You are on page 1of 107

การจัดซื)อจัดจ้ างและการบริหารพัสดุ

ตามพระราชบัญญัตกิ ารจัดซื1อจัดจ้ างและ


การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
“การจัดซื*อจัดจ้ าง” การดําเนินการเพื+อให้ ได้มาซึ+งพัสดุ

จ้ าง เช่ า แลก
เปลีย' น

ซื#อ นิตกิ รรม


อื)น
“งานก่อสร้าง”
งาน เช่น อาคารทีท, ําการ
ก่อสร้าง โรงพยาบาล โรงเรียน
อาคาร สนามกีฬา เสาธง รั:ว ฯ

ประปา ไฟฟ้า สือ, สาร


โทรคมนาคม การระบาย
นํ:า การขนส่งทางท่อ ทาง สาธารณู
นํ:า
ทางบก ทางอากาศ ทาง ปโภค
ราง

การ
ซ่ อมแซม
ต่อเติม
ปรับปรุง
รื7 อถอน ฯ
(พ.ร.บ. มาตรา *)
o ซ้อมความเข้าใจ
ความหมาย “งานก่อสร้าง”

4
o ซ้อมความเข้าใจความหมาย “งานก่อสร้าง” (ต่อ)

5
o ซ้อมความเข้าใจความหมาย “งานก่อสร้าง” (ต่อ)

6
ขั1นตอนการดําเนินการจัดซื1อจัดจ้ าง
7
ขั#นตอนที) 1
การจัดทําแผน
การจัดซื.อจัดจ้ างประจําปี
การจัดทําแผน
การจัดซื.อจัดจ้ างประจําปี

การจัดทําแผน
การจัดซื1อจัดจ้ างประจําปี

8
มาตรา 11
แผนการจัดซื;อจัดจ้ าง

o ต้ องทํา
o ประกาศในระบบ e - GP และ หน่ วยงานของรัฐ
o ปิ ดประกาศโดยเปิ ดเผย
หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร รายละเอี ย ด และการเปลี6 ย นแปลงแผน ให้ เ ป็ นไป
ตามระเบียบทีร6 ัฐมนตรีกาํ หนด
9
แผนการจัดซืAอจัดจ้ าง
เว้นแต่
+. การซื1 อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก
• กรณีจําเป็ นเร่งด่วนตาม ม.EF(+)(ค)
• กรณีพสั ดุทีใL ช้ในราชการลับตาม ม.EF(+)(ฉ)
Q. การซื1 อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
• กรณีทีมL ีวงเงินในการจัดซื1 อจัดจ้างตามทีกL าํ หนดในกฎกระทรวงตาม ม. EF(Q)(ข)
• กรณีจําเป็ นต้องใช้พสั ดุโดยฉุ กเฉินตาม ม.EF(Q)(ง)
• กรณีเป็ นพัสดุทีจL ะขายทอดตลาดตาม ม.EF(Q)(ฉ)
U. งานจ้างทีปL รึกษาโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
• กรณีทีมL ีวงเงินค่าจ้างตามทีกL าํ หนดในกฎกระทรวงตาม ม.XY(U)(ข)
• กรณีจําเป็ นเร่งด่วนหรือเกียL วกับความมันคงของชาติ
L ตาม ม.XY(U)(ฉ)
Z. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
• กรณีทีมL ีความจํ าเป็ นเร่งด่วนหรือเกียL วกับความมันคงของชาติ
L ตาม ม.\Q(U)
ขั#นตอนที) 2
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

การจัดทํา
รายงานขอซื1อหรื อขอจ้ าง

11
รายงานขอซื/อ หรื อขอจ้ าง หรื อขอเช่ าสั งหาริมทรัพย์
ระเบียบฯ ข้ อ 22 อย่ างน้ อยต้ องมีรายการ ดังนี5
1 เหตุผลและความจําเป็ นทีต4 ้ องซื:อหรื อจ้ าง
ขอบเขตของงาน หรื อรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรื อแบบรู ปรายการ
2
งานก่ อสร้ างทีจ4 ะซื:อหรื อจ้ าง แล้ วแต่ กรณี
3 ราคากลางของพัสดุทจี4 ะซื:อหรื อจ้ าง
วงเงินทีจ4 ะซื:อหรื อจ้ าง โดยให้ ระบุวงเงินงบประมาณ ถ้ าไม่ มวี งเงินดังกล่ าวให้ ระบุ
4
วงเงิน ทีป4 ระมาณว่ าจะซื:อหรื อจ้ างในครั:งนั:น
5 กําหนดเวลาทีต4 ้ องการใช้ พสั ดุน:ันหรื อให้ งานนั:นแล้ วเสร็จ

6 วิธีทจี4 ะซื:อหรื อจ้ างและเหตุผลทีต4 ้ องซื:อหรื อจ้ างโดยวิธีน:ัน

7 หลักเกณฑ์ การพิจารณาคัดเลือกข้ อเสนอ


ข้ อเสนออื4นๆ เช่ น การขออนุมตั แิ ต่ งตั:งคณะกรรมการต่ างๆ ทีจ4 าํ เป็ นในการซื:อหรื อจ้ าง
8
การออกประกาศและเอกสารเชิญชวน และหนังสื อเชิญชวน 12
ระเบียบกระทรวงการคลังฯ
ข้ อยกเว้ น ข้ อ 22 วรรคสอง
กรณีไม่ อาจทํารายงานตามปกติได้ ได้ แก่
การซื:อหรื อจ้ างกรณีจาํ เป็ นเร่ งด่ วนอันเนื4องมาจากเกิดเหตุการณ์
1 ทีไ4 ม่ อาจคาดหมายได้ ตามมาตรา 56 วรรคหนึ4ง (1)(ค)

หรื อกรณีมคี วามจําเป็ นต้ องใช้ พสั ดุน:ันโดยฉุกเฉิน


2 ตามความในมาตรา 56 วรรคหนึ4ง (2)(ง)

หรื อกรณีการซื:อหรื อจ้ างทีม4 วี งเงินเล็กน้ อยตามทีก4 าํ หนดในกฎกระทรวง


3 ทีอ4 อกตามความในมาตรา 96 วรรคสอง ซึ4งไม่ อาจทํารายงานตามปกติได้

กฎกระทรวง กําหนดวงเงินเล็กน้ อย ได้ แก่ วงเงินไม่ เกิน 100,000 บาท


ให้ เจ้ าหน้ าที: หรื อผู้ทรี: ับผิดชอบในการปฏิบัตงิ านนั5น
วิธีปฏิบัติ จะทํารายงาน ตามวรรคหนึ:ง
เฉพาะรายการทีเ: ห็นว่ าจําเป็ นก็ได้ 13
วิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56 (2) (ข) : กรณีวงเงินไม่ เกิน 5 แสนบาท
การดํ า เนิ นงานโดยวิ ธ ี ตกลงราคา (2)
ประกอบระเบียบกระทรวงการคลังฯ ข้ อ 79 วรรคสอง
ข้ อยกเว้ น ü กรณีจาํ เป็ นเร่ งด่ วน
ü ไม่ ได้ คาดหมายไว้ ก่อน
ü ดําเนินการตามปกติไม่ ทนั

วิธีการ
Ø เจ้ าหน้ าที) หรื อ ผู้รับผิดชอบดําเนินการไปก่อน
Ø รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ
Ø เมื)อได้ รับความเห็นชอบแล้ ว ให้ ถือว่ ารายงานดังกล่ าวเป็ นหลักฐานการตรวจรับ
14
“ราคากลาง” ราคาเพื'อใช้ เป็ นฐานสําหรับเปรียบเทียบราคาทีผ' ู้ยื'น
ข้ อเสนอได้ ยื'นเสนอไว้ ซึ'งสามารถจัดซืDอจัดจ้ างได้ จริงตามลําดับ ดังต่ อไปนีD
พ.ร.บ.
มาตรา 4 (1) ราคาทีไ4 ด้ มาจากการคํานวณตามหลักเกณฑ์
ทีค4 ณะกรรมการราคากลางกําหนด

(2) ฐานข้ อมูล (3) ราคามาตรฐานของ


ราคาอ้ างอิง สํ านักงบประมาณหรื อ
ของกรมบัญชีกลาง หน่ วยงานอื=น

(5) ราคาทีเ= คยซืAอหรื อจ้ าง


(4) สื บราคา (6) ราคาตามหลักเกณฑ์
ครัAงหลังสุ ดภายใน 2
จากท้ องตลาด อื=นของหน่ วยงานของรัฐ
ปี งบประมาณ

กรณีทมี& ีราคาตาม (1) ให้ ใช้ ราคาตาม (1) ก่ อน / กรณีไม่ มีราคาตาม (1) แต่ มีราคาตาม (2) หรื อ (3)ให้ ใช้ ราคาตาม (2) หรื อ (3) /
กรณีทไี& ม่ มีราคาตาม (1) (2) และ (3) ให้ ใช้ ราคาตาม (4) (5) หรื อ (6)
Ø จะใช้ ราคาใดให้ คาํ นึงถึงประโยชน์ ของหน่ วยงานของรั ฐเป็ นสําคัญ
ü ให้ ประกาศรายละเอียดข้ อมูลราคากลาง และ
การคํานวณราคากลาง
ü ในระบบเครื อข่ ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
ü ตามวิธีการทีก+ รมบัญชีกลางกําหนด

17
พ.ร.บ. การจัดซื/อจัดจ้ างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
มาตรา 63 ภายใต้ บังคับมาตรา 62 ให้ หน่ วยงานของรัฐประกาศรายละเอียดข้ อมูลราคากลางและการคํานวณราคากลาง
ในระบบเครื อข่ ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางตามวิธีการทีก4 รมบัญชีกลางกําหนด
กรมบัญชีกลาง มีหนังสื อแจ้ งเวียนแนวทางปฏิบัตเิ กีย: วกับการเปิ ดเผยราคากลาง
ตามหนังสื อ ด่ วนทีส: ุ ด ที: กค 0433.2/ว 206 ลงวันที: 1 พฤษภาคม 2562
1. งานก่ อสร้ าง
2. การจ้ างควบคุมงาน คู่มือ
แนวทางการประกาศ 3. การจ้ างออกแบบ แนวทางการประกาศ
รายละเอียดข้ อมูลราคากลาง 4. การจ้ างทีป9 รึกษา รายละเอียดข้ อมูลราคากลางและการคํานวณ
และการคํานวณราคากลางเกีย9 วกับ 6. การจ้ างพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ราคากลางเกีย9 วกับการจัดซื?อจัดจ้ าง
การจัดซื?อจัดจ้ าง 7. การจัดซื?อจัดจ้ างทีม9 ใิ ช่ งานก่ อสร้ าง ของหน่ วยงานของรัฐ

ของหน่ วยงานของรัฐ ** ให้ ประกาศในการจัดซื?อจัดจ้ างทีม9 ี


วงเงินเกินกว่ า 5 แสนบาท ขึน? ไป
กรมบัญชีกลาง
กองระบบการจัดซื2อจัดจ้ างภาครัฐและราคากลาง (กจร.)
เดือนพฤษภาคม 2562

18
มาตรา
61

ผู้มอี าํ นาจจะแต่ งตัJงคณะกรรมการ หรื อ เจ้ าหน้ าทีค' นใดคนหนึ'งก็ได้

องค์ ป ระกอบและองค์ ป ระชุ ม


ของคณะกรรมการ และหน้ าที'
ผู้ รั บ ผิด ชอบการจั ด ซืJ อ จั ด จ้ า ง
ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ
ทีร' ัฐมนตรีกาํ หนด

ค่ าตอบแทน ให้ เป็ นไปตามทีกI ระทรวงการคลังกําหนด


20
การแต่ งตั;งคณะกรรมการซื;อหรื อจ้ าง
Ø ระเบียบฯ ข้ อ 25 การซื0อหรื อจ้ างแต่ ละครั0ง ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ แต่ งตั/ง “คณะกรรมการซื/ อหรื อจ้ าง”
เพื?อปฏิบัตกิ ารตามระเบียบนี0 พร้ อมกับกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาของคณะกรรมการ แล้ วแต่ กรณี คือ
(1) คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
(2) คณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคา
(3) คณะกรรมการซื5อหรื อจ้ างโดยวิธีคดั เลือก
(4) คณะกรรมการซื5อหรื อจ้ างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
(5) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ให้ คณะกรรมการซื5อหรื อจ้ างแต่ ละคณะ
การรายงานผล รายงานผลการพิจารณาต่ อหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ
ของ ภายในระยะเวลาทีก: าํ หนด
คณะกรรมการ ถ้ ามีเหตุทที: าํ ให้ การรายงานล่ าช้ า ให้ เสนอหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ
พิจารณาขยายเวลาให้ ตามความจําเป็ น 21
ข้ อ 26 องค์ ประกอบของคณะกรรมการ
แต่ ง ตั: ง จาก ข้ า ราชการ ลู ก จ้ า งประจํ า พนั ก งาน
คณะกรรมการตามข้ อ 25
ราชการ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย พนั ก งานของรั ฐ
แต่ ละคณะประกอบด้ วย หรื อพนั กงานของหน่ วยงานของรั ฐ ที4เรี ยกชื4 ออย่ างอื4 น
ประธานกรรมการ 1 คน และ โดยให้ คํ า นึ ง ถึ ง ลั ก ษณะหน้ า ที4 แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ
กรรมการอย่ างน้ อย 2 คน ของผู้ทไี4 ด้ รับแต่ งตั:งเป็ นสํ าคัญ

ในกรณีจาํ เป็ นหรื อเพื4อประโยชน์ ของ จํานวนกรรมการทีเ4 ป็ นบุคคลอื4น


หน่ วยงานของรัฐจะแต่ งตั:งบุคคลอื4น เงื:อนไข จะต้ องไม่ มากกว่ าจํานวนกรรมการ
ร่ วมเป็ นกรรมการ ด้ วยก็ได้ ตามวรรคหนึ4ง

คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ ควรแต่ งตั:งผู้ชํานาญการหรื อผู้ทรงคุณวุฒิ


เงื:อนไข เกีย4 วกับงานซื:อ หรื อจ้ างนั:นๆ
ทีจ: ะแต่ งตั5ง ทุกคณะ เข้ าร่ วมเป็ นกรรมการด้ วย
22
ระเบียบฯ
ข้ อ 26
ข้ อห้ ามในการแต่ งตั0งคณะกรรมการ
วรรคสาม

o การซืJอหรื อจ้ างครัJงเดียวกัน


o ห้ ามแต่ งตัJง กรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
กรรมการซืJอหรื อ
กรรมการ จ้ างโดยวิธี ข้ อสั งเกต
พิจารณาผลการ คั
ด เลื อ ก
• วิธีเฉพาะเจาะจง
กรรมการพิจารณาผล สอบราคา • การจ้ างทีป: รึกษา
การประกวดราคา • การจ้ างออกแบบหรื อควบคุมงาน
• ไม่ มขี ้ อห้ าม
อิเล็กทรอนิกส์ 23
ระเบียบฯ ระเบียบฯ
ข้ อ 27 ข้ อ 107

ระเบียบฯ
o ให้ ประธานและกรรมการ ข้ อ 143
กรรมการต้ องมาประชุมไม่ น้อยกว่ า ออกเสี ยงคนละหนึ4งเสี ยง
กึง: หนึ:ง ของจํานวนกรรมการทั5งหมด o มติกรรมการให้ ถือเสี ยงข้ างมาก เว้ นแต่
o คกก.ตรวจรับพัสดุ ให้ ถือมติเอกฉันท์

ประธานต้ องอยู่ในทีป: ระชุม o หากไม่ สามารถปฏิบัตหิ น้ าทีไ? ด้


ด้ วยทุกครั5ง o ให้ แต่ งตั0งประธานกรรมการคนใหม่

o กรรมการคนใดคณะใดไม่ เห็นด้ วย - ให้ ทาํ ความเห็นแย้ งไว้ 24


ระเบียบฯ
ระเบียบฯ
ข้ อ 107
ข้ อ 27
ระเบียบฯ
ข้ อ 143
ประธานกรรมการและกรรมการ
จัดซื0อจัดจ้ างในการซื0อหรื อจ้ างครั0งนั0น

การมีส่วนได้ เสี ยในเรื? องซึ?งทีป? ระชุม o ให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่ าด้ วยวิธีปฏิบัติ
พิจารณาของประธานกรรมการ ราชการทางปกครอง
และ กรรมการ
o ให้ ประธานหรื อกรรมการผู้น0ัน
หากประธานหรื อกรรมการทราบว่ า oลาออกจากการเป็ นประธานหรื อ
ตนเป็ นผู้มสี ่ วนได้ เสี ยกับผู้ยื?นข้ อเสนอ กรรมการ ในคณะกรรมการ
หรื อคู่สัญญาในการซื0อหรื อจ้ างครั0งนั0น ทีต? นทีไ? ด้ รับการแต่ งตั0งนั0น
Ø และให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐแต่ งตั3งผู้อื7นเพือ7 ปฏิบัติหน้ าทีแ7 ทน 25
พ.ร.บ.
มาตรา
13
ให้ เป็ นไปตาม พ.ร.บ. วิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 13
ระเบียบฯ
เป็ นคู่กรณีเอง ข้อ 27
วรรคสาม
เป็ นคู่หมั:น หรื อคู่สมรสของคู่กรณีเอง

เป็ นญาติของคู่กรณีเอง คือ บุพการี หรื อผู้สืบสั นดานไม่ ว่าชั:นใดๆ หรื อเป็ นพีน4 ้ องหรื อลูกพีล4 ูกน้ องนับได้ เพียงภายใน
3 ชั:น หรื อเป็ นญาติเกีย4 วพันกันทางแต่ งงานนับได้ เพียง 2 ชั:น

เป็ นหรื อเคยเป็ น ผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้พทิ กั ษ์ /ผู้แทนหรื อตัวแทนของคู่กรณี

เป็ นเจ้ าหนี: หรื อ ลูกหนี: หรื อนายจ้ างของคู่กรณี

กรณีอื4นตามทีก4 าํ หนดในกฎกระทรวง 26
ขั#นตอนที) 3
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

กระบวนการจัดซื1อจัดจ้ างแต่ ละวิธี

27
วิธีการจัดซื*อจัดจ้ าง
เชิญชวนให้ ผู้ประกอบการ
เชิ ญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที>มี ทั> ว ไป ที> มี คุ ณ สมบั ติ ต รง
คุ ณ สมบั ติต รงตามที>กํา หนด ซึ> ง ตามเงื> อนไขที>กําหนดเข้ า
ต้ องไม่ น้อยกว่ า 3 ราย ให้ เข้ ายื> น
วิธีประกาศ ยื>นข้ อเสนอ (ม.55(1))
ข้ อเสนอ เว้ นแต่ มีผู้ประกอบการ เชิญชวนทัว? ไป
ที> มี คุ ณ สมบั ติ ต รงตามกํ า หนด
น้ อยกว่ า 3 ราย (ม.55(2))

วิธีคดั เลือก
หน่ วยงานภาครั ฐเชิ ญชวน
ผู้ประกอบการที>มีคุณสมบัติตรง
วิธีเฉพาะ ตามที> กํ า หนดรายใดรายหนึ> ง
ให้ เข้ ายื>นข้ อเสนอหรื อให้ เข้ ามา
เจาะจง เจรจาต่ อรองราคากับหน่ วยงาน
ของรัฐโดยตรง (ม.55(3))
ข้อ 56 ให้หน่วยงานของรัฐเลือกใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว? ไปก่อน
เว้นแต่.........

o วิธีประกาศเชิญชวนทัว1 ไป สามารถกระทําได้ 3 วิธี ตามระเบียบฯ ข้อ AB


3.วิธีสอบราคา
1.วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ จัดหาพัสดุวงเงิน
2.วิธีประกวดราคา
(Electronic Market : เกิน 500,000 บาทขึU นไป
อิเล็กทรอนิกส์
e-Market) แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้
(Electronic Bidding :
ได้แก่ การจัดหาพัสดุวงเงิน กระทําได้เฉพาะกรณีหน่วยงาน
e-Bidding)
เกิน 500,000 บาทขึU นไปทีW ของรัฐมีทีตW U งั อยู่ในพืU นทีมW ี
ได้แก่ จัดหาพัสดุวงเงิน
เป็ นสินค้าไม่ซบั ซ้อน มี ข้อจํ ากัดในการใช้สญ ั ญาณ
เกิน 500,000 บาทขึU นไป
มาตรฐานซึWงได้กาํ หนด อินเตอร์เน็ตทําให้ไม่สามารถ
เป็ นสินค้าทีไW ม่ได้กาํ หนดไว้ใน
ประเภทสินค้าไว้ใน e- ดําเนินการด้วยวิธี
e-Catalog
Catalog e-Market/ e-Bidding โดยให้
ชีU แจงเหตุผลความจํ าเป็ นไว้ดว้ ย 30
30
ขั0นตอน & ระยะเวลา e-bidding
• นําตัวอย่ างพัสดุ
• การเผยแพร่ ร่างประกาศ ฯ • การเผยแพร่ ประกาศและเอกสาร มาแสดงเพื9อทดลอง/ • การพิจารณาผล
เพื>อรับฟังความคิดเห็น • หัวหน้ าหน่ วยงาน
• การขอรับหรื อซื?อเอกสาร การเสนอ ทดสอบ/นําเสนองาน
ให้ ความเห็นชอบ
จากผู้ประกอบการ ราคา • ยื9นเอกสารทีม9 ี • ผู้มอี าํ นาจอนุมตั ิ
•การสอบถามรายละเอียด ปริมาณมาก สั@ งซืCอ/สั@ งจ้ าง
• ระยะเวลาสอบถาม
ไม่ น้อยกว่ า 3 วันทําการ ตามความเหมาะสม • ภายในเวลา • วันใดวันหนึ9ง • การพิจารณาผล
• หน่ วยงานชีCแจงก่ อนถึง ทีก9 าํ หนด ภายใน 5 วันทํา เป็ นไปตาม
• เกิน 5 ล้ านบาท ต้ อง วันเสนอราคาไม่ น้อยกว่ า • โดยสามารถ การ นับถัดจาก ระยะเวลาทีก@ าํ หนด
3 วันทําการ ไว้ ในคําสั@ งแต่ งตัCง
ดําเนินการ เสนอราคา วันเสนอราคา • การให้ ความ
• เกิน 5 แสนบาท แต่ ไม่ เกิน 5 ล้ านบาท ได้ เพียงครั?ง
• ไม่ เกิน 5 ล้ านบาท • เว้ นแต่ ไม่ อาจ เห็นชอบรายงานผล
เป็ นดุลพินิจ ≥ 5 วันทําการ เดียว ดําเนินการวันใด ฯ และการอนุมตั ิ
วันหนึ9งได้ ให้ กาํ หนด สั@ งซืCอ/สั@ งจ้ าง เป็ นไป
• เกิน 5 ล้ านบาท แต่ ไม่ เกิน 10 ล้ านบาท ตามข้ อเท็จจริง
มากกว่ า 1 วันได้ แต่
≥ 10 วันทําการ จํานวนวันดังกล่ าว
ต้ องไม่ เกิน
• เกิน 10 ล้ านบาท แต่ ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท
5 วันทําการ นับถัด
≥ 12 วันทําการ จากวันเสนอราคา
• เกิน 50 ล้ านบาท ขึน? ไป
≥ 20 วันทําการ
32
วิธีการจัดซื;อจัดจ้ าง
โดยวิธีคดั เลือก ตามมาตรา 56 วรรคหนึ+ง (1)
มาตรา 56 การจัดซื5อจัดจ้ างพัสดุ ให้ หน่ วยงานของรัฐเลือกใช้ วธิ ีประกาศเชิญชวนทัว: ไปก่ อน
เว้ นแต่ วงเล็บ (1) กรณีดงั ต่ อไปนี5 ให้ ใช้ วธิ ีคดั เลือก
(ก) ใช้ วธิ ีประกาศเชิญชวนทัว4 ไปแล้ ว ไม่ มผี ู้ยื4นข้ อเสนอ หรื อข้ อเสนอไม่ ได้ รับการคัดเลือก
(ข) พัสดุที4มีคุณลักษณะเฉพาะเป็ นพิเศษหรื อซับซ้ อน หรื อต้ องผลิต ก่ อสร้ าง หรื อให้ บริการโดยผู้ประกอบการที4มีฝีมือโดยเฉพาะ หรื อมี
ความชํานาญเป็ นพิเศษ หรื อมีทกั ษะสู งและผู้ประกอบการมีจาํ นวนจํากัด
(ค) มีความจําเป็ นเร่ งด่ วน อันเนื4องมาจากเกิดเหตุการณ์ ที4 ไม่ อาจคาดหมายได้
(ง) ลักษณะของการใช้ งาน หรื อมีข้อจํากัดทางเทคนิคทีจ4 าํ เป็ นต้ องระบุยหี4 ้ อเป็ นการเฉพาะ
(จ) ต้ องซื:อโดยตรงจากต่ างประเทศ หรื อดําเนินการโดยผ่ านองค์ การระหว่ างประเทศ
(ฉ) ใช้ ในราชการลับ หรื อเป็ นงานทีต4 ้ องปกปิ ดเป็ นความลับของทางราชการ หรื อเกีย4 วกับความมัน4 คงของประเทศ
(ช) งานจ้ างซ่ อมพัสดุทจี4 าํ เป็ นถอดตรวจให้ ทราบความชํารุดเสี ยหายเสี ยก่ อน จึงจะประมาณค่ าซ่ อมได้
(ซ) กรณีอื4นทีก4 าํ หนดในกฎกระทรวง
วิธีคดั เลือก
วิธีคดั เลือก
วิธีคดั เลือก
วิธีคดั เลือก
วิธีการจัดซื;อจัดจ้ าง
โดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามมาตรา 56 วรรคหนึ+ง (2)
มาตรา 56 การจัดซื5อจัดจ้ างพัสดุ ให้ หน่ วยงานของรัฐเลือกใช้ วธิ ีประกาศเชิญชวนทัว: ไปก่ อน
เว้ นแต่ วงเล็บ (2) กรณีดงั ต่ อไปนี: ให้ ใช้ วธิ ีเฉพาะเจาะจง
(ก) ใช้ ท7งั วิธีประกาศเชิญชวนทัว? ไปและวิธีคดั เลือก หรื อใช้ วธิ ีคดั เลือกแล้ ว แต่ ไม่ มผี ู้ยื?นข้ อเสนอ หรื อข้ อเสนอไม่ ได้ รับการคัดเลือก
(ข) การจัดซื7อจัดจ้ างพัสดุทกี? ารผลิต จําหน่ าย หรื อให้ บริการทัว? ไป และมีวงเงินในการจัดซื7อจัดจ้ างครั7งหนึ?งไม่ เกินวงเงินตามทีก? าํ หนดในกฎกระทรวง
(ค) มีผู้ประกอบการที?มีคุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว หรื อผู้ประกอบการซึ?งเป็ นตัวแทนจําหน่ ายหรื อตัวแทนผู้ให้ บริการโดยชอบด้ วยกฎหมายเพียง
รายเดียวในประเทศ และไม่ มพี สั ดุอื?นทีจ? ะใช้ ทดแทนได้
(ง) มีความจําเป็ นต้ องใช้ พสั ดุโดยฉุกเฉินเนื?องจากอุบัติภัยหรื อธรรมชาติพบิ ัติภัยและการจัดซื7อจัดจ้ างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั?วไปหรื อวิธีคดั เลือกอาจ
ก่ อให้ เกิดความล่ าช้ าและอาจทําให้ เกิดความเสี ยหายร้ ายแรง
(จ) เป็ นพัสดุที?เกี?ยวพันกับพัสดุที?ได้ จัดซื7 อจัดจ้ างไว้ ก่อนแล้ ว และมีความจําเป็ นต้ องจัดซื7 อจัดจ้ างเพิ?มเติมโดยมูลค่ าของพัสดุที?จัดซื7 อจัดจ้ างเพิ?มเติม
จะต้ องไม่ สูงกว่ าพัสดุทไี? ด้ จดั ซื7อจัดจ้ างไว้ ก่อนแล้ ว
(ฉ) เป็ นพัสดุทจี? ะขายทอดตลาด โดยหน่ วยงานของรัฐ องค์ การระหว่ างประเทศ หรื อหน่ วยงานของต่ างประเทศ
(ช) ทีด? นิ และสิ? งก่ อสร้ าง
(ซ) กรณีอื?นทีก? าํ หนดในกฎกระทรวง
เงือนไขวิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปฏิบัติ
พ.ร.บ. มาตรา 56(2) ระเบียบกระทรวงการคลังฯ ข้ อ 78
เมื?อหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐให้ ความเห็นชอบรายงานขอซื0อขอจ้ างตามข้ อ 22 แล้ ว
ให้ คณะกรรมการซื0อหรื อจ้ างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ดําเนินการดังต่ อไปนี0

(1) จัดทําหนังสื อเชิ ญชวนผู้ประกอบการที?มีคุณสมบัติตรงตามเงื?อนไขที?หน่ วยงานของ


รั ฐ กํา หนดรายใดรายหนึ? ง ให้ เ ข้ า ยื? น ข้ อ เสนอหรื อ ให้ เ ข้ า มาเจรจาต่ อ รองราคา โดยให้
ดําเนินการดังต่ อไปนี0
(ก) ใช้ ท0ังวิธีประกาศเชิ ญชวนทั?วไป (ก) กรณีตามมาตรา 56 วรรคหนึ?ง (2) (ก)
และวิ ธี คั ด เลื อ ก หรื อ ใช้ วิ ธี คั ด เลื อ ก - ให้ เชิญผู้ประกอบการที?มีอาชีพขายหรื อรับจ้ างนั0นโดยตรงหรื อจาก ผู้ยื?นข้ อเสนอในการ
แล้ ว แต่ ไม่ มี ผู้ ยื? นข้ อเสนอ หรื อ ซื0อหรื อจ้ างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั?วไปหรื อวิธีคดั เลือกซึ?งถูกยกเลิกไป (ถ้ ามี) ให้ มายื?น
ข้ อเสนอไม่ ได้ รับการคัดเลือก เสนอราคา
- ทั0งนี0 หากเห็นว่ าผู้ประกอบการรายทีเ? ห็นสมควรซื0อหรื อจ้ างเสนอราคาสู งกว่ าราคาใน
ท้ องตลาด หรื อราคาทีป? ระมาณได้ หรื อราคาทีค? ณะกรรมการเห็นสมควร ให้ ต่อรองราคา
ลงเท่ าทีจ? ะทําได้
เงือนไขวิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปฏิบัติ
พ.ร.บ. มาตรา 56(2) ระเบียบกระทรวงการคลังฯ ข้ อ 78
(ค) มีผู้ประกอบการที?มีคุณสมบัติโดยตรงเพียง
รายเดี ย ว หรื อ ผู้ ป ระกอบการ ซึ? ง เป็ นตั ว แทน
จํ า หน่ า ยหรื อ ตั ว แทนผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารโดยชอบด้ ว ย
กฎหมายเพียงรายเดียวในประเทศ และไม่ มีพสั ดุ
(ข) กรณีตามมาตรา 56 วรรคหนึ:ง (2) (ค) (ง)
อื?นทีจ? ะใช้ ทดแทนได้
-ให้ เชิ ญผู้ประกอบการที:มีอาชี พขายหรื อรั บจ้ างนั5นโดยตรงมายื: นเสนอ
ราคา
(ง) มี ค วามจํ า เป็ นต้ องใช้ พั ส ดุ โ ดยฉุ กเฉิ น - หากเห็ น ว่ า ราคาที: เ สนอนั5 น ยั ง สู ง กว่ า ราคาในท้ อ งถิ: น หรื อ ราคาที:
เนื? องจากเกิดอุบัติภัยหรื อภัยธรรมชาติ และการ ประมาณได้ หรื อราคาที:คณะกรรมการเห็ นสมควร ให้ ต่อรองราคาลง
จัดซื0 อจัดจ้ างโดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทั?วไปหรื อ เท่ าที: จะทําได้
วิธีคดั เลือกอาจก่ อให้ เกิดความล่ าช้ าและอาจทําให้
เกิดความเสี ยหายร้ ายแรง
เงือนไขวิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปฏิบัติ
พ.ร.บ. มาตรา 56(2) ระเบียบกระทรวงการคลังฯ ข้ อ 78
(จ) เป็ นพัสดุที4เกีย4 วพันกับพัสดุที4ได้ จัดซื:อจัดจ้ าง (ค) กรณีตามมาตรา 56 วรรคหนึ4ง (2) (จ)
ไว้ ก่อนแล้ ว และมีความจําเป็ นต้ องจัดซื: อจัดจ้ าง -ให้ เจรจากับผู้ประกอบการรายเดิมตามสั ญญาหรื อข้ อตกลงซึ4 งยังไม่ สิ:นสุ ดระยะเวลาส่ ง
เพิ4 ม เติ ม โดยมู ล ค่ าของพั ส ดุ ที4 จั ด ซื: อ จั ด จ้ าง มอบ
เพิ4มเติมจะต้ องไม่ สูงกว่ าพัสดุที4ได้ จัดซื: อจัดจ้ าง - เพื4อขอให้ มีการซื:อหรื อจ้ างตามรายละเอียด และราคาที4ตํ4ากว่ าหรื อราคาเดิมภายใต้ เงื4อนไข
ไว้ ก่อนแล้ ว ที4 ดีก ว่ า หรื อ เงื4 อ นไขเดิม โดยคํา นึ ง ถึ ง ราคาต่ อ หน่ ว ยตามสั ญ ญาเดิม (ถ้ า มี ) เพื4 อ ให้ เ กิด
ประโยชน์ สูงสุ ดต่ อหน่ วยงานของรัฐ

(ฉ) เป็ นพัสดุที4จะขายทอดตลาด โดยหน่ วยงาน (ง) กรณีตามมาตรา 56 วรรคหนึ4ง (2) (ฉ) ให้ ดาํ เนินการโดยวิธีเจรจาตกลงราคา
ของรั ฐ องค์ การระหว่ างประเทศ หรื อหน่ วยงาน
ของต่ างประเทศ

(ช) ที4ดนิ หรื อสิ4 งปลูกสร้ างที4จําเป็ นต้ องซื:อเฉพาะ (จ) กรณีตามมาตรา 56 วรรคหนึ4ง (2) (ช) ให้ เชิญเจ้ าของที4ดินหรื อสิ4 งปลูกสร้ างโดยตรงมา
แห่ ง เสนอราคา หากเห็ น ว่ าราคาที4 เ สนอนั: นยั ง สู งกว่ าราคาในท้ องตลาด หรื อราคาที4
คณะกรรมการเห็นสมควร ให้ ต่อรองราคาลงเท่ าทีจ4 ะทําได้
เงือนไขวิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปฏิบัติ
พ.ร.บ. มาตรา 56(2) ระเบียบกระทรวงการคลังฯ ข้ อ 78

(ซ) กรณีอื'นทีก' าํ หนดใน กฎกระทรวง


กฎกระทรวง กําหนดพัสดุทรี' ัฐต้ องการส่ งเสริมหรื อสนับสนุน
(ฉบับที' ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

(2) จัดทํารายงานผลการพิจารณา โดยให้ นําความในข้ อ 55 (4) มาใช้ บังคับโดยอนุโลม


ขั#นตอนที) 4
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

เสนอผู้มอี าํ นาจอนุมตั ิ
สัK งซื1อหรื อสัK งจ้ างพัสดุ

44
มาตรา 15 ผู้มีอํานาจสั: งซื5 อ หรื อสั: งจ้ างพัสดุโดยวิธีใด
ผู้มอี าํ นาจสัI งซืAอ ตามพระราชบัญญัตินี5 จะเป็ นผู้ดํารงตําแหน่ งใด และภายใน
หรื อสัI งจ้ าง วงเงินเท่ าใด ให้ เป็ นไปตามระเบียบทีร( ั ฐมนตรี กําหนด
หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ ไม่ เกิน 200 ล้ านบาท
วิธีประกาศเชิญชวนทัว: ไป ผู้มอี าํ นาจเหนือขึน0 ไปหนึ3งชั0น เกิน 200 ล้ านบาท
ระเบียบฯ ที:
รมต.กําหนด หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ ไม่ เกิน 100 ล้ านบาท
วิธีคดั เลือก
ในข้ อ 84 , 85 ผู้มอี าํ นาจเหนือขึน7 ไปหนึ?งชั7น เกิน 100 ล้ านบาท
และ 86 หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ ไม่ เกิน 50 ล้ านบาท
วิธีเฉพาะเจาะจง
ผู้มอี าํ นาจเหนือขึน7 ไปหนึ?งชั7น เกิน 50 ล้ านบาท

ข้ อ 87 ผู้มอี าํ นาจเหนือชั:นขึน: ไปอีกหนึ4งชั:นให้ เป็ นไปตามบัญชีแนบท้ ายระเบียบนี:

ข้ อ 88 รั ฐ วิส าหกิจ ใด จะกํา หนดแตกต่ า ง ให้ เ สนอขอความเห็ น ชอบต่ อ คกก.


วินิจฉัย เมื4อได้ รับความเห็นชอบแล้ วให้ รายงาน สตง.ทราบด้ วย 45
ประเภทของผู้มอี าํ นาจเหนือขึน; ไปหนึ+งชั;น
1. ราชการส่ วนกลางทีม4 ฐี านะเทียบเท่ ากรม ปลัดกระทรวง หรื อปลัดทบวง แล้ วแต่ กรณี
ปลัดกระทรวงต้ นสั ง กัดของหน่ ว ยงานของรั ฐ
2. ราชการส่ วนภูมภิ าค
เจ้ าของงบประมาณ
3. ราชการส่ วนท้ องถิน4 ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. รัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ
5. มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ สภามหาวิทยาลัย
6. ส่ วนราชการที4 ขึ: น ตรงต่ อ นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ
หั ว หน้ า หน่ ว ยงานของรั ฐ นั: น เป็ นผู้ ใ ช้ อํ า นาจ
รั ฐมนตรี สํ านั กเลขาธิ การวุฒิสภา สํ านั กเลขาธิ การ
เหนือขึน: ไปหนึ4งชั:น
สภาผู้แทนราษฎร หรื อ กรุงเทพมหานคร
ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ผู้ กํ า กั บ ดู แ ล หรื อผู้ ควบคุ ม
7. กรณีนอกเหนือจากทีก4 าํ หนดไว้ ตาม (1) – (6)
ชั:นเหนือขึน: ไปหนึ4งชั:น แล้ วแต่ กรณี
ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐนั:นเป็ นผู้ใช้ อํานาจ
8. กรณีไม่ มผี ู้บังคับบัญชา ผู้กาํ กับดูแล หรื อผู้ควบคุม
เหนือขึน: ไปหนึ4งชั:นเอง 46
ขั#นตอนที) 5
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

ประกาศผลการจัดซื1อจัดจ้ าง
(ม.66 วรรคหนึKง, ม.77, ม.91)

47
มาตรา 66
การประกาศผลการจัดซื;อจัดจ้ าง

ให้ ประกาศผลผู้ ชนะการจั ด ซื5 อจั ด จ้ างหรื อผู้ ได้ รั บ


การคัดเลือกและเหตุผลสนับสนุน
ในระบบเครื อ ข่ า ยสาระสนเทศของกรมบั ญ ชี ก ลาง และ
หน่ วยงานของรัฐตามวิธีการทีก: รมบัญชีกลางกําหนด และ
ปิ ดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานที: ปิ ดประกาศ
ของหน่ วยงานของรัฐ
ขั#นตอนที) 6
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

การอุทธรณ์
(มาตรา 114 – 119)

49
การอุทธรณ์

มาตรา 66
วรรคสอง
เว้ นแต่

มาตรา 96 วรรค 2
มาตรา 56 (1) (ค)
วงเงินเล็กน้ อย
วิธีคดั เลือก กรณี วิธีเฉพาะเจาะจง
ทีไ) ม่ ต้องทํา
จําเป็ นเร่ งด่ วน
ข้ อตกลง
ผูอ้ ทุ ธรณ์ หน่ วยงานของรัฐ คกก.พิจารณาอุทธรณ์

ผู้ ที? ไ ม่ ได้ ประกาศผลเป็ น วิ นิ จ ฉั ยให้ แล้ วเสร็ จภายใน วิ นิ จ ฉั ย ให้ แล้ วเสร็ จ ภายใน 30 วั น
ผู้ ชนะ ให้ ยื? น อุ ท ธรณ์ ภายใน 7 วั น ทํ า การ นั บ แต่ วั น ที? ไ ด้ รั บ (ไม่ เสร็จ ขยายได้ 2 ครั0งๆ ละไม่ เกิน 15 วัน)
7 วัน ทํ า การ นั บ แต่ วัน ประกาศ อุทธรณ์ •อุทธรณ์ ฟังขึ0นและมีผล อย่ างมีนัยสํ าคัญ
ผลในระบบเครื อข่ ายสารสนเทศ þกรณีเห็นด้ วย : ดําเนินการตาม ให้ ดํ า เนิ น การใหม่ / เริ? ม จากขั0 น ตอนตาม
ของกรมบัญชีกลาง ความเห็นนั0นภายในเวลา ทีเ? ห็นสมควร
(ม.117) þกรณีไม่ เห็นด้ วย : รายงานไปยัง •อุ ท ธรณ์ ฟั ง ไม่ ขึ0 น หรื อไม่ มี ผ ลอย่ างมี
คณะกรรมการพิ จ ารณาอุ ท ธรณ์ นัยสํ าคัญ ให้ ดาํ เนินการต่ อไป
ภายใน 3 วันทําการ •การวินิจฉัยเป็ นทีส? ุ ด
(ม.118) •มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาล
(ม.119)
การอุทธรณ์

ผูซ้ ึ1งได้ยนื1 ข้อเสนอมีสิทธิอทุ ธรณ์


กรณีทีเ1 ห็นว่าหน่วยงานของรัฐ
มิได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการทีก1 าํ หนด
ในพระราชบัญญัตินเป็ ีT นเหตุให้ตน
ไม่ได้รบั การคัดเลือก
(ม.VV*)
ข้ อห้ ามอุทธรณ์ (ม.115)

การเลือกใช้ วธิ ี / เกณฑ์ การพิจารณาผล

การยกเลิกการจัดซืJอจัดจ้ างตามมาตรา 67

การละเว้ นการอ้ างถึง พ.ร.บ. กฎกระทรวง ระเบียบ หรื อประกาศทีอ' อกตาม พ.ร.บ.

กรณีอื'นตามทีก' าํ หนดในกฎกระทรวง
ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง กํ า ห น ด
เ รื) อ ง ก า ร จั ด ซื/ อ จั ด จ้ า ง กั บ
หน่ วยงานของรั ฐที) ใ ช้ สิ ทธิ
อุทธรณ์ ไม่ ได้ พ.ศ. 2560

54
กํ า ห นด เรื) อ งก ารจั ด ซื/ อ จั ด จ้ า งกั บ ห น่ วยงานข อ งรั ฐ
กฎกระทรวง ทีใ) ช้ สิทธิอทุ ธรณ์ ไม่ ได้ พ.ศ. 2560

• อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ:ง และมาตรา 115 (4) แห่ ง พ.ร.บ. การจัดซื5 อจัดจ้ างฯ
• ผู้ ซึ: ง ได้ ยื: น ข้ อ เสนอเพื: อ ทํ า การจั ด ซื5 อ จั ด จ้ างกั บ หน่ วยงานของรั ฐ ไม่ มี สิ ท ธิ อุ ท ธรณ์
ในเรื: องดังต่ อไปนี5
คุ ณ สมบั ติ ข องผู้ ยื: นข้ อเสนอรายอื: นที: เ ข้ าร่ วมการจั ด ซื5 อจั ด จ้ างครั5 งนั5 น
โดยวิธีประกาศเชิญชวนทัว: ไป ด้ วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์
กรณีที:หน่ วยงานของรั ฐเปิ ดโอกาสให้ มีการรั บฟังความคิดเห็นร่ างขอบเขตของงาน
ห รื อ ร า ย ล ะ เ อี ย ด คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ข อ ง พั ส ดุ ก่ อ น จ ะ ทํ า ก า ร จั ด ซื5 อ จั ด จ้ า ง
หากปรากฏว่ าผู้ ประกอบการซึ: ง เป็ นผู้ ยื: น ข้ อเสนอในการจั ด ซื5 อจั ด จ้ างในครั5 งนั5 น
มิไ ด้ วิจ ารณ์ ห รื อเสนอแนะร่ า งขอบเขตของงานฯ ผู้ ยื:นข้ อเสนอรายนั5 นจะอุ ท ธรณ์ ใ นเรื: อง
ขอบเขตของงาน ฯ มิได้ 55
หนังสื อคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื8อจัดจ้ างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด่ วนทีสD ุ ด ทีD กค 0405.2/ว 453 ลว. 28 พ.ย. 60

o เพื?อมิให้ การจัดซื7อจัดจ้ างของ


o มาตรา 114 บั ญ ญั ติ ใ ห้ ผู้ อุ ท ธรณ์ ต้ องเป็ น
ผู้ซึ?งได้ ยื?นข้ อเสนอแล้ วแต่ ไม่ ได้ รับการประกาศผล หน่ วยงานของรัฐล่ าช้ า และเพื?อให้
เป็ นผู้ชนะหรื อไม่ ได้ รับการคัดเลือกเป็ นคู่สัญญา สอดคล้ องกับมาตรา 66 วรรคสอง
o ในกรณี ที? หน่ วยงานได้ ทํ าการจั ดซื7 อจั ดจ้ าง มาตรา o ยกเว้ นการไม่ ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง
โดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทั?วไปหรื อวิธีคัดเลื อกแล้ ว 114 ว่ าด้ ว ยการจั ดซื7 อ จั ดจ้ างและการบริ หารพั สดุ ภาครั ฐ
ปรากฏว่ ามีผู้ยื?นข้ อเสนอเพียงรายเดียว และผ่ านการ พ.ศ. 2560 ข้ อ 161 วรรคสอง
พิจารณาโดยหน่ วยงานของรัฐพิจารณาแล้ วเห็นควร
ใ ห้ ผู้ ยื? น ข้ อ เ ส น อ ร า ย นั7 น เ ข้ า เ ป็ น คู่ สั ญ ญ า o ในกรณี ที? ก ารจั ด ซื7 อ จั ด จ้ า งพั ส ดุ ที? มี ผู้ ยื? น ข้ อ เสนอ
กับหน่ วยงานของรัฐได้ และผ่ านการพิ จารณาเพี ย งรายเดี ย วและเป็ นผู้ ได้ รับ
การคัดเลือกให้ เข้ าเป็ นคู่สัญญากับหน่ วยงานของรัฐแล้ ว
o กรณี จึ ง ไม่ มี ผ้ ู อุ ท ธรณ์ ตามนั ย มาตรา 114
แต่ อย่ างใด o ให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ สามารถลงนามในสั ญ ญาได้
โดยไม่ ต้องรอให้ ล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์
56
เ รื) อ ง ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ก ร ณี
มี ผู้ ยื) น ข้ อ เ ส น อ ร า ย เ ดี ย ว
(ว 453 ลว. 28 พฤศจิกายน 2560)
การยื?นอุทธรณ์
q ทําเป็ นหนังสือลงลายมือชื2อผูอ้ ุทธรณ์
- ใช้ถอ้ ยคําสุภาพ และ
- ระบุขอ้ เท็จจริงและเหตุผลอันเป็ นเหตุแห่งการอุทธรณ์
ให้ชดั เจน พร้อมแนบเอกสารหลักฐาน (ม.OOP)
ยืน# ต่อหน่วยงานของรัฐ
ภายใน 3 วันทําการ
นับแต่วนั ประกาศผล
ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ของกรมบัญชีกลาง (ม.GG3)
59
ขั#นตอนที) 7
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

การทําสั ญญา
มาตรา 93 - 99
ระเบียบฯ ข้ อ 161 - 174
60
การทําสัญญา
เป็ นอํานาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
การลงนาม
จะกระทํ า ได้ต่ อ เมื1อ ล่ ว งพ้น ระยะเวลาอุ ทธรณ์
ในสัญญา และไม่มีผูอ้ ุทธรณ์ ตาม ม.UUV หรือในกรณีที1มี
การอุทธรณ์แต่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
ให้ดาํ เนินการต่อไปได้

เว้นแต่ การจัดซื1 อจัดจ้างที6มีความจํ าเป็ นเร่งด่วนตาม ม.=>(@)(ค)


หรื อวิ ธีเฉพาะเจาะจง หรื อกรณี ที6มีวงเงิ นเล็ กน้อยตามที6 กําหนด
ในกฎกระทรวงทีอ6 อกตาม ม.M> วรรคสอง
o พ.ร.บ. มาตรา WW วรรคสอง
o ระเบียบฯ ข้อ VWV
การทําสัญญา มาตรา
Ø การทําสัญญาต้องทําตามแบบทีค1 ณะกรรมการนโยบายกําหนด 93
โดยได้รบั ความเห็นชอบจากสํานักงานอัยการสูงสุด
Ø จํ าเป็ นต้องมีขอ้ ความหรือรายการแตกต่ างจากแบบที1กําหนด และไม่ทําให้หน่วยงานของรัฐ
เสียเปรียบ ให้กระทําได้ เว้นแต่เห็นว่าจะเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอให้ส่งสํานักงานอัยการสูงสุด
พิจารณาก่อน
Ø ไม่ทําตามแบบและจํ าเป็ นต้องร่างใหม่ ให้ส่งสํานักงานอัยการสูงสุด
พิจารณาก่อนเว้นแต่การทําสัญญาตามแบบทีเ1 คยผ่านการพิจารณาของ
สํานักงานอัยการสูงสุดมาแล้ว
Ø จํ าเป็ นต้องทําเป็ นภาษาต่างประเทศ ให้ทําเป็ น
• ภาษาอังกฤษ และต้องจัดทําสรุปสาระสําคัญเป็ นภาษาไทย
• เว้นแต่ทําสัญญาตามแบบทีค 1 ณะกรรมการนโยบายกําหนด
แบบสัญญาทีค0 ณะกรรมการนโยบายกําหนด
1. สั ญญาจ้ างก่ อสร้ าง 8. สั ญญาจ้ างให้ บริการรักษาความปลอดภัย
2. สั ญญาซื5อขาย 9. สั ญญาแลกเปลีย: น
3. สั ญญาจะซื5อจะขายราคาคงทีไ: ม่ จาํ กัด 10. สั ญญาเช่ ารถยนต์
ปริมาณ 11. สั ญญาเช่ าเครื: องถ่ ายเอกสาร
4. สั ญญาซื5อขายและอนุญาตให้ ใช้ สิทธิ 12. สั ญญาซื5อขายคอมพิวเตอร์
ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
13. สั ญญาจ้ างออกแบบและควบคุมงาน
5. สั ญญาเช่ าคอมพิวเตอร์ ก่ อสร้ าง
6. สั ญญาจ้ างบริการบํารุงรักษา 14. สั ญญาจ้ างผู้เชี:ยวชาญรายบุคคล
และซ่ อมแซมแก้ ไขคอมพิวเตอร์ หรื อจ้ างบริษทั ทีป: รึกษา
7. สั ญญาจ้ างทําความสะอาดอาคาร 15. สั ญญาจ้ างทําของ
มาตร
า [W การทําข้อตกลงเป็ นหนังสือ
o การจัดซื7 อจัดจ้างโดยวิธีคดั เลือก ตาม ม.56(1)(ค)
การจัดซื7 อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตาม ม.KL(M)
(ข)(ง)(ฉ) หรือการจ้างทีปQ รึกษาโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
ตาม ม.TU(V)(ข)
o การจัดซื7 อจัดจ้างจากหน่วยงานภาครัฐ
o คู่สญ
ั ญาส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายใน K วันทําการ ประกาศคณะกรรมการนโยบาย
นับถัดจากวันทําข้อตกลง เรื9 อง การจัดทําข้ อตกลงเป็ นหนังสื อ
o การเช่า ซึQงผูเ้ ช่าไม่ตอ้ งเสียเงินอืQนใดนอกจากค่าเช่า ฉบับที9 2 และ 3
(1) การจัดซื*อโดยตรงจากต่างประเทศ …
o กรณีอืQนทีคQ ณะกรรมการนโยบายกําหนด (2) การเช่าอสังหาริ มทรัพย์…
(3) วิธีคดั เลือก ตาม ม. 56 (1) (ฉ)(ช)
มาตรา 96 วรรคสอง (4) วิธีเฉพาะเจาะจง ตาม ม. 56 (2) (ค) (จ)
ในกรณีที'การจัดซืD อจัดจ้ างวงเงินเล็กน้ อยจะไม่ ทําข้ อตกลง (5) กฎกระทรวงกําหนดกรณี การจัดซื*อจัดจ้าง
พัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2561 ข้อ 2 (5)
เป็ นหนังสื อไว้ ต่อกันก็ได้ แต่ ต้องมีหลักฐานการจัดซืDอจัดจ้ าง
ข้ อ
162 การกําหนดค่ าปรับ
การกําหนดค่ าปรั บในอัตราเท่ าใด จํานวนเงินเท่ าใด ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐคํานึงถึงราคา/ระยะเวลาการใช้ งาน/
ลักษณะพัสดุทอี? าจส่ งผลกระทบต่ อการทีค? ู่สัญญาจะหลีกเลีย? งไม่ ปฏิบัตติ าม สั ญญา หรื อกระทบต่ อการจราจร หรื อความ
เสี ยหายแก่ ประโยชน์ สาธารณะ
งานซื: อหรื องานจ้ างทั4วไป ให้ กําหนดค่ าปรั บเป็ นรายวันในอัตราตายตัวระหว่ างร้ อยละ 0.01 - 0.20
è ของราคาพัสดุทยี4 งั ไม่ ได้ รับมอบ

งานจ้ างที4ต้องการผลสํ าเร็ จของงานทั:งหมดพร้ อมกันให้ กําหนดค่ าปรั บเป็ นรายวัน ในอัตราตายตัว
è ระหว่ างร้ อยละ 0.01-0.10 ของราคาค่ าจ้ างนั:น แต่ ต้องไม่ ตาํ4 กว่ าวันละ 100 บาท

งานก่ อ สร้ างสาธารณู ป โภคที4 มี ผ ลกระทบต่ อ การจราจร อั ต ราร้ อยละ 0.25 ของราคาค่ า จ้ า งนั: น
è แต่ อาจกําหนดขั:นสู งสุ ดของการปรับไว้ กไ็ ด้ ทั:งนี: ตามทีค4 ณะกรรมการนโยบายกําหนด

งานจ้ างที4ปรึกษา หากเห็นว่ า ถ้ าไม่ กาํ หนดค่ าปรับจะเกิดความเสี ยหาย ให้ กาํ หนดเป็ นรายวันให้ กาํ หนด
è ค่ าปรับเป็ นรายวัน เป็ นจํานวนเงินตายตัวระหว่ าง อัตราร้ อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้ างนั:น
ข้ อ
167 หลักประกันสั ญญา
ให้ ใช้ หลักประกันอย่ างหนึ:งอย่ างใด ดังต่ อไปนี5
หนั ง สื อคํ.าประกั น ของบริ ษัท กรณีเป็ นการยื? นข้ อเสนอจาก
เงินสด ต่ างประเทศสํ าหรั บการประกวด
เงินทุนหรื อบริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ที@
เช็คหรื อดราฟท์ที@ธนาคารเซ็ นสั@ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ประกอบกิ จ การ ราคานานาชาติ ใ ห้ ใ ช้ หนั ง สื อ คํ0า
จ่าย ซึ@ งเป็ นเช็คหรื อดราฟท์ลงวันที@ที@ใช้ เงิ นทุนเพื@อการพาณิ ชย์และประกอบ ป ร ะ กั น ข อ ง ธ น า ค า ร ใ น
เช็คหรื อดราฟท์น. ัน ชํา ระต่ อเจ้า หน้า ที@ ธุ ร กิ จ คํ.าประกั น ตามประกาศของ ต่ า งประเทศที? มี ห ลั ก ฐานดี แ ละ
หรื อก่อนวันนั.นไม่เกิน 3 วันทําการ ธนาคารแห่ งประเทศไทย ตามรายชื@ อ หั ว หน้ าหน่ ว ยงานของรั ฐเชื? อถื อ
บริ ษทั เงิ นทุนที@ ธนาคารแห่ งประเทศ เป็ นหลั ก ประกั น สั ญญาได้ อี ก
หนั ง สื อ คํ.า ประกัน ของธนาคาร ไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ ประเภทหนึ?ง
ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ต า ม ตั ว อ ย่ า ง ที@ ใช้ตามตัวอย่างหนังสื อคํ.าประกันของ
คณะกรรมการนโยบายกําหนด โดยอาจ ธนาคารที ค ณะกรรมการนโยบาย
เป็ นหนังสื อคํ.า ประกัน อิ เล็กทรอนิ กส์ กําหนด
ตามวิ ธี ก ารที@ ก รมบัญ ชี ก ลางกํา หนด
ก็ได้ พันธบัตรรัฐบาลไทย 66
ข้อ
168 มูลค่ าหลักประกัน ร้ อยละ 5
หลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสั ญญา ให้ กําหนดมูลค่ าเป็ นจํานวนเต็มในอัตรา
ร้ อยละห้ าของวงเงินงบประมาณหรื อราคาพัสดุที4จัดซื: อจัดจ้ างครั: งนั:น เว้ นแต่ การจัดซื: อจัดจ้ าง
ที4หัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐเห็นว่ ามีความสํ าคัญเป็ นพิเศษจะกําหนดอัตราสู งกว่ าร้ อยละห้ าแต่ ไม่
เกินร้ อยละสิ บก็ได้

o ในกรณีที?หลักประกันต้ องปรั บปรุ งในทางที?เพิ?มขึ7นและคู่ สัญญา


ไม่ นําหลักประกันมาเพิม? ให้ ครบจํานวนภายใน 15 วัน ก่ อนการส่ งมอบ
พัสดุ งวดสุ ดท้ ายของปี นั7 น ให้ หน่ วยงานของรั ฐหั กเงินค่ าพัสดุ งวด
สุ ดท้ ายของปี นั7นที?หน่ วยงานของรั ฐจะต้ องจ่ ายให้ เป็ นหลักประกัน
ในส่ วนทีเ? พิม? ขึน7
o การกําหนดหลักประกันตามวรรคหนึ?ง จะต้ องระบุไว้ เป็ นเงื? อนไข
ในเอกสารเชิญชวนให้ เข้ ายื?น ข้ อเสนอ หรื อในสั ญญาด้ วย
ข้อ
กรณีหน่ วยงานของรัฐเป็ นผู้ยื4นข้ อเสนอหรื อเป็ นคู่สัญญา ไม่ ต้องวางหลักประกัน 169
67
ข้อ
170 การคืนหลักประกันให้ แก่ ผู้ยื)นข้ อเสนอ คู่สัญญา หรื อผู้คาํ/ ประกัน
ให้ หน่ วยงานของรัฐคืนหลักประกันตามหลักเกณฑ์ ดงั นี:
(1) หลักประกันการเสนอราคา
ให้ คืนให้ แก่ ผู้ยื4นข้ อเสนอ หรื อผู้คาํ: ประกันภายใน 15 วัน นับถัดจากวันทีห4 ัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ
ได้ พจิ ารณาเห็นชอบรายงานผลคัดเลือกผู้ชนะการซื:อหรื อจ้ างเรียบร้ อยแล้ ว
เว้ นแต่ ผู้ยนื& ข้ อเสนอรายทีค& ดั เลือกไว้ ซึ&งเสนอราคาตํ&าสุ ดไม่ เกิน 3 ราย ให้ คนื ได้ ต่อเมื&อได้ ทาํ สัญญา
หรื อข้ อตกลง หรื อผู้ยนื& ข้ อเสนอได้ พ้นจากข้ อผูกพันแล้ ว

(2) หลักประกันสั ญญา


ให้ คืนให้ แก่ คู่สัญญา หรื อผู้คาํ: ประกันโดยเร็ว และอย่ างช้ าต้ อง
ไม่ เกิน 15 วัน นับถัดจากวันทีค4 ู่สัญญาพ้นจากข้ อผูกพันตามสั ญญาแล้ ว
การจัดซื:อจัดจ้ างทีไ4 ม่ ต้องมีการประกันเพื4อความชํารุดบกพร่ องให้ คืน
หลักประกันให้ แก่ คู่สัญญาหรื อผู้คาํ: ประกันตามอัตราส่ วนของพัสดุซึ4งหน่ วยงานของรัฐได้ รับมอบไว้
แล้ ว แต่ ท:งั นีจ: ะต้ องระบุไว้ เป็ น เงื4อนไขในเอกสารเชิญชวนและในสั ญญาด้ วย
68
ข้ อ
การคืนหนังสื อคําA ประกัน 170
กรณีทผี) ู้ยื)นข้ อเสนอหรื อคู่สัญญาไม่ มารับหลักประกันภายในกําหนดเวลา

o ให้ รีบส่ งต้ นฉบับหนังสื อคํา: ประกันให้ แก่ ผู้ยื4นข้ อเสนอหรื อคู่สัญญา โดยทาง
ไปรษณีย์ลงทะเบียนโดยเร็ว

o พร้ อมกั บ แจ้ ง ให้ ธนาคาร บริ ษั ท เงิ น ทุ น หรื อบริ ษั ท เงิ น ทุ น หลั ก ทรั พ ย์
ผู้คาํ: ประกันทราบด้ วย

o สํ าหรั บหนังสื อคํา: ประกันอิเล็กทรอนิกส์ ของธนาคารให้ คืนแก่ ธนาคาร


ผู้ออกหนังสื อคํา: ประกันอิเล็กทรอนิกส์ ผ่ านทางระบบจัดซื:อจัดจ้ างภาครัฐ
ด้ วยอิเล็กทรอนิกส์
69
เรื) อง การกําหนดวิธีปฏิบัติเพิม) เติม
เกี)ยวกับการตรวจสอบความชํ ารุ ด
บกพร่ อ งก่ อ นการคื น หลัก ประกัน
สั ญญา
(ว 117 ลว. 12 มีนาคม 2562)

70
71
72
มาตรา
การแก้ไขสัญญา 97

สัญญาทีล1 งนามแล้ว แก้ไขไม่ได้


เว้นแต่
o แก้ตามความเห็นสํานักงานอัยการสูงสุด
o จําเป็ น ไม่ทาํ ให้เสียประโยชน์
o เพือE ประโยชน์แก่หน่วยงาน หรือประโยชน์สาธารณะ
o กรณีอืEนทีกE าํ หนดในกฎกระทรวง

§ การแก้ไขสัญญาทีเ1 ห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียประโยชน์
หรือไม่รดั กุมเพียงพอให้ส่งสํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณา
ให้ความเห็นชอบก่อน
มาตรา
การแก้ไขสัญญา 97

o การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ
งบประมาณหรือกฎหมายอื1นทีเ1 กีย1 วข้อง
o หากจํ าเป็ นต้องเพิม
1 หรือลดวงเงิน หรือเพิม1 หรือลดระยะเวลาการส่งมอบ
หรือขยายเวลาในการทํางานให้ตกลงไปพร้อมกัน
o การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงเพือ1 เพิม 1 วงเงิน เป็ นผลให้ผูม้ ีอํานาจอนุ มตั ิ
สังซื`
1 อสังจ้
1 างเปลีย1 นไป ต้องให้ผูน้ `นั อนุ มตั ิดว้ ย
o การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงเพือ6 ลดวงเงิน ผูม้ ีอํานาจอนุ มตั ิ
สังซื1
6 อสังจ้
6 างเดิมเป็ นผูอ้ นุ มตั ิ
การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง ข้อ
165
o ต้องอยู่ภายในขอบข่ายแห่งวัตถุประสงค์เดิมของสัญญาหรือข้อตกลงนั`น
o ก่อนแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง หน่วยงานของรัฐจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบ
คุณภาพของพัสดุ
รายละเอียดของงาน
ราคาของพัสดุหรืองานตามสัญญาหรือ
ข้อตกลงกับพัสดุทีจL ะทําการแก้ไข
o ในกรณีทีเ( ป็ นการจัดซื2 อจัดจ้างทีเ( กีย( วกับความมันคงแข็
( งแรง หรืองานเทคนิคเฉพาะ
อย่าง จะต้องได้รบั การรับรองจากวิศวกร สถาปนิกและวิศวกรผูช้ ํานาญการ หรือ
ผูท้ รงคุณวุฒิซึ(งรับผิดชอบหรือสามารถรับรอง คุณลักษณะเฉพาะ แบบและรายการของงาน
ก่อสร้าง หรืองานเทคนิคเฉพาะอย่างนั2น แล้วแต่กรณีดว้ ย
o เมือ( ผูม้ ีอํานาจอนุ มตั ิสงซื2
ั ( อหรือสังจ้
( างแล้วแต่กรณี ได้อนุ มตั ิการแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง
แล้ว ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐเป็ นผูล้ งนามในสัญญาหรือข้อตกลงทีไ( ด้แก้ไขนั2น
ขั#นตอนที) 8
การจัดทําแผน
การจัดทําแผน
การจัดซื.อการจั
จัดจ้ าดงประจํ
ซื.อจัดาจ้ปีางประจําปี

การบริหารสั ญญาและการตรวจรับพัสดุ
มาตรา 100 - 105
ระเบียบฯ ข้ อ 175 - 189
76
มาตรา
100 การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ
Ø การดํ า เนิ น การตามสั ญ ญาหรื อ ข้ อ ตกลง
ให้ ผู้ มี อํ า นาจแต่ ง ตั/ ง
คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ เพื) อรั บผิดชอบในการบริ หารสั ญญา
หรื อข้ อตกลงและการตรวจรับพัสดุ
Øการจั ด ซื/ อ จั ด จ้ า งวงเงิ น เล็ ก น้ อ ยจะแต่ ง ตั/ ง บุ ค คลหนึ) ง บุ ค คลใด
เป็ นผู้ตรวจรับพัสดุกไ็ ด้

o ผูร้ ับผิดชอบการบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ
o ซึง: ไม่ใช่ผทู้ ไี: ด้รับแต่งตังB ให้ดาํ รงตําแหน่งทีป: ฏิบตั งิ านเกีย: วกับการจัดซืB อจัดจ้าง
หรือการบริหารพัสดุ
o ให้ได้รับค่าตอบแทนตามทีก: ระทรวงการคลังกําหนด
การงด ลดค่าปรับ การขยายเวลา มาตรา
102
เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ

เหตุสุดวิสยั

เหตุเกิดจากพฤติการณ์อนั หนึงQ อันใดทีคQ ู่สญ


ั ญาไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมาย

เหตุอืQนตามทีกQ าํ หนดในกฎกระทรวง

o ดุลพินจิ ของผูม้ ีอํานาจ ทีจ1 ะพิจารณาตามจํ านวนวันทีม1 ีเหตุเกิดขึ` นจริง


o หลักเกณฑ์ วิธีการ เป็ นไปตามระเบียบทีร1 ฐั มนตรีกาํ หนด
78
เรื) อ ง มาตรการให้ ค วามช่ วยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการในช่ วงการแพร่ ระบาดของโรคติ ด เชื/ อ
ไวรัสโคโรนา 2019

79
เรื) อ ง มาตรการให้ ค วามช่ วยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการในช่ วงการแพร่ ระบาดของโรคติ ด เชื/ อ
ไวรัสโคโรนา 2019

80
เรื) อ ง มาตรการให้ ค วามช่ วยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการในช่ วงการแพร่ ระบาดของโรคติ ด เชื/ อ
ไวรัสโคโรนา 2019

81
มาตรการให้ ความช่ วยเหลือผู้ประกอบการในช่ วงการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื/อไวรัสโคโรนา 2019
ตามหนังสื อคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื/อจัดจ้ างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่ วนทีส) ุ ด
ที) กค (กวจ) 0404.2/ว 693 ลงวันที) 6 สิ งหาคม 2564

82
83
84
85
ว ๑๔๕๙
เรืI อง มาตรการเร่ งรั ด
การปฏิบัติงานสํ าหรั บ
สั ญญาทีI ไ ด้ รั บ ความ
ช่ วยเหลื อให้ อั ตรา
ค่ าปรับเป็ นร้ อยละ ๐
ว ๑๔๕๙
เรืI อง มาตรการเร่ งรั ด
การปฏิบัติงานสํ าหรั บ
สั ญญาทีI ไ ด้ รั บ ความ
ช่ วยเหลื อให้ อั ตรา
ค่ าปรับเป็ นร้ อยละ ๐
การแจ้ งการเรียกค่ าปรับการสงวนสิ ทธิการเรียกค่ าปรับ
ข้ อ
o กรณีทสี& ั ญญาหรื อข้ อตกลงได้ ครบกําหนดส่ งมอบแล้ ว 181
และมีค่าปรับเกิดขึนB แจ้ ง
ปรับ
ให้ หน่ วยงานของรัฐ
Ø “แจ้ งการเรียกค่ าปรับ” ตามสั ญญาหรื อข้ อตกลง
จากคู่สัญญาภายใน 7 วันทําการ นับถัดจาก
วันครบกําหนดส่ งมอบ

Ø เมื)อคู่สัญญาได้ ส่งมอบพัสดุ ให้ หน่ วยงานของรัฐ


“บอกสงวนสิ ทธิTการเรียกค่ าปรับ” ในขณะทีร) ับมอบพัสดุน/ันด้ วย
97
การงด หรื อลดค่ าปรับ หรื อการขยายเวลาทําการ
o การงด หรื อลดค่ าปรับให้ แก่ คู่สัญญา หรื อการขยายเวลาทําการตามสั ญญา
ข้ อ
182
หรื อข้ อตกลงตามมาตรา 102
o ในกรณีทมี? เี หตุเกิดจากความผิดหรื อความบกพร่ องของคู่สัญญา หรื อเหตุสุดวิสัย
หรื อ เกิดจากพฤติการณ์ อนั หนึ?งอันใดทีค? ู่สัญญาไม่ ต้องรับผิดตามกฎหมาย
หรื อเหตุอื?น ตามทีก? าํ หนดในกฎกระทรวง ทําให้ คู่สัญญาไม่ สามารถส่ งมอบสิ? งของ
หรื องานตามเงื?อนไขและกําหนดเวลาแห่ งสั ญญาได้
Ø ให้ หน่ วยงานของรัฐ ระบุไว้ ในสั ญญาหรื อข้ อตกลง
Ø กําหนดให้ คู่สัญญาต้ องแจ้ งเหตุดงั กล่ าวให้ หน่ วยงานของรัฐทราบภายใน 15 วัน
นับถัดจากวันทีเ? หตุน0ันได้ สิ0นสุ ดลง หรื อตามทีก? าํ หนดในกฎกระทรวง
q หากมิได้ แจ้ งภายในเวลาทีก? าํ หนด คู่สัญญาจะยกมากล่ าวอ้ างเพื?อของดหรื อลดค่ าปรับ
หรื อขอขยายเวลาในภายหลังมิได้
เว้ นแต่ กรณีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่ องของหน่ วยงานของรัฐซึ?งมีหลักฐานชัดแจ้ง
98
หรื อหน่ วยงานของรัฐทราบดีอยู่แล้ วตั0งแต่ ต้น
การบอกเลิกสั ญญา (ม.103)

1. เหตุตามทีก: ฎหมายกําหนด

2. เหตุอันเชื: อได้ ว่าผู้ขายหรื อผู้รับจ้ างไม่ สามารถส่ งมอบ


งานได้ ภายในเวลาทีก: าํ หนด
3. เหตุอื:นตามที:กําหนดใน พ.ร.บ. หรื อในสั ญญาหรื อ
ข้ อตกลง

4. เหตุอื:นตามระเบียบทีร: ัฐมนตรีกาํ หนด

o การตกลงเลิกสั ญญา กระทําได้ เฉพาะที:เป็ นประโยชน์ โดยตรงหรื อเพื:อประโยชน์ สาธารณะหรื อ


เพื:อแก้ ไขข้ อเสี ยเปรียบในการปฏิบัตติ ามสั ญญาหรื อข้ อตกลง
การเบิกเลิกสั ญญากรณีค่าปรับจะเกิน 10 %
ข้ อ
Ø นอกจากการบอกเลิกสั ญญาหรื อข้ อตกลงตามมาตรา 103 183
หากปรากฏว่ า คู่สัญญาไม่ สามารถปฏิบัตติ ามสั ญญาหรื อข้ อตกลงได้
และจะต้ องมีการปรับตามสั ญญาหรื อข้ อตกลงนัAน
Ø หากจํานวนเงินค่ าปรับ “จะเกินร้ อยละสิ บ” ของวงเงินค่ าพัสดุหรื อค่ าจ้ าง

พิจารณาดําเนินการบอกเลิกสั ญญาหรื อข้ อตกลง


ให้ หน่ วยงาน เว้ นแต่ คู่สัญญาจะได้ ยนิ ยอมเสี ยค่ าปรับ
ให้ โดยไม่ มเี งื)อนไขใดๆ ทั/งสิ/น
ของรัฐ
ให้ พจิ ารณาผ่ อนปรนการบอกเลิกสั ญญา
ได้ เท่ าทีจ) าํ เป็ น 100
เ รืD อง การซ้ อม ความ เ ข้ าใจ
การบอกเลิกสั ญญาหรื อข้ อตกลง
ตามระเบี ย บกระทรวงการคลัง
ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ซื8 อ จั ด จ้ า ง
และการบริ หารพั ส ดุ ภ าครั ฐ
พ.ศ. 2560 ข้ อ 183
(ว 83 ลว. 22 กุมภาพันธ์ 2562)

101
102
103
การตกลงเลิกสั ญญา (มาตรา 103 วรรคสอง)

“การตกลงกับคู่ สัญญาที)จะบอกเลิกสั ญญาหรื อข้ อตกลง


ให้ ผู้ มี อํา นาจพิจ ารณาได้ เ ฉพาะในกรณีที) เ ป็ นประโยชน์
แก่ หน่ วยงานของรั ฐโดยตรงหรื อเพื)อประโยชน์ สาธารณะ
หรื อเพื) อ แก้ ไขข้ อเสี ยเปรี ย บของหน่ วยงานของรั ฐ
ในการทีจ) ะปฏิบัตติ ามสั ญญาหรื อข้ อตกลงนั/นต่ อไป”

104
การตกลงเลิกสั ญญา (มาตรา 103 วรรคสอง)

กรณี ที&หน่ วยงานของรัฐได้ตกลงยกเลิ กสั ญญาจ้างกับผูร้ ับจ้าง ตามมาตรา 103


วรรคสอง ประกอบกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ช ย์ มาตรา 391 ได้ก าํ หนด
เกี&ยวกับกรณี ภายหลังจากสัญญาได้เลิกกัน คู่สัญญาแต่ละฝ่ ายจะต้องให้อีกฝ่ ายหนึ& งได้
กลับคืนสู่ ฐานะดังที&เป็ นอยูเ่ ดิม โดยผูว้ า่ จ้างจะต้องชดใช้เงินคืนตามค่าแห่ งงานนัPน ซึ& ง
หากมี ง านใดที& ห น่ ว ยงานของรั ฐ ประสงค์จ ะรั บ ไว้แ ละใช้ป ระโยชน์ ใ นราชการ
ได้ ต ามสั ญ ญาแล้ ว หน่ ว ยงานของรั ฐ ย่ อ มจะต้ อ งชดใช้ ร าคาให้ แ ก่ ผู ้รั บ จ้ า ง
เว้นแต่งานที& ผูร้ ับจ้างได้ดาํ เนิ นการ ซึ& งหน่ วยงานของรัฐเห็ นว่า ไม่สามารถนําไปใช้
ประโยชน์ ใ นราชการตามสั ญ ญาต่ อ ไปได้ จึ ง ต้ อ งถื อ ว่ า งานนัP นไม่ ค วรค่ า
แห่งการชดใช้เงินคืนตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 391
เมื'อตกลงเลิกสั ญญาแล้ ว หลักประกันสั ญญาจะต้ องทําอย่ างไร

เมื:อหน่ วยงานของรัฐ ได้ ตกลงเลิกสัญญากับคู่สัญญาแล้ ว


ในส่ วนของหลักประกันสั ญญานั5น หน่ วยงานของรั ฐย่ อมต้ อง
คืนหลักประกันสั ญญาให้ แก่ ค่ ูสัญญาโดยไม่ อาจริ บหลักประกัน
สั ญ ญาได้ เนื( อ งจากคู่ สั ญ ญามิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ผิ ด สั ญ ญา อั น ทํ า ให้
ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ เ กิ ด สิ ท ธิ ใ น ก า ร บ อ ก เ ลิ ก สั ญ ญ า
และริ บ หลั ก ประกั น สั ญ ญาตามเงื: อ นไขในสั ญ ญาที: กํ า หนด
เกี:ยวกับสิ ทธิของผู้ว่าจ้ างภายหลังบอกเลิกสั ญญา รวมถึงไม่ ถือ
เป็ นการกระทําอันมีลักษณะเป็ นการทิMงงาน ตามนัยมาตรา 109
แห่ งพระราชบัญญัตฯิ ด้ วย
106
กอง ก
ารพสั
ติดต่ อสอบถามเพิม+ เติม กรมบ ดุภาคร
ัญชีก ัฐ
Call center โทร. 02-270-6400 กด 3 ลาง
หรื อสอบถามผ่ านช่ องทาง
ระบบ : “Live Chat” หรื อ “IR Online”

You might also like