อ ค.)
ฝ่ายอำนวยการประจำตัว ได้แก่ ผู้ที่รับผิดชอบการให้ความช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาในเรื่องกิจการเฉพาะ หรือ
งานในหน้าที่พิเศษ อันได้แก่ ตำแหน่งนายเวร หรือนายตำรวจประจำสำนักงานผู้บังคับบัญชา
ข้อ 6 พันธกิจของฝ่ายอำนวยการ หรืองานในหน้าที่ร่วมของฝ่ายอำนวยการคือข้อใด
ก. การให้ข้อมูลข่าวสาร
ข. การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร (ประมาณการ)
ค. การให้ข้อเสนอแนะการทำแผนคำสั่ง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.)
พันธกิจของฝายอํานวยการตํารวจ หมายความถึง หนาที่ที่ฝายอํานวยการตํารวจจะตองปฏิบัติอยูตลอดเวลา
อยางตอเนื่อง กลาวคือ เปนหนาที่ที่จ ะละเวนการปฏิบัติเสียมิไดในการทําหนาที่ฝ ายอํานวยการตํ ารวจ
ไมวาจะเปนฝายอํานวยการในสายงานใด หรือประเภทใดก็ตาม อันไดแกงานในหนาที่รวม 5 ประการของฝาย
อํานวยการ ไดแก การใหขอมูลขาวสาร การวิเคราะหขอมูลขาวสาร (การประมาณการ) การใหขอเสนอแนะ
การทําแผน/คําสั่ง และการกํากับดูแลการปฏิบัติตามแผน/คําสั่ง ซึ่งการปฏิบัติหนาที่รวมทั้ง 5 ประการดังกลาว
ถือวาเปนหัวใจในการปฏิบัติอยางสมบูรณของฝายอํานวยการ หากมีการละเลยการปฏิบัติหนาที่ประการใด
ประการหนึ่ง ยอมเปนที่มาของความผิดพลาดหรือความลมเหลวในการปฏิบัติงานในที่สุด

ข้อ 7 ข้อใดถือเป็นหน้าที่เบื้องต้นตามพันธกิจของฝ่ายอำนวยการ
ก. การประมาณการ
ข. การให้ข้อมูลข่าวสาร
ค. การกำกับดูแลการปฏิบัติตามแผน/คำสั่ง
ง. การทำแผน/คำสั่ง
(ตอบข้อ ข.)
การใหขอมูลขาวสาร การใหขอมูลขาวสารถือเปนหนาที่เบื้องตน ที่ฝายอํานวยการจะตองเปนผู ใหขอมูลขาวสาร
ในสวนที่เกี่ยวของกับงานในหนาที่ของฝายอํานวยการนั้น ๆ อยางครบถวนสมบูรณตอผู บังคับบัญชา ทั้งนี้
เพื่อใหผูบังคับบัญชาสามารถทราบขอมูลขาวสารสําคัญที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานที่จําเปนอยางครบถวน
ไมมองขามขอมูลขาวสารบางประการที่มีสวนเกี่ยวของ

ข้อ 8 การวิเคราะห์และประเมินค่ารายงานข้อมูลข่าวสาร จะช่วยให้ฝ่ายอำนวยการทราบถึงข้อใด


ก. สถานภาพ และสถานการณ์ในแต่ละเรื่อง
ข. เสถียรภาพของฝ่ายอำนวยการ
ค. วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
ง. ความคิดเห็นของฝ่ายอำนวยการ
(ตอบข้อ ก.)
การวิ เ คราะห และประเมิ น คารายงานข อมู ล ขาวสาร จะชวยใหฝายอํ า นวยการทราบถึ ง สถานภาพ
และสถานการณในแตละเรื่อง แตจะตองพึงระมัดระวังในเรื่องความทันตอเหตุการณของขอมูลขาวสารดวย
ข้อ 9 หน้าที่ร่วมของฝ่ายอำนวยการในข้อใดเป็นการนำเอาข้อตกลงใจรวมถึงข้อห่วงใยของผู้บังคับบัญชา
มาแปลเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติให้เกิดความสำเร็จ
อย่างรวดเร็ว
ก. การให้ข้อเสนอแนะ
ข. การทำแผน/คำสั่ง
ค. การให้ข้อมูลข่าวสาร
ง. การกำกับดูแลการปฏิบัติตามแผน/คำสั่ง
(ตอบข้อ ข.)
การทํา แผน/คํา สั่ง หนาที่ร วมของฝายอํานวยการในเรื่องนี้เปนการนําเอาขอตกลงใจรวมถึงขอหวงใย
ของผูบังคับบัญชามาแปลเปนแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อมอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปปฏิบัติ
ใหเกิดความสําเร็จ อยางรวดเร็ว และแผน/คําสั่งที่หนวยเกี่ยวของจะตองปฏิบัติสามารถไปถึงมือผู เกี่ยวของ
ไดอย่างรวดเร็ว สมบูรณ และทันตอเวลา

ข้อ 10 การสรุปเกี่ยวกับปัจจัยหรือข้อมูลที่ สำคัญที่อาจกระทบต่อการปฏิบัติงาน เป็นพันธกิจฝ่ายอำนวยการ


ในด้านใด
ก. การให้ข้อมูลข่าวสาร
ข. การประมาณการ
ค. การกำกับดูแลการปฏิบัติงาน
ง. การให้ข้อเสนอแนะ
(ตอบข้อ ข.)
การประมาณการ (การวิเคราะหขอมูลขาวสาร) ของฝายอํานวยการ ถือเปนหนาที่ร วมประการตอมาที่ฝ าย
อํานวยการตํารวจ จะตองปฏิบัติโดยไมจําเปนตองมีคําสั่งของผู บังคับบัญชาใหดําเนินการ โดยดําเนินการ
วิเคราะหขอมูลขาวสารที่มีอิทธิพลตอแนวทางการปฏิบัติงาน และสรุปผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารตอ
ผูบังคับบัญชา โดยจะตองมีเนื้อหาสาระที่ครบคลุมถึง
1. ขอสรุปเกี่ยวกับปจจัยหรือขอมูลที่สําคัญที่อาจจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติงาน และลักษณะ
ของผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเปนสาเหตุใหเกิดอะไรขึ้น หรือกระทบตอแนวทางการปฏิบัติงานอยางไร
2. สรุปผลการวิเคราะหของฝายอํานวยการ ในการใชทรัพยากรที่มีอยูเพื่อปฏิบัติงานในภารกิจนั้ น ๆ
โดยจะมีผลเสีย หรือจะมีผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมานอยที่สุด และสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ต องการ
ไดอยางสมบูรณที่สุด

ข้อ 11 การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชา ให้ ม ั ่ น ใจว่ า หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ได้ ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามแผน/คำสั่ ง
ของผู้บังคับบัญชา เพื่อสั่งการ แก้ไขปัญหาตามสถานการณ์อย่างถูกต้องรวดเร็ว ถือเป็นพันธกิจของฝ่าย
อำนวยการตำรวจในด้านใด
ก. การกำกับดูแลการปฏิบัติตามแผน/คำสั่ง
ข. การให้ข้อเสนอแนะ
ค. การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร
ง. การให้ข้อมูลข่าวสาร
(ตอบข้อ ก.)
การกํากับดูแลการปฏิบัติตามแผน/คําสั่ง ถือเปนการใหความชวยเหลือผูบังคับบัญชา ใหมั่นใจไดวาหนวยงาน
ตางๆ ที่เกี่ยวของไดปฏิบัติตามแผน/คําสั่งของผู บังคับบัญชา อันเปนการแบงเบาภาระในการกํากับดูแลการ
ปฏิบัติของผู บังคับบัญชาอีกสวนหนึ่ง ทั้งยังเปนการทําใหฝายอํานวยการสามารถทราบสถานการณตางๆได
อยางถูกตองและรวดเร็ว ตลอดจนในกรณีที่หนวยปฏิบัติตามแผน/คําสั่งเกิดมีป ญหาขัดของในการปฏิบัติ ก็
สามารถเสนอขอมูลขาวสารใหกับผูบังคับบัญชาทราบและสั่งการแกไขปญหาได

ข้อ 12 ข้อใดกล่าวถูกต้อง ในการให้ข้อเสนอแนะของฝ่ายอำนวยการ


ก. มุ่งเน้นในการให้คำแนะนำต่อผู้บังคับบัญชาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่
ข. ไม่บีบบังคับผู้บังคับบัญชาให้ตกลงใจกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใด โดยไม่สามารถเลือกหนทาง
ปฏิบัติอื่นได้
ค. การให้ ข ้ อ เสนอแนะของฝ่ า ยอำนวยการยั ง รวมถึ ง การให้ ข ้ อ เสนอกั บ ฝ่ า ยอำนวยการ
อื่น ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
(ตอบข้อ ง.)
การใหขอเสนอแนะ เปนหนาที่ของฝายอํานวยการที่จะตองนําผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารมากําหนดเปน
ขอเสนอแนะตอผู บ ัง คั บ บัญชา การใหขอเสนอแนะของฝายอํา นวยการ มุ งเนนในการใหคํา แนะนํ า ตอ
ผูบังคับบัญชาในสวนที่เกี่ยวของกับงานในหนาที่ของฝายอํานวยการนั้น ๆ ไมเปนการบีบบังคับผู บังคับบัญชา
ใหตกลงใจทําการอยางหนึ่งอยางใด โดยไมสามารถเลือกหนทางปฏิบัติอื่นได ทั้งนี้การให้ขอเสนอแนะของฝาย
อํานวยการยังรวมถึงการใหขอเสนอกับฝายอํานวยการอื่น ๆ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการปฏิบัติงานไดดวย

ข้อ 13 การประมาณการของฝ่ า ยอำนวยการ โดยดำเนิ น การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารที ่ ม ี อ ิ ท ธิ พ ลต่ อ


แนวทางการปฏิบัติงาน และสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร จะต้องมีเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมถึงข้อใดบ้าง
ก. ข้อสรุปเกี่ยวกับปัจจัยหรือข้อมูลที่สำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน
ข. ลักษณะของผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเป็นสาเหตุให้เกิดอะไรขึ้น
ค. สรุปผลการวิเคราะห์ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรอบครอบ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง)
การประมาณการ (การวิเคราะหขอมูลขาวสาร) ของฝายอํานวยการ ถือเปนหนาที่ร วมประการตอมาที่ฝ าย
อํานวยการตํารวจ จะตองปฏิบัติโดยไมจําเปนตองมีคําสั่งของผู บังคับบัญชาใหดําเนินการ โดยดําเนินการ
วิเคราะหขอมูลขาวสารที่มีอิทธิพลตอแนวทางการปฏิบัติงาน และสรุปผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารตอผูบังคับ
บัญชา โดยจะตองมีเนื้อหาสาระที่ครบคลุมถึง
1. ขอสรุปเกี่ยวกับปจจัยหรือขอมูลที่สําคัญที่อาจจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติงาน และลักษณะของ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะเปนสาเหตุใหเกิดอะไรขึ้น หรือกระทบตอแนวทางการปฏิบัติงานอยางไร
2. สรุปผลการวิเคราะหของฝายอํานวยการ ในการใชทรัพยากรที่มีอยูเพื่อปฏิบัติงานในภารกิจนั้น ๆ
โดยจะมีผลเสีย หรือจะมีผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมานอยที่สุด และสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการไดอยาง
สมบูรณที่สุด
ข้อ 14 ข้อใดถูกต้อง
ก. การเสนอข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการประกอบไปด้วยหัวข้อ เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย
หรือระเบียบ(ถ้ามี) ข้อเสนอแนะ ข้อพิจารณา
ข. การเสนอข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการประกอบไปด้วยหัวข้อ เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย
หรือระเบียบ(ถ้ามี) ข้อพิจารณา ข้อเสนอแนะ
ค. การเสนอข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการประกอบไปด้วยหัวข้อ เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะ
ข้อพิจารณา
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(ตอบข้อ ข.)
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ หมายความถึง การรายงานผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารของฝายอํานวยการ
ในภาวะปกติ และใหขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชาเพื่อตกลงใจสั่งการในการแกปญหา หรือดําเนินการในเรื่อง
ตาง ๆ โดยการจัดทําขอพิจารณาของฝายอํานวยการสามารถดําเนินการไดทั้งเปนเอกสารและการเสนอดวย
วาจา ตามปกติการเสนอขอพิจารณาของฝายอํานวยการจะประกอบดวยหัวขอดังนี้
1. เรื่องเดิม 2. ขอเท็จจริง 3. ขอกฎหมายหรือระเบียบ (ถามี) 4. ขอพิจารณา 5. ขอเสนอแนะ

ข้อ 15 ในแนวทางการดำเนิน การของฝ่ายอำนวยการ เครื่องมือที่ดีที ่ส ุดในการกระจายข้ อมูล ข่ า วสาร


ให้ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอำนวยการ ทราบสถานภาพ สถานการณ์ และปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ คือข้อใด
ก. การติดต่อด้วยเอกสาร
ข. การบรรยายสรุป
ค. การติดต่อโดยผ่านระบบการสื่อสาร
ง. การพบปะด้วยตนเอง
(ตอบข้อ ข.)
การบรรยายสรุป เปนเครื่องมือที่ดีที่สุด ที่จะกระจายขอมูล ขาวสาร ใหผู บังคับบัญชาและฝายอํานวยการ
ทราบสถานภาพ สถานการณ และปญหาขอขัดของตาง ๆ อยางเปนปจจุบัน

ข้อ 16 การรายงานสรุปผลการระดมกวาดล้างอาชญากรรมในเทศกาลสงกรานต์ เป็นการรายงานและสรุปผล


งานประเภทใด
ก. การรายงานและสรุปผลงานตามห้วงระยะเวลา
ข. การรายงานและสรุปผลงานเป็นครั้งคราว
ค. การรายงานและสรุปผลงานตามนโยบาย
ง. การรายงานและสรุปงานครั้งเดียว

(ตอบข้อ ง.)
รายงานและสรุปผลงาน
การรายงานและสรุปผลการปฏิบัติงานเปนสิ่งที่ใชการอยางกวางขวางในระบบการปฏิบัติงานของทุกหนวย
ราชการ และทุกระดับ หนวยงาน ซึ่งฝายอํานวยการทุกสายงานจะเปนผู รับผิดชอบในการเสนอแนะให
ผู บังคับบัญชาสั่งการ และรวบรวมขอมูลขาวสารจากรายงานและสรุปผลงานมาใชในการวิเคราะหขอมูล
ขาวสารประเภทของการรายงานและสรุปผลงานแบงออกไดเปน 3 ประเภทดังนี้
1. รายงานและสรุปผลงานตามหวงระยะเวลา ซึ่งบรรจุข อมูลขาวสารสําคัญที่กําหนดไว โดยกําหนด
หวงระยะเวลาการรายงานสม่ำเสมอ เชน รายงานประจําวัน ประจําสัปดาห ประจําเดือน รอบ 6 เดือน
หรือประจําป
2. รายงานและสรุป ผลงานเปนครั้ งคราว เปนการรายงานหรื อสรุปผลการปฏิ บัติ ซึ่ ง ไดกํ า หนด
ความตองการ หรือสั่งการไวใหดําเนินการทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ หรือสถานการณที่ไดกําหนดไวลวงหนา ไดแก
การรายงานเหตุดวนสําคัญ การรายงานเกี่ยวกับการชุมนุมประทวง เปนตน
3. รายงานและสรุปผลงานครั้งเดียว เปนรายงานและสรุปผลงานที่จัดทําเพียงครั้งเดียวเมื่อเสร็จสิ้น
การปฏิบ ัติในแตละภารกิจ เชน สรุป ผลการระดมกวาดลางอาชญากรรมในเทศกาลตาง ๆ หรือสรุปผล
การรักษาความสงบในการเลือกตั้ง ฯ เปนตน

ข้อ 17 การรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายอำนวยการในภาวะปกติ และให้ข้อเสนอแนะ


แก่ผู้บังคับบัญชาเพื่อตกลงใจสั่งการในการแก้ปัญหา เป็นแนวทางการดำเนินการของฝ่ายอำนวยการในข้อใด
ก. การวิจัยของฝ่ายอำนวยการ
ข. การวิเคราะห์ข้อมูล
ค. ข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ
ง. แนวทางปฏิบัติในการทำแผนและคำสั่ง
(ตอบข้อ ค.)
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ หมายความถึง การรายงานผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารของฝายอํานวยการ
ในภาวะปกติ และใหขอเสนอแนะแกผู บังคับบัญชาเพื่อตกลงใจสั่งการในการแกปญหา หรือดําเนินการ
ในเรื่องตาง ๆ

ข้อ 18 ในการจัดทำข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการเป็นหนังสือ ควรจะต้องมีลักษณะในข้อใด


ก. ถูกต้องตรงข้อเท็จจริง
ข. ตรงประเด็น ไม่มีความเห็นส่วนตัว หรืออคติ
ค. มีความสมบูรณ์
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
(ตอบข้อ ง.)
ในการจัดทําขอพิจารณาของฝายอํานวยการเปนหนังสือ ควรจะตองมีลักษณะดังนี้
1. ถูกตองตรงขอเท็จจริง
2. มีความชัดเจน กระทัดรัด และเขาใจไดงาย
3. ตองสั้น ใชคํางายแบบธรรมดา ลดความฟุมเฟอยและเรื่องราวที่ไมสําคัญลง
4. ตรงประเด็น ไมมีความเห็นสวนตัว หรืออคติ
5. มีความตอเนื่องเรียบเรียงเรื่องราวอยางมีเหตุผล
6. มี ค วามสมบู ร ณ (ในกรณี ท ี ่ ม ี เ อกสารประกอบเรื ่ อ ง ให จั ด ทํ า เอกสารประกอบแนบท าย
เพื่อใหสามารถตรวจสอบและศึกษาประกอบการพิจารณาได)

ข้อ 19 แนวทางการดำเนินการในส่วนการประสานงานของฝ่ายอำนวยการ มีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย


เป็นไปตามข้อใด
ก. เพื่อให้การทำงานของฝ่ายอำนวยการที่เป็นแผน/คำสั่งผู้บังคับบัญชาในเรื่องต่าง ๆ สอดคล้องกัน
ข. เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงข้อขัดแย้งในหน่วยงาน
ค. เพื่อลดการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อน
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
(ตอบข้อ ง.)
การประสานงานภายในของฝายอํ านวยการถื อ เปนเรื ่อ งที่ ส ํ าคั ญ อยางยิ่ ง ดวยเหตุ ผ ลสองประการ คื อ
เพื่อใหมั่นใจไดวาการทํางานของฝายอํานวยการตามแผน/คําสั่งของผู บังคับบัญชา เปนไปอยางสอดคลองกัน
และเปนการหลีกเลี่ยงขอขัดแยงและการปฏิบัติงานซ้ำซอนกัน

ข้อ 20 ข้อใดดังต่อไปนี้เป็นแนวทางปฏิบัติในการประสานงานตามแนวทางการดำเนินการของฝ่ายอำนวยการ
ก. การประชุมของฝ่ายอำนวยการอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ
ข. การบรรยายสรุป
ค. การแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารสำคัญ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.)
แนวทางปฏิบัติในการประสานงาน ไดแก
(1) การประชุมของฝายอํานวยการอยางเปนทางการ และไมเปนทางการ
(2) การบรรยายสรุป
(3) การแจกจายขอมูลขาวสารสําคัญ
(4) การติดตอประสานงานโดยตรง

ข้อ 21 แนวทางการดำเนินงานฝ่ายอำนวยการ หมายความถึงข้อใด


ก. หลักการที่ยึดมั่นเพื่อให้ฝ่ายอำนวยการบรรลุถึงพันธกิจ
ข. หลักการที่นำมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของฝ่ายอำนวยการ
ค. วิธีการที่นำมาใช้เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จของการปฏิบัติหน้าที่
ง. วิธีการที่นำมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของฝ่ายอำนวยการ
(ตอบข้อ ค.)
แนวทางการดํ า เนิ น งานฝายอํ า นวยการ หมายความถึ ง วิ ธ ี ก ารที ่ น ํ า มาใชเพื ่ อ ใหบรรลุ ผ ลสํา เร็จ ของ
การปฏิบัติหนาที่ฝายอํานวยการ ซึ่งประกอบด้วย
1. การทำงานอย่างสมบูรณ์ฝ่ายอำนวยการ
2. การประสานงานของฝ่ายอำนวยการ
3. การกำกับดูแลของฝ่ายอำนวยการ
4. เครื่องมือในการประสานงาน
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. การบรรยายสรุป
7. รายงานและสรุปผลงาน
8. การทำประมาณการ(การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร)
9. แนวทางการปฏิบัติในการทำข้อเสนอ
10. ข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ
11. แนวทางปฏิบัติในการทำแผนและคำสั่ง
12. การวิจัยของฝ่ายอำนวยการ
13. เครื่องมือในการปฏิบัติงาน
ข้อ 22 ข้อใดคือเครื่องมือในการกำกับดูแลของฝ่ายอำนวยการ
ก. การวิเคราะห์รายงาน การเยี่ยมเยียน และการตรวจ
ข. การตรวจสอบ การรายงานผล การวิจัย
ค. การวิเคราะห์ข้อมูล การบรรยายสรุป การรายงาน
ง. การวิจัยของฝ่ายอำนวยการ การวิเคราะห์ข้อมูล การบรรยายสรุป
(ตอบข้อ ก.)
การกํากับดูแลของฝายอํานวยการ เปนหนาที่ของฝายอํานวยการ ที่จะตองติดตามกํากับดูแลการปฏิบั ติ
ตามแผน/คําสั่งของผู บังคับบัญชา เพื่อเปนการแบงเบาภาระของผู บังคับบัญชา และเพื่อใหเกิดความมั่นใจ
ไดวา การปฏิบัติตามแผน/คําสั่งสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ต องการไดอยางแทจริง ดังนั้นฝายอํานวยการ
จะตองเขาใจถึงแผน/คําสั่ง ตลอดจนแนวความคิดในการปฏิบัติ และเจตนารมณของผูบังคับบัญชาอยางชัดเจน
เครื่องมือในการกํากับดูแลของฝายอํานวยการ ไดแก การวิเคราะหรายงาน การเยี่ยมเยียน และการตรวจของ
ฝายอำนวยการ

ข้อ 23 ข้อใดเป็นการรายงานหรือสรุปผลการปฏิบัติซึ่งได้กำหนดความต้องการ หรือสั่งการไว้ให้ดำเนินการ


ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า
ก. การรายงานและสรุปผลงานตามห้วงระยะเวลา
ข. การรายงานและสรุปผลงานเป็นครั้งคราว
ค. การรายงานและสรุปผลงานตามนโยบาย
ง. การรายงานและสรุปงานครั้งเดียว
(ตอบข้อ ข.)
รายงานและสรุปผลงาน
การรายงานและสรุปผลการปฏิบัติงานเปนสิ่งที่ใชการอยางกวางขวางในระบบการปฏิบัติงานของทุกหนวย
ราชการ และทุกระดับ หนวยงาน ซึ่งฝายอํานวยการทุกสายงานจะเปนผู รับผิดชอบในการเสนอแนะให
ผู บังคับบัญชาสั่งการ และรวบรวมขอมูลขาวสารจากรายงานและสรุปผลงานมาใชในการวิ เคราะหขอมูล
ขาวสารประเภทของการรายงานและสรุปผลงานแบงออกไดเปน 3 ประเภทดังนี้
1. รายงานและสรุปผลงานตามหวงระยะเวลา ซึ่งบรรจุข อมูลขาวสารสําคัญที่กําหนดไว โดยกําหนด
หวงระยะเวลาการรายงานสม่ำเสมอ เชน รายงานประจําวัน ประจําสัปดาห ประจําเดือน รอบ 6 เดือน
หรือประจําป
2. รายงานและสรุป ผลงานเปนครั้ งคราว เปนการรายงานหรื อสรุปผลการปฏิ บัติ ซึ่ ง ได กํ า หนด
ความตองการ หรือสั่งการไวใหดําเนินการทุกครั้งที่เกิดเหตุการณ หรือสถานการณที่ไดกําหนดไวลวงหนา
ไดแก การรายงานเหตุดวนสําคัญ การรายงานเกี่ยวกับการชุมนุมประทวง เปนตน
3. รายงานและสรุปผลงานครั้งเดียว เปนรายงานและสรุปผลงานที่จัดทําเพียงครั้งเดียวเมื่อเสร็จสิ้น
การปฏิบ ัติในแตละภารกิจ เชน สรุป ผลการระดมกวาดลางอาชญากรรมในเทศกาลตาง ๆ หรือสรุปผล
การรักษาความสงบในการเลือกตั้ง ฯ เปนตน
ข้อ 24 ในการจัดทำข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการหัวข้อใดที่อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ แล้วแต่กรณีของเรื่อง
ก. เรื่องเดิม
ข. ข้อกฎหมายหรือระเบียบ
ค. ข้อพิจารณา
ง. ข้อเสนอแนะ
(ตอบข้อ ข.)
ขอพิจารณาของฝายอํานวยการ หมายความถึง การรายงานผลการวิเคราะหขอมูลขาวสารของฝายอํานวยการ
ในภาวะปกติ และใหขอเสนอแนะแกผู บังคับบัญชาเพื่อตกลงใจสั่งการในการแกปญหา หรือดําเนินการ
ในเรื ่ อ งตาง ๆ โดยการจั ด ทํ า ข อพิ จ ารณาของฝ ายอํ า นวยการสามารถดํ า เนิ น การได ทั ้ ง เปนเอกสาร
และการเสนอดวยวาจา ตามปกติการเสนอขอพิจารณาของฝายอํานวยการจะประกอบดวยหัวขอดังนี้
1. เรื่องเดิม
2. ขอเท็จจริง
3. ขอกฎหมายหรือระเบียบ (ถามี)
4. ขอพิจารณา
5. ขอเสนอแนะ

ข้อ 25 ในการเขียนข้อพิจารณาฝ่ายอำนวยการ ต้องสั้น ใช้คำง่าย ลดความฟุ่มเฟือยและเรื่องราวที่ไม่สำคัญ


แต่ถ้าเนื้อเรื่องมีรายละเอียดจำนวนมาก ควรทำอย่างไร
ก. จัดทำเอกสารประกอบแนบท้าย
ข. ใช้การยกตัวอย่างเปรียบเทียบ
ค. แบ่งเนื้อหาบางส่วนจากข้อเท็จจริงไปใส่ไว้ในข้อพิจารณา
ง. พยายามใช้คำย่อให้มากที่สุด
(ตอบข้อ ก.)
ในการจัดทําขอพิจารณาของฝายอํานวยการเปนหนังสือ ควรจะตองมีลักษณะดังนี้
1. ถูกตองตรงขอเท็จจริง
2. มีความชัดเจน กระทัดรัด และเขาใจไดงาย
3. ตองสั้น ใชคํางายแบบธรรมดา ลดความฟุมเฟอยและเรื่องราวที่ไมสําคัญลง
4. ตรงประเด็น ไมมีความเห็นสวนตัว หรืออคติ
5. มีความตอเนื่องเรียบเรียงเรื่องราวอยางมีเหตุผล
6. มี ค วามสมบู ร ณ (ในกรณี ท ี ่ ม ี เ อกสารประกอบเรื ่ อ ง ให จั ด ทํ า เอกสารประกอบแนบท าย
เพื่อใหสามารถตรวจสอบและศึกษาประกอบการพิจารณาได)

ข้อ 26 ข้อใดคือจริยธรรมของฝ่ายอำนวยการ
ก. ไม่ทำงานข้ามสายงาน
ข. ไม่รับปากหรืออนุมัติคำขอของหน่วยรอง
ค. ไม่มีอำนาจในการบังคับบัญชาและสั่งการหน่วยรอง
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
(ตอบข้อ ง.)
จริยธรรมของฝ่ายอำนวยการ
1. ไม่มีอำนาจในการบังคับบัญชาและสั่งการหน่วยรอง
2. เคารพสิทธิ อำนาจของผู้บังคับบัญชา
3. สร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้บังคับบัญชาและผู้บังคับบัญชาหน่วยรอง
4. ไม่รับปากหรืออนุมัติคำขอของหน่วยรอง
5. ไม่ทำงานข้ามสายงาน
6. การให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับตัวผู้บังคับบัญชาหน่วยรอง ต้องกระทำการอย่างรอบคอบ
7. ไม่ละเมิดความไว้วางใจของ ผู้บังคับบัญชา
8. ปฏิบัติตามคำสั่งโดยไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง
9. ศึกษานโยบายหน่วยเหนือ ระเบียบข้อบังคับที่สำคัญ

ข้อ 27 เครื่องหมายฝ่ายเสนาธิการของทหารบกในอดีต ประกอบด้วย ดาว ๕ แฉก ซึง่ หมายถึง หน้าที่ร่วมของ


ฝ่ายอำนวยการ ๕ ประการ อย่างไรก็ดี ยังมีสิ่งสำคัญ ที่ฝ่ายอำนวยการต้องปฏิบัติควบคู่ไปกับหน้าที่ร่ว ม
ฝ่ายอำนวยการ 5 ประการนั้นอยู่เสมอ สิ่งนั้นคือข้อใด
ก. การบรรยายสรุป
ข. การมอบหมายหน้าที่
ค. การประสานงาน
ง. การประชุม
(ตอบข้อ ค.)
เครื่องหมาย“ฝ่า ยเสนาธิการ” ที่เคยถูกใช้มาในอดีต ประกอบด้วยดาว-ช่อชัยพฤกษ์และตราหน้าหมวก
โดยมีความหมาย ดังนี้ ดาวกับช่อชัยพฤกษ์ หมายถึง ผู้บังคับบัญชา ตราหน้าหมวก หมายถึง หน่วยทหาร
(สังกัดกองทัพบก) ส่วนดาว ๕ แฉก หมายถึง หน้าที่ร่วมของฝ่ายอำนวยการ ๕ ประการ ได้แก่ การหาและ
ให้ข่าวสาร การประมาณการ การให้ข้อเสนอแนะ การทำแผนและคำสั่ง และการกำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ
การประสานงานภายในของฝายอํ านวยการถื อ เปนเรื ่อ งที่ ส ํ าคั ญ อยางยิ่ ง ดวยเหตุ ผ ลสองประการ คื อ
เพื่อใหมั่นใจไดวาการทํางานของฝายอํานวยการตามแผน/คําสั่งของผู บังคับบัญชา เปนไปอยางสอดคลองกัน
และเปนการหลีกเลี่ยงขอขัดแยงและการปฏิบัติงานซ้ำซอนกัน

ข้อ 28 เข็มพิทักษาธิปัตย์ ซึ่งเป็นเข็มแสดงคุณวุฒิของผู้ที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ฝอ.ตร. เป็นตราแผ่นดิน


วางทับอยู่บนลายประจำยาม ความหมายของลายประจำยามที่ถูกตราแผ่นดินวางทับอยู่นั้น หมายถึง ข้อใด
ก. ฝ่ายอำนวยการตำรวจจะต้องทำงานอยู่เบื้องหลังตลอดเวลา
ข. เพื่อให้เป็นคติเตือนใจในการทำงานของฝ่ายอำนวยการตำรวจว่า “จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา”
ค. ฝ่ายอำนวยการตำรวจมีห น้า ที่ ไม่ต่ างกั บ ฝ่า ยปฏิ บัต ิก ารที่ มีห น้า ที่ รั ก ษาความสงบเรียบร้ อ ย
ในแผ่นดิน
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบข้อ ง.)
เข็ ม พิ ท ั ก ษาธิ ป ั ต ย์ เป็ น เข็ ม แสดงคุ ณ วุ ฒ ิ ข องผู ้ ท ี ่ ส ำเร็ จ การศึ ก ษาหลั ก สู ต รฝ่ า ยอำนวยการ โดยได้ รั บ
พระบรมราชานุ ญ าตให้ อ ั ญ เชิ ญ รู ป ตราแผ่ น ดิ น จั ด ทำเป็ น เครื ่ อ งหมายแสดงคุ ณ วุ ฒ ิ ไ ว้ ตามหนั ง สื อ
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร. 0201/21705 ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2520 เข็มพิทักษาธิปัตย์นี้
ทำด้วยโลหะสีทอง ส่วนกว้าง 3 ซม. ส่วนสูง 6.6 ซม. เป็นรูปตราแผ่นดินวางทับอยู่บนลายประจำยาม
ความหมายของสัญลักษณ์มีอยู่ว่า ตราแผ่นดิน หมายถึง งานในหน้าที่ของตำรวจจะต้องรักษาความสงบ
เรียบร้อยในแผ่นดิน ส่วนลายประจำยามที่อยู่ด้านหลังนั้น หมายถึง ฝ่า ยอำนวยการตำรวจจะต้องทำงาน
อยู่เบื้องหลังตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อให้เป็นคติเตือนใจในการทำงานของฝ่ายอำนวยการตำรวจว่า “จะปิดทองหลัง
องค์พระปฏิมา”

ข้อ 29 รร.เสนาธิการทหารบก ได้เปิดสอนหลักสูตร ฝอ.ตร. ให้กับกรมตำรวจ ตั้งแต่ พ.ศ.2520 - พ.ศ.2535


เมื่อเห็นว่าได้ผลิตบุคลากรให้กับกรมตำรวจเพียงพอที่จะดำเนินการได้เองแล้วจึงปิดหลักสูตรไป จากนั้น ตร.
ได้ ด ำเนิ น การฝึก อบรมเองต่ อ เนื ่ อ งมาจนถึง ปัจ จุ บ ัน จึ ง กล่ า วได้ ว ่า หลั ก สู ตร ฝอ.ตร. มี ร ากฐานมาจาก
รร.เสนาธิการทหารบก อยากทราบว่า พระบิดาผู้ทรงวางรากฐานของ รร.เสนาธิการทหารบก คือพระองค์ใด
ก. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
ข. พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์
ค. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ง. จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ
(ตอบข้อ ง.)
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2452 โดยจอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เป็นผู้วางรากฐาน

ข้อ 30 คำกล่าวเกี่ย วกับ ต้น กำเนิด และความหมายของ "เสนาธิการ" ของไทยที่ว ่า "...การที่แม่ทัพและ


ผู้บัญชาการจะตกลงใจทำอะไรลงไป อย่างใดอย่างหนึ่งนั้น ต้องทราบเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งฝ่ายตนฝ่ายข้าศึก
โดยรอบคอบก่อน แล้วจึงตกลง ลงไปให้เหมาะได้ ...การที่จะให้แม่ทัพ ผู้บัญชาการทราบเหตุการณ์ให้รอบคอบ
ทั้งให้คำสั่งไปถึงทันเวลา และผู้รับเข้าใจแจ่มแจ้งนี่แหละเป็นหน้าที่เสนาธิการ..." มีที่มาจากข้อใด
ก. หนังสือ "พงษาวดารยุทธศิลปะ" พระนิพนธ์ จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ
ข. ตำราพิชัยสงคราม ของซุนวู
ค. หนังสือ “On War” ของนายพล คาร์ล เคลาเซวิตซ์
ง. คัมภีร์ทั้ง 5 ของขงจื๊อ
(ตอบข้อ ก.)
ที่มา หนังสือ "พงษาวดารยุทธศิลปะ" ในพระนิพนธ์ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ
กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๙ จะพบคำว่า "เสนาธิการ" ในหน้า ๘๕๗

เอกสารอ้างอิง
1. คู่มือผู้บังคับหน่วยและฝ่ายอำนวยการ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
2. เว็บไซต์ กองบัญชาการศึกษา เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม หลักสูตร ฝอ.ตร. เข้าถึงได้จาก
https://edupol.org/Page/5.Education/Policegs/index.php
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

1. ข้อใดมิใช่ข้อยกเว้นการใช้บังคับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562


ก. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับ
คดี และการวางทรัพย์
ข. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ การ
โฆษณาและการตลาด
ค. การดำเนินการกับข้อมูลของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูล
เครดิต
ง. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุค คลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ
ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของบุคคลนั้น
เฉลย ข. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ
การตลาด
อ้างอิง มาตรา 4 (1) (5) (6)

2. ข้อใดมิใช่ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562


ก. เลขบัตรประจำตัวประชาชน ข. หมายเลขโทรศัพท์
ค. ข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม ง. ชื่อ - สกุล
เฉลย ค. ข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม
อ้างอิง มาตรา 6

3. ตำแหน่งใดมิใช่กรรมการโดยตำแหน่งของคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ก. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข. อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ค. อัยการสูงสุด ง. เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
เฉลย ก. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อ้างอิง มาตรา 8(3)

4. ข้อมูลใดจัดอยู่ในข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความละเอียดอ่อนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. 2562
ก. ชื่อ – สกุล ข. ที่อยู่
ค. เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ง. เลขบัตรประจำตัวประชาชน
เฉลย ค. เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์
อ้างอิง มาตรา 26
5. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทำการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในกรณีใด
ก. เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
ข. เป็นการจำเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดำเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ค. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการจัดทำเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุ
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 24 (1) (2) (4)
6. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทำการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่จากเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรงในกรณีใด
ก. ได้แจ้งถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นให้แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบโดยไม่ชักช้า
ข. เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอความยินยอม
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
อ้างอิง มาตรา 25

7. ข้อใดมิใช่หน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ก. ดำเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคำสั่งที่ได้รับจากผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลเท่านั้น
ข. จัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อดำเนินการลบหรือทาลายข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการเก็บ
รักษา
ค. จัดทำและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ง. จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม
เฉลย ข. จัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อดำเนินการลบหรือทาลายข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการ
เก็บรักษา
อ้างอิง มาตรา 40
8. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าที่แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่ส ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลภายในกี่ชั่วโมงนับแต่ทราบเหตุเท่าที่จะสามารถกระทำได้
ก. 72 ชั่วโมง ข. 48 ชั่วโมง
ค. 24 ชั่วโมง ง. 12 ชั่วโมง
เฉลย ก. 72 ชั่วโมง
อ้างอิง มาตรา 37(4)

9. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ในกรณีใด
ก. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหน่วยงานของรัฐตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกำหนด
ข. การดำเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลในการเก็บรวบรวม ใช้
หรือเปิดเผย จำเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลหรือระบบอย่างสม่ำเสมอ
ค. กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นการเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความละเอียดอ่อน
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 41

10. ข้อใดคือโทษทางอาญาของผู้ค วบคุมข้อมูลส่วนบุค คลที่ใ ช้ หรือเปิดเผยข้ อมู ลส่วนบุค คลที่มี ค วาม


ละเอียดอ่อน โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับ
ความอับอาย
ก. โทษจำคุกไม่เกินหกเดือน ข. โทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก
อ้างอิง มาตรา 79
พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562

11. คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติและคณะกรรมการกำกับดูแลด้านความ
มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ มีตำแหน่งใดเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
ก. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ปลัดกระทรวงพลังงาน ง. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
เฉลย ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
อ้างอิง มาตรา 5(2) และ มาตรา 12(2)
12. หน่วยงานใดเป็นหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ ตามมาตรา 49
ก. ด้านความมั่นคงของรัฐ ข. ด้านพลังงานและสาธารณูปโภค
ค. ด้านสาธารณสุข ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 49

13. ข้อใดมิใช่สิ่งที่หน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศต้องปฏิบัติ
ก. แจ้งรายชื่อและข้อมูลการติดต่อผู้ครอบครองคอมพิวเตอร์และผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ไปยังสำนักงาน
หน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแลของตน
ข. ดำเนินงานตามมาตรฐาน โดยมีหน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแลเป็นผู้ตรวจสอบ
ค. กำหนดประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานข้อกำหนดขั้นต่ำโดยคำนึงถึงหลักการบริหารความเสี่ยง
ง. เมื่อมีเหตุภัยคุกคาม ต้องรายงานต่อสำนักงานและหน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแล
เฉลย ค. กำหนดประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานข้อกำหนดขั้นต่ำโดยคำนึงถึงหลักการบริหารความ
เสี่ยง
อ้างอิง มาตรา 52 , มาตรา 53 และ มาตรา 57
14. ข้อใดมิใช่ระดับภัยคุกคามทางไซเบอร์ ตามมาตรา 60
ก. ระดับร้ายแรงมาก ข. ระดับวิกฤต
ค. ระดับร้ายแรง ง. ระดับไม่ร้ายแรง
เฉลย ก. ระดับร้ายแรงมาก
อ้างอิง มาตรา 60
15. ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญถึงระดับที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน
โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของประเทศหรือการให้บริการของรัฐด้อยประสิทธิภาพลง คือลักษณะของภัยคุกคาม
ทางไซเบอร์ระดับใด
ก. ระดับร้ายแรงมาก ข. ระดับวิกฤต
ค. ระดับร้ายแรง ง. ระดับไม่ร้ายแรง
เฉลย ง. ระดับไม่ร้ายแรง
อ้างอิง มาตรา 60(1)
16. ข้อใดคือโทษของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติฯ ที่เปิดเผยหรือส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูล
จราจรทางคอมพิวเตอร์ ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตาม
พระราชบัญญัตินี้ให้แก่บุคคลอื่น
ก. โทษจำคุกไม่เกินสามปี ข. โทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข. ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
อ้างอิง มาตรา 70

17. ข้อใดคือโทษของหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศที่ไม่รายงานเหตุภัยคุกคามทางไซเบอร์
ที่เกิดขึ้นอย่างมีนัยสำคัญต่อระบบของหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ โดยไม่มีเหตุอัน
สมควร
ก. โทษปรับไม่เกินสองแสนบาท ข. โทษจำคุกไม่เกินสามปี
ค. โทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
เฉลย ก. โทษปรับไม่เกินสองแสนบาท
อ้างอิง มาตรา 73

18. ข้อใดมิใช่เป้าหมายและแนวทางของนโยบายและแผนว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ก. การบูรณาการการจัดการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศ
ข. การสร้างความตระหนักและความรู้ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ค. การสร้างมาตรการในการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 42

19. ข้อใดคือชื่อภาษาอังกฤษของคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ก. National Cyber Secure Committee ข. National Cyber Security Committee
ค. National Cyber Security Commit ง. Nation Cyber Security Committee
เฉลย ข. National Cyber Security Committee
อ้างอิง มาตรา 5

20. ผู้ใดคือประธานกรรมการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ก. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ข. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ค. เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ ง. นายกรัฐมนตรี
เฉลย ง. นายกรัฐมนตรี
อ้างอิง มาตรา 5(1)

21. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับวิกฤติ
ก. เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ข. เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์อันเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทาให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
ค. เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เกิดจากการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ในระดับ
ที่สูงขึ้นกว่าภัยคุกคามทางไซเบอร์ในระดับร้ายแรง โดยส่งผลกระทบรุนแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานสำคัญ ทาง
สารสนเทศของประเทศในลักษณะที่เป็นวงกว้าง
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 60(3)
22. กิจการของสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่ง
กฎหมายใด
ก. กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน ข. กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
ค. กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 21

23. ข้อใดมิใช่หน้าที่และอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ก. ดำเนินการและให้ความร่วมมือหรือช่วยเหลือในการป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทาง
ไซเบอร์ โดยเฉพาะภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่กระทบหรือเกิดแก่โครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ
ข. ออกข้อบังคับว่าด้วยการจัดองค์กร การเงิน การบริหารงานบุคคล การบริหารงานทั่วไป การพัสดุ การ
ตรวจสอบภายใน รวมตลอดทั้งการสงเคราะห์และสวัสดิการต่าง ๆ ของสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ค. อนุมัติแผนการใช้จ่ายเงินและงบประมาณรายจ่ายประจาปีของสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ง. กำหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการการ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
เฉลย ก. ดำเนินการและให้ความร่วมมือหรือช่วยเหลือในการป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทาง
ไซเบอร์ โดยเฉพาะภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่กระทบหรือเกิดแก่โครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ
อ้างอิง มาตรา 27

24. ข้อใดคือหน้าที่และอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ
ก. ประสานงานและให้ความร่วมมือในการตั้งศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
ในประเทศและต่างประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์และก ำหนด
มาตรการที่ใช้แก้ปัญหาเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ข. ปฏิบัติการ ประสานงาน สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติตามนโยบาย
และแผนว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ค. เฝ้าระวังความเสี่ยงในการเกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์ ติดตาม วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับภัย
คุกคามทางไซเบอร์ และการแจ้งเตือนเกี่ยวกับภัยคุกคามทางไซเบอร์
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
อ้างอิง มาตรา 22 (4) (6) (7)
25. ข้อใดคือส่วนประกอบของประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ไซเบอร์ของหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานควบคุมหรือกำกับดูแล และหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทาง
สารสนเทศ
ก. แผนการตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
ข. แผนการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
อ้างอิง มาตรา 44
ข้อสอบพื้นฐานงานกำลังพล

ข้อ 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นส่วนราชการ ระดับใด


ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. สำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบ ค. กรม)
ตาม พ.ร.ฎ. โอนกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ไปจั ด ตั ้ ง เป็ น สำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ
พ.ศ.2541 มาตรา 3 ให้ โ อนกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ไปจั ด ตั ้ ง เป็ น สำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ
เป็นส่วนราชการและมีฐานะเป็นกรม ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ฯลฯ

ข้อ 2 โครงสร้างสำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบันมีกี่กองบัญชาการ
ก. 29 ข. 30
ค. 33 ง. 34
(ตอบ ข. 30)
ตาม พ.ร.ฎ. แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2552 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็น
กองบั ง คั บ การหรื อ ส่ ว นราชการอย่ า งอื ่ น ในสำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ พ.ศ.2552 และแก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม
แบ่งโครงสร้างสำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นหน่วยงานระดับกองบัญชาการ 30 กองบัญชาการ หน่วยงานระดับ
กองบังคับการ 7 กองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

ข้อ 3 อัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการตำรวจระดับรองสารวัตร ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทั่วไป


หรือปริญญารัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต จาก รร.นรต. คือเท่าใด
ก. 14,680 บาท ข. 15,000 บาท
ค. 15,290 บาท ง. 15,610 บาท
(ตอบ ค. 15,290 บาท)
ตามบัญชีกำหนดอัตราเงินเดือนสำหรับผู้สำเร็จหลักสูตรการศึกษาจากสถานศึกษาของสำนักงาน
ตำรวจแห่งชาติ และผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากสถานศึกษาในประเทศที่ ก.ตร. รับรอง เพื่อบรรจุ
แต่งตั้งเป็นข้าราชการตำรวจ แนบท้ายมติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 4/2557 เมื่อ 30 เม.ย.57 สำหรับ ผู้ที่มี
คุณวุฒิปริญญารัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิตจาก รร.นรต. และผู้ที่มีคุณวุฒิปริญญาตรีหลักสูตรกำหนดเวลาศึกษา
ไม่น้อยกว่า 4 ปี ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า ได้รับ อัตราเงินเดือนระดับ
ส.1 ชั้น 18.5 อัตราเงินเดือน 15,290 บาท

ข้อ 4 กรมตำรวจ แยกตัวจากกระทรวงมหาดไทย ไปจัดตั้งเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตั้งแต่เมื่อใด


ก. 17 ตุลาคม 2541
ข. 17 ตุลาคม 2547
ค. 15 กุมภาพันธ์ 2547 ซึ่งเป็นวันที่ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มีผลบังคับใช้
ง. 13 ตุลาคม 2547
(ตอบ ก. 17 ตุลาคม 2541)
ตาม พ.ร.ฎ โอนกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย ไปจั ด ตั ้ ง เป็ น สำนั ก งานตำรวจแห่ ง ชาติ พ.ศ.2541
มาตรา 2 พ.ร.ฎ. นี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยประกาศ ในราช
กิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 16 ต.ค.41 ดังนั้น มีผลใช้บังคับหลังจากประกาศ 1 วัน คือ วันที่ 17 ต.ค.41

ข้อ 5 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในบังคับบัญชาของผู้ใด หรือหน่วยงานใด


ก. สำนักนายกรัฐมนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวงมหาดไทย
ง. สภากลาโหม
(ตอบ ข. นายกรัฐมนตรี)
ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแห่ ง ชาติ พ.ศ.2547 และแก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม มาตรา 6 สำนั ก งานตำรวจแห่ง ชาติ เป็น
ส่วนราชการมีฐานะเป็นนิติบุคคลอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ฯลฯ

ข้อ 6 โครงสร้างส่วนราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปัจจุบัน เป็นไปตามข้อใด


ก. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2539
ข. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2548
ค. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551
ง. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ตอบ ง. พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2552 และแก้ไขเพิ่มเติม)
ปรับโครงสร้างหน่วยงานปี 2552

ข้อ 7 ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ ไม่มีสิ่งใดที่ตำรวจไทยจะทำไม่ได้ ในทางที่ไม่ขัดต่อศีลธรรม ขนมธรรมเนียม


ประเพณี อันดีงาม และกฎหมายบ้านเมือง เป็นคำกล่าวของใคร
ก. พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ข. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ค. พล.ต.อ.หลวงชาติตระการโกศล ง. จอมพลสกฤษดิ์ ธนะรัชต์
(ตอบ ก. พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์)
อธิบดีกรมตำรวจ ระหว่าง พ.ศ.2494 - พ.ศ.2500

ข้อ 8 ผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 และแก้ไขเพิ่มเติม คนปัจจุบันคือใคร


ก. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. นายกรัฐมนตรี
(ตอบ ง. นายกรัฐมนตรี)
ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 และแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตาม พ.ร.บ. นี้
และมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พ.ร.บ. นี้ ฯลฯ
ข้อ 9 หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายกำลังพล ตามการจัดฝ่ายเสนาธิการของทหาร ในเรื่องการพัฒนา
และรักษาขวัญ ตรงกับกองบังคับการใดในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. กองทะเบียนพล
ข. กองอัตรากำลัง
ค. กองสวัสดิการ
ง. กองส่งกำลังบำรุง
(ตอบ ค. กองสวัสดิการ)

ข้อ 10 ผู้ที่รับราชการติดต่อกันมาแล้วกี่ปี จึงมีสิทธินำวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันได้


ไม่เกิน ๓๐ วันทำการ
ก. ไม่น้อยกว่า 5 ปี ข. ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ค. ไม่น้อยกว่า 15 ปี ง. ไม่น้อยกว่า 20 ปี
(เฉลย ข. ไม่น้อยกว่า 10 ปี)
ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๒๕ ถ้าในปีใดข้าราชการผู้ใดมิได้ลาพักผ่อนประจำปี
หรือลาพักผ่อนประจำปีแล้วแต่ไม่ครบ ๑๐ วันทำการ ให้สะสมวันที่ยังมิได้ลาในปีนั้นรวมเข้ากับปีต่อๆ ไปได้
แต่วันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันจะต้องไม่เกิน ๒๐ วันทำการ สำหรับผู้ที่ได้รับราชการ
ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ให้มีสิทธินำวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันได้ไม่เกิน
๓๐ วันทำการ
งานขอสอบงานกำลังพล
และสวัสดิการตางๆ กองทะเบียนพล (40 ขอ

1. กรณีที่ขาราชการตำรวจขอลาออกเพื่อดำรงตำแหนงที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ ตำแหนงทางการเมือง หรือเพื่อ


ลงสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหการลาออกจากราชการมีผล
เมื่อไร
ก. นับถัดจากวันที่ผูนั้นขอลาออก
ข. นับถัดจากวันที่ผูบังคับบัญชาอนุมัติ
ค. นับตั้งแตวันที่ผูนั้นขอลาออก
ง. นับตั้งแตวันที่ผูบังคับบัญชาอนุมัติ
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 99 วรรคสอง กรณีที่ขาราชการตำรวจ
ลาออกเพื่อดำรงตำแหนงที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ ตำแหนงทางการเมือง หรือเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเปน
สมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหการลาออกมีผลนับตั้งแตวันที่ผูนั้นขอลาออก

2. ขาราชการตำรวจผูใดถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก หรือถูกสั่งใหออกจากราชการ ใหผูนั้นอุทธรณคำสัง่


ดังกลาวตอ ก.ตร. ภายในกี่วัน
ก. ภายใน 30 วันทำการนับแตวันทราบคำสั่ง
ข. ภายใน 30 วันนับแตวันทราบคำสั่ง
ค. ภายใน 15 วันทำการนับแตวันทราบคำสั่ง
ง. ภายใน 15 วันนับแตวันทราบคำสั่ง
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 105 ขาราชการตำรวจผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งให
ออกจากราชการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณไดดังตอไปนี้
(1 กรณีถูกสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ใหอุทธรณคำสั่ง
ดังกลาวตอผูบังคับบัญชาของผูบ ังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ แตในกรณีที่ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งลงโทษ ให
อุทธรณตอ ก.ตร.
(2 กรณีถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก หรือถูกสั่งใหออก จากราชการ ใหอุทธรณ
คำสั่งดังกลาวตอ ก.ตร.
การอุทธรณตาม (1 และ ( 2 ใหอุทธรณภ ายในสามสิบวันนับแตวันทราบคำสั่ง

3. ขาราชการตำรวจผูใดแตงเครื่องแบบตำรวจในขณะกระทำความผิดอยางใดอยางหนึ่งตามที่บัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายอาญา มีกำหนดโทษอยางไร
ก. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 7 ป
ข. โทษจำคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 1 ป
ค. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 8 ป
ง. โทษจำคุกตั้งแต 1 ป ถึง 10 ป
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 109 ขาราชการตำรวจผูใดแตงเครื่องแบบตำรวจ
ในขณะกระทำความผิดอยางใดอยางหนึ่งตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีกำหนดโทษจำคุกอยาง
สูงตั้งแตหนึ่งปขึ้นไป ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงเจ็ดป
-2 -

4. ขอใดไมใชคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ข. ผูแทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. ผูแทนสำนักงานอัยการสูงสุด
ง. ผูแทนกระทรวงมหาดไทย
(ตอบ ขอ ง. (ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ไมใชคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 115 ใหมีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบดวย ผูบัญชาการตำรวจ
แหงชาติ เปนประธานกรรมการ ผูแทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผูแทนสำนักงานอัยการสูงสุด ผูแทน
กระทรวงยุติธรรม ผูแทนสำนักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลาง ผูแทนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และรองผู
บัญชาการตำรวจแหงชาติ หรือผูชวยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติที่ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
จำนวน 2 คน เปนกรรมการใหประธานกรรมการแตงตั้งขาราชการตำรวจเปนเลขานุการคนหนึ่งและผูชวยเลาขานุการ
ไมเกินสองคน

5. คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบการเงินและบัญชี สงผูสอบบัญชีตรวจสอบภายในกี่วันนับแตวันสิ้นป
ปฏิทินทุกป
ก. 150 วัน
ข. 120 วัน
ค. 90 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 117 ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบการเงิน
และบัญชี สงผูสอบบัญชีตรวจสอบภายใน 120 วันนับแตวันสิ้นปปฏิทินทุกป ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน
เป น ผู  ส อบบั ญ ชี ข องกองทุ น ทุ กรอบป แลว ทำรายงานผลการสอบบัญ ชี ข องกองทุน เสนอต อ ก.ต.ช. และ
กระทรวงการคลัง

6. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 และทีแกไขเพิ่มเติม มาตรา 82 โทษทางวินัยมีกี่สถาน


ก. 5
ข. 6
ค. 7
ง. 8
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา ๘๒ โทษทางวินัยมี 7 สถาน ดังตอไปนี้
(1 ภาคทัณฑ (2 ทัณฑกรรม (3 กักยาม (4 กักขัง (5 ตัดเงินเดือน (6 ปลดออก (7 ไลออก

7. การใหทำงานโยธา การใหอยูเวรยาม นอกจากหนาที่ประจำ หรือการใหทำงานสาธารณประโยชนซึ่งตองไม


เกิน 6 ชั่วโมงตอหนึ่งวัน ถือเปนการลงโทษสถานใด
ก. กักยาม
ข. ทัณฑกรรม
ค. กักขัง
ง. ภาคทัณฑ
-3 -

(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 82 การลงโทษทัณฑกรรม ไดแก การใหทำงาน
โยธา การใหอยูเวรยามนอกจากหนาที่ประจำ หรือการใหทำงานสาธารณประโยขนซึ่งตองไมเกินหกชั่วโมงตอหนึ่งวัน

8. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเขารวมโครงการปรับเปลี่ยนกำลังพล
ก. เปนขาราชการตำรวจที่มียศไมเกินพลตำรวจโท
ข. เปนขาราชการตำรวจที่มีอายุตั้งแต 55 ปบริบูรณขึ้นไป
ค. มีเวลาราชการ 25 ปบริบรู ณขึ้นไป โดยไมรวมเวลาทวีคูณ
ง. มีเวลาราชการเหลือตั้งแต 1 ปขึ้นไป นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ของปนั้น
(ตอบ ขอ ข. (ตามแนวทางปฏิบัติในการเขารวมโครงการสับเปลี่ยนกำลังพล ขอ 2.1 คุณสมบัติของผูเขารวม
โครงการฯ

9. การแกไขวันเดือนปเกิดใน ก.พ. 7 ในกรณีไมมีตนฉบับสูติบัตรมาตรวจสอบแลวตองสงหลักฐานอื่นเพื่อ


ประกอบการพิจารณานั้นขอใดไมใชหลักฐานที่ใชประกอบการพิจารณา
ก. ทะเบียนบาน
ข. บัตรประจำตัวประชาชน
ค. หลักฐานทางทหาร
ง. หลักฐานทางการศึกษา
(ตอบ ขอ ข. ( ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการแกไขวัน เดือน ปเกิด ในทะเบียนประวัติขาราชการ
พ.ศ.2548 ขอ 9 วรรคที่ 2 ในกรณีที่เปนการพนวิสัยที่จะหาหลักฐานตามวรรคหนึ่งได ใหสงหนังสือรับรองจากสวน
ราชการหรือหนวยงานที่มีหนาที่เก็บรักษาสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิด ซึ่งแจงเหตุขอของที่ไมอาจหาสูติบัตรหรือ
ทะเบียนคนเกิดได พรอมดวยหลักฐานตาง ๆ ดังตอไปนี้
1. ทะเบียนสำมะโนครัวหรือสำเนาทะเบียนบาน
2. หลักฐานการศึกษาอยางใดอยางหนึ่งที่แสดงวัน เดือน ปเกิดจากสถานศึกษาทุกแหงที่ผูนั้นเคย
ศึกษา
3. หลักฐานทางทหารในกรณีที่ผูยื่นคำขอเปนขาราชการชาย ไดแก ใบสำคัญทหาร
กองเกิน (แบบ สด.9 หรือใบสำคัญทหารกองหนุน (แบบ สด.8 หรือทะเบียนทหารกองประจำการ (แบบ สก.3
หรือสมุดประจำตัวทหารกองหนุน
4. หลักฐานทางราชการแสดง วัน เดือน ปเกิดของพี่นองรวมมารดา ในกรณีที่มีพี่นองรวม
มารดา
5. หลักฐานอื่นของทางราชการที่ระบุวัน เดือน ปเกิด โดยชัดแจง (ถามี

10. ขาราชการตำรวจผูที่เกิดวันที่ 2 ตุลาคม 2534 จะมีวันครบเกษียณอายุราชการใน วัน เดือน ป พ.ศ. ใด


ก. 30 กันยายน 2594
ข. 30 กันยายน 2595
ค. 1 ตุลาคม 2594
ง. 1 ตุลาคม 2595
(ตอบ ขอ ข. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0522.321/ว 570 ลง 18 ม.ค.38 เรื่อง การซักซอมความเขาใจ
เกี่ยวกับการนับอายุบุคคล
-4 -

11. ผูพิจารณาอนุญาตการขอตรวจสอบขอมูลหรือขอสำเนาเอกสารทางทะเบียนประวัติจากหนวยงานตาง ๆ ใน
สังกัด ตร. ตองมีตำแหนงใด
ก. รอง สว.
ข. ตั้งแต รอง สว. หรือเทียบเทาขึ้นไป
ค. สว. หรือเทียบเทา
ง. ตั้งแต สว. หรือเทียบเทาขึ้นไป
(ตอบ ขอ ง. ( ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี
ลักษณะที่ 13 พ.ศ.2556 หมวดที่ 4 ขอ 13 ขอมูลเอกสารหลักฐานทางทะเบียนประวัติขาราชการตำรวจ เปน
เอกสารสวนบุคคลและเปนเอกสารทางราชการที่ไมพึงเปดเผย ที่จัดทำขึ้นเพื่อใชสำหรับการบริหารงานของ
หนวยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ การขอตรวจสอบขอมูลหรือสำเนาเอกสารทางทะเบียนประวัติจาก
หนวยงานตาง ๆ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ผูขอตองระบุวาจะนำไปใชเพื่อการใดในหนาที่ที่รับผิดชอบ
และผูพิจารณาอนุญาตตองมีตำแหนงตั้งแตสารวัตรหรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไป ที่รับผิดชอบในการจัดเก็บ ควบคุม
ดูแลรักษาขอมูลเอกสารดังกลาว สวนบุคคลทั่วไปหรือหนวยงานอื่น ๆ ที่ขอตรวจสอบตองเปนไปตามกฎหมายวา
ดวยขอมูลขาวสารของราชการ

12. กรณีตามขอใดไมสามารถเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณได
ก. รับราชการมาแลว 4 ป บริบูรณ
ข. ปที่ผานมามีผลการประเมินการปฏิบัติราชการในระดับพอใช
ค. ถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัยอยางรายแรง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชู
ยิ่งชางเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.2564
ขอ 12 (6 เปนผูที่ไมอยูในระหวาง ถูกกลาวหาวา
(ก. กระท ำผิ ดวิ นั ย อยางรายแรงและถู กตั้งกรรมการสอบสวน หรืออยูร ะหว าง
พิจารณาโทษทางวินัย หรืออยูระหวางอุทธรณคำสั่งลงโทษทางวินัย
ขอ 18 ในการนับระยะเวลาเพื่อเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณตามระเบียบ
นี้
หากเปนผูมีกรณีดังตอไปนี้ในปใด ใหเพิ่มกำหนดระยะเวลาการขอพระราชทานอีกกรณีละหนึ่งป
(2 เปนผูมีผลการประเมินการปฏิบัติราชการหรือการปฏิบัติงานตามภารกิจที่
กฎหมายกำหนดต่ำกวาระดับดี เวนแตเปนการขอพระราชทานตามหลักเกณฑที่กำหนดระยะเวลาดำรงตำแหนง
หรือระยะเวลาเลื่อนชั้นตราเกินกวาหาปบริบูรณ ใหพิจารณาผลการประเมินดังกลาวในระยะเวลาหาป
บัญชี 19 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณใหแกขาราชการตำรวจ ทายระเบียบ
สำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณฯ

13. ถาขาราชการตำรวจ ซึ่งปฏิบัติงานดานการปองกันปราบปรามในสังกัดไดรับอันตรายจากการปฏิบัติหนาที่


ราชการจนเปนเหตุใหพิการขาขาด แตเจาตัวประสงคจะรับราชการตอไป ตนสังกัดควรดำเนินการตามขอใด?
ก. สั่งใหออกจากราชการเทานั้น เพราะถือวาเปนผูขาดคุณสมบัติการเปนขาราชการตำรวจแลว
ข. ใหลาออกจากราชการเทานั้น เพราะถือวาเปนผูขาดคุณสมบัติการเปนขาราชการตำรวจแลว
ค. เสนอเรื่องไปยัง ตร. เพื่อขออนุมัติรัฐมนตรีเจาสังกัดสั่งใหขาราชการตำรวจดังกลาวคงอยูรับราชการ
ตาม พ.ร.บ. สงเคราะหขาราชการผูไดรับอันตรายหรือการปวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ.2546
-5 -

ง. ใหขาราชการตำรวจดังกลาวปฏิบัติราชการตอไป โดยไมตองดำเนินการใด
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.สงเคราะหขาราชการผูไดรับอันตรายหรือการปวยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ.
2546 มาตรา 8 ถาอันตรายหรือการปวยเจ็บ หรือการถูกประทุษรายอันเกิดจากกรณีดังกลาวใน มาตรา 5 ทำให
ขาราชการตำรวจผูใดตกเปนผูทุพพลภาพหรือพิการ อันเปนเหตุจะตองออกจากราชการตามกฎหมาย ระเบียบ
หรือขอบังคับที่ใชอยู หากรัฐมนตรีเจาสังกัดพิจารณาเห็นวาขาราชการผูนั้นยังอาจปฏิบัติหนาที่ราชการอื่นใดที่
เหมาะสมไดและเมื่อขาราชการผูนั้นประสงคจะรับราชการตอไป รัฐมนตรีเจาสังกัดจะสั่งใหขาราชการผูนั้นไปรับ
ราชการในตำแหนงหนาที่อื่นก็ได

14. ขอใดคือทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ หรือพิการหรือทุพพล


ภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการไดและถูกสั่งใหออกจากราชการเพราะเหตุแหงความพิการหรือทุพพล
ภาพนั้น ที่จะไดรับการพิจารณาเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจในลำดับแรก
ก. บุตร (ผูสืบสายโลหิต
ข. สามีหรือภรรยาโดยชอบดวยกฎหมาย
ค. บุตรบุญธรรม
ง. พี่นองรวมบิดามารดา
(ตอบ ขอ ก. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0006.332/292 ลง 15 ม.ค.44 เรื่อง การปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใน
การรับสมัครทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ เขารับราชการตำรวจการ
พิจารณาคัดเลือกเพื่อบรรจุผูใดผูหนึ่งเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจ ใหพิจารณาตามลำดับกอนหลัง ดังนี้
(1 บุตร (ผูสืบสายโลหิต และหากมีบุตรหลายคนผูที่จะไดรับพิจารณา ไดแก บุตรที่มีอายุ
สูงสุดและถัดลงมาตามลำดับ
(2 สามีหรือภรรยา (โดยชอบดวยกฎหมาย ในกรณีที่ไมมีบุตรหรือมี แต ขอสละสิ ทธิ
หรือไมอยูในเกณฑที่จะเขารับราชการได
(3 บุตรบุญธรรม ซึ่งมีการจดทะเ บียนรับบุตรบุญธรรมไวกอนการเสียชีวิต หรือ สามี
ภรรยา (โดยพฤตินัย ซึ่งอยูกินฉันทสามีภรรยาโดยเปดเผยตามลำดับ
ตามบันทึกสั่งการ ผบ.ตร. ลง 22 มิ.ย.54 ทายหนังสือ สกพ. ที่ 0009.242/4836 ลง
16 มิ.ย.54 เรื่อง การแกไขหลักเกณฑการบรรจุทายาทของขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติ
หนาที่ราชการ สำหรับขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือพิการหรือทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการ
ไดและถูกสั่งใหออกจากราชการเพราะเหตุแหงความพิการหรือทุพพลภาพนั้น ไมมีทายาทตามที่กำหนดตามขอ
1 – 3 ขางตน สำนักงานตำรวจแหงชาติจึงจะพิจารณาพี่หรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันโดยพิจารณาตามลำดับ
อายุ

15. การโอนขาราชการตำรวจไปรับราชการในสวนราชการหรือหนวยงานอื่น จะกระทำไดอยางไร ตามขอใด


ก. เมื่อเจาตัวสมัครใจและหนวยงานตนสังกัดไมขัดของ
ข. สวนราชการหรือหนวยงานตองการรับโอนผูนั้น
ค. สวนราชการหรือหนวยงานที่ขอรับโอนทำความตกลงกับ ตร.
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง. ( ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พงศ.2547 มาตรา 62 การโอนขาราชการตำรวจไปรับราชการ
ในสวนราชการหรือหนวยงานอื่นจะกระทำไดเมื่อเจาตัวสมัครใจและสวนราชการหรือหนวยงานตองการจะรับ
โอนผูนั้น โดยใหสวนราชการหรือหนวยงานที่ขอรับโอนทำความตกลงกับสำนักงานตำรวจแหงชาติ
-6 -

16. ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 11


การศึกษา การฝกและอบรม หลักสูตรการฝกอบรมขาราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการ
ตำรวจชัน้ สัญญาบัตร (หลักสูตร กอส. ผูเขารับการฝกอบรมจะสำเร็จการฝกอบรมต องมีระยะเวลาการฝกอบรม
ไมนอยกวารอยละเทาใด
ก. ไมนอยกวารอยละ 75
ข. ไมนอยกวารอยละ 80
ค. ไมนอยกวารอยละ 85
ง. ไมนอยกวารอยละ 90
(ตอบ ขอ ข. (ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่
11 การศึกษา การฝกและอบรม (ฉบับที่ 19 พ.ศ.2558 บทที่ 14 การฝกอบรมพื้นฐานสำหรับขาราชการตำรวจ
ชั้นสัญญาบัตร ขอ 11 วรรคสอง ทั้งนี้ ผูเขารับการฝกอบรมที่จะถือวาเปนผูสำเร็จการฝกอบรมจะตองมีระยะเวลาการ
ฝกอบรมไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลาการฝกอบรมทั้งหมด ฯลฯ

17. ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 11


การศึกษา การฝกและอบรม หลักสูตรการฝกอบรมขาราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการ
ตำรวจชั้นสัญญาบัตร (หลักสูตร กอส. หากจำนวนผูที่จะไดรับการฝกอบรมมีจำนวนเกินกวาที่จำนวนสถาน
ฝกอบรมจะรับได ใหพิจารณาจัดลำดับ ยกเวนขอใด
ก. วันสำเร็จการศึกษา
ข. อายุราชการ
ค. อายุตัว
ง. ระดับคุณวุฒิ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี
ลักษณะที่ 11 การศึกษา การฝกและอบรม บทที่ 14 การฝกอบรมพื้นฐานสำหรับขาราชการตำรวจชั้นสัญญา
บัตร ขอ 4.2.3.1 ใหพิจารณาผูขอเขารับการฝกอบรมตาม 2.4.1 กอน ถาหากจำนวนผูที่จะไดรับการฝกอบรม
มีจำนวนเกินกวาที่จำนวนสถานฝกอบรมจะรับได ใหพิจารณาจัดลำดับ ดังนี้
(1 พิจารณาผูที่สำเร็จการศึกษากอน
(2 ถาสำเร็จการศึกษาพรอมกัน ใหผูที่เขารับการศึกษากอน
(3 ถาสำเร็จการศึกษาและเขารับการศึกษาพรอมกัน ใหผูที่มีอายุราชการมากกวากอน
4 ถาอายุราชการรวมกัน ใหผูที่มีอายุตัวมากกวากอน

18. ตามแนวทางการปฏิ บ ั ติ ในการบรรจุ ขาราชการตำรวจซึ่งลาออกจากราชการเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเป น


ผูแทนราษฎร แตไมไดรับเลือกตั้งกลับเขารับราชการ หากขาราชการตำรวจที่ลาออกดังกลาวประสงคจะสมัคร
กลับเขารับราชการ ใหยื่นคำรองแสดงความจำนงยังตนสังกัดเดิมภายในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบ ขอ ข. (ตามหนังสือ ตร. ดวนที่สุด ที่ 0004.21/1859 ลง 10 มี.ค.49 กำหนดแนวทางการปฏิบัติ
ในการบรรจุขาราชการตำรวจซึ่งลาออกจากราชการ เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฎรแตไมไดรับเลือกตั้ง
-7 -

กลับเขารับราชการ หากประสงคสมัครกลับเขารับราชการ ใหยื่นคำรองแสดงความจำนงยังตนสังกัดเดิมภายใน


30 วัน นับจากวันที่ถัดจากวันประกาศผลการเลือกตั้ง

19. การบรรจุและแตงตั้งขาราชการตำรวจซึ่งออกจากราชการไปแลวกลับเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจใน
ตำแหนง รองผูบังคับการ ผูใดเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ข. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง จากผูที่ ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
ค. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอำนาจจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผู
สั่งบรรจุและแตงตั้ง
ง. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบอำนาจจากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนผู
สั่งบรรจุและแตงตั้ง จาก ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
(ตอบ ขอ ค. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยผูมีอำนาจสั่งบรรจุและแตงตั้งบุคคลภายนอกเขารับราชการเปน
ข า ราชการตำรวจ พ.ศ.2547 ข อ 2 การบรรจุและแตงตั้งบุคคลเขารับ ราชการเปน ขาราชการตำรวจให
ผูบังคับบัญชาดังตอไปนี้ เปนผูมีอำนาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง ฯลฯ
(3 การบรรจุแ ละแตงตั้งบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจ ตำแหนงตั้งแตรองผู
บังคับการและพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญหรือตำแหนงเทียบเทาลงมาถึงตำแหนงสารวัตร และพนักงาน
สอบสวนผูชำนาญการหรือตำแหนงเทียบเทา ใหผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ หรือผูบัญชาการที่ไดรับมอบหมาย
จากผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ เปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้งจากผูที่ ก.ตร. ใหความเห็นชอบ
(4 การบรรจุและแตงตั้งในตำแหนงตาม (3 หากเปนการบรรจุและแตงตั้งขาราชการ
ตำรวจซึ่งออกจากราชการไปแลวกลับเขารับราชการเปนขาราชการตำรวจตามมาตรา 63 (2 (ก และ (ข ใน
ตำแหนงที่ไมสูงกวาเดิม ใหผูบัญชาการตำรวจแหงชาติหรือผูบังคับบัญชาที่ไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการ
ตำรวจแหงชาติเปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
การบรรจุและแตงตั้งตามวรรคแรกในหนวยงานระดับกองบัญชาการ ใหผูบัญชาการหรือผู
ดำรงตำแหนงเทียบเทา เปนผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง
ฯลฯ

20. ขาราชการตำรวจยศพันตำรวจโทไดรับเงินเดือนระดับใด
ก. ระดับ ส.3
ข. ระดับ ส.2
ค. ระดับ ส.4
ง. ระดับ ส.1
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 68 (7 ขาราชการ
ตำรวจยศพันตำรวจโท ใหไดรับเงินเดือนระดับ ส.3

21. ปจจุบันการเลื่อนเงินเดือนขาราชการตำรวจเลื่อนปละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง
ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง
ง. 4 ครั้ง
-8 -

(ตอบ ขอ ข. (ตามกฎ ก.ตร.วาดวยการกำหนดหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนขาราชการ


ตำรวจพ.ศ.2556 ขอ 5 การเลื่อนเงินเดือนขาราชการตำรวจใหเลื่อนปละสองครั้ง ดังนี้
(1 ครั้งที่หนึ่งครึ่งปแรก ใหเลื่อนตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปที่ไดเลื่อน
(2 ครั้งที่สองครึ่งปหลัง ใหเลื่อนตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปถัดไป

22. บำเหน็จความชอบ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.


2521 หมายถึงขอใด
ก. การเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ
ข. เงินบำนาญพิเศษ
ค. เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการปราบปรามผูกระทำความผิด (พ.ป.ผ.
ง. ก. และ ค.
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.2521
บำเหน็จความชอบ หมายความวา การเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ หรือใหเงินเพิ่มพิเศษ และการขอพระราชทาน
ยศและเครื่องราชอิสริยาภรณอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน แลวแตกรณี

23. ขาราชการตำรวจปฏิบัติหนาที่ปราบปรามผูกระทำความผิดและเสียชีวิตจากการตอสู จะไดรับสิทธิในขอใด


ก. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 3 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 3 ชั้นยศ
ข. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 7 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 5 ชั้นยศ
ค. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 2 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 2 ชั้นยศ
ง. เลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ 5 ขั้น เลื่อนยศสูงขึ้น 4 ชั้นยศ
(ตอบ ขอ ข. (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการใหบำเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.2521 ขอ
7 (1 ผูใดไดทำการตอสูจนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต ทุพพลภาพหรือพิการจาการตอสู ประกอบมติ ครม. ในการ
ประชุม เมื่อ 2 ก.ค.39 อนุมัติหลักการใหชั้นยศขาราชการทหาร ตำรวจ ตามระเบียบขางตน ใหพิจารณาเลื่อน
เงินเดือนกรณีพิเศษไมเกิน 7 ชั้น และเลื่อนยศสูงขึ้น 5 ชั้นยศ

24. ขอใดไมใชองคประกอบการแตงตั้งยศสูงขึ้น
ก. ดำรงตำแหนงซึ่งมีระดับเงินเดือนของยศที่จะแตงตั้ง
ข. มีจำนวนปที่รับราชการตามที่กำหนดไว ในกฎ ก.ตร.
ค. รับเงินเดือนไมต่ำกวาขั้นต่ำสุดของยศที่จะแตงตั้ง
ง. มีคุณสมบัติเหมาะสมครบถวนและผานการประเมินแลว
(ตอบ ขอ ง. ((ไมใชองคประกอบการแตงตั้งยศสูงขึ้น ตาม กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง
ยศ พ.ศ.2554 การแตงตั้งยศสูงขึ้น ตองมีองคประกอบ ดังนี้
(1 ดำรงตำแหนงซึ่งมีระดับเงินเดือนของยศที่จะแตงตั้งได
(2 มีจำนวนปที่รับราชการตามที่กำหนดไวในกฎ ก.ตร. นี้ และ
(3 รับเงินเดือนไมต่ำกวาชั้นต่ำสุดของย ศที่จะแตงตั้ง

25. การขอพระราชทานยศจะดำเนินการป ๒ ครั้ง ภายในวันใด


ก. 2 ครั้ง ภายใน 15 เม.ย. และ 15 ต.ค. ของทุกป
ข. 2 ครั้ง ภายใน 1 เม.ย. และ 1 ต.ค. ของทุกป
-9 -

ค. 2 ครั้ง ภายใน 31 มี.ค. และ 30 ก.ย. ของทุกป


ง. 2 ครั้ง ภายใน 20 เม.ย. และ 20 ต.ค. ของทุกป
(ตอบ ขอ ก. (ตามประมวลไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 7 บทที่ 2 การขอพระราชทานยศ แกไขโดย ระเบียบ
สำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวยประมวลไมเกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 7 ยศตำรวจ (ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554 และ
หนังสือ ตร. ที่ 0009.254/ว 11 ลง 20 มี.ค.61 ขอ 2 การเสนอขอพระราชทานยศ ใหถือปฏิบัติตามระเบียบการตำรวจ
ไมเกี่ยวกับคดี เลม 1 ตอน 1 ประเภทบุคคล ลักษณะที่ 7 บทที่ 2 ทั้งนี้ นอกจากการจัดทำบัญชีขอพระราชทานยศทั้ง
ผูสมควรขอ และไมสมควรขอพระราชทานยศตามแบบที่ ตร. กำหนด

26. หลังจากทราบผลการประเมินการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หากผูรับการประเมินไมพอใจผลการ


ประเมินฯ สามารถรองทุกขตอคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินฯ ที่ทำหนาที่พิจารณาคำรองทุกขภายในกี่วัน
ก. ภายใน 3 วันทำการ
ข. ภายใน 7 วันทำการ
ค. อยางชาไมเกิน 7 วันทำการ
ง. ภายใน 10 วันทำการ นับแตวันทราบผลการประเมินฯ
(ตอบ ขอ ง. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับการ
ประเมินผล การปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 4 ขอ 3.3.2 ผูรับการประเมิน...หากผูรับการประเมินยังไม
พอใจใหรองทุกขตอคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมิน ที่ทำหนาที่พิจารณาคำรองทุกขของผูรับการประเมินที่เห็น
วาผลการประเมินของตนไมเปนไปตามขอเท็จจริง ภายใน 10 วันทำการ นับแตวันที่รับทราบผลการประเมิน

27. ผลการประเมินการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ แบงเปนกี่กลุม


ก. 4 กลุม ไดแก กลุมดีเยี่ยม กลุมดี กลุมพอใช และกลุมตองปรับปรุง
ข. 4 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง กลุมอยูในมาตรฐานกลาง กลุมต่ำกวามาตรฐานกลางและ กลุมตอง
ปรับปรุง
ค. 3 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง กลุมอยูในมาตรฐานกลาง และกลุมต่ำกวามาตรฐานกลาง
ง. 2 กลุม ไดแก กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง และกลุมอยูในมาตรฐานกลาง
(ตอบ ขอ ค. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับ การ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 9 ขอ 5 ผลการประเมิน... การประเมินมี 4 ระดับ โดย
แบงเปน 3 กลุม ดังนี้
5.1 กลุมสูงกวามาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับดีเยี่ยมและระดับดี
5.2 กลุมอยูในมาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับพอใช
5.3 กลุมต่ำกวามาตรฐานกลาง คือ กลุมที่มีผลการประเมินอยูในระดับตองปรับปรุง

28. การกำหนดขอตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการเปนการตกลงกันระหวางผูใด
ก. ผูประเมินและผูตรวจสอบ
ข. ผูประเมินและผูรับการประเมิน
ค. ผูรับการประเมินและผูตรวจสอบ
ง. ผูรับการประเมินและคณะกรรมการพิจารณาผลการประเมิน
(ตอบ ขอ ข. (กฎ ก.ตร.วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547 หนา 2 ขอ 5 ใหมีการกำหนดขอตกลงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการรว มกัน
ระหวางผูประเมินและผูรับการประเมิน... และตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจง
- 10 -

แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 3 ขอ 2.10 ขอตกลง


หมายถึง ขอตกลงระหวางผูรับการประเมินกับผูประเมิน ในการกำหนดรายละเอียดการปฏิบัติหนาที่ในแตละ
รอบระยะเวลาการประเมิน

29. ร.ต.ท.โชคชวย แคลวคลาด ตำแหนง รอง สว.บก.ตม.4 ทำเรื่องไปชวยราชการที่ บก.ตม.1 โดยขาดจากตน


สังกัด ไมครบรอบระยะเวลาการประเมิน หนวยงานใดเปนผูรับผิดชอบในการประเมิน
ก. บก.ตม.4 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน โดยให บก.ตม.1 ประเมินในหวงระยะเวลาที่ไปชวยราชการ
แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.4 เพื่อเปนขอมูลประกอบการประเมิน
ข. บก.ตม.1 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.4 เพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน
ค. บก.ตม.1 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน โดยให บก.ตม.4 ประเมินในหวงระยะเวลาที่อยูปฏิ บ ั ติ
ราชการแลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.1 เพื่อเปนขอมูลประกอบการประเมิน
ง. บก.ตม.4 เปนผูรับผิดชอบในการประเมิน แลวสงผลการประเมินไปยัง บก.ตม.1 เพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน
(ตอบ ขอ ก. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติสำหรับการ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 9 ขอ 6 อื่น ๆ 6.1 กรณีผูรับการประเมินไปชวย
ราชการหรือปฏิบัติราชการใหดำเนินการ ดังนี้ หนา 10 ขอ 6.1.1 วรรคสอง ผูรับการประเมินชวยราชการหรือ
ปฏิบัติราชการขาดจากตนสังกัด หรือนอกสังกัด ตร. ไมครบรอบระยะเวลาการประเมินในแตละครั้ง หนวยงาน
ผูรับผิดชอบในการประเมิน คือ หนวยงานตนสังกัด โดยใหผูบังคับบัญชาในหนวยงานที่ผูรับการประเมินไปชวย
ราชการหรือปฏิบัติราชการ ประเมินในหวงระยะเวลาที่ชวยราชการหรือปฏิบัติราชการ แลวสงผลการประเมินไป
ยังหนวยงานตนสังกัด

30. ขอใด ไมใช วัตถุประสงคของการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ ตาม กฎ ก.ตร.วาดวย


หลักเกณฑวิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547
ก. เพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ข. เพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ
ค. นำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน
ง. นำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน
(ตอบ ขอ ค. (กฎ ก.ตร. วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ข า ราชการตำรวจ พ.ศ.2547 หน า 1 ขอ 3 การประเมิน ผลการปฏิบ ัติร าชการของขาราชการตำรวจ มี
วัตถุประสงคเพื่อใหผูบังคับบัญชาใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติ
ราชการและนำผลการประเมินไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน

31. รอบระยะเวลาการประเมิน ขอใดถูกตองที่สุด


ก. ครั้งที่ 1 (1 ม.ค. – 30 มิ.ย. ของปเดียวกัน, ครั้งที่ 2 (1 ก.ค. – 31 ธ.ค. ของปเดียวกัน
ข. ครั้งที่ 1 (1 ม.ค. – 30 มิ.ย., ครั้งที่ 2 (1 ก.ค. – 31 ธ.ค.
ค. ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. – 31 มี.ค. ของปถัดไป, ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. – 30 ก.ย. ของปเดียวกัน
ง. ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. – 31 มี.ค., ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. – 30 ก.ย.
(ตอบขอ ค. (ตามหนังสือ ตร. ที่ 0009.26/ว 66 ลง 25 ก.ย.57 แจงแนวทางปฏิบัติราชการสำหรับการ
ประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการตำรวจ หนา 3 ขอ 2.7 รอบระยะเวลาการประเมิน หมายถึง รอบ
- 11 -

ระยะเวลาการปฏิบัติราชการ 6 เดือน ไดแก รอบระยะเวลาประเมิน ครั้งที่ 1 ระยะเวลาตั้งแต 1 ต.ค. – 31


มี.ค. ของปถัดไป และครั้งที่ 2 ระยะเวลาตั้งแต 1 เม.ย. – 30 ก.ย. ของปเดียวกัน

32. การสงไปรษณียสนามของตำรวจชายแดน ผูสงตองปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายวาดวยการ


ไปรษณีย
ทุกประเภท โดยเฉพาะการเขาหอซองหรือหุมหอ ขนาดและน้ำหนัก ตองเปนไปตามหลักเกณฑของไปรษณียและ
พัสดุไปรษณียแตละชนิดแลวแตกรณี สำหรับพัสดุไปรษณียที่สงตองมีน้ำหนักอยางสูงไมเกินกี่ กก.
ก. ไมเกิน 3 กก.
ข. ไมเกิน 4 กก.
ค. ไมเกิน 5 กก.
ง. ไมเกิน 6 กก.
(ตอบ ขอ ค. ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะ
ที่ 54 งานสารบรรณ พ.ศ.2556 บทที่ 11 ไปรษณียสนามของตำรวจชายแดน ขอ 1.2 ผูสงตองปฏิบัติตาม
ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายวาดวยการไปรษณียทุกประเภท โดยเฉพาะการเขาหอซองหรือหอหุม ขนาดและ
น้ำหนักตองเปนไปตามหลักเกณฑและไปรษณียภัณฑและพัสดุไปรษณียแตละชนิดแลวแตกรณี สำหรับพัสดุ
ไปรษณียที่สงตองมีน้ำหนักอยางสูงไมเกิน 5 กก.

33. สำนักงานตำรวจแหงชาติแบงสวนราชการออกเปนกี่สวน
ก. 2 สวน
ข. 3 สวน
ค. 4 สวน
ง. 5 สวน
(ตอบ ขอ ก. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 10 สำนักงานตำรวจแหงชาติแหงชาติแบงสวน
ราชการออกเปนดังนี้
(1 สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(2 กองบัญชาการ

34. ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 24 ชั้นขาราชการตำรวจมีกี่ชั้น


ก. 2 ชั้น
ข. 3 ชั้น
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชั้น
(ตอบ ขอ ข. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ มาตรา 24 ชั้นขาราชการตำรวจมีดังตอไปนี้
(1 ชั้นสัญญาบัตร ไดแกผูมียศตั้งแตรอยตำรวจตรีขึ้นไป
(2 ชั้นประทวน ไดแก ผูมียศสิบตำรวจตรี สิบตำรวจโท สิบตำรวจเอก จาสิบตำรวจ และ
ดาบตำรวจ
(3 ชั้นพลตำรวจ ไดแก พลตำรวจสำรอง

35. คำสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. จะถือวาสิ้นสุดเมื่อใด


- 12 -

ก. ครบระยะเวลาตามที่ไดกำหนดไว
ข. ขาราชการตำรวจผูนั้นไดรับการแตงตั้งไปดำรงตำแหนงอื่น
ค. ขาราชการตำรวจผูนั้นถูกสงตัวกลับตนสังกัด
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ขอ ง (ตามระเบียบ ตร. วาดวยการสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. พ.ศ.2545
ขอ 11 คำสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการใหถือวาสิ้นสุดลง ในกรณีหนึ่งกรณีใด ดังตอไปนี้
11.1 ครบระยะเวลาตามที่ไดกำหนดไวในขอ 10
11.2 ขาราชการตำรวจผูนั้นไดรับการแตงตั้งไปดำรงตำแหนงอื่น
11.3 ขาราชการตำรวจผูนั้นถูกสงตัวกลับสังกัดเดิม

36. การใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ใครเปนผูมีอำนาจพิจารณาสั่งการ


ก. ผูกำกับการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ข. ผูบังคับการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ค. ผูบัญชาการที่ขาราชการตำรวจผูนั้นสังกัดอยู
ง. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(ตอบ ขอ ง. (ตามระเบียบ ตร. วาดวยการสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัด ตร. พ.ศ.2545
ขอ 7 การสั่งใหขาราชการตำรวจไปชวยราชการนอกสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ ใหผูบัญชาการตำรวจ
แหงชาติเปนผูพิจารณาสั่งการ

37. ตาม กฎ ก.ตร.วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 กำหนดใหการแตงตั้งมีทั้งหมดกี่วาระ


อะไรบาง
ก. 3 วาระ ไดแก วาระประจำป นอกวาระประจำป วาระเมษายน
ข. 2 วาระ ไดแก วาระประจำป วาระเมษายน
ค. 3 วาระ ไดแก วาระ ผบก. ขึ้นไป วาระ รอง ผบก. - สว. วาระ รอง สว. ลงมา
ง. 4 วาระ ไดแก วาระ ผบก. ขึ้นไป วาระ รอง ผบก. - สว. วาระ รอง สว. ลงมา วาระเมษายน
(ตอบ ขอ ข. ( ตามกฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561ขอ 7 ใหมีการคัดเลือกหรือ
แตงตั้งขาราชการตำรวจเปนสองวาระ ดังนี้
(1 วาระที่ 1 เรียกวา วาระประจำป ใหดำเนินการคัดเลือกหรือแตงตั้งขาราชการตำรวจ
ดังนี้
(ก ตำแหน งระดับ ผูบ ังคับ การถึงจเรตำรวจแหงชาติและรองผูบ ัญ ชาการตำรวจ
แหงชาติ ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 สิงหาคมของทุกป
(ข ตำแหนงระดับสารวัตรถึงรองผูบังคับการ ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 30 พฤศจิกายนของ
ทุกป
(ค ตำแหนงระดับรองสารวัตรลงมา ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคมของทุกป
(2 วาระที่ 2 เรียกวา วาระเดือนเมษายน ใหดำเนินการคัดเลือกแตงตั้งขาราชการตำรวจ
ภายหลังจากการคัดเลือกแตงตั้งตามขอ 7(1 (ก โดยใหแลวเสร็จภายในวันที่ 30 เมษายนของทุกป
- 13 -

38. ตำแหนงขาราชการตำรวจมีกี่ระดับ
ก. 11 ระดับ
ข. 12 ระดับ
ค. 13 ระดับ
ง. 14 ระดับ
(ตอบ ขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 44 ตำแหนงขาราชการตำรวจ มีดังตอไปนี้
(1 ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(2 จเรตำรวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(3 ผูชวยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(4 ผูบัญชาการ
(5 รองผูบัญชาการ
(6 ผูบังคับการ
(7 รองผูบังคับการ
(8 ผูกำกับการ
(9 รองผูกำกับการ
(10 สารวัตร
(11 รองสารวัตร
(12 ผูบังคับหมู
(13 รองผูบังคับหมู

39. ผูที่ดํารงตําแหนงผูกำกับการสถานีตํารวจ หามดำรงตำแหนงเดิมติดตอกันเกินกี่ป


ก. ๒ ป
ข. ๓ ป
ค. ๔ ป
ง. ๕ ป
(ตอบ ขอ ค. (ตาม กฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 ขอ 20 ผูดำรงตำแหนง
หัวหนาสถานีตำรวจระดับผูกำกับการ เมื่อดำรงตำแหนงเดียวติดตอกันครบสี่ป ใหแตงตั้งสับเปลี่ยนหมุนเวียนไป
ดำรงตำแหนงอื่นทุกราย

40. พ.ต.ต.วันทอง สองใจ สวป.สน.ลาดพราว ตองดำรงตำแหนงระดับ สว. ไมนอยกวากี่ปจึงจะสามารถเลื่อน


เปน
รอง ผกก. ได
ก. ไมนอยกวา ๔ ป
ข. ไมนอยกวา ๕ ป
ค. ไมนอยกวา ๖ ป
ง. ไมนอยกวา ๗ ป
(ตอบ ขอ ค. (ตามกฎ ก.ตร. วาดวยการแตงตั้งขาราชการตำรวจ พ.ศ.2561 ขอ 16 การคัดเลือกหรือ
แตงตั้งขาราชการตำรวจเลื่อนตำแหนงสูงขึ้นตั้งแตระดับจเรตำรวจแหงชาติและรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ลงมาถึงระดับสารวัตร ใหผูมีอำนาจพิจารณาจากผูมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
- 14 -

ระดับตำแหนง ยศ ระยะเวลาการดำรงตำแหนง
ในแตละระดับไมนอยกวา
ผูชวย ผบ.ตร. เลื่อนเปน จตร.และ พล.ต.ท. 1 ป
รอง ผบ.ตร.
ผบช. เลื่อนเปน ผูชวย ผบ.ตร. พล.ต.ท. 1 ป
รอง ผบช. เลื่อนเปน ผบช. พล.ต.ต. 1 ป
ผบก. เลื่อนเปน รอง ผบช. พล.ต.ต. 2 ป
รอง ผบก. เลื่อนเปน ผบก. พ.ต.อ. ซึ่งไดรับอัตราเงินเดือน 5 ป และมีคุณสมบัติครบถวนตาม
พ.ต.อ.(พิเศษ หลักเกณฑการเลื่อนยศ เปน พล.ต.ต.
ผกก. เลื่อนเปน รอง ผบก. พ.ต.อ. 5 ป
รอง ผกก. เลื่อนเปน ผกก. พ.ต.ท. 4 ป
สว. เลื่อนเปน รอง ผกก. พ.ต.ท. 6 ป
รอง สว. เลื่อนเปน สว. ร.ต.อ. 7 ป
- 15 -

ขอสอบงานอำนวยการ กองสวัสดิการ (40 ขอ

41. “ครอบครัว” ของผูมีสิทธิเขาพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติหมายถึงขอใด


ก. คูสมรส บุตร บิดามารดาของผูมีสิทธิพักอาศัย
ข. บิดามารดาคูสมรสของผูมีสิทธิพักอาศัย
ค. ขอ ก. และ ข. ถูกตอง
ง. ถูกตองเฉพาะขอ ก.
(ตอบ ค. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 1 คำนิยามศัพท ขอ 4
“ครอบครัว”

42. ผูพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติตองดำเนินการอยางไร กรณีมีการเปลี่ยนแปลง


ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-ตำแหนงหรือสังกัด
ก. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 15 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ข. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 30 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ค. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 60 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
ง. แจงผูปกครองอาคารทราบเปนลายลักษณอักษรภายใน 90 วัน หลังจากเปลี่ยนแปลง ยศ-ชื่อ-ชื่อสกุล-
ตำแหนงหรือสังกัด
(ตอบ ก. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 3 อำนาจ หนาที่ ขอ 18 ผู
พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง มีหนาที่ดังนี้ (ขอ 18.16)

43. ผูพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางสำนักงานตำรวจแหงชาติจะหมดสิทธิพักอาศัยดวยเหตุใด
ก. ยายไปอยูหนวยซึ่งมีที่ทำการตั้งอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร
ข. มีบานพักเปนของตัวเองหรือคูสมรสในเขตกรุงเทพมหานคร
ค. ถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. 2553 หมวด 4 ขอ 19 ผูพักอาศัยจะหมด
สิทธิพักอาศัยในบานพักสวนกลาง ดวยเหตุตางๆ

44. สวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ แบงเปน 2 ระดับ ไดแก


ก. สวัสดิการระดับกองบัญชาการ และสวัสดิการระดับกองบังคับการ
ข. สวัสดิการระดับสำนักงานตำรวจแหงชาติ และสวัสดิการระดับหนวยงาน
- 16 -

ค. สวัสดิการระดับกองบังคับการ และสวัสดิการระดับกองกำกับการ
ง. สวัสดิการระดับบน และสวัสดิการระดับลาง
(ตอบ ข. (ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแหงชาติวาดวยการจัดสวัสดิการ พ.ศ.2550 หมวด
1 ขอความทั่วไป ขอ 4 สวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ แบงเปน 2 ระดับ

45. สวนราชการอาจจัดใหมีสวัสดิการภายในสวนราชการประเภทตางๆ ไดในขอใด


ก. การฝกวิชาชีพเพื่อเสริมรายไดหรือลดรายจายใหแกสมาชิก
ข. การเคหะสงเคราะห
ค. การใหบริการรานคาสวัสดิการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดสวัสดิการภายในสวนราชการ พ.ศ.2547 หมวด 1
การจัดสวัสดิการภายในสวนราชการ ขอ 10 สวนราชการอาจจัดใหมีสวัสดิการภายในสวนราชการประเภทตางๆ
ได ดังนี้

46. ขาราชการตำรวจมีสิทธิไดรับการชวยเหลือเกี่ยวกับเงินการศึกษาบุตร ในระดับการศึกษาปริญญาตรี คนละ


เทาใด ตอป
ก. 20,000 บาท
ข. 22,500 บาท
ค. 25,000 บาท
ง. 27,500 บาท
(ตอบ ค. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2562
มาตรา 8 (2 บุตรที่ศึกษา ในสถานศึกษาของทางราชการในหลักสูตรระดับปริญญาตรีใหไดรับ เงิน
บำรุงการศึกษาเต็มจำนวนที่ไดจายจริง แตทั้งนี้ ตองเปนไปตามประเภทและไมเกินอัตราที่กระทรวงการคลัง
กำหนด
หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค 0422.3/ว 257 ลง 28 มิ.ย.59 เรื่อง ประเภทและอัตราเงิน
บำรุงการศึกษาและคาเลาเรียน
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
6.ระดับปริญญาตรี ปการศึกษาละไมเกิน 25,000 บาท
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
3.หลักสูตรระดับปริญญาตรีใหเบิกจายไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงของคาเลาเรียน
ปการศึกษาละไมเกิน 25,000 บาท
- 17 -

47. ขาราชการตำรวจมีสิทธิไดการชวยเหลือเกี่ยวกับเงินการศึกษาของบุตร ไดกี่คน


ก. 2 คน
ข. 3 คน
ค. 4 คน
ง. ทุกคน
(ตอบ ข. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.2562
มาตรา 6 ใหผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการของบุตรไดเพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม

48. ขาราชการตำรวจรับราชการมาแลวกี่ปถึงจะมีสิทธิไดรับบำนาญปกติ (กรณีเกษียณอายุราชการ


ก. 10 ป
ข. 15 ป
ค. 20 ป
ง. 25 ป
(ตอบ ง. (พระราชบัญญัติ บำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2494
มาตรา 14 บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานนั้น ใหแกขาราชการ ซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณ
บำเหน็จบำนาญครบสามสิบปบริบูรณแลวถาขาราชการผูใดมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ
ยี่สิบหาป บริบูรณแลว ประสงคจะลาออกจากราชการก็ใหผูมีอำนาจสั่ง อนุญาตใหลาออกจากราชการเพื่อรับ
บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานได

49. เมื ่ อข า ราชการตำรวจเกษี ย ณอายุ ร าชการ และขอรับ บำนาญ สิทธิในการเบิกคาการศึ กษาบุต รและ
คารักษาพยาบาล สามารถดำเนินการยื่นเอกสารขอเบิกได ณ ที่ใด
ก. กองการเงิน สำนักงานงบประมาณและการเงิน สำนักงานตำรวจแหงชาติ
ข. กรมบัญชีกลาง
ค. หนวยงานตนสังกัดที่ขอรับบำนาญ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ค. (พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
มาตรา 4 “ผูมีสิทธิ” หมายความวา
(3 ผูไดรับบำนาญปกติหรือผูไดรับบำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพตามกฎหมายวาดวยบำเหน็จ
บำนาญข า ราชการหรื อ กฎหมายว า ด ว ยกองทุ น บำเหน็ จ บำนาญข า ราชการ และทหารกองหนุ น
มีเบี้ยหวัดตามขอบังคับกระทรวงกลาโหมวาดวยเงินเบี้ยหวัด
หลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553
หมวดที่ 2 การรับรองสิทธิและการอนุมัติ
ข อ 10 ให ห ั ว หน า ส ว นราชการผู  เ บิ ก บำนาญหรื อ เบี ้ ย หวั ด หรื อ ผู  ท ี ่ ห ั ว หน า ส ว นราชการ
ผูเบิกมอบหมายเปนผูมีอำนาจอนุมัติการเบิกเงินคารักษาพยาบาลของผูไดรับบำนาญหรือเบี้ยหวัด
- 18 -

50. สิทธิประโยชนของขาราชการตำรวจพึงไดจากทางราชการเมื่อรับราชการจนเกษียณอายุราชการมีอะไรบาง
ก. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ
ข. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ , กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ (กบข.
ค. บำเหน็จตกทอด , เงินชวยเหลือพิเศษ , กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ (กบข. , เงินฝากและหุน
จากสหกรณออมทรัพย
ง. ไมมีขอถูก
(ตอบ ข. (พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2494
มาตรา 48 ขาราชการผูใดตายในระหวางรับราชการอยู หรือทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดตาย ถาความตาย
นั้นมิไดเกิดขึ้นเนื่องจากการประพฤติชั่วอยางรายแรงของตนเอง ใหจายเงินเปนบำเหน็จตกทอดเปนจำนวนตาม
หลักเกณฑในมาตรา 32 (1 ใหแกทายาทผูมีสิทธิ
พระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน
มาตรา 23 ข า ราชการผู  ใดถึ งแกความตายในระหวางรับ ราชการใหจ ายเงินพิเศษจำนวนสามเทา
ของเงิ น เดื อ นเต็ ม เดื อ นที ่ ข  า ราชการผู  น ั ้ น มี ส ิ ท ธิ ไ ด ร ั บ ในเดื อ นที ่ ถ ึ ง แก ค วามตาย และหากข า ราชการ
ผูนั้นมีสิทธิไดรับเงินเพิ่มพิเ ศษคาวิชาเงิน ประจำตำแหน งที่ตองฝาอันตรายเปนปกติ เงินเพิ่มพิเศษสำหรับ
การสูรับ และเงินเพิ่มพิเศษสำหรับการปราบปรามผูกระทำผิด ใหรวมเงินดังกลาวกับเงินเดือนเพื่อคำนวณเปน
เงินชวยพิเศษจำนวนสามเทาดวย
พระราชบัญญัติ กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 37 บำเหน็จบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ และบำเหน็จตกทอด ใหจายจากเงินงบประมาณ สำหรับ
เงินสะสม เงินสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวใหจายจากกองทุน ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑที่กำหนดไวในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 55 สิ ท ธิ ใ นการรั บ บำนาญให เ ริ ่ ม มี ต ั ้ ง แต เ มื ่ อ สมาชิ ก ภาพของสมาชิ ก สิ ้ น สุ ด ลงจนกระทั่ ง
ผูนั้นถึงแกความตาย

51. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล
ก. ผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการทั้งประเภทผูปวยภายนอกและ
ผูปวยภายในใหเบิกคารักษาไดเต็มจำนวนที่จายจริงตามที่กระทรวงการคลังกำหนด
ข. หากมีความจำเปนเรงดวนซึ่งหากมิไดรับการรักษาพยาบาลในทันทีอาจเปนอันตรายตอชีวิตเมื่อได
ใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของเอกชนมาประกอบใหเบิกคารักษาได
ค. คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงแตไมเกิน 4,000 บาท
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (อัตราการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล ผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของ
ทางราชการทั้งประเภทผูปวยภายนอกและผูปวยภายในใหเบิกคารักษาไดเต็มจำนวนที่จายจริงตามที่
กระทรวงการคลังกำหนด และหากผูมีสิทธิเขารับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลเอกชนประเภทผูปวย
ภายในเฉพาะกรณีที่ผูมีสิทธิประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือมีความจำเปนเรงดวนซึ่งหากมิไดรับการรักษาพยาบาล
ในทันทีอาจเปนอันตรายตอชีวิตเมื่อไดใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของเอกชนมาประกอบใหเบิกคารักษา
ได ดังนี้
- 19 -

1. คาหองและคาอาหาร คาอวัยวะเทียมและอุปกรณที่ใชในการบำบัดรักษาโรคใหเบิกจ ายได


ตามประกาศกระทรวงการคลั ง เรื ่ อ ง อั ต ราค า บริ ก ารสาธารณสุ ข เพื ่ อ ใช ส ำหรั บ การเบิ ก จ า ย
คารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ
2. คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจำนวนที่ไดจายไปจริงแตไมเกิน 4,000บาท
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. อัตราการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล, คูมือสวัสดิการและ
สิทธิประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

52. ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุด สำหรับผูมีสิทธิยื่นคำรองขอเขาพักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง


ก. ขาราชการตำรวจทุกนาย
ข. ลูกจางประจำในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ค. คูสมรสของขาราชการตำรวจ
ง. ข า ราชการตำรวจและลู กจ า งประจำในสัง กัดสำนั ก งานตำรวจแหงชาติ ซึ่งที่ทำการตั้ ง อยู ใ นเขต
กรุงเทพมหานคร
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิ ย าม ข อ 4 “สมาชิก” หมายความวา ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำในสังกัด
สำนักงานตำรวจแหงชาติ ที่มีที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร

53. ขอใดถูกตอง
ก. บำเหน็จ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่ไดรับราชการมา ซึ่งจายเปนรายเดือน
ข. ประเภทของบำเหน็จบำนาญมี 2 ประเภท ไดแก บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จตกทอด
ค. บำเหน็จตกทอด คือ กรณีขาราชการหรือผูรับบำนาญประสงคโอนใหแกทายาทที่ไดแสดงเจตนาไว
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบ ง. (เงินบำเหน็จหรือเงินบำนาญ
บำเหน็จ หมายถึง เงินตอบแทนความชอบที่ไดรับราชการมา ซึ่งจายใหครั้งเดียว
ประเภทของบำเหน็จบำนาญมี 3 ประเภท ไดแก บำเหน็จบำนาญปกติ บำเหน็จตกทอด และบำเหน็จ
บำนาญพิเศษ
บำเหน็จตกทอด คือ กรณีที่ขาราชการถึงแกกรรมขณะรับราชการหรือผูรับบำนาญตาย ทางราชการ
จายเงินเปนเงินกอนใหแกทายาทฯ หรือบุคคลซึ่งผูตายแสดงเจตนาไว
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. เงินบำเหน็จหรือเงินบำนาญ, คูมือสวัสดิการและสิทธิ
ประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.14. กรุงเ ทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

54. ขอใดกลาวถึงการขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัยอาคารบานพักสวนกลางไดอยางถูกตอง
ก. การเปลี่ยนแปลงสิทธิใหตรงตามสถานภาพ เชน การเปลี่ยนจากหองชั้นประทวนเปนชั้นสัญญาบัตร หรือ
จากโสดเปนสมรส
ข. การขอเปลี่ยนแปลงเนื่องจากไมพอใจประเภทหอง
ค. การขอเปลี่ยนแปลงเนื่องจากยายสถานที่ทำงาน
- 20 -

ง. การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิใหผูอื่นมาอาศัยแทน
(ตอบ ก. (การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัย มี 2 กรณี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงสิทธิใหตรงตามสถานภาพ เชน การเปลี่ยนหองชั้นประทวนเปนชั้นสัญญาบัตร หรือ
จากโสดเปนสมรส เพื่อใหสถานภาพตรงตามประเภทหอง
2. การเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัยจากอาคารหนึ่งไปอีกอาคารหนึ่ง
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. การขอเปลี่ยนแปลงสิทธิเขาพักอาศัย, คูมือสวัสดิการและ
สิทธิประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.52. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

55. สถานพักฟนและตากอากาศมีไวเพื่อวัตถุประสงคใด
ก. เพื่อใหการสงเคราะหแกขาราชการตำรวจ ผูที่ไดรับบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ในรูปของการเขา
พักฟนและตากอากาศ
ข. เพื่อใหเปนสถานฝกอบรม และสัมมนาของขาราชการตำรวจและครอบครัว
ค. เพื่อการนันทนาการและการพักผอนสำหรับขาราชการตำรวจและครอบครัว
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (สถานพักฟนและตากอากาศ ตั้งอยูเลขที่ 106 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท (กม.ที่ 134-135 ตำบล
บางละมุง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค
1.เพื่อใหการสงเคราะหแกขาราชการตำรวจ ผูที่ไดรับบาดเจ็บเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ในรูปของการ
เขาพักฟนและตากอากาศ
2.เพื่อใหบริการหรือจัดกิจกรรมอันจะกอใหเกิดประโยชนแกขาราชการตำรวจและครอบครัว
3.สงเสริมการกีฬา การนันทนาการและการพักผอนสำหรับตำรวจและครอบครัว
4.เพื่อใชเปนสถานฝกอบรม และสัมมนาของขาราชการตำรวจและครอบครัว
5.การดำเนินการดานอื่นๆ
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. สถานพักฟนและตากอากาศ, คูมือสวัสดิการและสิทธิ
ประโยชนขาราชการตำรวจ. (น.53. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

56. กองสวัสดิการ สำนักงานกำลังพล ตั้งอยูที่ใด


ก. ภายในสโมสรตำรวจ ถนนวิภาวดี
ข. ชั้น 2 อาคาร 8 ตร.
ค. ชั้น 10 อาคาร 5 ตร.
ง. ชั้น 20 อาคาร 1 ตร.
(ตอบ ค.

57. แฟลตใด ไมใชแฟลตสวนกลาง


ก. แฟลตลือชา
ข. แฟลตอุดมสุข
ค. แฟลตรามอินทรา
ง. แฟลตวิภาวดี
- 21 -

(ตอบ ค. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขา


พักอาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิยาม ขอ 4 “อาคารบานพักสวนกลาง” หมายความวา อาคารบานพักของสำนักงานตำรวจ
แห งชาติ ที ่ ก ำหนดให เ ป น ที ่ พั ก อาศั ย ของข าราชการตำรวจและลู กจ างประจำ ซึ่งมีที่ทำการตั้ งอยู ใ นเขต
กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย อาคารบานพักลือชา เฉลิมลาภ วิภาวดี ลาดยาว ทุงสองหอง ถนอมมิตร และ อุดมสุข

58. ขาราชการตำรวจนายใด ไมสามารถขอแฟลตสวนกลางได


ก. ส.ต.ต.มงคลฯ ผบ.หมู ป. สน.ปทุมวัน
ข. ร.ต.ท.หญิง อรวรรณฯ รอง สว.ฝายประวัติบุคคล ทพ.
ค. ส.ต.ท.สมพงษฯ ผบ.หมู ฝอ.1 บก.อก.ภ.1
ง. ทุกขอ สามารถขอแฟลตสวนกลางได
(ตอบ ง. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 คำนิ ย าม ข อ 4 “สมาชิก” หมายความวา ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำในสังกัด
สำนักงานตำรวจแหงชาติ ที่มีที่ตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร

59. การขอแฟลตสวนกลางสามารถทำไดวิธีใด
ก. ทำคำรองขอบานพักผานหนวยงานตนสังกัด
ข. สงคำรองดวยตนเองที่กองสวัสดิการ
ค. สงคำรองดวยตนเอง ณ บานพักสวนกลางที่ประสงคเขาพัก
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ก. (ระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการอาคารบานพักสวนกลางวาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาพัก
อาศัยในอาคารบานพักสวนกลาง สำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 2 สิทธิการเขาพักอาศัย ขอ 7 การขอสิทธิเขาพักอาศัย มีหลักเกณฑและขอปฏิบัติ ดังนี้
7.1 สมาชิกยื่นคำรองตอผูบังคับบัญชาตนสังกัด พรอมหลักฐาน

60. สมาชิกฌาปนกิจสงเคราะห มีกี่ประเภท อะไรบาง


ก. 1 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ
ข. 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ และ สมาชิกสมทบ
ค. 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ และ สมาชิกวิสามัญ
ง. 3 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ และสมาชิกสมทบ
(ตอบ ข. (ระเบี ย บสำนั กงานตำรวจแหงชาติ วาดว ย การฌาปนกิจ สงเคราะหของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
ลักษณะที่ 36 (เดิม บทที่ 31 ระเบียบการฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 1 ขอความทั่วไป ขอ 4 ในระเบียบนี้ “สมาชิก” หมายความวา สมาชิกสามัญและสมาชิกสมทบ
ของการฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
- 22 -

61. ขอใด เปนบริการ สวัสดิการดนตรี


ก. การบริการวงดนตรี
ข. บริการการสอนดนตรี
ค. การใหบริการหองบันทึกเสียง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ฝายดนตรี สก. มีหนาที่และความรับผิดชอบงานบริการดานดนตรีสำหรับพิธีการตางๆ งาน
ดนตรี งานวิชาการดนตรี งานประพันธ และโรงเรียนสอนดนตรี รวมทั้งงานอื่นที่ไดรับมอบหมายตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ และคำสั่งของผูบังคับบัญชา แบงออกเปน 4 งาน ดังนี้
1. งานบริการดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานอำนวยการของฝายดนตรี
- งานคลังดนตรี
- งานอาภรณดานดนตรี
- งานซอมบำรุงเบื้องตน เครื่องดนตรี และอุปกรณดนตรี
- งานการเงิน-บัญชี
2. งานดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
งานเสนอดนตรีประเภทตางๆ ในงานราชพิธี รัฐพิธี พิธีการสำคัญของสำนักงานตำรวจแหงชาติ และหนวยงาน
ราชการอื่นที่รองขอ รวมถึงการจัดการแสดงดนตรีประเภทตางๆเพื่อเปนสวัสดิการแกขาราชการตำรวจ โดยมีวง
ดนตรีประเภทตางๆ ที่อยูในความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานวงโยธวาทิต
- งานปสก็อต
- งานวงหัสดนตรี
- งานเชมเบอรมิวสิค
- วงดนตรีไทย
- วงดนตรีประเภทอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามความเหมาะสม
3. งานวิชาการดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- จัดทำทะเบียนเพลง
- ประพันธ คิดคน คัดแปลงบทเพลง จังหวะลีลา ทวงทำนองเพลง
- เรียบเรียงเสียงประสาน
- คัดลอกและซอมบำรุงโนตเพลง
- เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนำมาวิจัยและพัฒนาทางดุริยางค
- เก็บรวบรวมบทเพลงตางๆ ตำราทางดนตรี
- งานหองบันทึกเสียง
- งานเทคโนโลยีดนตรี
4. งานโรงเรียนดนตรี มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้
- แนะนำเผยแพรขาวสารการบรรเลงตางๆ ของงานดุริยางคใหเปนที่รูจักแพรหลาย
- จัดฝกอบรมแกเจาหนาที่และหนวยงานตางๆ ในเรื่องเกี่ยวกับดนตรี
- งานบริการการศึกษา งานธุรการ ทะเบียนเพลงของงานโรงเรียนดนตรี
- 23 -

- งานวิชาการ การเรียน การสอน ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การจัดทำหลักสูตร และตำราเรียนตางๆ


- งานหองสมุด และพิพิธภัณฑดนตรี
- งานสงเสริมวิชาการดนตรี การจัดกิจกรรมสงเสริมทางดานดนตรีนอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ

62. ฝายดนตรี ใหบริการวงดนตรีประเภทใด


ก. วงโยธวาทิต
ข. วงเชมเปอร
ค. วงปสก็อต
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (หน า ที ่ ค วามรั บ ผิ ดชอบ ฝายดนตรี ขอ 2. งานดนตรี มีห นาที่ และความรั บ ผิ ดชอบ ดัง นี้
งานเสนอดนตรีประเภทตางๆ ในงานราชพิธี รัฐพิธี พิธีการสำคัญของสำนักงานตำรวจแหงชาติ และหนวยงาน
ราชการอื่นที่รองขอ รวมถึงการจัดการแสดงดนตรีประเภทตางๆเพื่อเปนสวัสดิการแกขาราชการตำรวจ โดยมี
วงดนตรีประเภทตางๆ ที่อยูในความรับผิดชอบ ดังนี้
- งานวงโยธวาทิต
- งานปสก็อต
- งานวงหัสดนตรี
- งานเชมเบอรมิวสิค
- วงดนตรีไทย
- วงดนตรีประเภทอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามความเหมาะสม
63. ขอใดไมใชโครงการที่เปนสวัสดิการของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ก. โครงการกูงายไดบาน
ข. โครงการสมรสสวัสดิการ
ค. โครงการอุปสมบทหมู
ง. โครงการแกไขปญหาหนี้สินตำรวจและลูกจางประจำ
(ตอบ ก. (โครงการกูงายไดบาน เปนโครงการสวัสดิการของ สหกรณออมทรัพยตำรวจนครบาล

64. สวัสดิการใด สามารถจองการใชบริการไดในแอปพลิเคชัน “แทนใจ”


ก. จองบริการรถรับ-สง ระหวางบานพักและสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ข. การเลือกวัดในการฌาปนกิจผูวายชนม
ค. การจองเขาใชหองประชุมของกองสวัสดิการ
ง. การจองใชบริการสนามฟุตบอลบุณยะจินดา
(ตอบ ง.

65. ขอใดไมสามารถดูไดในแอปพลิเคชัน “แทนใจ”


ก. ผลการพิจารณาคำรองขอรับการแตงตั้ง
ข. ขาวสารบานเมืองทั่วไป
ค. กพ.7 อิเล็กทรอนิกส
- 24 -

ง. บัตรสวัสดิการดิจิทัล
(ตอบ ค.

66. ขอใดไมใชสวัสดิการตำรวจ
ก. สถานพักฟนและตากอากาศบางละมุง
ข. รถรับสงสวัสดิการ
ค. สารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ง. สโมสรตำรวจ
(ตอบ ค.
67. ใครคือหัวหนาคณะทำงานแกไขปญหาหนี้สินขาราชการตำรวจและลูกจางประจำ ตร. ในระดับ บก.
ก. ผบก.
ข. รอง ผบก. ที่ไดรับมอบหมาย
ค. หัวหนาสถานีตำรวจ หรือหัวหนาหนวยในสังกัดทุกแหง
ง. ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณของกองบังคับการ
(ตอบ ก. (คำสั ่ ง ตร. ที ่ 589/2564 ลง 17 พ.ย.64 เรื่อง แตงตั้งคณะทำงานแกไขปญ หาหนี้สิน
ขาราชการตำรวจและลูกจางประจำ สำนักงานตำรวจแหงชาติ โดยมีคณะทำงานฯ 3 ระดับ คือ ระดับ ตร. ระดับ
บช. และระดับ บก. ซึ่งคณะทำงานฯ ในระดับ บก. (ขอ 3.2 มีหัวหนาคณะทำงาน คือ ผบก. (ข อ 3.2.1.1

68. การขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. ใครเปนผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือฯ เสนอ ผบ.ตร.
ก. ผบช.สกพ. ผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือ
ข. ผบก.สก. ผูมีอำนาจอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิ์ไดรับเงินชวยเหลือ
ค. คณะทำงานพิจารณาการขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการ
ปฏิบัติหนาที่ จากกองทุนสวัสดิการ ตร.
ง. คณะกรรมการสวัสดิการ ตร.
(ตอบ ค. (คำสั ่ ง คณะกรรมการสวั ส ดิ ก ารสำนั ก งานตำรวจแห ง ชาติ ที ่ 3/2553 เรื ่ อ ง แต ง ตั้ ง
คณะทำงานพิจารณาการขอรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ
หนาที่ โดยคณะทำงาน มีอำนาจหนาที่ พิจารณาอนุมัติรายชื่อผูมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือจากกองทุนสวัสดิการ
สำนักงานตำรวจแหงชาติตามระเบียบ คำสั่งหรือหลักเกณฑที่เกี่ยวของ (ขอ 2.2

69. เมื่อไดรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. จะไดรับเงินชวยเหลือผานชองทางใดบาง
ก. โอนเงินผานธนาคารกรุงไทย เขาบัญชีผูรับสิทธิ์
ข. เงินสด
ค. เช็คเงินสด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบ ง.
- 25 -

70. เมื่อไดรับเงินชวยเหลือกรณีขาราชการตำรวจเสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหนาที่ จากกองทุน


สวัสดิการ ตร. แลว มีสิทธิ์ไดรับเงินเพิ่มเติมไดในกรณีใดบาง
ก. สูญเสียอวัยวะ
ข. ไดรับการพิจารณาอาการบาดเจ็บเพิ่มเติม หรืออาการรุนแรงกวาที่ไดรับอนุมัติกอนหนา
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ไมมีสิทธิ์ไดรับเงินเพิ่มเติม
(ตอบ ค. (หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติ
หนาที่ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ ตร. ครั้งที่ 2/2560 เมื่อ 2 มิ.ย.2560 ขอ 4. และ หมายเหตุ
ขอ2

71. การลากิจสวนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรลาไดไมเกินกี่วันทำการ
ก. ไมเกิน 45 วันทำการ
ข. ไมเกิน 60 วันทำการ
ค. ไมเกิน 90 วันทำการ
ง. ไมเกิน 150 วันทำการ
(ตอบ ง. (การลาคลอดบุตร ลาไดไมเกิน 90 วัน (โดยไดรับเงินเดือน และมีสิทธิลากิจสวนตัวเพื่อเลี้ยงดู
บุตรตอเนื่องจากการลาคลอดไดอีกไมเกิน 150 วันทำการ โดยไมไดรับเงินเดือนระหวางลา (ขาราชการมีสิทธิลา
โดยไดรับเงินเดือนระหวางลาภายใตพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นใน
ลักษณะเดียวกัน พ.ศ.2522 ตามประเภทของการลา แหงระเบียบวาดวยการลาของขาราชการ พ.ศ.2535

72. ประเภทสมาชิกสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ มีกี่ประเภท


ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
(ตอบ ข. (สมาชิกสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ มีสมาชิก 3 ประเภท ไดแก
1. สมาชิกสามัญ ไดแก ขาราชการตำรวจ พนักงานของรัฐ และลูกจางประจำ
2. สมาชิกสามัญ ไดแก พนักงานราชการ และลูกจางชั่วคราว
3. สมาชิกสมทบ ไดแก สมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญที่พนจากการปฏิบัติงานในสำนักงาน
ตำรวจแหงชาติแลว

73. หลักเกณฑการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรตองเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายที่มีอายุกี่ป
ก. อายุไมเกิน 25 ปบริบูรณ
ข. อายุไมเกิน 20 ปบริบูรณ
ค. อายุตั้งแต 3 ป ถึง 25 ปบริบูรณ
ง. อายุตั้งแต 5 ป ถึง 20 ปบริบูรณ
(ตอบ ค. (ตามพระราชกฤษฎี กาเงินสวัสดิ การเกี่ยวกับการศึกษาบุตร พ.ศ.2562 มาตรา 4 “บุตร”
หมายความวา บุตรโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งมีอายุครบสามปแตไมเกินยี่สิบหาป...
- 26 -

74. ใครมีสิทธิขอบานพักสวนกลางได
ก. ขาราชการตำรวจทั่วประเทศ
ข. ขาราชการตำรวจหรือคูสมรสของขาราชการตำรวจ
ค. ขาราชการตำรวจเฉพาะอยูในหนวยที่มีที่ตั้งในกรุงเทพฯ
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
(ตอบ ค. (อาคารบ า นพั ก ส ว นกลาง ผู  ม ี ส ิ ท ธิ ย ื ่ น คำร อ งขอเข า พั ก อาศั ย คื อ ข า ราชการตำรวจและ
ลูกจางประจำในสังกัดสำนักงานตำรวจแหงชาติซึ่งที่ทำการตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร
ที่มา : สำนักงานตำรวจแหงชาติ. (2553. อาคารบานพักสวนกลาง, คูมือสวัสดิการและสิทธิประโยชน
ขาราชการตำรวจ. (น.51. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตำรวจ.

75. เงินสวัสดิการเบี้ยกันดารจะไดรับในอัตราสวนเทาใด
ก. อัตราสวนรอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 200 บาท
ข. อัตราสวนรอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 300 บาท
ค. อัตราสวนรอยละ 20 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 300 บาท
ง. อัตราสวนรอยละ 20 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ 400 บาท
(ตอบ ก. (เงินสวัสดิการเบี้ยกันดาร เปนเงินสวัสดิการที่เกี่ยวกับเบี้ยกันดารเพื่อจายใหสำหรับขาราชการ
หรือลูกจางประจำที่ปฏิบัติราชการประจำอยูในทองที่กันดารตามที่ราชการกำหนด โดยกระทรวงการคลังจะ
ประกาศทุก 3 ป จะไดรับเงินชวยเหลือเบี้ยกันดารในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือน แตไมนอยกวาเดือนละ
200 บาทตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับเบี้ยกันดาร พ.ศ.2524

76. ตำแหนงของขาราชการตำรวจ มีกี่ตำแหนง


ก. 12 ตำแหนง
ข. 13 ตำแหนง
ค. 14 ตำแหนง
ง. 2 ตำแหนง
(ตอบ ข. (ตามพระราชบัญญัติตำรวจ พ.ศ.2547 มาตรา 44 ตำแหนงขาราชการตำรวจมีดังตอไปนี้
1. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
2. จเรตำรวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
3. ผูชว ยผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
4. ผูบัญชาการ
5. รองผูบัญชาการ
6. ผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญพิเศษ
7. รองผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญ
8. ผูกำกับการ และพนักงานสอบสวนผูทรงคุณวุฒิ
9. รองผูกำกับการ และพนักงานสอบสวนผูชำนาญการพิเศษ
10.สารวัตร และพนักงานสอบสวนผูชำนาญการ
11.รองสารวัตร และพนักงานสอบสวน
- 27 -

12.ผูบังคับหมู
13.รองผูบังคับหมู

77. หนวยใหบริการวัคซีนตานโควิด-19 ของ รพ.ตำรวจ ตั้งอยูที่ใด


ก. ชั้น 3 อัมรินทรพลาซา
ข. สถานีกลางบางซื่อ
ค. หองประชุมสารสิน อาคาร 1 ตร. ชั้น 2
ง. ลานขางอาคารมงคลกาญจนาภิเษก (มก. ภายใน รพ.ตร.
(ตอบ ก.

78. ขอใดไมใชเอกสารหลักฐานในการสมัครเขารวมโครงการสมรสสวัสดิการขาราชการตำรวจ
ก. สำเนาบัตรขาราชการ (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
ข. สำเนาคำสั่งแตงตั้งตำแหนงปจจุบัน (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
ค. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ชาย, หญิง
ง. สำเนาทะเบียนหยา (กรณีเคยผานการสมรสมาแลว
(ตอบ ข. (ประกาศโครงการสมรสสวัสดิการขาราชการตำรวจ ครั้งที่ 16 ผูสมัครตองแนบเอกสารหลักฐาน
พรอมรับรองสำเนาทุกฉบับ ดังนี้
1. ใบสมัครเขารวมโครงการ
2. ภาพถาย
3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ชาย, หญิง
4. สำเนาบัตรประจำตัวขาราชการ (ฝายที่เปนขาราชการตำรวจ
5. สำเนาทะเบียนบาน
6. สำเนาใบหยา (กรณีเคยผานการสมรสมาแลว
7. ผูสมัครตองกรอกรายละเอียดใหครบถวน ชัดเจน และแนบเอกสาร (ตามขอ 1-6

79. ขอใดคือคุณสมบัติของผูสมัครเปนสมาชิกสามัญ ฌาปนกิจสงเคราะห สก.


ก. เปนขาราชการตำรวจหรือลูกจางประจำของสำนักงานตำรวจแหงชาติที่รับราชการหรือทำงานมาไม
เกิน 5 ป นับแตวันที่ไดรับการบรรจุ
ข. บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
ค. ตองไมเปนผูที่เคยเปนสมาชิกและไดลาออกจากการเปนสมาชิกมากอน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบ ง. (ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวย การฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
หมวด 4 คุณสมบัติของผูที่จะเปนสมาชิก ขอ 10 ผูที่จะเปนสมาชิกตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
10.1 เปนขาราชการตำรวจหรือลูกจางประจำของสำนักงานตำรวจแหงชาติที่รับราชการหรือทำงานมา
ไมเกิน 5 ป นับแตวันที่ไดรับการบรรจุ
10.3 บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
10.4 ตองไมเปนผูที่เคยเปนสมาชิกและไดลาออกจากการเปนสมาชิกมากอน
- 28 -

80. ขอใดไมใชการสิ้นสุดการเปนสมาชิก ฌาปนกิจสงเคราะห


ก. ลาออกจากสมาชิก นับตั้งแตวันที่กองสวัสดิการ (กฌ.ตร. ไดรับหนังสือลาออก
ข. ขาดสงเงินสงเคราะหติดตอกันเกินกวา 120 วัน นับแตวันที่สงเงินสงเคราะหครั้งสุดทาย
ค. เมื่อไดรับการแตงตั้งตำแหนงใหมและไมไดแจงใหกองสวัสดิการ (กฌ.ตร. ทราบ ภายใน 90 วัน
ง. คณะกรรมการมีมติใหพนจากการเปนสมาชิก
(ตอบ ค. (ระเบียบสำนักงานตำรวจแหงชาติ วาดวย การฌาปนกิจสงเคราะหของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
หมวด 6 ขอ 13 การเปนสมาชิกสิ้นสุดเมื่อ
13.1 ตาย
13.2 นับแตวันที่สมาชิกแสดงเจตนาขอลาออกเปนลายลักษณอักษร
13.3 ขาดสงเงินสงเคราะหติดตอกันเกินกวา 120 วัน นับแตวันที่สงเงินสงเคราะหครั้งสุดทาย
13.4 การสมัครเปนสมาชิกไดกระทำไปโดยไมสุจริต
13.5 บุคคลที่ถึงแกความตายตามผลของกฎหมาย
13.6 คณะกรรมการมีมติใหพนจากการเปนสมาชิก
- 29 -

ขอสอบในสายงานอำนวยการ
กองอัตรากำลัง (20 ขอ

81. การกำหนดจำนวนตำแหนงขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนง ผบก. หรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับ


ความเห็นชอบจากใคร
ก. ผบ.ตร.
ข. ก.ตร.
ค. ก.ต.ช.
ง. นายกรัฐมนตรี
(ตอบขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๔๕ วรรคสอง การกำหนดจำนวนตำแหนง
ขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนงผูบังคับการ หรือตำแหนงเทียบเทาขึ้นไปในสวนราชการตาง ๆ ตองไดรับความ
เห็นชอบจาก ก.ต.ช. กอน

82. การพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดตำแหนงขาราชการตำรวจตามมาตรา ๔๕ แหง พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ


พ.ศ. ๒๕๔๗ จะตองคำนึงถึงสิ่งใดบาง
ก. ลักษณะหนาที่และความรับผิดชอบของตำแหนงที่กำหนดขึ้น
ข. ปริมาณงานและคุ ณภาพของงานที่มีความเหมาะสมเพีย งพอที่จะตองพิจารณากำหนดตำแหน งขึ้น
เพื่อรองรับการปฏิบัติงาน
ค. ประสิ ทธิ ภ าพในการปฏิ บ ั ต ิ ง านต องสู งขึ้น และการดำเนิน การกำหนดตำแหน งจะต องอยูภ ายใต
การประหยัดงบประมาณใหมากที่สุด
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๕ บัญญัติวา ในสวน
ราชการตาง ๆ ของ ตร. จะใหมีตำแหนงขาราชการตำรวจใด จำนวนเทาใด และคุณสมบัติเฉพาะตำแหนงอยางใด
และจะใหมียศหรือไม และถาใหมียศจะใหมียศใด รวมตลอดถึงการตัดโอนตำแหนงจากสวนราชการหนึ่งไปเพิ่ม
ใหกับอีก สวนราชการหนึ่ง ใหเปนไปตามที่ ก.ตร. กำหนด โดยใหคำนึงถึงลักษณะหนาที่ และความรับผิดชอบ
ปริมาณ และคุณภาพของงาน รวมทั้งความมีประสิทธิภาพและการประหยัด
การกำหนดจำนวนตำแหน งขาราชการตำรวจตั้งแตตำแหนงผูบังคับ การหรือตำแหนงเทียบเทาขึ้น ไป
ในสวนราชการตาง ๆ ตองไดรับความเห็นชอบจาก ก.ต.ช. กอน

83. ตำแหนงขาราชการตำรวจตามที่กำหนดไวในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๔ แหง พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.


๒๕๔๗ แบงออกเปนกี่ระดับ
ก. ๑๐ ระดับ
ข. ๑๑ ระดับ
ค. ๑๒ ระดับ
ง. ๑๓ ระดับ
(ตอบขอ ง. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๔ บัญญัติวา ตําแหน
งขาราชการตํารวจ มีดังตอไปนี้ (๑ ผู บัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒ จเรตํารวจแห งชาติ และรองผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติ (๓ ผู ชวย ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ (๔ ผู บัญชาการ (๕ รองผู บัญชาการ (๖ ผู บังคับการ (๗
รองผูบังคับการ (๘ ผู กํากับการ (๙ รองผู กํากับการ (๑๐ สารวัตร (๑๑ รองสารวัตร (๑๒ ผู บังคับหมู (๑๓
รองผูบังคับหมู
- 30 -

ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น โดยจะใหมีชื่อตําแหนงใดเทียบกับตําแหนงตามวรรคหนึ่ง


ก็ไดโดยใหกําหนดไวในกฎ ก.ตร.

84. การเที ย บระดั บ ตำแหน งของตำแหนงที่เรีย กชื่ออยางอื่น เชน ตำแหนงนายแพทย (สบ ๑ ตำแหนง
นักวิทยาศาสตร (สบ ๑ เปนตน กับตำแหนงตามที่กำหนดไวในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๔ แหง พ.ร.บ.ตำรวจ
แห งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ เช น ระดั บ รองสารวัตร ระดับ สารวัตร หรือระดับ รองผูกำกับ การ เปน ตน จะตอง
ดำเนินการกำหนดไว โดยจัดทำในรูปแบบอะไร
ก. กฎกระทรวง
ข. กฎ ก.ตร.
ค. ระเบียบ ก.ตร.
ง. ระเบียบ ตร.
(ตอบขอ ข. (ตาม พ.ร.บ. ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา ๔๔ บัญญัติวา ตําแหนง
ขาราชการตํารวจ มีดังตอไปนี้ (๑ ผู บัญชาการตํารวจแหงชาติ (๒ จเรตํารวจแห งชาติ และรองผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติ (๓ ผู ชวย ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ (๔ ผู บัญชาการ (๕ รองผู บัญชาการ (๖ ผู บังคับการ
(๗ รองผู บังคับการ (๘ ผู กํากับการ (๙ รองผู กํากับการ (๑๐ สารวั ตร (๑๑ รองสารวัตร (๑๒ ผู บังคับหมู
(๑๓ รองผู บังคับหมู
ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น โดยจะใหมีชื่อตําแหนงใดเทียบกับตําแหนงตามวรรคหนึ่ง
ก็ไดโดยใหกําหนดไวในกฎ ก.ตร.

85. ส.ต.อ.สมชาย แสนดี ดำรงตำแหนง ผบ.หมู ฝอ.ภ.จว.สระบุรี เมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ โดยสำเร็จหลักสูตร
การฝ กอบรมบุ คคลภายนอกที ่ บ รรจุ ห รื อโอนมาเปน ขาราชการตำรวจชั้น ประทวนและพลตำรวจ (กอป.
หาก ส.ต.อ.สมชาย แสนดี ประสงค จ ะย า ยไปดำรงตำแหน ง ผบ.หมู  ป. สภ.เมื อ งลพบุ ร ี จะต อ งมี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงตามขอใด
ก. เขาอบรมหลักสูตรชัยยะ
ข. ศึกษาตอในระดับปริญญาตรีทางกฎหมาย
ค. เขาอบรมหลักสูตร กดต.(ปป.)
ง. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก
(ตอบข อ ง.) (ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน ง กลุ  ม สายงานป อ งกั น ปราบปราม พ.ศ 2561 กำหนด
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนง ผบ.หมู (ป.) มีคุณสมบัติขอหนึ่งขอใด ดังนี้
๑. สำเร็จหลักสูตรนักเรียนนายสิบตำรวจ หรือเทียบหลักสูตรนักเรียนนายสิบตำรวจ ตามที่ ก.ตร.
กำหนด
๒. คุณวุฒิอื่นที่ ก.ตร. กำหนดใหเปนคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงนี้ได ไดแก
๒.๑ สำเร็ จ หลั ก สู ต รการฝ ก อบรมบุ ค คลภายนอกที ่ บ รรจุ ห รื อ โอนมาเป น ข า ราชการตำรวจ
ชั้นประทวนและชั้นพลตำรวจ ผนวกกับหลักสูตรการฝกอบรมชัยยะ หรือหลักสูตรการฝกอบรมตอตานและ
ปราบปรามการกอความไมสงบ
๒.๒ สำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมที่หนวยตาง ๆ จัดใหมีขึ้น เพื่อทำหนาที่เกี่ยวของในการปองกัน
ปราบปรามโดยเฉพาะ ซึ่งสำนักงานตำรวจแหงชาติเปนผูอนุมัติ โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรม ไมนอยกวา ๓ เดือน
๒.๓ คุ ณวุ ฒ ิ ป ริ ญ ญาตรี หรื อเทีย บไดไมต่ำกวานี้ทางเดียวกับ รองสารวัตร (ปฏิบ ัติการปองกัน
ปราบปราม โดยจะตองสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมบุคคลภายนอกที่บรรจุหรือโอนมาเปนขาราชการตำรวจ
- 31 -

ชั ้ น ประทวนและชั ้ น พลตำรวจ หรื อหลั กสู ตรการฝ ก อบรมชั ย ยะ หรือหลักสู ตรการฝ ก อบรมต อ ต า นและ
ปราบปรามการกอความไมสงบ หรือหลักสูตรการฝกอบรมที่หนวยตาง ๆ จัดใหมีขึ้น เพื่อทำหนาที่เกี่ยวของใน
การปองกันปราบปรามโดยเฉพาะ ซึ่งสำนักงานตำรวจแหงชาติเปนผูอนุมัติ โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรมไม
นอยกวา ๓ เดือน ทั้งนี้ ใหใชคุณวุฒิขอนี้ไดเฉพาะในการแตงตั้งโยกยายเทานั้น หามใชในการบรรจุ

86. การคัดเลือกขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่มีอายุ ๕๓ ปขึ้นไป เพื่อเลื่อนตำแหนงและเลื่อนยศ


แบบเลื่อนไหลเปนชั้นสัญญาบัตรถึงยศ ร.ต.อ. ตองมีคุณสมบัติตามขอใดถึงจะมีสิทธิขอรับการคัดเลือก
ก. มียศ ด.ต. และมีอายุ ๕๓ ป ขึ้นไป นับถึงวันที่ ๓๐ ก.ย. ของปงบประมาณที่ดำเนินการ (ตองเปนผูที่เกิด
กอนวันที่ ๒ ตุลาคม
ข. มีความสมัครใจ และเปนผูมีความประพฤติเรียบรอย มีความวิริยะ อุตสาหะ ปฏิบัติหนาที่ดวยความ
ซื่อสัตย และมีความรูความสามารถเหมาะสมกับหนาที่ราชการ (ใหพิจารณาความประพฤติโดยทั่วไป ไมใหนำกรณีที่ถูก
ตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัย หรือตองหา หรือถูกฟองคดีอาญา มาประกอบการพิจารณาความประพฤติ
ค. มี ส ุ ขภาพสมบู รณ เหมาะสมกั บการปฏิบ ัติหนาที่ โดยมีความเห็นของแพทยจากสถานพยาบาลของรัฐ
วามีสุขภาพสมบูรณเหมาะสม สามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได และไมอยูระหวางถูกสั่งพักราชการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ตามหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่มีอายุ ๕๓ ปขึ้นไป
เพื่อเลื่อนตำแหนงและเลื่อนยศแบบเลื่อนไหลเปนชั้นสัญญาบัตรถึงยศ ร.ต.อ.
๑. คุณสมบัติของผูมีสิทธิขอรับการคัดเลือก
๑.๑ มียศ ด.ต.
๑.๒ อายุ ๕๓ ปขึ้นไป นับถึงวันที่ ๓๐ ก.ย. ของปงบประมาณที่ดำเนินการ (ตองเปนผูที่เกิดกอนวันที่
๒ ตุลาคม
๑.๓ มีความสมัครใจ
๑.๔ เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย มีความวิริยะ อุตสาหะ ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย และมี
ความรูความสามารถเหมาะสมกับหนาที่ราชการ (ใหพิจารณาความประพฤติโดยทั่วไป ไมใหนำกรณีที่ถู กตั้ง
กรรมการสอบสวนทางวินัย หรือตองหา หรือถูกฟองคดีอาญา มาประกอบการพิจารณาความประพฤติ
๑.๕ มีสุขภาพสมบูรณเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ โดยมีความเห็นของแพทยจากสถานพยาบาลของ
รัฐวามีสุขภาพสมบูรณเหมาะสม สามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได
๑.๖ ไมอยูระหวางถูกสั่งพักราชการ
ทั้งนี้ ใหขาราชการตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. ที่ไดรับพระราชทานยศ ร.ต.ต. เปนกรณีพิเศษตามระเบียบ
ตร. วาดวยประมวลระเบียบการตำรวจไมเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๗ ยศตำรวจ (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีสิทธิที่
จะขอรับการคัดเลือก โดยใหถือวาเปนผูมีคุณสมบัติตามขอ ๑ (๑ ดวย

87. ข า ราชการตำรวจที ่ จ ะไปดำรงตำแหนงในสัง กัด สตม. ที่ทำหนาที่ใดไม ต  อ งผ านการทดสอบความรู


ภาษาตางประเทศตามหลักเกณฑที่ ตร. กำหนด
ก. การเงินและบัญชี
ข. ประมวลผล
ค. ตรวจคนเขาเมือง
- 32 -

ง. ธุรการ
(ตอบขอ ก. (ตาม มติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 15/2558 เมื่อ 21 ก.ย.2558 ที่ประชุมมีมติอนุมัติ
ปรับปรุงแกไขคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงของขาราชการตำรวจในสังกัด สตม.ทุกตำแหนง ตามมติ อ.ก.ตร.
ตำแหนงในการประชุมครั้งที่ 9/2544 เมื่อ 26 ธ.ค.2544 มติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 11/2555 เมื่อ 1 ส.ค.
2555 และมติ ก.ตร. ในการประชุมครั้งที่ 11/2556 เมื่อ 25 ต.ค.2556 ดังนี้
1. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงของขาราชการตำรวจในสังกัด สตม. เฉพาะระดับตำแหนง ผกก. ลงมา
ทุกตำแหนง “ตองผานการทดสอบความรูภาษาตางประเทศตามหลักเกณฑที่ ตร. กำหนด ” โดยมีผลใชบังคับ
ตั้งแตวันที่ ก.ตร. มีมติอนุมัติ
2. ยกเวน โดยไมบังคับใชกับตำแหนงเฉพาะทางที่ทำหนาที่ดานงบประมาณ การเงินและการบัญชี การเงินและ
พัสดุ นิติกร และนายเวร

88. ขาราชการตำรวจกลุมใดที่ ไมเปน ตำแหนงควบปรับระดับเพิ่ม - ลด ไดในตัวเอง


ก. พนักงานสอบสวน
ข. นักวิชาการคอมพิวเตอร
ค. นักสังคมสงเคราะห
ง. นักจิตวิทยา
(ตอบขอ ก.) (ตามคำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 7/2559 ลง 5 ก.พ.2559 เรื่อง การ
กำหนดตำแหนงของขาราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหนาที่ในการสอบสวน เพื่อประโยชนในการปฏิรูปดานการ
บริหารราชการแผนดินและกระบวนการยุติธรรม สมควรปรับปรุงการกำหนดตำแหนงของขาราชการตำรวจซึ่งมี
อำนาจหนาที่ในการสอบสวนเสียใหมใหสอดคลองกับโครงสรางและระบบการบังคับบัญชาของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ
ฯลฯ
ประกอบกับ มติ อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล ครั้งที่ 3/2559 เมื่อ 11 มี.ค.2559 อนุมัติยกเลิกระบบ
ตำแหนงพนักงานสอบสวนเดิม (รอง ผบก. - รอง สว.) ที่กำหนดเปนตำแหนงควบปรับระดับเพิ่มลดไดในตัวเอง
ใหเปนตำแหนงที่มีระดับตำแหนงเดียวทั้งหมด โดยตำแหนงใดจะเปนระดับใด ใหเปนไปตามระดับตำแหนงของ
ผูที่ครองตำแหนงอยูในปจจุบัน

89. กรณีที่ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนผูใดไดรับการแตงตั้งในระดับสูงขึ้น แตยังไมสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรม


ในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง สิทธิในการไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่
ดานสอบสวน (ต.ด.ส. ของผูนั้นเปนไปตามขอใด
ก. ใหไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตำแหนงเดิมไปกอน
ข. ใหไดรับ ต.ด.ส. ในอัตรากึ่งหนึ่งของระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง
ค. ไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้งทันที
ง. ไมมีสิทธิไดรับ ต.ด.ส. จนกวาจะสำเร็จหลักสูตรการฝกอบรมในระดับตำแหนงที่ไดรับแตงตั้ง
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มเปนกรณีพิเศษสําหรับตําแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน
พ.ศ. ๒๕๕๙ ขอ ๖ ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน ใหไดรับ ต.ด.ส. ในอัตรา ดังนี้
(๑ รองสารวัตร หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาท
- 33 -

(๒ สารวัตร หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๔,๔๐๐ บาท


(๓ รองผูกํากับการ หรือเทียบเทา เดือนละ ๑๗ ,๓๐๐ บาท
ในกรณีที่ผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนผูใดไดรับการแตงตั้งในระดับสูงขึ้น แตยังไมสําเร็จหลักสูตรการฝกอบรมใน
ระดับตําแหนงที่ไดรับแตงตั้ง ใหผูนั้นมีสิทธิไดรับ ต.ด.ส. ในระดับตําแหนงเดิมไปกอน

90. ผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวนที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
สืบสวน (ต.ส.ส. หากเขารับการฝกอบรมหลักสูตรฝายอำนวย การตำรวจ (ฝอ.ตร. สิทธิในการไดรับ ต.ส.ส. ของ
ผูนั้นเปนไปตามขอใด
ก. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. ไมเกินหกสิบวันทำการ
ข. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. ไมเกินเกาสิบวันทำการ
ค. มีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. เต็มจำนวน
ง. ไมมีสิทธิไดรับ ต.ส.ส. แตอยางใด
(ตอบขอ ค. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดา น
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 11(5 กรณีสำนักงานตำรวจแหงชาติจัด
อบรมหรือพิจารณาคัดเลือกใหผูปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวน ไปราชการเพื่อเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ หรือ
ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย เพื่อเปนการพัฒนาความรูความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ดานสอบสวนใหมีสิทธิ
ไดรับ ต.ด.ส. เต็มจำนวน

91. ขาราชการตำรวจผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวนที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผู
ปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวน (ต.ส.ส. ไปปฏิบัติราชการหนาที่จราจร จะมีสิทธิไดรับเงินผูปฏิบัติหนาที่ดานสืบสวน
(ต.ส.ส. อยูหรือไม
ก. ได เนื ่ อ งจากระเบี ย บกำหนดให ผ ู  ป ฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ใ นสายงานป อ งกั น ปราบปราม สื บ สวน จราจร
สามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนหนาที่กันได
ข. ไมได เพราะเงินแตละระดับไมเทากัน
ค. ได เพราะเปนคำสั่งผูบังคับบัญชา
ง. ไมได เพราะปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 11 ขาราชการตำรวจที่ไดรับแตงตั้งใหดำรง
ตำแหนงดานปองกันปราบปราม ดานสืบสวน หรือดานจราจร ดานใดดานหนึ่งหรือหลายดานรวมกัน ไมเต็มเดือนใน
เดือนใดใหมีสิทธิไดรับ ต.ป.ป ต.ส.ส. หรือ ต.จ.ร.สำหรับเดือนนั้น ตามสวนของจำนวนวันที่ไดดำรงตำแหนง และ
ปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ถาเดือนใด ไดปฏิบัติหนาที่ ดานปองกันปราบปราม ดานสืบสวน หรือดานจราจร ที่ไดรับการ
แตงตั้งดานใดดานหนึ่ง หรือหลายดานรวมกัน ไมมีสิทธิไดรับ ไดรับ ต.ป.ป ต.ส.ส. หรือ ต.จ.ร. สำหรับเดือนนั้น

92. ขาราชการตำรวจชั้นประทวนที่ไดรับเงินปองกันปราบปราม (ต.ป.ป. เมื่อไดรับการแตงตั้ง เพื่อเลื่อน


ตำแหนงและเลื่อนยศแบบเลื่อนไหล เปนชั้นสัญญาบัตร (นายรอย ๕๓ สิทธิการไดรับเงิน ต.ป.ป. เปนอยางไร ตาม
ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันและปราบปราม
สืบสวน จราจร พ.ศ. ๒๕๖๓
ก. ไดรับเงินชั้นประทวนเทาเดิม
ข. ไดรับเงินชั้นสัญญาบัตร
ค. หมดสิทธิการไดรับเงิน
- 34 -

ง. ไดรับไมเกินกึ่งหนึ่งของระดับเดิม
(ตอบขอ ข. (ตามระเบียบ ก.ตร. วาดวยเงินเพิ่มสำหรับตำแหนงที่มีเหตุพิเศษ ตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
ปองกันและปราบปราม ดานสืบสวน และดานจราจร พ.ศ. 2563 ขอ 6 ผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันปราบปรามให
ไดรับ ต.ป.ป. นับแตวันที่ไดรับการแตงตั้งและเขาปฏิบัติหนาที่ ในตำแหนงผูปฏิบัติหนาที่ดานปองกันปราบปราม
ในอัตราดังนี้
รอง ผกก.หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 4,700 บาท
สารวัตร หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 4,000 บาท
รองสารวัตร หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 3,500 บาท
ผบ.หมู หรือเทียบเทา ใหไดรับเดือนละ 3,000 บาท

93. รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจายที่จายในลักษณะใดบาง


ก. เงินเดือน
ข. เงินเพิ่มพิเศษ
ค. คาจางชั่วคราว
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก รายจาย
ที่จายในลักษณะเงินเดือน คาจางประจำ คาจางชั่วคราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจายที่
กำหนดใหจายจากงบรายจายอื่นใดในลักษณะรายจายดังกลาว (ตามหลักการจำแนกประเภทรายจา ยตาม
งบประมาณแกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร ๐๗๐๔/ว๓๓ และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวน
ที่สุด ที่ นร ๐๗๐๔/ว๖๘

94. ขอใดตองขอรับรองเงินเดือนเหลือจาย
ก. การใชอัตราเงินเดือนใหม เพื่อรองรับการบรรจุแตงตั้งขาราชการใหม
ข. การเบิกจายเงินประจำตำแหนง หรือเงินเพิ่มพิเศษประเภทตาง ๆ ที่มีการกำหนดเพิ่มใหมตาม มติ ก.ตร.
ค. การเบิกจายเงินเดือนใหแกขาราชการตำรวจซึ่งถูกสั่งใหออก ปลดออก หรือ ไลออกจากราชการ และ
ตอมา ไดมีคำสั่งใหกลับเขารับราชการ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (หนังสือ ตร. ดวนที่สุด ที่ 0009.167/ว 60 ลง 17 มิ.ย.56 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการขอ
หนังสือรับรองเงินเดือนเหลือจายและสงรายงานสรุปผลการเบิกจายเงินเดือน

95. คุณสมบัติขอใด ไม สามารถยกเวนการบรรจุเขารับราชการตำรวจไดตาม กฎ ก.ตร. วาดวยคุณสมบัติและ


ลักษณะตองหามการเปนขาราชการตำรวจ พ.ศ. ๒๕๔๗
ก. เปนผูประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพรองในศีลธรรมอันดี
ข. เปนบุคคลลมละลาย
ค. เปนผูเคยตองรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษ สำหรับความผิดที่กระทำ
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
ง. เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐ
- 35 -

(ตอบขอ ข. (ตาม กฎ ก.ตร. วาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหามการเปนขาราชการตำรวจ พ.ศ.2547 ขอ


2 วรรคสอง ผูที่ขาดคุณสมบัติตามขอ 2 (2 หรือขอ 2 (4 ก.ตร. อาจพิจารณายกเวนใหเขารับราชการได ฯลฯ

96. การจางพนักงานราชการใหกระทำเปนสัญญาจางไมเกินคราวละกี่ป
ก. ๒ ป
ข. ๓ ป
ค. ๔ ป
ง. ๕ ป
(ตอบขอ ค. (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 ขอ 11 การจางพนักงาน
ราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ปหรือตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไวโดยอาจ
มีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้ตามความเหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ

97. ผูใดมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗


ก. ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
ข. รองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบดูแลความมั่นคง
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
(ตอบขอ ค. (ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และมีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

98. การจัดทำ แกไข ปรับปรุง ศึกษา ตรวจสอบการแบงสวนราชการ และการกำหนดโครงสราง แบงสวนราชการ


ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ เปนอำนาจหนาที่ของหนวยงานใด
ก. กองอัตรากำลัง
ข. กองกฎหมาย
ค. กองทะเบียนพล
ง. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการตำรวจ
(ตอบขอ ก. (ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการเปนกองบังคับการหรือสวนราชการอยางอื่นในสำนักงาน
ตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ 3 สวนราชการในสำนักงานตำรวจแหงชาติมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้
1. สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
(3 สำนักงานกำลังพล
(ค กองอัตรากำลัง มีอำนาจหนาที่ดังตอไปนี้
๑ ดำเนินการเกี่ยวกับการวิเ คราะห และกำหนดตำแหนงของหนวยงานตาง ๆ ต ลอดจน
การปรับปรุงโครงสรางการแบงสวนราชการของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
- 36 -

99. หนวยงานใดเปนหนวยงานที่รับผิดชอบลงประกาศกฎหมายแบงสวนราชการ และประกาศเกี่ยวกับการจัด


ระเบียบราชการในสำนักงานตำรวจแหงชาติ
ก. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ข. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักนายกรัฐมนตรี
ง. สำนักงานตำรวจแหงชาติ
(ตอบขอ ก. (ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.
๒๕๕๙ ขอ ๒ (5 บริการและเผยแพรขอมูลขาวสารของทางราชการเกี่ยวกับงานในอำนาจหนาที่แกประชาชน
และประกาศสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เรื่อง โครงสรางและการจัดหนวยงาน อำนาจหนาที่วิธีการดำเนินงาน
และสถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสารของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ขอ ๕ วิธีการดําเนินงานของ
หนวยงานภายในสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีโดยสรุป ดังตอไปนี้
5.8 กองอาลักษณและเครื่องราชอิสริยาภรณ
5.8.6 กลุมงานราชกิจจานุเบกษา
๕.๘.๖.๒ ด า นการบริ ก ารประชาชน จั ด ทํ า ข อ มู ล ราชกิ จ จานุ เ บกษา โดยใช สื่ อ
อิเล็กทรอนิกสเพื่อใหบริการประชาชนเกี่ยวกับการตรวจสอบขอมูลเรื่องที่ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาทุกเรื่อง

100. สวนราชการใด ไม สังกัดสำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ


ก. สำนักงานกำลังพล
ข. สำนักงานพิสูจนหลักฐานตำรวจ
ค. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการตำรวจ
ง. สำนักงานตรวจสอบภายใน
(ตอบขอ ข. (ตาม พ.ร.ฎ.แบงสวนราชการสำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๔ ใหแบงสวน
ราชการสำนักงานตำรวจแหงชาติ ดังตอไปนี้
ก. สำนักงานผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ แบงเปนสวนราชการที่มฐี านะเทียบเทากองบัญชาการ ดังนี้
(๑ สำนักงานยุทธศาสตรตำรวจ
(๒ สำนักงานสงกำลังบำรุง
(๓ สำนักงานกำลังพล
(๔ สำนักงานงบประมาณและการเงิน
(๕ สำนักงานกฎหมายและคดี
(๖ สำนักงานคณะกรรมกา รขาราชการตำรวจ
(๗ สำนักงานจเรตำรวจ
(๘ สำนักงานตรวจสอบภายใน
- 37 -
ข้อสอบในสายงานอำนวยการ
(งานส่งกำลังบำรุง)

1. หลักการการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อใดถูกต้อง
ก. คุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรวจสอบได้
ข. คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้ไร้ทุจริต
ค. โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
ง. โปร่งใส ตรวจสอบได้
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 8)

2.
ใครเป็นผู้รักษาการและมีอำนาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัด
จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 3)

3. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีคัดเลือก”
ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ข. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรั ฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่ น ข้อ เสนอหรื อ ให้ เข้ ามาเจรจาต่ อรองราคารวมทั้ งการจั ดซื้ อ จัด จ้ างพั ส ดุ กั บ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่รู้จักที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรั ฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้ เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณ สมบัติ
ตรงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (2))

4. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศหรือหน่วยงานของต่างประเทศ
“หากท่านเป็นเจ้าหน้าที่จะเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างแบบใด”
ก. ประกวดราคา
ข. ประกาศเชิญชวนทั่วไป
ค. เฉพาะเจาะจง
ง. คัดเลือก
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 215 (ข))
5. อัตราค่าปรับ กรณีคู่สัญญาไปจ้างช่วงให้ผู้อื่นไปทำต่ออีกทอดหนึ่ง โดยฝ่าฝืนข้อตกลงกับหน่วยงานของรัฐ
ต้องมีค่าปรับไม่น้อยกว่าร้อยละเท่าใด ของวงเงินของงานจ้างช่วงตามสัญญา
ก. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
ข. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
ค. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 15
ง. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25
(ตอบข้อ ข.) (ประกาศคณะกรรมการกำหนดนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่อง
แบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตาม พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ฉบับที่ 2 ข้อ 8)

6. ข้อใดไม่เป็น “งานก่อสร้าง” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


ก. การรื้อถอน
ข. การซ่อมแซม
ค. งานจ้างออกแบบ
ง. งานก่อสร้างอาคาร
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

7. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีเฉพาะเจาะจง”
ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่ น ข้อ เสนอหรื อ ให้ เข้ ามาเจรจาต่ อรองราคารวมทั้ งการจั ดซื้ อ จัด จ้ างพั ส ดุ กั บ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข. การซื้อหรือการจ้างจากส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ค. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่รู้จักที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้ อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณ สมบัติ
ตรงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (3))

8.
ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือบริหารพัสดุปฏิบัติห
รือละเว้นการปฏิบัติหรือกระทำโดยมิชอบต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 30,000 บาทถึง 300,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 30,000 บาทถึง 300,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จ. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 250,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 120)
9. การลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างจะกระทำได้ต่อเมื่อใด
ก. อยู่ในกรอบระยะเวลาของสัญญา
ข. ได้รับอนุมัติงบประมาณ
ค. ล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และไม่มีผู้ใดอุทธรณ์
ง. ผ่านการตรวจสอบจาก ค.ป.ท. แล้วอย่างน้อย 30 วัน
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 66)

10. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียนใครเป็นประธาน
ก. อธิบดีกรมบัญชีกลาง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ง. เลขาธิการสำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 41)

11. พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับในการจัดซื้อจัดจ้างใด
ก. การจัดซื้อจัดจ้างของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวกับการพาณิชย์โดยตรง
ข. การจัดซื้อจัดจ้างยุทโธปกรณ์
ค. การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 7)

12. ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ ตามความในข้อใด


ก. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของสำนักงบประมาณและของหน่วยงานของรัฐ
ข. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกระทรวงการคลังและของหน่วยงานของรัฐ
ค. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของรัฐ
ง. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของจังหวัดและของหน่วยงานของรัฐ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11)

13. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป”


ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ข. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่น ข้ อเสนอหรือให้ เข้ามาเจรจาต่อรองราคารวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างพัส ดุกับ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. การซื้อหรือการจ้างจากส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรง
ตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (1))

14. ใครเป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาเป็นผู้ทิ้งงาน
ก. ค.ป.ท.
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 109 วรรค 2)

15. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการให้พิจารณาข้อใดสำคัญที่สุด
ก. แล้วเสร็จตามสัญญา
ข. คุณภาพของงาน
ค. บริการและคุณภาพ
ง. คุณภาพและความคงทนถาวร
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 106)

16. พัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ


ให้เลือกวิธีจัดซื้อจัดจ้างวิธีใด
ก. วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์
ข. วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
ค. วิธีสอบราคา
ง. วิธีคัดเลือก
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56 (1) (ง))

17. “การรับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล” คือความหมาย


ของข้อใด
ก. งานบริการ
ข. งานก่อสร้าง
ค. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ง. งานจ้างที่ปรึกษา
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

18. ข้อใดไม่เป็น “สินค้า” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560


ก. วัสดุ
ข. ที่ดิน
ค. สิ่งปลูกสร้าง
ง. งานจ้างที่ปรึกษา
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

19. กรณีใด ก่อนลงนามในสัญญา หน่วยงานของรัฐไม่สามารถยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ดำเนินการไปแล้ว


ก. หน่วยงานของรัฐไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ข. เงินงบประมาณที่ได้จัดสรรไม่เพียงพอที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้าง
ค. การทำการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ
ง. ทุกข้อสามารถยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างได้
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 67)

20. “เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือดำเนินการโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ”


หากท่านเป็นเจ้าหน้าที่จะเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างแบบใด
ก. คัดเลือก
ข. เฉพาะเจาะจง
ค. ประกาศเชิญชวนทั่วไป
ง. ประกวดราคา
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56(1) (จ))

21. ข้อใดไม่เป็น “พัสดุ” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560


ก. สินค้า
ข. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ค. งานบริการ
ง. วัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

22. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างที่มีลักษณะไม่ซับซ้อน ต้องเลือกใช้วิธีจ้างแบบใด


ก. วิธีเฉพาะเจาะจง
ข. วิธีประกวดแบบ
ค. วิธีคัดเลือก
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 80)

23. กรณีที่มีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ยื่นข้อเสนอตั้งแต่กี่ราย มิให้ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกัน


ก. 2 รายขึ้นไป
ข. 3 ราย
ค. 2 ราย
ง. 3 รายขึ้นไป
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา67 วรรค 4)

24. คณะกรรมการชุดใด มีหน้าที่กำหนดแบบของข้อตกลงคุณธรรมและแบบรายงานของผู้สังเกตการณ์


ก. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ข. คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ง. คณะกรรมการ ค.ป.ท.
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 39 (2))
25. ใครมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญญา
ก. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ข. เจ้าหน้าที่
ค. หัวหน้าเจ้าหน้าที่
ง. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 100)

26. พัสดุ หมายถึงข้อใด


ก. สินค้า
ข. งานบริการ งานก่อสร้าง
ค. งานจ้างที่ปรึกษา งานจ้างออกแบบ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

27. การจัดซื้อจัดจ้างในหมวด 6 ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


มีกี่วิธี อะไรบ้าง
ก. 3 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธเี ฉพาะเจาะจง วิธีคัดเลือก
ข. 3 วิธี คือ วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง
ค. 3 วิธี คือ วิธี e-market วิธี e-bidding วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. 3 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธี e-market วิธี e-bidding
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55)
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 8)

2 9 .
เพื่อประโยชน์ในการจัดทำร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้างหน่วยงานขอ
งรัฐต้องดำเนินการอย่างไร
ก. จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นร่างขอบเขตของงาน
ข. รายละเอียดของพัสดุ
ค. ร่างเอกสารเชิญชวนจากผู้ประกอบการ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 59)

2 9 . ก า ร ไ ด้ ม า ข อ ง ร า ค า ก ล า ง
เพื่ อ ใช้ เป็ น ฐานสำหรั บ เปรี ย บเที ย บราคาที่ ผู้ ยื่ น ข้ อ เสนอได้ ยื่ น ข้ อ เสนอไว้ซึ่ งสามารถจั ด ซื้ อ จั ด จ้า งได้ จริ ง
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ราคาที่ได้มาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด
ข. ราคาที่ได้มาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทำ
ค. ราคามาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด
ง. ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

30. ที่ปรึกษาที่จะเข้าร่วมการเสนองานกับหน่วยงานของรัฐต้องขึ้นทะเบียนไว้กับที่ใด
ก. กรมการค้า กระทรวงพาณิชย์
ข. ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กรมบัญชีกลาง
ค. ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กระทรวงการคลัง
ง. ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
หมวด 3 ข้อ 101)

31. ข้อมูลใดดังต่อไปนี้ หน่วยงานของรัฐต้องเปิดเผยและเผยแพร่


ก. ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ข. แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ค. สาระสำคัญของสัญญา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11 ,66 และ 98,
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค.0433.2/ว206 ลง 1 พ.ค.62)

32. ข้อใดไม่ได้อยู่ในรายงานขอซื้อขอจ้าง
ก. ราคากลางของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง
ข. กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้นหรือให้งานนั้นแล้วเสร็จ
ค. ความเป็นมาที่ต้องซื้อหรือจ้าง
ง. หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 22)

33. ใครเป็นผู้มีสิทธิอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


ก. ผู้ซื้อ/ผู้มาขอรับเอกสาร
ข. ผู้ซึ่งได้ยื่นข้อเสนอเพื่อทำการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกับหน่วยงานของรัฐ
ค. ผู้ที่ได้มีการวิจารณ์ร่างขอบเขตของงาน
ง. หน่วยงานของรัฐ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 114)

34. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ประกอบการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือก
ก. ต้นทุนของพัสดุนั้นตลอดอายุการใช้งาน
ข. บริการหลังการขาย
ค. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ
ง. คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 65)
35. กรณีใดที่หน่วยงานของรัฐไม่ต้องจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี เพื่อประกาศเผยแพร่ในระบบ
เครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
ก. กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน หรือเป็นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ
ข. กรณี ที่ มี ว งเงิน ในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ างตามที่ ก ำหนดในกฎกระทรวงหรือ มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งใช้ พั ส ดุ
โดยฉุกเฉิน หรือเป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด
ค. กรณีที่เป็นงานจ้างที่ปรึกษาที่มีวงเงินค่าจ้างตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11 (1) – (3))

36. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ หน่วยงานของรัฐต้องเลือกใช้วิธีใดก่อน


ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกวดราคา
ค. วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56)

37. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกรณีตามข้อใดให้ใช้วิธีคัดเลือก
ก. มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้
ข. มีความจำเป็นต้องใช้พัสดุนั้นโดยฉุกเฉิน เนื่องจากเกิดอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติ
ค. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ
ง. เชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่คุณสมบัติตรวจตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดให้เข้ายื่นเสนอ
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56(1) (ค))

38. กฎกระทรวงได้กำหนดวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ไว้ตามข้อใด


ก. วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท
ข. วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท
ค. วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
ง. วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวง กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ.2560 ข้อ 1)

39. การจัดซื้อจัดจ้างในกรณีใดหน่วยงานของรัฐอาจจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือ โดยไม่ทำตามแบบสัญญาก็ได้


ก. เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ
ข. จัดซื้อจัดจ้างกรณีมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้
ค. เป็นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ
ง. จัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีผู้ประกอบการซึ่งมีคุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 96 (1))

40. การจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินตามข้อใด จะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้ตรวจรับพัสดุก็ได้


ก. วงเงิน 5,000 บาท
ข. วงเงิน 10,000 บาท
ค. วงเงิน 50,000 บาท
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวง กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ.2560 ข้อ 5)

41. วิธีการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือก หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ


ตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่ากี่ราย
ก. อย่างน้อย 1 ราย
ข. ไม่น้อยกว่า 2 ราย
ค. ไม่น้อยกว่า 3 ราย
ง. ไม่น้อยกว่า 4 ราย
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 74 (1))

42. ในการซื้อหรือจ้างครั้งเดียวกันห้ามแต่งตั้งผู้ที่เป็นกรรมการชุดใดซ้ำกัน
ก. กรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือกเป็นกรรมการกำหนดราคากลาง
ข. กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์เป็นกรรมการกำหนดราคากลาง
ค. กรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ
ง. กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์เป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 26 วรรค 3)

43. ข้อใดมิใช่ความหมายของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ก. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง ผู้พิพากษา
ข. ราชการส่วนกลาง หมายถึง อธิบดี
ค. ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึง ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 4)

44. ข ้ อ ใ ด ไ ม ่ ใ ช ่ ห ล ั ก ป ร ะ ก ั น ส ั ญ ญ า ต า ม ร ะ เ บี ย บ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง
ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ก. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และ
ประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. พันธบัตรรัฐบาลไทย
ค. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ
ง. เช็คที่ผู้เสนอราคาสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระแก่เจ้าหนี้ ซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นไม่เกิน
3 วันทำการ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๖๗)

45. การประชุมของคณะกรรมการแต่ละคณะต้องมีองค์ประชุมอย่างไร
ก. ต้องมีกรรมการมาประชุมจำนวนหนึ่งในสาม
ข. ต้องมีกรรมการมาประชุมจำนวนกี่คนก็ได้
ค. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. ๒๕๖0
ข้อ ๒๗)

46. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการจัดซื้อจัดจ้าง
ก. การซื้อ
ข. การจ้าง
ค. การเช่าซื้อ
ง. การแลกเปลี่ยน
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๔)

47. คณะกรรมการราคากลางต้องพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลางอย่างน้อยปีละ
กี่ครั้ง
ก. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ข. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ค. อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
ง. อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๓๕)

48. การจัดซื้อจัดจ้างประเภทงานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงานก่อสร้าง กำหนดการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีใด


ก. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปิดประกาศ
ข. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดสรร วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีประกวดแบบ
ค. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีปิดประกาศ
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีประกวดแบบ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๗๙)

49. การกระทำอันมีลักษณะเป็น “การทิ้งงาน” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร


พัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อใดถูกต้อง
ก. เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกแล้วไม่ไปทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐภายในเวลาที่กำหนด
ข. ผู้ยื่นข้อเสนอกระทำการอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
ค. ผู้ให้บ ริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรั ฐ
อย่างร้ายแรง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๑๐๙)

50. ก ร ณี ที่ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ไ ม่ ไ ด้ ท ำ สั ญ ญ า ต า ม แ บ บ สั ญ ญ า
ไม่แก้ไขสัญญาตามความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดหรือไม่ตกลงหรือยินยอมให้แก้ไขสัญญาตามความเห็น
ข อ ง ส ำ นั ก ง า น อั ย ก า ร สู ง สุ ด
หากข้อสัญญาที่แตกต่างจากแบบสัญญาหรือสัญญาที่ไม่แก้ไขตามความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วน
ทีเ่ ป็นสาระสำคัญหรือ เป็นกรณีผิดพลาดอย่างร้ายแรง สัญญานั้นมีผลเป็นอย่างไร

ก. โมฆียะ
ข. สมบูรณ์
ค. ไม่สมบูรณ์
ง. โมฆะ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93 วรรค 6)

51. หน่วยงานของรัฐใดไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ.2560
ก. องค์กรอิสระ
ข. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ค. องค์การมหาชน
ง. ทุกข้ออยู่ในบังคับกฎหมายนี้
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๔)

52. คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ในงานจ้ างก่ อ สร้า ง โดยปกติ ให้ ต รวจผลงานที่ ผู้ รับ จ้ างส่ งมอบภายใน
ระยะเวลาใดนับแต่วันที่ประธานกรรมการ ได้รับทราบการส่งมอบงาน
ก. ภายใน 3 วัน
ข. ภายใน 3 วันทำการ
ค. ภายใน 5 วัน
ง. ภายใน 5 วันทำการ
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๗๖ (5))

53. กรณีผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุถูกต้อง แต่ไม่ครบจำนวน ให้รีบรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ


ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทราบภายในระยะเวลาใดนับจากวันตรวจพบ
ก. ภายใน 3 วัน
ข. ภายใน 3 วันทำการ
ค. ภายใน 5 วัน
ง. ภายใน 5 วันทำการ
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๗๕ (5))

54. ผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ


พ.ศ.๒๕๖๐ มีหน้าที่จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมทุกกี่วัน
ก. เป็นรายวัน
ข. เป็นราย 3 วัน
ค. เป็นราย 5 วัน
ง. เป็นรายสัปดาห์
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ 178 (3))

55. หน่วยงานใดอาจจัดให้มีระเบียบ ข้อบังคับ


หรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุขึ้นใช้เองทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้
ก. รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน องค์กรอิสระ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
ข. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยธุรการของศาล
ค. รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานของรัฐในต่างประเทศหรือส่วนงานของหน่วยงาน
ของรัฐที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ หรือหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. องค์กรมหาชน องค์กรอิสระ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานในสังกัดรัฐสภาหรือในกำกับของ
รัฐสภาหน่วยงานอิสระของรัฐ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๖ วรรค 2)

56. หน่วยงานของรัฐต้องทำสัญญาตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด โดยต้องได้รับความ


เห็นชอบจากใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. สำนักงานอัยการสูงสุด
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93)

57. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการ


ต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียกับผู้ใด
ก. ผู้ยื่นข้อเสนอ
ข. คู่สัญญาในงานนั้น
ค. ผู้มีอำนาจอนุมัติ
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๑๓)

58. หลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา
ให้กำหนดมูลค่าเป็นจำนวนเต็มในอัตราร้อยละเท่าใดของวงเงินงบประมาณหรือราคาพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างครั้งนั้

ก. ร้อยละ 3
ข. ร้อยละ 5
ค. ร้อยละ 7
ง. ร้อยละ 10
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๖๘)
59. ข้อใดคือความหมายของ “คณะกรรมการวินิจฉัย”
ก. คณะกรรมการวินิจฉัยความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ข. คณะกรรมการวินิจฉัยนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ง. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

60. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
มีกี่คน
ก. ไม่น้อยกว่า 6 คน ไม่เกิน 8 คน
ข. ไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่เกิน 9 คน
ค. ไม่น้อยกว่า 9 คน ไม่เกิน 11 คน
ง. ไม่น้อยกว่า 5 คน ไม่เกิน 7 คน
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 20 (3))

61. ข้อใดคือความหมายของ “คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์”


ก. คณะกรรมการวินิจฉัยการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ข. คณะกรรมการพิจารณานโยบายการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ค. คณะกรรมการความร่วมมือการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ง. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

62. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างอาจกระทำได้โดยวิธีใด
ก. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
ข. วิธีคัดเลือก
ค. วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 79)

63. ข้อใดไม่เป็น “การจัดซื้อจัดจ้าง” เพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุ


ก. งานบริการ
ข. จ้าง
ค. เช่า
ง. แลกเปลี่ยน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

64. ข้ อ ใดคื อ ความหมายของ “เจ้ าหน้ า ที่ ” ตาม พ.ร.บ. การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งและการบริห ารพั ส ดุ ภ าครั ฐ
พ.ศ. 2560
ก. ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
ข. ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้มีอำนาจให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุของ
หน่วยงานของรัฐ
ค. ถูกเฉพาะข้อ ข
ง. ถูกข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

6 5 . ร า ค า ก ล า ง คื อ
ราคาเพื่ อใช้เป็ น ฐานสำหรับ เปรีย บเทีย บราคาที่ผู้ ยื่นข้อเสนอได้ยื่นเสนอไว้ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริง
โดยพิจารณาข้อใดเป็นลำดับแรก
ก. ราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลาสองปีงบประมาณ
ข. ราคาที่ได้มาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด
ค. ราคาที่ได้มาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทำ
ง. ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

66.
หน่วยงานใดมีหน้าทีจ่ ัดทำแนวทางปฏิบัติในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้าภาครัฐด้วย
อิเล็กทรอนิกส์
ก. สำนักงบประมาณ
ข. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. กระทรวงการคลัง
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 10)

67. คณะกรรมการชุดใด มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่


ก. คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ข. คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ค. ค.ป.ท.
ง. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 24 (5))

68. ห้ามมิให้กำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เว้นแต่เหตุผลข้อใด


ก. มียี่ห้อเดียว
ข. ยี่ห้อนั้นมีคุณภาพดีเป็นที่ยอมรับ
ค. ยี่ห้อนั้นราคาถูก
ง. ยี่ห้อนั้นสะดวกในการใช้งาน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 9)

69. ให้ ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ ยื่ นอุทธรณ์ต่อหน่ วยงานของรัฐภายในกี่วัน นับแต่วัน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง


ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
ก. 5 วันทำการ
ข. 6 วันทำการ
ค. 7 วันทำการ
ง. 10 วันทำการ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 117)

70. เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณาอุทธรณ์ไม่แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน


หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในเวลาที่กำหนดต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 1 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
ข. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
ค. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 14 วัน
ง. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 30 วัน
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 119)

71.
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐได้ทำการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดผิดพลาดและไม่มีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้า
งอย่างมีนัยสำคัญ ให้ถือว่าการจัดซื้อจัดจ้างนั้นเป็นอย่างไร
ก. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นย่อมไม่เสียไป
ข. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นเสียไป
ค. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นเป็นโมฆะ
ง. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นผิดระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 14)

72. ข้อใดเป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอด ให้ทราบความชำรุดเสียหายจึงจะประมาณค่าซ่อมได้


ก. เครื่องจักร
ข. เครื่องมือกล
ค. เครื่องยนต์
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56 (1) (ช))

73. งานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก ให้กระทำได้ในกรณีใด


ก. ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ
ข. เป็นงานที่ซับซ้อน
ค. เป็นงานจ้างที่มีที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างนั้นจำนวนจำกัด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 70 (2))

74. กรณีจำเป็นในการจัดซื้อจัดจ้างต้องทำสัญญาเป็นภาษาต่างประเทศ ต้องใช้ภาษาใดในการทำสัญญา


ก. ภาษาจีน
ข. ภาษาอังกฤษ
ค. ภาษาญี่ปุ่น
ง. ภาษาฝรั่งเศส
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93 วรรค 4)

75. การงดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญา หรือการขยายเวลาทำการตามสัญญาหรือข้อตกลง เฉพาะในกรณีใด


ก. เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ
ข. เหตุสุดวิสัย
ค. เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 102)

76. ในกรณี ที่พัส ดุสู ญ ไปไม่ป รากฏตัวผู้รับ ผิ ดหรือมีตัว ผู้รับผิ ดแต่ไม่ส ามารถชดใช้ได้ ให้ จำหน่ายพัส ดุนั้น
เป็นสูญ ตามหลักเกณฑ์ในข้อใด
ก. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท
ข. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท
ค. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,200,000 บาท
ง. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,500,000 บาท
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 217)

77. เมื่อได้รับอนุมัติให้จำหน่ายพัสดุแล้วเจ้าหน้าที่พัสดุต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ให้เจ้าหน้าทีจ่ ำหน่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
ข. ให้เจ้าหน้าทีล่ งจ่ายพัสดุออกจากบัญชีหรือทะเบียนทันที
ค. ให้เจ้าหน้าทีต่ ัดออกจากบัญชีหรือทะเบียน
ง. ให้เจ้าหน้าทีล่ บออกจากบัญชีหรือทะเบียน
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 218)

7 8 .
ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการควบคุมและดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้มีการใช้และการบริหารพัสดุตา
มข้อใด
ก. เหมาะสม
ข. คุ้มค่า
ค. เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐมากที่สุด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 112)

79. ปัจจุบัน ตร. ใช้กฎหมายใดในการปฏิบัติงานด้านพัสดุเป็นหลัก


ก. พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ค. ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 35 (เดิม)
ง. ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 34 (เดิม)
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560)

80. รถยนต์ของ ตร. ระเบียบกำหนดให้ใช้สีใด


ก. สีดำ
ข. สีเลือดหมู
ค. สีขาว
ง. สีบอร์นเงิน
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร. ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ สี ของอาคารสถานีตำรวจ ที่พักสายตรวจ และ
ยานพาหนะหน่วยงานใน ตร. พ.ศ.2556 ข้อ 4 (1) (ก))

81. รถราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท รถประจำตำแหน่ง
ข. 2 ประเภท รถประจำตำแหน่ง และ รถส่วนกลาง
ค. 3 ประเภท รถประจำตำแหน่ง รถส่วนกลาง และ รถอารักขา
ง. 5 ประเภท รถประจำตำแหน่ง รถส่วนกลาง รถรับรอง รถรับรองประจำจังหวัด และ รถอารักขา
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบสำนั กนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ.2523 ข้อ 4 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2530 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2538 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2541 (ฉบับที่
6) พ.ศ.2545)

82. รถส่วนกลางให้เก็บรักษาไว้ที่ใด
ก. คลัง
ข. บ้านพัก
ค. สถานที่ราชการ
ง. บ้านพักส่วนตัว
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ.2523 ข้อ 16)

83. ผู้ทไี่ ม่สามารถมีรถประจำตำแหน่งได้ แต่นำรถส่วนกลางไปใช้เสมือนรถประจำตำแหน่ง


มีหน่วยงานใดชี้ไว้ว่าผู้นั้นกระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. สตง.
ข. ตร.
ค. ปปช.
ง. จต.
(ตอบข้อ ค.) (หนังสือสำนักงาน ป.ป.ช. ที่ ปช 0003/0094 ลง 19 ก.ย.59 เรื่อง ข้อสังเกตการนำ
รถยนต์ส่วนกลางไปใช้เสมือนเป็นรถประจำตำแหน่ง)

84.
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุเฉพาะที่ดินทีเ่ ป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉ
พาะ ให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
(ตอบข้อ ก.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๓๐)

85. กรมธนารักษ์ สามารถเรียกคืนที่ราชพัสดุจากส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ยกเว้นข้อใด


ก. เลิกใช้ที่ราชพัสดุ
ข. ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายในระยะเวลา 3 ปีนับแต่วันที่ทำความตกลงกับกรมธนารักษ์
ค. ครอบครองที่ราชพัสดุโดยไม่ได้รับอนุญาต
ง. ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายในระยะเวลา 5 ปีนับแต่วันที่ทำความตกลงกับกรมธนารักษ์
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๒๒)

8 6 .
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุจากบุคคลที่มิใช่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐต้องเป็นเพื่อให้เกิดประโยชน์แ
ก่ทางราชการโดยต้องคำนึงถึงข้อต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. วัตถุประสงค์ในการจัดหาประโยชน์
ข. ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นนอกเหนือจากค่าเช่าที่จะได้รับ
ค. อัตราเช่าตามปกติในท้องตลาด
ง. มูลค่าอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินที่ตกหรือจะตกเป็นของกระทรวงการคลัง อันเป็นมูลค่า ณ ระยะเวลาเช่า
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๒๗)

87.
การจัดทำรายงานการปกครองดูแลและใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
(แบบ ธร.3801) ต้องรายงานแก่กรมธนารักษ์ภายในเดือนใดของทุกปี
ก. มกราคม
ข. มีนาคม
ค. สิงหาคม
ง. กันยายน
(ตอบข้อ ง.) (หน่วยงานในสังกัด ตร. ทุกหน่วย จะต้องถือปฏิบัติตามหนังสือ ตร. ที่ ๐๕๑๔.๕๑๔/๗๙๓๓
ลง ๑๕ มิ.ย.๒๕๓๘)

88. ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ ต้องเข้าทำประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ขออนุญาตภายในกำหนดเวลาใด


นับแต่วันที่ได้รับอนุญาต
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
(ตอบข้อ ค.) (กฎกระทรวงการใช้ที่ราชพัสดุ พ.ศ.2563 ข้อ 22)
8 9 . ก า ร ส่ ง คื น ที่ ร า ช พั ส ดุ ที่ เ ลิ ก ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์
ต้องส่งคืนให้แก่กรมธนารักษ์ภายในระยะเวลาใดนับแต่วันที่เลิกใช้ประโยชน์นั้น
ก. ภายใน 7 วัน
ข. ภายใน 10 วัน
ค. ภายใน 14 วัน
ง. ภายใน 30 วัน
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์
เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฯ ข้อ 34 วรรคสอง ในกรณี (1)

90. ข้อใดต่อไปนี้ถือว่าเป็นที่ราชพัสดุ ตาม พ.ร.บ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562


ก. อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด
ข. ที่ดินที่ซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน
ค. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
ง. อสังหาริมทรัพย์ขององค์กรมหาชน ซึ่งได้มาโดยการซื้อจากรายได้ขององค์กรมหาชนนั้น
(ตอบข้อ ก.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๖)

91. สิทธิในที่ดิน หมายถึงข้อใด


ก. สิทธิครอบครอง
ข. กรรมสิทธิ์
ค. สิทธิเหนือพื้นดิน
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

92. ที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน หากเจ้าของทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์เป็นระยะเวลาเท่าใด


ที่ดินนั้นอาจกลับคืนมาเป็นของรัฐได้
ก. เกิน 1 ปีติดต่อกัน
ข. เกิน 3 ปีติดต่อกัน
ค. เกิน 5 ปีติดต่อกัน
ง. เกิน 10 ปีติดต่อกัน
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 6)

93. หนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน และใหหมายความรวมถึงโฉนด แผนที่ โฉนดตราจอง


และตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว” คือความหมายของข้อใด
ก. โฉนดแผนที่
ข. โฉนดตราจอง
ค. นส. 3 ก
ง. โฉนดที่ดิน
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

94. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่าที่ดิน ตามประมวลกฎหมายที่ดิน


ก. พื้นที่ดินทั่วไป
ข. คลอง
ค. ที่ชายทะเล
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

95. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของ “อาคารสูง”


ก. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 20.00 เมตรขึ้นไป
ข. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตรขึ้นไป
ค. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 25.00 เมตรขึ้นไป
ง. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 27.00 เมตรขึ้นไป
(ตอบข้อ ข.) (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 มาตรา 4)

96. อาคารประเภทควบคุมการใช้อาคาร คืออาคารประเภทใด


ก. อาคารสำหรับใช้เป็นคลังสินค้า
ข. อาคารสำหรับใช้เป็น โรงแรม อาคารชุด หรือสถานพยาบาล
ค. อาคารสำหรับใช้เพื่อกิจการพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การสาธารณสุขหรือกิจการอื่นๆ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 32)

97. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 20 ห้องนอนในอาคารให้มีความกว้างด้านแคบที่สุดไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
และให้มีพื้นที่ไม่น้อยกว่ากี่ตารางเมตร
ก. 6.00 ตารางเมตร
ข. 8.00 ตารางเมตร
ค. 10.00 ตารางเมตร
ง. 12.00 ตารางเมตร
(ตอบข้อ ข.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 20)

98. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่าเท่าไร
ก. 60 เซนติเมตร
ข. 80 เซนติเมตร
ค. 100 เซนติเมตร
ง. 120 เซนติเมตร
(ตอบข้อ ก.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 29)
99. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
ข้ อ 3 1 ป ระ ตู ห นี ไฟ ต้ อ งท ำด้ ว ย วั ส ดุ ท น ไฟ ต้ อ งมี ค ว าม ก ว้ า งสุ ท ธิ ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า กี่ เซ น ติ เม ต ร
และสูงไม่น้อยกว่ากี่เมตร
ก. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ข. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ค. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 100 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ง. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 120 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
(ตอบข้อ ข.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 31)

100. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6.00 เมตร
ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อยกี่เมตร
ก. 1.00 เมตร
ข. 2.00 เมตร
ค. 3.00 เมตร
ง. 4.00 เมตร
(ตอบข้อ ค.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 41)

......................................................

You might also like