You are on page 1of 76

รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
(KPI Template)

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน
ชื่อหนังสือ รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
(KPI Template)

ผู้จัดพิมพ์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน

ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 (มิถุนายน 2554)

จำนวนพิมพ์ 180 เล่ม

พิมพ์ที่ บริษัท เรียงสาม กราฟฟิค ดีไซน์ จำกัด


คำนำ
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานได้จดั ทำตัวชีว้ ดั ตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 เป็นปีที่ 8 ซึ่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
หมวด 8 : การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดให้ส่วนราชการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มี 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ร้อยละ 50
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ร้อยละ 15 มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15
และมิตทิ ี่ 4 : มิตดิ า้ นการพัฒนาองค์การ ร้อยละ 20 รวมทัง้ สิน้ ร้อยละ 100 ซึง่ กรมได้ดำเนินการตัวชีว้ ดั ตามคำรับรองฯ
ทั้งในระดับกระทรวง กลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการทำงานและระดับกรม รวมตัวชี้วัดหลัก 21 ตัวชี้วัด
ดังนัน้ กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร จงึ ได้รวบรวมและจัดทำรายละเอียดตัวชีว้ ดั ตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพื่อให้หน่วยปฏิบัติได้มีความรู้ ความเข้าใจ
ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเป็นไปทิศทางเดียวกัน รวมถึงเพื่อให้หน่วยงานใช้เป็นคู่มือ
และแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่อไป

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
พฤษภาคม 2554

สารบัญ
หน้า
สรุปตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (ก)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง
ตัวชี้วัดที่ 1.1.3 : อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย 1
ตัวชี้วัดที่ 1.3.1.1 : ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเอง 5
โดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจด้านประกันความมั่นคงในการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จำนวนสถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย 9
ตัวชี้วัดที่ 2.2 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้อง 11
ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 2.3 : ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 13
ตัวชี้วัดระดับกรม
ตัวชี้วัดที่ 3.1 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย
ตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก
ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 : อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน 15
ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 : จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ 17
ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้าง 19
และสภาพการทำงานต่อพนักงานตรวจแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการเป้าหมายที่มีระบบบริหารจัดการ 21
ด้านแรงงานสัมพันธ์
ตัวชี้วัดที่ 3.1.5 : ร้อยละของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี 23
ตัวชี้วัดที่ 3.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ 25
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย)
ตัวชี้วัดที่ 3.2.1 : แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับ 27
สิทธิประโยชน์จากการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 : สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 29
ตัวชี้วัดที่ 3.2.3 : จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม 31
และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
ตัวชี้วัดที่ 3.2.4 : จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนา 33
มาตรฐานแรงงานไทย
สารบัญ (ต่อ)

หน้า
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 35
ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 37
ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน 39
และปราบปรามการทุจริต
มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 7 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐาน 43
ระยะเวลาการให้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/ภาพรวม
ตัวชี้วัดที่ 8.1 : ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 49
ตัวชี้วัดที่ 8.2 : ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 51
ตัวชี้วัดที่ 9 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 53
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 55

มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์การ
ตัวชี้วัดที่ 12 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 59
ตัวชี้วัดที่ 12.1 : ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 61
ตัวชี้วัดที่ 12.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย 62
ความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ)
ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับพื้นฐาน (หมวด 7)
ตัวชี้วัดที่ 12.3 : ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทาง 64
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

สรุปตัวชีว้ ดั ตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน


ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
ตัวชี้วัด น้ำ เป้า เกณฑ์การให้คะแนน ผู้รับผิดชอบ
หนัก หมาย
1 2 3 4 5
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล น้ำหนัก : ร้อยละ 50
1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
และนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล น้ำหนัก : ร้อยละ 25
1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
น้ำหนัก : ร้อยละ 13
1.1.3 อั ต ราการประสบอั น ตราย 2.5 5.37 5.47 5.42 5.37 สำนัก 5.32 5.27
จากการทำงานต่อ 1,000 ราย ความปลอดภัย
แรงงาน
1.3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
ที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง น้ำหนัก : ร้อยละ 10
1.3.1.1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน 5 60 52 54 56 58 60 กองสวัสดิการ
อายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกัน (-4) (-2) (+2) (+4) แรงงาน
ตนเองโดยใช้ ถุ ง ยางอนามั ย เมื่ อ มี
กรมควบคุมโรคเป็นผูป้ ระเมินผล
เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ
น้ำหนัก : ร้อยละ 10
2.1 จำนวนสถานประกอบกิจการ 2 832 732 782 832 882 932 สำนักพัฒนา
ในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (-100) (-50) (+50) (+100) มาตรฐาน
แรงงาน
2.2 ร้อยละของสถานประกอบกิจการ 3 9 13 11 9 7 5 สำนักคุ้มครอง
ทีผ่ า่ นการตรวจและปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้อง (+4) (+2) (-2) (-4) แรงงาน
ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
2.3 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญา 2 100 60 70 80 90 100 - สำนักคุ้มครอง
นายจ้ า งที่ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต ามคำสั่ ง ของ (-20) (-10) (+10) (+20) แรงงาน
พนักงานตรวจแรงงาน - กองนิติการ
3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/
เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ ของส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่าน้ำหนัก : ร้อยละ 15
3.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก
น้ำหนัก : ร้อยละ 10

(ก)
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัด น้ำ เป้า เกณฑ์การให้คะแนน ผู้รับผิดชอบ


หนัก หมาย
1 2 3 4 5
3.1.1 อัตราการตายเนื่องจากการ 2 5.12 5.22 5.17 5.12 5.07 5.02 สำนัก
ทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน ความปลอดภัย
แรงงาน
3.1.2 จำนวนเครือข่ายการคุม้ ครอง 2 3,500 2,500 3,000 3,500 4,000 ความ สำนักคุ้มครอง
แรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ (-1,000) (-500) (+500) พึงพอใจ แรงงาน
ไม่ต่ำกว่า
80%
3.1.3 ร้อยละของสถานประกอบ 2 68 66 67 68 69 70 สำนักคุ้มครอง
กิจการทีย่ นื่ แบบแสดงสภาพการจ้าง (-2) (-1) (+1) (+2) แรงงาน
และสภาพการทำงานต่อพนักงาน
ตรวจแรงงาน
3.1.4 ร้อยละของสถานประกอบ 2 87 83 85 87 89 91 สำนักแรงงาน
กิ จ การเป้ า หมายที่ มี ร ะบบบริ ห าร (-4) (-2) (+2) (+4) สัมพันธ์
จัดการด้านแรงงานสัมพันธ์
3.1.5 ร้อยละของข้อเรียกร้องที่ยุติ 2 7880 79 80 81 82 สำนักแรงงาน
ได้ในระบบทวิภาคี (-2) (-1) (+1) (+2) สัมพันธ์
3.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละ 5 5 1 2 3 4 5 - สำนักพัฒนา
เฉลี่ ย ถ่ ว งน้ ำ หนั ก ตามเป้ า หมาย (100%) (80%) (85%) (90%) (95%) (100%) มาตรฐาน
ผลผลิตของส่วนราชการ (-10%) (-5%) (+5%) (+10%) แรงงาน
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) - สำนักคุ้มครอง
แรงงาน
มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15
ความพึงพอใจ
4. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ 6 75 65 70 75 80 85 - สคร.
ของผู้รับบริการ (-10) (-5) (+5) (+10) - สปร.
สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นผูป้ ระเมินผล - สรส.
- กพร.
5. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ 3 75 65 70 75 80 85 กลุ่มพัฒนา
ของผู้กำหนดนโยบาย (-10) (-5) (+5) (+10) ระบบบริหาร
สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นผูป้ ระเมินผล

การเปิดเผยโปร่งใส
6. ระดั บ ความสำเร็ จ ของการ 6 5 1 2 3 4 5 กองการ
ดำเนิ น การตามมาตรการป้ อ งกั น (-2) (-1) (+1) (+2) เจ้าหน้าที่
และปราบปรามการทุจริต
(ข)
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัด น้ำ เป้า เกณฑ์การให้คะแนน ผู้รับผิดชอบ


หนัก หมาย
1 2 3 4 5
มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15
การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ
7. ระดั บ ความสำเร็ จ ของร้ อ ยละ 3 3 1 2 3 4 5 - สปร.
เฉลี่ ย ถ่ ว งน้ ำ หนั ก ในการรั ก ษา (-2) (-1) (+1) (+2) - สคร.
มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ - สรส.
- กสว.
- กพร.
การบริหารงบประมาณ
8.1 ร้ อ ยละของการเบิ ก จ่ า ยเงิ น 2 72 66 69 72 75 78 สำนักงาน
งบประมาณรายจ่ายลงทุน (-6) (-3) (+3) (+6) เลขานุการกรม
8.2 ร้ อ ยละของการเบิ ก จ่ า ยเงิ น 1.5 93 91 92 93 94 95 สำนักงาน
งบประมาณรายจ่ายภาพรวม (-2) (-1) (+1) (+2) เลขานุการกรม
8.4 ร้ อ ยละความสำเร็ จ ของการ 1.5 93 86 89.5 93 96.5 100 สำนักงาน
เบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน (-7) (-3.5) (+3.5) (+7) เลขานุการกรม
9. ระดับความสำเร็จของการจัดทำ 3 5 1 2 3 4 5 สำนักงาน
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (-2) (-1) (+1) (+2) เลขานุการกรม
การควบคุมภายใน
10. ระดั บ ความสำเร็ จ ของการ 4 5 1 2 3 4 5 กองการ
ควบคุมภายใน (-2) (-1) (+1) (+2) เจ้าหน้าที่
มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 20
การบริหารจัดการองค์การ
12. ระดั บ ความสำเร็ จ ของการ 20 5 1 2 3 4 5 กลุ่มพัฒนา
พั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การ (-2) (-1) (+1) (+2) ระบบบริหาร
ภาครัฐ (PMQA)
ผลรวมทั้งกระทรวง 100

หมายเหตุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรมไม่มีการดำเนินการ ตัวชี้วัดที่ 11 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ


ตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 9 และ 10 ร้อยละ 1.0

(ค)
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง
ตัวชี้วัดที่ 1.1.3 : อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย
หน่วยวัด : อัตราต่อลูกจ้าง 1,000 ราย
น้ำหนัก : ร้อยละ 2.5
คำอธิบาย/นิยาม
1. อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน หมายถึง จำนวนลูกจ้างที่ประสบอันตรายและเจ็บป่วยเนื่องจากการ
ทำงานระหว่างปีงบประมาณ (เดือนตุลาคม 2553 - เดือนกันยายน 2554) นับความร้ายแรงตัง้ แต่กรณีหยุดงานเกิน 3 วันขึน้ ไป
กรณีสูญเสียอวัยวะ กรณีทุพพลภาพ และกรณีตาย เปรียบเทียบกับจำนวนลูกจ้างที่อยู่ในข่ายคุ้มครองกองทุนเงินทดแทน
ณ เดือนกันยายน (สิ้นปีงบประมาณ)
2. อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานที่คำนวณเป็นอัตราต่อปีงบประมาณ ซึ่งกรมได้ประสานสำนักงาน
กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม ขอให้จัดเก็บข้อมูลเป็นรายปี (ปีงบประมาณ) ทั้งนี้จะดำเนินการคำนวณอัตรา
การประสบอันตรายจากการทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2554 หลังจากตรวจสอบและบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยเรื่อง
ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานประจำเดือนกันยายน 2554 แล้วเสร็จ

สูตรการคำนวณ :
จำนวนลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทำงาน กรณีหยุดงานเกิน 3 วัน สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และตาย ระหว่าง 1 ต.ค. 2553 – 30 ก.ย. 2554 X 1,000 ราย
จำนวนลูกจ้างในความคุ้มครองของกองทุนเงินทดแทน ณ 30 กันยายน 2554

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- อัตรา 1% ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย = 5.47 เท่ากับ 1 คะแนน
 อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย = 5.42 เท่ากับ 2 คะแนน
 อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย = 5.37 เท่ากับ 3 คะแนน
 อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย = 5.32 เท่ากับ 4 คะแนน
 อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย = 5.27 เท่ากับ 5 คะแนน

เงื่อนไข : 1. ผลการดำเนินงานปี 2553 (ปีงบประมาณ) = 5.37


2. ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + = อัตรา 1% ต่อ 1 คะแนน (1% ของผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
2553)

กสร.1.1.3 1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

3. กรณีที่ข้อมูลอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2554


ผลกระทบต่อเกณฑ์การให้คะแนน ขอให้ตดั ข้อมูลการประสบอันตรายจากการทำงานทีเ่ กิดจากปัจจัยภายนอกทีอ่ ยูน่ อกเหนือ
การควบคุม ได้แก่ พิบัติภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศ และอุบัติเหตุยานพาหนะ โดยจะไม่นำมานับรวม
เป็นการประสบอันตรายจากการทำงาน

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินการในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน อัตราต่อ 6.19 5.46 5.37
ต่อ 1,000 ราย ลูกจ้าง (ต.ค.52- ก.ย.53)
1,000 ราย

หมายเหตุ 1. ข้อมูลปี 2551-2553 ประมวลผลโดยสำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม


2. ข้อมูลการประสบอันตรายจากการทำงานรวมสาเหตุจากพิบัติภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ความไม่สงบและ
อุบตั ิเหตุยานพาหนะ

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ข้อมูลสถิติการประสบอันตรายจากการทำงานของสำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
1. นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักความปลอดภัยแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9140

2. นางอบทิพย์ พุกกะวรรณะ ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนเงินทดแทน
สำนักงานประกันสังคม
เบอร์ติดต่อ : 0 2956 2721

2 กสร.1.1.3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางสาวปรียานันท์ ลิขิตศานต์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9174

2. นายอัตถาภรณ์ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 8338 ต่อ 605

3. นางสาวพัชรี สว่างแจ้ง สำนักงานกองทุนเงินทดแทน
สำนักงานประกันสังคม
เบอร์ติดต่อ : 0 2956 2728

4. นางสาวสุมณฑา พลคง สำนักงานกองทุนเงินทดแทน
สำนักงานประกันสังคม
เบอร์ติดต่อ : 0 2956 2740

กสร.1.1.3 3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 1.3.1.1 : ร้อยละของเด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัย


เมือ่ มีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย :
เด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด หมายถึง
เด็กและเยาวชน (อายุ 15 - 24 ปี) ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับหญิงอื่น
เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี ทั้งหมดที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับหญิงอื่นในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
โดยเป็นพนักงานชายในสถานประกอบกิจการ อายุ 15 - 24 ปี (Population) โดยเลือกกลุ่มประชากรเฝ้าระวังเพศชาย
อายุ 15 - 24 ปี (Sample) จากพนักงานชายที่ทำงานในสถานประกอบกิจการ ในจังหวัดที่เป็นพื้นที่เฝ้าระวัง 24 จังหวัด
ทั้งนี้ ไม่นับรวมกลุ่มแรงงานข้ามชาติ
การป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด หมายถึง การสวมใส่ถุงยางอนามัยขณะมี
เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับหญิงอื่น
หญิงอื่น หมายถึง คู่นอนชั่วคราวหรือบุคคลที่รู้จักกันผิวเผินหรือไม่รู้จัก และไม่ใช่หญิงขายบริการ แฟนหรือคู่รัก
(หรือผู้หญิงที่อยู่กินด้วยกันในปัจจุบัน) ที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีความรู้สึกผูกพันกัน และไม่ต้องจ่ายเงินเพื่อตอบแทนการมี
เพศสัมพันธ์นั้น
ครั้งล่าสุด หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์กับหญิงอื่นครั้งล่าสุดเฉพาะในช่วงเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา

สูตรการคำนวณ :

เด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับหญิงอื่น x 100


เด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี ที่มีเพศสัมพันธ์กับหญิงอื่นในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 2 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
เด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมี เท่ากับ 1 คะแนน
 เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 52
เด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมี เท่ากับ 2 คะแนน
 เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 54
เด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมี เท่ากับ 3 คะแนน
 เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 56
เด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมี เท่ากับ 4 คะแนน
 เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 58
เด็กและเยาวชนอายุ 15 – 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมี เท่ากับ 5 คะแนน
 เพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ร้อยละ 60
กสร.1.3.1.1 5
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

เงื่อนไข :
1. กำหนดเป็นตัวชี้วัดร่วมกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงาน
2. กำหนดให้คา่ เป้าหมายตามร่างแผนปฏิบตั กิ ารปี 2554 บูรณาการและเร่งรัดการป้องกันการติดเชือ้ HIV รายใหม่ฯ
ของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ คือ ร้อยละ 60 อยู่ที่ค่าคะแนนระดับ 5
3. การประเมินผลของกระทรวงกลาโหม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ
ใช้ผลการสำรวจเฉพาะจากกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี (ประเภท ก)
4. การประเมินผลของกระทรวงแรงงานใช้ผลการสำรวจเฉพาะจากกลุ่มผู้ใช้แรงงานอายุ 15 - 24 ปี (ประเภท ข)
5. การประเมินผลเฉพาะของกระทรวงสาธารณสุข ใช้ผลการสำรวจทั้งจากกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 24 ปี
(ประเภท ก น้ำหนัก 2.5) และกลุ่มผู้ใช้แรงงานอายุ 15 - 24 ปี (ประเภท ข น้ำหนัก 2.5) ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับระดับ คะแนน
ประเภท น้ำหนัก ความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ ถ่วงน้ำหนัก
(W i) (SM i) (W I x SM i)
1 2 3 4 5
1) เด็กและเยาวชนชายอายุ W1 52 54 56 58 60 SM 1 (W 1 x SM 1)
15 – 24 ปี

2) พนักงานชายฯ W2 52 54 56 58 60 SM 2 (W 2 x SM 2)
อายุ 15-24 ปี
ผลรวม W 1-2 ค่าคะแนนของตัวชี้วัดนี้เท่ากับ S(W 1-2 x SM 1-2)

ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เท่ากับ

S (W1-2 x SM1-2) หรือ (W1x SM1) + (W2 x SM2)
S W1-2 W1+ W2

โดยที่ :
W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญทีใ่ ห้กบั ตัวชีว้ ดั
SM หมายถึง คะแนนทีไ่ ด้จากการเทียบกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชีว้ ดั

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
พนักงานในสถานประกอบกิจการ 15-49 ปี* ร้อยละ 63.1* 58.8* 60.8*
ที่มีการป้องกันตนเองโดยใช้ถุงยางอนามัยฯ

6 กสร.1.3.1.1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

หมายเหตุ * ตามระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี สำหรับกลุ่มพนักงานในสถานประกอบกิจการ


จะครอบคลุมพนักงานที่มีอายุระหว่าง 15 - 49 ปี ซึ่งในการประเมินผลตัวชี้วัดนี้เฉพาะในปีงบประมาณ 2554 จะนำข้อมูล
มาประมวลผลเพื่อการคำนวณคะแนนตัวชี้วัดร่วมเฉพาะพนักงานที่มีช่วงอายุระหว่าง 15 - 24 ปี

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : -

แหล่งข้อมูล :
ใช้ข้อมูลร้อยละของเด็กและเยาวชนและพนักงานในสถานประกอบกิจการ อายุ 15 - 24 ปี ที่มีการป้องกันตนเอง
โดยใช้ถงุ ยางอนามัยเมือ่ มีเพศสัมพันธ์ครัง้ ล่าสุด จากระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมทีส่ มั พันธ์กบั การติดเชือ้ เอชไอวีในประชากร
กลุ่มต่างๆ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขในการประเมินผล

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปีละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคมของทุกปี ในพื้นที่เฝ้าระวัง 24 จังหวัด
ประกอบด้วย
 ภาคเหนือ ได้แก่ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก แพร่ ลำพูน เชียงราย
 ภาคกลาง ได้แก่ ราชบุรี สมุทรสงคราม ลพบุรี ปทุมธานี ตราด ฉะเชิงเทรา นครนายก นนทบุรี
 ภาคใต้ ได้แก่ สงขลา ตรัง สุราษฎร์ธานี พังงา
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ศรีสะเกษ นครราชสีมา บุรีรัมย์ อุบลราชธานี อุดรธานี สกลนคร

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
1. นพ. ภาสกร อัครเสวี ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา
กรมควบคุมโรค
เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1781

2. นางนิสา นพทีปกังวาล ผู้อำนวยการกองสวัสดิการแรงงาน


กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2248 6684

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นพ. เฉวตสรร นามวาท กรมควบคุมโรค
2. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1794, 0 2590 1787

3. นางสาวจารุวรรณ ฤทธิบันลือ สำนักงาน ก.พ.ร.
4. นางสาวสุภาภรณ์ ชัยศักดิ์ศรี เบอร์ติดต่อ : 0 2356 9962, 0 2356 9999 ต่อ 8810

5. นางวิไลวรรณ โกยแก้วพริ้ง กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน


6. นางสาวปัญจโฉม สุขนาค เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0080

กสร.1.3.1.1 7
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : จำนวนสถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย
หน่วยวัด : แห่ง
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
สถานประกอบกิจการส่งออกและเกี่ยวเนื่อง ที่ดำเนินการผลิต จำหน่าย หรือให้บริการต่างๆ ที่ได้รับการตรวจ
ประเมินตามหลักเกณฑ์สากลจากบุคคลภายนอกทีก่ รมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานประกาศการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย
(มรท.8001-2546) หรือ (มรท.8001-2553) และทีก่ รมเคยประกาศการรับรองมาตรฐานแรงงานไทยในปีงบประมาณทีผ่ า่ นมา
ที่มีการดำเนินกิจกรรมตามข้อกำหนดมาตรฐาน เพื่อรักษาระบบและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการตรวจติดตามหลัง
การรับรอง หรือได้รายงานผลการปฏิบัติที่แสดงถึงความสอดคล้องกับข้อกำหนดมาตรฐานอย่างมีประสิทธิผล

สูตรการคำนวณ :
จำนวนสถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 50 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 สถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จำนวน 732 แห่ง เท่ากับ 1 คะแนน
 สถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จำนวน 782 แห่ง เท่ากับ 2 คะแนน
 สถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จำนวน 832 แห่ง เท่ากับ 3 คะแนน
 สถานประกอบกิจการกในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จำนวน 882 แห่ง เท่ากับ 4 คะแนน
 สถานประกอบกิจการในระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย จำนวน 932 แห่ง เท่ากับ 5 คะแนน

เงื่อนไข : กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานประกอบกิจการที่เข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย ในปีงบประมาณที่ผ่านมา


รวมถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งมีการปฏิบัติตามขั้นตอนในคำอธิบาย โดยการรับรองยังไม่หมดอายุ หรืออยู่ในทะเบียน
การประกาศแสดงตนเอง

กสร.2.1 9
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
จำนวนสถานประกอบกิจการในระบบรับรอง แห่ง 631 672 832
มาตรฐานแรงงานไทย

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กลุ่มงานรับรองมาตรฐานแรงงาน เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล
โดยรวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานเป็นรายเดือน

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 4987

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางวลัยพร เหล่าวานิช กลุ่มงานรับรองมาตรฐานแรงงาน
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2354 1652

10 กสร.2.1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 2.2 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 3
คำอธิบาย :
สถานประกอบกิจการทีผ่ า่ นการตรวจและปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้องตามกฎหมาย หมายถึง สถานประกอบกิจการทีเ่ จ้าหน้าที ่
เข้าไปตรวจแรงงานและดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แล้วนายจ้างยังไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

สูตรการคำนวณ :

จำนวนสถานประกอบกิจการที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย X 100
จำนวนสถานประกอบกิจการที่ผ่านการตรวจทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 2 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 สปก.ที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 13 เท่ากับ 1 คะแนน
 สปก.ที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 11 เท่ากับ 2 คะแนน
 สปก.ที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 9 เท่ากับ 3 คะแนน
 สปก.ที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 7 เท่ากับ 4 คะแนน
 สปก.ที่ผ่านการตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายร้อยละ 5 เท่ากับ 5 คะแนน

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ผ่านการ ร้อยละ 11.82 10.16 5.06
ตรวจและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
คุ้มครองแรงงาน

กสร.2.2 11
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
รายงานผลการตรวจแรงงานจากระบบคอมพิวเตอร์ของกรม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

12 กสร.2.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 2.3 : ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
1. คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน หมายถึง เมื่อพนักงานตรวจแรงงานเข้าตรวจสถานประกอบกิจการและพบว่า
นายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานพนักงานตรวจแรงงานก็จะออกคำสั่งตามมาตรา 139(3) แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้นายจ้างปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งถ้านายจ้างไม่ปฏิบัติให้ถูกต้อง
ตามคำสั่งดังกล่าวภายในระยะเวลาที่กำหนด และนายจ้างไม่อุทธรณ์คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน พนักงานตรวจแรงงาน
ก็จะดำเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง
2. การดำเนินคดีอาญานายจ้างทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ของพนักงานตรวจแรงงาน หมายถึง การดำเนินคดีอาญานายจ้าง
ฐานไม่ปฏิบตั ติ ามคำสัง่ พนักงานตรวจแรงงานภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดตามมาตรา 139 (3) แห่งพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน
พ.ศ.2541

เงื่อนไข :
1. การออกคำสั่ง ให้นับจำนวนคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานที่ออกระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31
กรกฎาคม 2554
2. การดำเนินคดี ให้นบั การดำเนินคดีอาญานายจ้างทีพ่ นักงานตรวจแรงงาน/นิตกิ ร ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม
2553 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 กรณีที่นายจ้างอุทธรณ์คำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานต่อผู้มีอำนาจตามกฎหมาย
หรือกรณีที่นายจ้างยื่นฟ้องต่อศาลปกครอง/ศาลแรงงานเพื่อให้เพิกถอนคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงานไม่นับเป็นกรณี
นายจ้างไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง

สูตรการคำนวณ :

จำนวนการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน x 100
จำนวนคำสั่งตามมาตรา 139 (3) ที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 60 เท่ากับ 1 คะแนน
 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 70 เท่ากับ 2 คะแนน
 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 80 เท่ากับ 3 คะแนน
 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 90 เท่ากับ 4 คะแนน
 ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน 100 เท่ากับ 5 คะแนน

กสร.2.3 13
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
ร้อยละของการดำเนินคดีอาญานายจ้างที่ไม่ ร้อยละ 100 92.59 58.33
ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- รายงานผลการตรวจแรงงานและการดำเนินคดีอาญา จากระบบคอมพิวเตอร์ของกรม
- แบบรายงานผลการดำเนินคดีอาญา ตามมาตรา 139(3) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
1. นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

2. นายปฐม เพชรมณี ผู้อำนวยการกองนิติการ
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 7589

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

2. นางจุฑาทิพย์ แผ่นเงิน กลุ่มงานคดี 3
กองนิติการ
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 7773

14 กสร.2.3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดระดับกรม
ตัวชี้วัด 3.1.1 : อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน
หน่วยวัด : อัตราต่อลูกจ้าง 100,000 คน
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย/นิยาม
อัตราการตายเนื่องจากการทำงาน หมายถึง จำนวนลูกจ้างที่ประสบอันตรายและเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานตาม
ปีงบประมาณ (เดือนตุลาคม 2553 – กันยายน 2554) นับความร้ายแรงเฉพาะกรณีตาย เปรียบเทียบกับจำนวนลูกจ้าง
ที่อยู่ในข่ายคุ้มครองกองทุนเงินทดแทน ณ เดือนกันยายน (สิ้นปีงบประมาณ) ทั้งนี้จะดำเนินการคำนวณอัตราการตาย
เนื่องจากการทำงานประจำปีงบประมาณ หลังจากตรวจสอบและบันทึกข้อมูลการวินิจฉัยเรื่องประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
เนื่องจากการทำงานประจำเดือนกันยายนแล้วเสร็จ

สูตรการคำนวณ :

จำนวนลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทำงาน กรณีตาย ระหว่าง 1 ต.ค. 2553 – 30 ก.ย. 2554 x 100,000 คน


จำนวนลูกจ้างในความคุ้มครองของกองทุนเงินทดแทน ณ 30 กันยายน 2554

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- อัตรา 1% ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน = 5.22 เท่ากับ 1 คะแนน
 อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน = 5.17 เท่ากับ 2 คะแนน
 อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน = 5.12 เท่ากับ 3 คะแนน
 อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน = 5.07 เท่ากับ 4 คะแนน
 อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน = 5.02 เท่ากับ 5 คะแนน

เงื่อนไข : 1. ผลการดำเนินงานปี 2553 (ปีงบประมาณ) = 5.12


2. ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- อัตรา 1% ต่อ 1 คะแนน (1% ของผลการดำเนินงานปีงบประมาณ
2553)
3. ในการคำนวณตามสูตรดังกล่าว ให้ตัดจำนวนลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทำงานกรณีตายเนื่องจาก
สาเหตุ พิบัติภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ความไม่สงบภายในประเทศ และอุบัติเหตุยานพาหนะ

กสร.3.1.1 15
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินการในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน อัตราต่อ 3.71 3.82 4.13
100,000 คน ลูกจ้าง (ม.ค.- ธ.ค.53)
100,000 5.12
คน (ต.ค.52-ก.ย.53)

หมายเหตุ
1) ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด“อัตราการตายเนื่องจากการทำงานต่อแรงงาน 100,000 คน” ปี 2551 - 2553
ไม่รวมสาเหตุพิบัติภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ความไม่สงบภายในประเทศ และอุบัติเหตุยานพาหนะ
2) ผลการดำเนินการปี 2551- 2553 เป็นค่าในช่วงการเก็บข้อมูล จากเดือนมกราคม – ธันวาคม เป็นปีปฏิทิน
3) ปีงบประมาณ 2554 พิจารณาปรับค่าช่วงการเก็บข้อมูล เป็นปีงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดระดับ
กระทรวง “อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานต่อ 1,000 ราย”

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ข้อมูลสถิติการประสบอันตรายจากการทำงาน ของสำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9140

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางสาวปรียานันท์ ลิขิตศานต์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9174

2. นายอัตถาภรณ์ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 8338 ต่อ 605

16 กสร.3.1.1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 : จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่


หน่วยวัด : คน
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
1. เครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ หมายถึง บุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายการคุ้มครอง
แรงงาน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553
2. การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเครือข่ายการคุม้ ครองแรงงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ใหม่ หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ ครือข่ายการคุม้ ครอง
แรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ได้ดำเนินการเพื่อสนับสนุนงานของกรมฯ เช่น การสอดส่อง ดูแล สภาพการจ้าง สภาพการทำงาน
การแจ้งเบาะแสเมื่อพบเห็นการใช้แรงงานที่ไม่ถูกต้องและไม่เป็นธรรม การให้คำปรึกษา แนะนำนายจ้าง ลูกจ้างเกี่ยวกับสิทธิ
และหน้าที่ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารกิจกรรมด้านแรงงาน

สูตรการคำนวณ :
จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน
ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึง 30 กันยายน 2554

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 500 คน ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ 2,500 คน เท่ากับ 1 คะแนน
 จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ 3,000 คน เท่ากับ 2 คะแนน
 จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ 3,500 คน เท่ากับ 3 คะแนน
 จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ 4,000 คน เท่ากับ 4 คะแนน
 จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เท่ากับ 5 คะแนน

เงื่อนไข : การประเมินผลจะได้รับคะแนนไม่เกินระดับ 3 หากไม่สามารถดำเนินการได้ตามประเด็น ดังนี้


1. สมาชิกเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ผ่านการทดสอบ (มีคะแนนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70) ภายหลัง
การเข้ารับการอบรมให้ความรู้ประจำปี เป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 จากจำนวนสมาชิกเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน
ที่เพิ่มขึ้นใหม่ทั้งหมด
2. มีการติดตามสถานะของเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ภายในเดือนสิงหาคม 2554 โดยมีจำนวน
แบบตอบรับเฉลีย่ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 เมือ่ เทียบกับจำนวนแบบสอบถามตามจำนวนเครือข่ายการคุม้ ครองแรงงานทีเ่ พิม่ ขึน้
ใหม่ทั้งหมด ทั้งนี้จะต้องมีการอบรมฯ ในทุกจังหวัดได้แล้วเสร็จภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554
3. มีข้อมูลจำนวนสถานประกอบกิจการ/หน่วยงาน/องค์กรที่มีเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานถูกต้อง และครบถ้วน
ทุกจังหวัด

กสร.3.1.2 17
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

4. นำข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานไปใช้ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน
ในปีงบประมาณ 2555
5. ข้อมูลที่ได้รับเบาะแสในเรื่องการปฏิบัติท่ไี ม่ถูกต้องตามกฎหมายจากเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานทั้งหมดถึง
วันที่ 31 สิงหาคม 2554 ได้รับการตอบสนอง คิดเป็นร้อยละ 100

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
จำนวนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ คน 3,426 2,566 4,294

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. ผลงานของสำนักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด และสำนักคุม้ ครองแรงงาน
2. ทะเบียนเครือข่ายการคุ้มครองแรงงาน
3. รายชื่อเครือข่ายการคุ้มครองแรงงานที่เพิ่มขึ้นใหม่ที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านคุ้มครองแรงงาน
4. แบบประเมินความพึงพอใจ

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวปรีดา อิสรโชติ กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8024

18 กสร.3.1.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน


ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
1. สถานประกอบกิจการ หมายถึง สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป
2. แบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน หมายถึง แบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน ซึง่ กฎหมาย
กำหนดให้สถานประกอบกิจการ/นายจ้าง ซึ่งมีลูกจ้างรวมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไปยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพ
การทำงานต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย
3. พนักงานตรวจแรงงาน หมายถึง ผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายให้ส่งแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน

เงื่อนไข :
1. จำนวนแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงานที่สถานประกอบกิจการ ยื่นต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดี
มอบหมาย รวมถึงจำนวนทีพ่ นักงานตรวจแรงงานติดตามให้สถานประกอบกิจการยืน่ แบบฯ ต่ออธิบดี หรือผูซ้ งึ่ อธิบดีมอบหมาย
ตั้งแต่ 1 มกราคม 2554 ถึง 30 กันยายน 2554
2. ในกรณีทสี่ ง่ แบบแล้วพบว่าสถานประกอบกิจการตามทะเบียน ย้าย/ปิดกิจการ/ไม่พบทีอ่ ยูส่ ถานประกอบกิจการ
ตามทะเบียน ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจติดตาม หากพบว่า ย้าย/ปิดกิจการ/ไม่พบให้นับรวมในจำนวนแบบที่ได้รับ
กลับคืน

สูตรการคำนวณ :
จำนวนสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงานต่อพนักงานตรวจแรงงาน x 100
จำนวนแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงานที่พนักงานตรวจแรงงานส่งให้สถานประกอบกิจการตามเป้าหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 ร้อยละ 66 ของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เท่ากับ 1 คะแนน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
 ร้อยละ 67 ของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เท่ากับ 2 คะแนน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
 ร้อยละ 68 ของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เท่ากับ 3 คะแนน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
 ร้อยละ 69 ของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เท่ากับ 4 คะแนน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
 ร้อยละ 70 ของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เท่ากับ 5 คะแนน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
กสร.3.1.3 19
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
ร้อยละของสถานประกอบกิจการที่ยื่นแบบ ร้อยละ N/A N/A 68.83
แสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน
ต่อพนักงานตรวจแรงงาน

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. หน่วยปฏิบตั ิ (กลุม่ งานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานพืน้ ที่ และสำนักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด)
รวบรวมแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงานที่สถานประกอบกิจการ/นายจ้างยื่น
2. รายงานผลการได้รับแบบแสดงสภาพการจ้างและสภาพการทำงานจากระบบคอมพิวเตอร์ของกรม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางสาวอำไพ ศรีเริงหล้า กลุ่มงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 3096

2. นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

20 กสร.3.1.3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 : ร้อยละของสถานประกอบกิจการเป้าหมายที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
1. สถานประกอบกิจการเป้าหมาย หมายถึง สถานประกอบกิจการที่มีขนาดของลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป
2. สถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ หมายถึง สถานประกอบกิจการที่ได้รับการ
ส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ แล้วมีระบบการปรึกษาหารือและความร่วมมือในรูปแบบทวิภาคีอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
- มีคณะกรรมการลูกจ้าง
- มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
- มีคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- มีคณะกรรมการร่วมหารือ
- มีคณะกรรมการทวิภาคีรูปแบบอื่น ๆ เช่น JCC
- มีแผนกแรงงานสัมพันธ์อยู่ในฝ่ายบริหารงานบุคคล

สูตรการคำนวณ :
จำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ X 100
จำนวนสถานประกอบกิจการเป้าหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 2 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดการให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 ร้อยละ 83 ของจำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เท่ากับ 1 คะแนน
 ร้อยละ 85 ของจำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เท่ากับ 2 คะแนน
 ร้อยละ 87 ของจำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เท่ากับ 3 คะแนน
 ร้อยละ 89 ของจำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เท่ากับ 4 คะแนน
 ร้อยละ 91 ของจำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เท่ากับ 5 คะแนน

กสร.3.1.4 21
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
จำนวนสถานประกอบกิจการที่มีระบบบริหาร แห่ง 10,561 10,451 10,780
จัดการด้านแรงงานสัมพันธ์
จำนวนสถานประกอบกิจการเป้าหมาย แห่ง 13,829 12,405 12,367
ร้อยละของสถานประกอบกิจการเป้าหมาย ร้อยละ 76.37 84.25 87.17
ที่มีระบบบริหารจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์

แหล่งข้อมูล :
จากการบันทึกผลการปฏิบัติงานลงในระบบคอมพิวเตอร์ของกรม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายสุวิทย์ สุมาลา ผู้อำนวยการสำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8392 ภายใน 2010

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวสิริวีรา อินทนา กลุ่มงานพัฒนาแรงงานสัมพันธ์
สำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8825 ภายใน 2028

22 กสร.3.1.4
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.1.5 : ร้อยละของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
ร้อยละของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี หมายถึง จำนวนสถานประกอบกิจการที่มีการยื่นข้อเรียกร้องและ
สามารถยุติลงได้โดยการเจรจากันเองระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในระบบทวิภาคี
1. การยื่นข้อเรียกร้อง หมายถึง การเรียกร้องระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ให้มีการกำหนดหรือการแก้ไขเพิ่มเติม
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง โดยแจ้งเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ
2. ข้อเรียกร้องที่ยุติในระบบทวิภาคี หมายถึง การที่นายจ้างกับลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องต่อกันและสามารถเจรจา
ตกลงกันได้ในระบบทวิภาคี

สูตรการคำนวณ :
จำนวนข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี X 100
จำนวนข้อเรียกร้องทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดการให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 ร้อยละ 78 ของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี เท่ากับ 1 คะแนน
 ร้อยละ 79 ของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี เท่ากับ 2 คะแนน
 ร้อยละ 80 ของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี เท่ากับ 3 คะแนน
 ร้อยละ 81 ของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี เท่ากับ 4 คะแนน
 ร้อยละ 82 ของข้อเรียกร้องที่ยุติได้ในระบบทวิภาคี เท่ากับ 5 คะแนน

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
จำนวนสถานประกอบกิจการที่สามารถเจรจา แห่ง 244 264 316
ข้อเรียกร้องให้ยุติลงได้ในระบบทวิภาคี
จำนวนสถานประกอบกิจการที่มีการยื่น แห่ง 313 340 394
ข้อเรียกร้องทั้งหมด
ร้อยละของข้อเรียกร้องที่สามารถยุติได้ แห่ง 77.96 77.65 80.20
ในระบบทวิภาคี

กสร.3.1.5 23
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล :
จากการบันทึกผลการปฏิบัติงานลงในระบบคอมพิวเตอร์ของกรม

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายสุวิทย์ สุมาลา ผู้อำนวยการสำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8392 ภายใน 2010

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวสิริวีรา อินทนา กลุ่มงานพัฒนาแรงงานสัมพันธ์
สำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8825 ภายใน 2028

24 กสร.3.1.5
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ


(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย)
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : ร้อยละ 5
คำอธิบาย :
วัดผลสำเร็จจากร้อยละของผลผลิต (Output) เชิงปริมาณของงานหรือโครงการที่ส่วนราชการทำได้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 เทียบกับเป้าหมายผลผลิตของตัวชี้วัดเชิงปริมาณสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่กำหนดไว้ตาม “เอกสาร
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554”

ตารางและสูตรการคำนวณ :
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ คะแนน คะแนน
เป้าหมายผลผลิต น้ำหนัก ร้อยละของเป้าหมายผลผลิต ที่ได้ ถ่วงน้ำหนัก
(i) (Wi)
1 2 3 4 5 (SMi) (Wi x SMi)
เป้าหมายผลผลิตที่ 1 W1 80 85 90 95 100 SM1 (W1 x SM1)
เป้าหมายผลผลิตที่ 2 W2 80 85 90 95 100 SM2 (W2 x SM2)
. . 80 85 90 95 100 . .
. . 80 85 90 95 100 . .
เป้าหมายผลผลิตที่ i Wi 80 85 90 95 100 SMi (Wi x SM i)
น้ำหนักรวม ∑W1-i ค่าคะแนนของตัวชี้วัดนี้เท่ากับ ∑(W1-i x SM1-i)

ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เท่ากับ
∑ (W1-i x SM1-i) (W1 x SM1) + (W2 x SM2) +……….+ (Wi x SMi)
หรือ
∑ W1-i W1 + W2 + ………+ Wi

โดยที่ :
W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับแต่ละเป้าหมายผลผลิต และผลรวมของน้ำหนักของทุกเป้าหมายผลผลิต
เท่ากับ 1
SM หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของเป้าหมายผลผลิต
1- i หมายถึง ลำดับที่ของเป้าหมายผลผลิต

กสร.3.2 25
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ∑ (Wi x SMi) = 1
2 ∑ (Wi x SMi) = 2
3 ∑ (Wi x SMi) = 3
4 ∑ (Wi x SMi) = 4
5 ∑ (Wi x SMi) = 5

เงื่อนไข :
1. กรณีสว่ นราชการเปลีย่ นแปลงเป้าหมายผลผลิตทีก่ ำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 ต้องได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณ
2. กรณีที่ส่วนราชการใดมีตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการที่สะท้อนผลสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิตได้ครบถ้วนแล้ว
ไม่ต้องวัดผลตามตัวชี้วัดนี้โดยให้นำน้ำหนักไปรวมในตัวชี้วัดที่ 3.1

หมายเหตุ :
การกำหนดน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละเป้าหมายผลผลิตให้ถ่วงน้ำหนักตามลำดับความสำคัญของเป้าหมายผลผลิต
หากไม่ระบุน้ำหนักให้ถือว่าทุกเป้าหมายผลผลิตมีน้ำหนักเท่ากัน

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 4987

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางนิตยา ปราบณรงค์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานแผนงานและสารสนเทศ
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 5188

2. นางสาวสุนารินี ชำนาญกิจ กลุ่มงานแผนงานและสารสนเทศ


สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 5261

26 กสร.3.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.2.1 : แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน


หน่วยวัด : คน
น้ำหนัก : ร้อยละ 1.25
คำอธิบาย :
แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน หมายถึง ลูกจ้างที่ทำงานใน
สถานประกอบกิจการ แรงงานในงานทีร่ บั ไปทำทีบ่ า้ น และแรงงานในงานเกษตรกรรม ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม พัฒนา และหรือ
กำกับดูแลตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

สูตรการคำนวณ :

นับจำนวนแรงงานที่ได้รับการส่งเสริม พัฒนา และหรือกำกับดูแลตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 112,500 คน ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน เท่ากับ 1 คะแนน
1,800,000 คน
 แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน เท่ากับ 2 คะแนน
1,912,500 คน
 แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน เท่ากับ 3 คะแนน
2,025,000 คน
 แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน เท่ากับ 4 คะแนน
2,137,500 คน
 แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน เท่ากับ 5 คะแนน
2,250,000 คน

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
แรงงานได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนา คน 4,118,020 4,656,827 3,590,227
ให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการทำงาน

กสร.3.2.1 27
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แหล่งข้อมูล :
ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ฐานข้อมูลสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ระบบคุ้มครองแรงงาน ระบบงานวิชาการ ระบบฝึกอบรม ระบบผู้รับงานไปทำที่บ้านและงานเกษตรกรรม

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
จากรายงานผลการปฏิบัติงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

28 กสร.3.2.1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 : สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน


หน่วยวัด : แห่ง
น้ำหนัก : ร้อยละ 1.25
คำอธิบาย :
สถานประกอบกิจการได้รบั การกำกับดูแลให้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน หมายถึง สถานประกอบกิจการทีเ่ จ้าหน้าที ่
เข้าไปตรวจแรงงานเพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

สูตรการคำนวณ :

จำนวนสถานประกอบกิจการในระบบที่ผ่านการตรวจคุ้มครองแรงงานทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 2,003 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 32,044 แห่ง เท่ากับ 1 คะแนน
 สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 34,047 แห่ง เท่ากับ 2 คะแนน
 สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 36,050 แห่ง เท่ากับ 3 คะแนน
 สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 38,052 แห่ง เท่ากับ 4 คะแนน
 สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 40,055 แห่ง เท่ากับ 5 คะแนน

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
สถานประกอบกิจการได้รับการกำกับดูแลให้ปฏิบัติ แห่ง 51,237 49,164 41,592
ตามกฎหมายแรงงาน

กสร.3.2.2 29
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แหล่งข้อมูล :
ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ฐานข้อมูลสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ระบบคุ้มครองแรงงาน

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
จากรายงานผลการปฏิบัติงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

30 กสร.3.2.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.2.3 : จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย


หน่วยวัด : แห่ง
น้ำหนัก : ร้อยละ 1.25
คำอธิบาย :
การส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจแก่นายจ้าง เกีย่ วกับการพัฒนามาตรฐาน
แรงงานไทยในสถานประกอบกิจการและความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงาน โดยการจัดประชุมชี้แจง การจัดนิทรรศการ
การเผยแพร่เอกสาร เป็นต้น

สูตรการคำนวณ :

นับจำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยในปีงบประมาณ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 250 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย เท่ากับ 1 คะแนน
4,000 แห่ง
 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย เท่ากับ 2 คะแนน
4,250 แห่ง
 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย เท่ากับ 3 คะแนน
4,500 แห่ง
 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย เท่ากับ 4 คะแนน
4,750 แห่ง
 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย เท่ากับ 5 คะแนน
5,000 แห่ง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
จำนวนสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม แห่ง - - -
และพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย

กสร.3.2.3 31
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แหล่งข้อมูล :
1. ทะเบียนรายชื่อสถานประกอบกิจการตามรายงานการส่งเสริมความรู้จากหน่วยปฏิบัติ
2. รายงานการรณรงค์ส่งเสริมความรู้จากหน่วยงานเจ้าของเรื่อง

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. รายงานการส่งเสริมความรู้จากหน่วยปฏิบัติ
2. รายงานการรณรงค์ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องมาตรฐานแรงงานจากหน่วยงานเจ้าของเรื่อง

เอกสาร/หลักฐานที่จะใช้ประกอบการประเมินผล :
รายชื่อสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมความรู้

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 4987

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาววารีรักษ์ ทองอินต๊ะ กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8294

32 กสร.3.2.3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 3.2.4 : จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย


หน่วยวัด : แห่ง
น้ำหนัก : ร้อยละ 1.25
คำอธิบาย :
สถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย คือ สถานประกอบกิจการที่ได้รับการจัดจ้าง
ที่ปรึกษาเข้าไปให้คำปรึกษา แนะนำ ในการจัดทำระบบบริหารจัดการด้านแรงงาน ตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทย
และ/หรือสถานประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านแรงงาน
ตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทย

สูตรการคำนวณ :

นับจำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยในปีงบประมาณ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 6 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
 เท่ากับ 1 คะแนน
104 แห่ง
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
 เท่ากับ 2 คะแนน
110 แห่ง
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
 เท่ากับ 3 คะแนน
117 แห่ง
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
 เท่ากับ 4 คะแนน
123 แห่ง
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย
 เท่ากับ 5 คะแนน
130 แห่ง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
จำนวนสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการ แห่ง 142 130 130
พัฒนามาตรฐานแรงงานไทย

กสร.3.2.4 33
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แหล่งข้อมูล :
1. ทะเบียนรายชื่อสถานประกอบกิจการที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยตามสัญญาจ้างที่ปรึกษา
และ/หรือ
2. ใบสมัครของสถานประกอบกิจการทีเ่ ข้ารับการส่งเสริมให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ด้านแรงงานตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทย

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. สัญญาจ้างที่ปรึกษาเข้าไปให้คำปรึกษา แนะนำ ในการจัดทำระบบบริหารจัดการด้านแรงงาน ตามข้อกำหนด
มาตรฐานแรงงานไทย และ/หรือ
2. ใบสมัครของสถานประกอบกิจการทีเ่ ข้ารับการส่งเสริมให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ด้านแรงงานตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทย

เอกสาร/หลักฐานที่จะใช้ประกอบการประเมินผล :
ทะเบียนรายชื่อสถานประกอบกิจการที่ได้รับการพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงานไทยตามสัญญาจ้างที่ปรึกษา

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายวรานนท์ ปีติวรรณ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 4987

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาววารีรักษ์ ทองอินต๊ะ กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8294

34 กสร.3.2.4
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ

ประเด็นการประเมินผล : ความพึงพอใจ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 6
คำอธิบาย :
 ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ
ผู้ให้บริการ) หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการจากส่วนราชการ
 พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะเป็นผู้จัดจ้าง
หน่วยงานผู้ประเมินอิสระภายนอกมาดำเนินการสำรวจ
 ประเด็นการสำรวจประกอบด้วยประเด็นสำคัญ ๆ ดังนี้
(1) ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
(2) ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
(3) ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
(4) ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ
(5) ความเชือ่ มัน่ เกีย่ วกับคุณภาพการให้บริการโดยเน้นวาระแห่งชาติดา้ นจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกัน
การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ
 สำนักงาน ก.พ.ร. จะเป็นผู้สำรวจ วิเคราะห์ และคัดเลือกงานบริการหลักของส่วนราชการไม่เกิน 3 งานบริการ
ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด และแจ้งให้ส่วนราชการทราบ
 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกงานบริการ
(1) เป็นงานบริการ ที่เป็นภารกิจหลักของส่วนราชการ
(2) เป็นงานบริการที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก มีผลกระทบสูงต่อประชาชน

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5


ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ใช้ผลสำรวจความพึงพอใจของผูร้ บั บริหารของส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. มอบหมายให้สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ
ดำเนินการสำรวจ

กสร.4 35
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

กำกับดูแลตัวชี้วัด :
1. นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

2. นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9140 ภายใน 2010

3. นายสุวิทย์ สุมาลา ผู้อำนวยการสำนักแรงงานสัมพันธ์


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8392 ภายใน 2010

4. นางโสภา เกียรตินิรชา ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0363

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

2. นางสาวปรียานันท์ ลิขิตศานต์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9174

3. นายอัตถาภรณ์ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน


สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 8338 ต่อ 605

4. นางสาวสิริวีรา อินทนา กลุ่มงานพัฒนาแรงงานสัมพันธ์


สำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8825 ภายใน 2028

5. นางสาวสุภรณ์ ชยากรสกล กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


เบอร์ติดต่อ : 0 2245 6380

36 กสร.4
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 3
คำอธิบาย :
 ผู้กำหนดนโยบาย หมายถึง หน่วยงาน บุคคล หรือคณะบุคคลที่ตั้งขึ้นโดยกฎหมายซึ่งกำหนดนโยบายให้แก่
ส่วนราชการ เช่น นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ/รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงที่ส่วนราชการสังกัด
 พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร.
 ประเด็นการสำรวจประกอบด้วยประเด็นสำคัญๆ ดังนี้
(1) ความพึงพอใจด้านความเข้าใจต่อนโยบายที่มอบหมาย
(2) ความพึงพอใจด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ
(3) ความพึงพอใจด้านการติดตามและนำเสนอผลให้ทราบ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5


ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ใช้ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร.

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางโสภา เกียรตินิรชา ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เบอร์ติดต่อ : 0 22456 0363

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวสุภรณ์ ชยากรสกล กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 6380

กสร.5 37
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ประเด็นการประเมินผล : ความเปิดเผยโปร่งใส 
ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 6
คำอธิบาย :
 พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
ของส่วนราชการ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และการจัดการข้อร้องเรียน
เรื่องการทุจริต การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
 ข้อร้องเรียน หมายถึง ข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของ
เจ้าหน้าที่รัฐในสังกัด และข้อกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน
ไม่มีคุณธรรม จริยธรรม ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งและไม่มีธรรมาภิบาล ตามที่มีกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน
ของทางราชการที่เกี่ยวข้องได้กำหนดไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
 การตอบสนอง หมายถึง การส่งต่อให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวน
การสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งตักเตือน ดำเนินคดี หรืออื่นๆ ตามระเบียบข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผล
หรือความคืบหน้าของการดำเนินการภายในเวลา 15 วัน ทัง้ นี้ กรณีทขี่ อ้ ร้องเรียนไม่ได้ระบุชอื่ และทีอ่ ยูห่ รือหมายเลขโทรศัพท์
ทีต่ ดิ ต่อได้หรืออีเมล์ตดิ ต่อของผูร้ อ้ งเรียน จะพิจารณาการตอบสนองสิน้ สุดทีก่ ารนำเรือ่ งร้องเรียนเข้าสูก่ ระบวนการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง การสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งตักเตือน ดำเนินคดี การนำไปแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน หรืออื่นๆ ตามระเบียบ
ข้อกฎหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขัน้ ของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้า
ของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone)
ระดับคะแนน
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5
1 
2  
3     
4     
5     

กสร.6 39
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1  ทบทวน และวิเคราะห์แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ
และผลการดำเนิ น การตามแผนปฏิ บั ติ ก ารป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ภาครั ฐ ของ
ส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 โดยพิจารณาถึงความสามารถในการแก้ไขปัญหา
การทุจริต และประพฤติมชิ อบ และปัญหา อุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ จากดำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารฯ
ปีที่ผ่านมา
 วิเคราะห์ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน และผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับสถานการณ์ด้าน
การทุจริต และประพฤติมิชอบ ในส่วนราชการตามที่ได้มีการสำรวจในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
 วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลทีไ่ ด้จากการร้องเรียนของส่วนราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ
2553 ว่าแต่ละปีมีจำนวนเท่าไร ในประเด็นใดบ้าง และเปรียบเทียบหาแนวโน้มเรื่องร้องเรียน
ที่เกิดขึ้น แล้วคัดเลือกเรื่องร้องเรียนที่สำคัญ 5 เรื่อง เพื่อนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทาง
แก้ไขปัญหา โดยวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้
1) การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของข้าราชการเป็นไปในลักษณะที่ขาดหรือมีความ
รับผิดชอบไม่เพียงพอ
2) การปฏิบัติหน้าที่ไปในทางที่ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อถือในความมีคุณธรรม ความมี
จริยธรรม
3) การปฏิบัติหน้าที่โดยการขาดการคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนและ
การยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
2 นำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 มาประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยกำหนดเป้าหมายและตัวชีว้ ดั
ที่สะท้อนผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ของการดำเนินการตามแผนฯ ที่ใช้วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม
เสนอผู้บริหารระดับสูงให้ความเห็นชอบ พร้อมทั้งเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของส่วนราชการ

3  ดำเนิ น การตามแผนปฏิ บั ติ ก ารป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ภาครั ฐ ของส่ ว นราชการ


ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน
 ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมายทุกตัวชี้วัด
 สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และผู้มีส่วนได้เสีย เกี่ยวกับสถานการณ์ด้านการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบของส่วนราชการ ตามแบบฟอร์มที่สำนักงาน ป.ป.ท. กำหนดเพื่อนำข้อมูลจาก
สรุปผลการสำรวจดังกล่าวมาใช้ประกอบการปรับปรุงแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตภาครัฐของส่วนราชการในปีต่อไป

40 กสร.6
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
4  ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ
ในหน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ได้ร้อยละ 100
 สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ ร้องเรียนเรือ่ งการทุจริต การปฏิบตั หิ รือละเว้นการปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบ
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยครอบคลุมประเด็นสำคัญ ได้แก่
1) จำนวนข้อร้องเรียนในแต่ละช่องทางและผลการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน แยกตามประเภท
ของเรื่องที่ถูกร้องเรียนและหน่วยงานที่ถูกร้องเรียน
2) ผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาข้อร้องเรียน ปัญหา อุปสรรคของการตอบสนองข้อร้องเรียน
และแนวทางการแก้ไข

5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ภาครัฐของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
การดำเนินงานในปีต่อไป

เงื่อนไข :
1. การดำเนินการในแต่ละระดับขั้นของความสำเร็จ จะพิจารณาถึงคุณภาพของการดำเนินการเพื่อนำมาเป็น
ประเด็นปรับลดคะแนนเชิงคุณภาพด้วย โดยในแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม การทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ
ต้องประกอบด้วย การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ช่องทางการร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่
โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ส่วนราชการได้จัดให้มีขึ้น ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาชนรับทราบ รวมทั้งการรณรงค์
ส่งเสริมให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีเ่ ข้าข่าย
การทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และตระหนักถึงความสำคัญในการให้ความ
ร่วมมือกับภาครัฐในการสอดส่องและแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับพฤติกรรมดังกล่าว
2. ขอให้ส่วนราชการจัดส่งแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2554 ไปยังสำนักงาน ป.ป.ท. ภายในวันที่ 25 เมษายน 2554 และจัดส่งรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไปยัง
สำนักงาน ป.ป.ท. ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2554 ทั้งนี้ หากไม่สามารถจัดส่งได้ภายในกำหนดจะถูกพิจารณาปรับลดคะแนน
0.2500 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต

กสร.6 41
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายสุวิทยา จันทวงศ์ ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 3475

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางสาวนงนุช จิตรปฏิมา หัวหน้าฝ่ายวินัยและทะเบียนประวัติ
กองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 1091

2. นางสุนีย์ ยิ้มย่อง ฝ่ายวินัยและทะเบียนประวัติ
กองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 1091

42 กสร.6
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

มิติที่ 3 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ

ประเด็นการประเมินผล : การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 7 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 3
คำอธิบาย :
• พิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลา
มาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน
• รอบระยะเวลามาตรฐานการให้บริการ หมายถึง ระยะเวลาให้บริการที่ส่วนราชการลดได้ มากกว่าร้อยละ 30
และดำเนินการได้จริง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
• รอบระยะเวลามาตรฐานการให้บริการสำหรับกระบวนงานใหม่ หมายถึง ระยะเวลาให้บริการ ณ ปัจจุบัน
• กระบวนงานที่นำมาประเมินผลการปฏิบัติราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 หมายถึง
1) กระบวนงานที่ส่วนราชการได้ดำเนินการลดรอบระยะเวลาได้ตั้งแต่ร้อยละ 30 ขึ้นไป ตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2547 และ/หรือ
2) กระบวนงานใหม่ที่ส่วนราชการไม่เคยแจ้งสำนักงาน ก.พ.ร. มาก่อน เนื่องจาก
- มีการสำรวจกระบวนงานการให้บริการของส่วนราชการใหม่
- มีการเปลี่ยนแปลงบทบาท ภารกิจหน้าที่ ของส่วนราชการใหม่
• การคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ต้องเป็น
กระบวนงานหลักที่สำคัญ และ/หรือมีผู้มารับบริการจำนวนมาก และ/หรือมีผู้ร้องเรียนจำนวนมาก และ/หรือมีผลกระทบต่อ
ประชาชนในวงกว้ า ง และ/หรื อ สอดคล้ อ งกั บ งานบริ ก ารในตั ว ชี้ วั ด ร้ อ ยละของระดั บ ความพึ ง พอใจของผู้ รั บ บริ ก าร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไม่น้อยกว่า 5 กระบวนงาน (หรือจำนวนกระบวนงานน้อยกว่าได้ กรณีส่วนราชการมีกระบวน
งานบริการหลักน้อยกว่า 5 กระบวนงาน)

รายชื่อกระบวนงาน น้ำหนัก และรอบระยะเวลามาตรฐานที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เสนอประเมินผล


ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีจำนวน 6 งานบริการ ดังนี้

รอบระยะเวลามาตรฐาน
จำนวน ชื่อกระบวนงาน น้ำหนัก
(ที่ให้บริการจริง)
1 งานบริการตรวจวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการทำงาน 0.20 11 วันทำการ
2 การตรวจแรงงานตามคำร้อง 0.10 30 วันทำการ
3 การพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง 0.10 11 วันทำการ
(กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าชดเชย)

กสร.7 43
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รอบระยะเวลามาตรฐาน
จำนวน ชื่อกระบวนงาน น้ำหนัก
(ที่ให้บริการจริง)
4 การพิจารณาวินิจฉัยคำร้องของลู ก จ้ า ง กรณี น ายจ้ า งย้ า ยส 0.20 90 วันทำการ
ถานประกอบกิจการตามมาตรา 120 แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
5 การจดทะเบียนที่ปรึกษาด้านแรงงานสัมพันธ์ 0.20 7 วันทำการ
6 การอนุมัติให้สหกรณ์ออมทรัพย์ในสถานประกอบกิจการ และ 0.20
รัฐวิสาหกิจกู้เงินกองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน
6.1 กรณีเงินกู้ไม่เกินห้าล้านบาท
6.1.1 ยื่นคำขอที่ส่วนกลาง 0.10 56 วันทำการ
6.2 กรณีเงินกู้เกินห้าล้านบาท
6.2.1 ยื่นคำขอที่ส่วนกลาง 0.10 57 วันทำการ
รวม 1.00

ตารางและสูตรการคำนวณ :

จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน x 100
จำนวนผู้รับบริการทั้งหมดที่ได้รับบริการในแต่ละงานบริการ

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผู้รับบริการ
ที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐานเทียบกับ คะแนน คะแนนเฉลี่ย
งานบริการ น้ำหนัก
จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด ที่ได้ ถ่วงน้ำหนัก
(i) (Wi)
(Ci) (Wi x Ci)
1 2 3 4 5
1 W1 80 85 90 95 100 C1 (W1 x C1)
2 W2 80 85 90 95 100 C2 (W2 x C2)
. . 80 85 90 95 100 . .
i Wi 80 85 90 95 100 Ci (Wi x Ci)
น้ำหนักรวม Σ W1-i ค่าคะแนนของตัวชี้วัดนี้เท่ากับ Σ (W1-i x C1-i)

44 กสร.7
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เท่ากับ

Σ (W1-i x C1-i) หรือ (W1 x C1) + (W2 x C2) + ... + (Wi x Ci)
Σ W1-i W1 + W2 + W3 +...+ Wi

โดยที่ :
W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับแต่ละงานบริการ และผลรวมของน้ำหนักของทุกงานบริการ เท่ากับ 1
C หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐานเทียบกับ
จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด
1-i หมายถึง ลำดับที่ของงานบริการ

เกณฑ์การให้คะแนน :

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 Σ (Wi x Ci) = 1
2 Σ (Wi x Ci) = 2
3 Σ (Wi x Ci) = 3
4 Σ (Wi x Ci) = 4
5 Σ (Wi x Ci) = 5

เงื่อนไข :
1. ให้ส่วนราชการคัดเลือกกระบวนงานจำนวนไม่น้อยกว่า 5 กระบวนงาน (หรือน้อยกว่าหากมีกระบวนงาน
ไม่ถึง 5 งานบริการ) และแจ้งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ทราบ โดยใช้แบบฟอร์มที่ 1 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2554
2. ให้ส่วนราชการระบุน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละกระบวนงานที่คัดเลือกเพื่อนำไปประเมินผลในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 โดยกำหนดให้มีการถ่วงน้ำหนักตามลำดับความสำคัญของกระบวนงาน หากไม่ระบุน้ำหนักให้ถือว่าทุก
กระบวนงานมีน้ำหนักเท่ากัน
3. ให้ส่วนราชการประกาศขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการของแต่ละกระบวนงานที่เป็นรอบระยะเวลา
มาตรฐาน ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน
4. ให้ส่วนราชการแจ้งสำนักงาน ก.พ.ร. หากมีการขอเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขกับรายละเอียดของกระบวนงาน
ที่ได้คัดเลือกและรายงานให้สำนักงาน ก.พ.ร.ทราบแล้ว เพื่อพิจารณา

กสร.7 45
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

หมายเหตุ :
1. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กำหนดให้ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่
เดือนมกราคม 2554 ถึง กันยายน 2554 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยให้
ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลผู้รับบริการตามวันในปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด คือ สัปดาห์ละ 1 วัน เริ่มต้นจากสัปดาห์ที่ 1
จนถึงสัปดาห์ที่ 39 ตามปฏิทินของ ปี พ.ศ. 2554 รวมทั้งสิ้น 39 วัน กรณีวันที่กำหนดตรงกับวันหยุดราชการหรือเป็นวันที่
ไม่มีผู้มารับบริการให้จังหวัดจัดเก็บข้อมูลในวันทำการถัดไป ทั้งนี้ การจัดเก็บข้อมูลจำนวนผู้ใช้บริการให้พิจารณา ดังนี้
- กรณีมีผู้รับบริการต่อวันจำนวนมากให้จัดเก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 30 รายต่อวัน หากไม่ถึง 30 รายต่อวัน
ให้เก็บข้อมูลทุกราย
- กรณีมีผู้มารับบริการเฉพาะช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งและไม่สามารถเก็บข้อมูลตามปีปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร.
กำหนดได้ เช่น การชำระภาษีรายได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นงานบริการที่ให้บริการเพียงระยะเวลา 1 – 2 เดือนต่อปี เป็นต้น
ให้เก็บข้อมูลอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ โดยวิธีการสุ่ม และไม่น้อยกว่า 30 รายต่อวัน (หากมีผู้รับบริการจำนวนมาก) หรือ
ตามความเหมาะสมกับลักษณะงานบริการ
- กรณีมีผู้รับบริการต่อปีจำนวนน้อยมากให้เก็บข้อมูลผู้รับบริการทุกรายตลอด 9 เดือน
- หรือพิจารณาเก็บข้อมูลตามความเหมาะสมของลักษณะการให้บริการ
2. หากส่วนราชการไม่จัดส่งรายงานผลการคัดเลือกกระบวนงานที่นำมาประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2554 จะถูกปรับลดคะแนนลง 0.1000
คะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้

ตารางที่ 1 ปฏิทินการจัดเก็บข้อมูลตามวันที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด


สัปดาห์ มกราคม พ.ศ. 2554 สัปดาห์ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 สัปดาห์ มีนาคม พ.ศ. 2554
ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ
1 3 4 5 6 7 5 1 2 3 4 9 1 2 3 4
2 10 11 12 13 14 6 7 8 9 10 11 10 7 8 9 10 11
3 17 18 19 20 21 7 14 15 16 17 18 11 14 15 16 17 18
4 24 25 26 27 28 8 21 22 23 24 25 12 21 22 23 24 25
5 31 9 28 13 28 29 30 31
สัปดาห์ เมษายน พ.ศ. 2554 สัปดาห์ พฤษภาคม พ.ศ. 2554 สัปดาห์ มิถุนายน พ.ศ. 2554
ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ
13 1 18 2 3 4 5 6 22 1 2 3
14 4 5 6 7 8 19 9 10 11 12 13 23 6 7 8 9 10
15 11 12 13 14 15 20 16 17 18 19 20 24 13 14 15 16 17
16 18 19 20 21 22 21 23 24 25 26 27 25 20 21 22 23 24
17 25 26 27 28 29 22 30 31 26 27 28 29 30
สัปดาห์ กรกฎาคม พ.ศ. 2554 สัปดาห์ สิงหาคม พ.ศ. 2554 สัปดาห์ กันยายน พ.ศ. 2554
ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ ที่ จ อ พ พฤ ศ
26 1 31 1 2 3 4 5 35 1 2
27 4 5 6 7 8 32 8 9 10 11 12 36 5 6 7 8 9
28 11 12 13 14 15 33 15 16 17 18 19 37 12 13 14 15 16
29 18 19 20 21 22 34 22 23 24 25 26 38 19 20 21 22 23
30 25 26 27 28 29 35 29 30 31 39 26 27 28 29 30

46 กสร.7
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

3. หากส่วนราชการไม่มกี ารประกาศขัน้ ตอนและระยะเวลาการให้บริการในแต่ละกระบวนงานทีเ่ ป็นรอบระยะเวลา


มาตรฐาน ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน จะถูกปรับลดคะแนนลง 0.5000 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้
4. หากส่วนราชการไม่สามารถแสดงทะเบียนหรือบันทึกระยะเวลาการให้บริการตามวันในปฏิทนิ ทีส่ ำนักงาน ก.พ.ร.
กำหนดให้จัดเก็บข้อมูลได้ จะถูกปรับลดคะแนนลง 0.5000 คะแนน จากคะแนน ที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้
5. หากผู้ประเมินสุ่มกระบวนงานเพื่อประเมินผล ณ สถานที่จริง แล้วพบว่าทะเบียนหรือบันทึกระยะเวลาการ
ให้บริการตามวันในปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้จัดเก็บข้อมูล ขาดความสมบูรณ์ หรือขาดความน่าเชื่อถือ
จะถูกปรับลดคะแนนลง 0.2000 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้

กำกับดูแลตัวชี้วัด :
1. นางสาวกาญจนา กานต์วิโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9140 ภายใน 2010

2. นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ ผู้อำนวยการสำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 1622

3. นายสุวิทย์ สุมาลา ผู้อำนวยการสำนักแรงงานสัมพันธ์


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8392 ภายใน 2010

4. นางนิสา นพทีปกังวาล ผู้อำนวยการกองสวัสดิการแรงงาน


เบอร์ติดต่อ : 0 2248 6684

5. นางโสภา เกียรตินิรชา ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0363

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางสาวปรียานันท์ ลิขิตศานต์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 9174

2. นายอัตถาภรณ์ ประทีป ณ ถลาง กลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน
สำนักความปลอดภัยแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2448 8338 ต่อ 605

3. นางมุกจรินทร์ สุทธิจินดาวงศ์ กลุ่มงานพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน


สำนักคุ้มครองแรงงาน
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 2707

กสร.7 47
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

4. นางสาวสิริวีรา อินทนา กลุ่มงานพัฒนาแรงงานสัมพันธ์


สำนักแรงงานสัมพันธ์
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 8825 ภายใน 2028

5. นางจิราพร ตีวกุล กองสวัสดิการแรงงาน


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0383

6. นางสาวณัฐพร พิชยภิญโญ กองสวัสดิการแรงงาน


เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0383

7. นางสาวสุภรณ์ ชยากรสกล กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


เบอร์ติดต่อ : 0 2245 6380

48 กสร.7
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ประเด็นการประเมินผล : การบริหารงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 8.1 : ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 2
คำอธิบาย :
- การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
รายจ่ายลงทุนของส่วนราชการทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน
งบประมาณรายจ่ายลงทุนของส่วนราชการ ทั้งนี้ ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ
โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
- การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของส่วนราชการ
เทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่าย
ประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็น
ฐานในการคำนวณ
- รายจ่ายลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สินประเภททุน ทั้งที่มีตัวตนและทรัพย์สิน
ทีไ่ ม่มตี วั ตน ตลอดจนรายจ่ายทีร่ ฐั บาลอุดหนุนหรือโอนให้แก่บคุ คล องค์กร หรือรัฐวิสาหกิจ โดยผูร้ บั ไม่ตอ้ งจ่ายคืนให้รฐั บาล
และผู้รับนำไปใช้จัดหาทรัพย์สินประเภททุน เป็นต้น สามารถตรวจสอบได้จากรหัสงบประมาณรายจ่าย รหัสลักษณะงาน
ตำแหน่งที่ 5 แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจที่สำนักงบประมาณกำหนดให้

สูตรการคำนวณ :
เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการเบิกจ่าย X 100
วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 3 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
1 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 66 เท่ากับ 1 คะแนน
2 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 69 เท่ากับ 2 คะแนน
3 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 72 เท่ากับ 3 คะแนน
4 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 75 เท่ากับ 4 คะแนน
5 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนร้อยละ 78 เท่ากับ 5 คะแนน

กสร.8.1 49
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด 2551 2552 2553
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ร้อยละ 98.781 53.920 82.971

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ใช้ข้อมูลในการติดตามประเมินผลจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง จากระบบการบริหารการเงินการคลัง
ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางสรวงสุรัตน์ มรรคา เลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 8541 ภายใน 2083

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวจุฑามาศ มาฤาษี งานงบประมาณและบัญชี
สำนักงานเลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 5313 ภายใน 2091

50 กสร.8.1
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 8.2 : ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 1.5
คำอธิบาย :
- การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
รายจ่ายภาพรวมของส่วนราชการทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน
ของส่วนราชการ ทั้งนี้ ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่าย
ดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
- การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ของส่วนราชการ
เทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่าย
ประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐาน
ในการคำนวณ

สูตรการคำนวณ :
เงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการเบิกจ่าย X 100
วงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการได้รับ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน
1 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมร้อยละ 91 เท่ากับ 1 คะแนน
2 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมร้อยละ 92 เท่ากับ 2 คะแนน
3 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมร้อยละ 93 เท่ากับ 3 คะแนน
4 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมร้อยละ 94 เท่ากับ 4 คะแนน
5 อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมร้อยละ 95 เท่ากับ 5 คะแนน

กสร.8.2 51
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ร้อยละ 95.951 92.530 93.382
ภาพรวม

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ใช้ขอ้ มูลในการติดตามประเมินผลจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางสรวงสุรัตน์ มรรคา เลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 8541 ภายใน 2083

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวจุฑามาศ มาฤาษี งานงบประมาณและบัญชี
สำนักงานเลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 5313 ภายใน 2091

52 กสร.8.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 9 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 3
คำอธิบาย :
ความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หมายถึง การที่ส่วนราชการสามารถจัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วย
ผลผลิตตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด และนำเอาผลการคำนวณต้นทุนมาใช้ในการบริหารทรัพยากร

เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขัน้ ของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้า
ของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone)
ระดับคะแนน
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กรมบัญชีกลางกำหนดได้แล้วเสร็จ และรายงานผลการคำนวณต้นทุนตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลาง
กำหนด โดยเสนอให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลางและสำนักงาน ก.พ.ร. ทราบ
2 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และปีงบประมาณ
พ.ศ. 2553 ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว จัดทำรายงานการเปรียบเทียบและสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ได้แล้วเสร็จ ตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนด โดยเสนอให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง
และสำนักงาน ก.พ.ร. ทราบ
3 จัดทำแผนเพิม่ ประสิทธิภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 พร้อมทัง้ กำหนดเป้าหมาย การเพิม่ ประสิทธิภาพ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้ชัดเจน (สามารถวัดผลได้) และแผนฯ ดังกล่าวได้รับความเห็นชอบ
จากผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ
4
สร้างรหัสกิจกรรมย่อยในระบบ GFMIS สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 และระบุค่าใช้จ่ายเข้าสู่
กิจกรรมย่อยดังกล่าวในระบบ GFMIS

กสร.9 53
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
5 สามารถดำเนินการตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ได้ตามเป้าหมาย
ที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลสำเร็จตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพ
การดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 และได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ

เงื่อนไข :
1. ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ 1 และ 2 ถึงสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ
สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554
2. ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ 3 ถึงกรมบัญชีกลางภายในวันที่ 31 มีนาคม 2554
3. ให้ส่วนราชการส่งผลการดำเนินงานในระดับคะแนนที่ 4 และ 5 ถึงกรมบัญชีกลางภายในวันที่ 31 ตุลาคม
2554

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด
2551 2552 2553
ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุน ระดับขั้นของ - 4 4
ต่อหน่วยผลผลิต ความสำเร็จ

แหล่งข้อมูล :
- รายการเบิกจ่ายในระบบ GFMIS
- รายงานการประชุมสรุปความเห็นของคณะทำงานและคณะกรรมการจัดทำต้นทุนผลผลิต
- ข้อมูลเกี่ยวกับการทบทวนผลผลิตกิจกรรมของกรม จากสำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- รวบรวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในระบบ
- คำนวณต้นทุนตามหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางกำหนด
- รายงานผลการจัดทำบัญชีต้นทุนผลผลิตให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางสรวงสุรัตน์ มรรคา เลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 8541 ภายใน 2083

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางสาวจุฑามาศ มาฤาษี งานงบประมาณและบัญชี
สำนักงานเลขานุการกรม
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 5313 ภายใน 2091

54 กสร.9
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ประเด็นการประเมินผล : การควบคุมภายใน
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 4
คำอธิบาย :
• การควบคุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วย
รับตรวจจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ จะบรรลุวัตถุประสงค์ของ
การควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน และการใช้ทรัพยากร ซึง่ รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สนิ
การป้องกันหรือ ลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริต ด้านความเชื่อถือได้ของรายงาน
ทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายซึ่งรวมถึงการปฏิบัติงาน
ตามระเบียบของฝ่ายบริหาร
• ความสำเร็จของการควบคุมภายในภาคราชการ จะพิจารณาจากความสามารถของหน่วยงานในการควบคุมภายใน
ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) และแนวทาง
การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายในของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่ได้กำหนด
เป็นแนวทางไว้

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 หน่วยรับตรวจมีกลไกการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ
พ.ศ. 2553 และส่งรายงานผลการดำเนินงานตามแผน การปรับปรุงดังกล่าวให้สำนักงาน ก.พ.ร.
ได้ภายในวันที่ 29 เมษายน 2554
2 หน่วยรับตรวจประเมินผลการควบคุมภายในได้ตามแนวทาง : การจัดวางระบบ การควบคุมภายใน
และการประเมินผลการควบคุมภายใน ของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
3 หน่วยรับตรวจวิเคราะห์จดุ อ่อน/ความเสีย่ งของระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ที่ยังคงปรากฏอยู่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
4 หน่วยรับตรวจจัดทำรายงานเกีย่ วกับการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6)
5 หน่วยรับตรวจดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผล โดยวัดผล
จากระดับคะแนนของตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย
ตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ(ตามเอกสารงบประมาณ
รายจ่าย)

กสร.10 55
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

การพิจารณาระดับคะแนนแบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ขั้นตอน โดยมีระดับคะแนน ดังนี้

ขั้นตอน คะแนนเต็ม
1 1.00 คะแนน
2 1.00 คะแนน
3 1.00 คะแนน
4 1.00 คะแนน
5 1.00 คะแนน
รวม 5.00 คะแนน

เงื่อนไข :
ขั้นตอนที่ 1 (1.00 คะแนน)
1.1 เอกสาร/หลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงกระบวนการในการติดตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นแผนการปรับปรุงที่จะมีการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
(0.50 คะแนน)
1.2 จัดทำรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของปีงบประมาณ
พ.ศ. 2553 ที่ได้ดำเนินการในรอบ 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 และได้นำเสนอต่อหัวหน้า
ส่ ว นราชการเพื่ อ สั่ ง การโดยสามารถจั ด ส่ ง ให้ ส ำนั ก งาน ก.พ.ร. ได้ ภ ายในวั น ที่ 29 เมษายน 2554
(0.50 คะแนน)

ขั้นตอนที่ 2 (1.00 คะแนน)


เป็ น ขั้ น ตอนที่ ใ ห้ ผู้ บ ริ ห ารและผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในแต่ ล ะส่ ว นงานย่ อ ยที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น ผู้ ป ระเมิ น งาน
ในความรับผิดชอบดำเนินการ โดยทำการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้ผู้รับผิดชอบในงานได้พิจารณาการ
ปฏิบัติงานด้วยตนเองอย่างแท้จริง และยอมรับที่จะทำการปรับปรุงการควบคุมภายในให้เหมาะสม มิฉะนั้นจะเกิดผลกระทบ
ต่อการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน ทั้งนี้ ตามหนังสือแนวทาง : การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผล
การควบคุมภายในของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โดยให้ประเมินตามแบบฟอร์มที่ 1 ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนนย่อย
ดังนี้
2.1 มีการดำเนินการ 1ขั้นตอน อย่างครบถ้วน (0.20 คะแนน)
2.2 มีการดำเนินการ 2 ขั้นตอน อย่างครบถ้วน (0.20 คะแนน)
2.3 มีการดำเนินการ 3 ขั้นตอน อย่างครบถ้วน (0.20 คะแนน)
2.4 มีการดำเนินการ 4 ขั้นตอน อย่างครบถ้วน (0.20 คะแนน)
2.5 จัดส่งแบบฟอร์มที่ 1 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 (0.20 คะแนน)

56 กสร.10
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ขั้นตอนที่ 3 (1.00 คะแนน)


1.1 เอกสาร/หลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุมภายใน
ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่ยังไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม และยังคงปรากฏอยู่ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 ทั้งนี้ ให้หน่วยรับตรวจจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์ตามแบบฟอร์มที่ 2 (0.50 คะแนน)
1.2 จัดส่งแบบฟอร์มที่ 2 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 (0.50 คะแนน)
ขั้นตอนที่ 4 (1.00 คะแนน)
1.1 หน่วยรับตรวจจัดทำรายงานเกีย่ วกับการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการ
กำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 (ข้อ 6) (ประกอบด้วยแบบ ปย. 1 แบบ ปย. 2 แบบ ปอ. 1 แบบ ปอ. 2
แบบ ปอ. 3 และแบบ ปส.) โดยจัดส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. และคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินได้ภายใน
วันที่ 30 ธันวาคม 2554

ขั้นตอนที่ 5 (1.00 คะแนน)


1.1 เพื่อให้หน่วยรับตรวจสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลของการดำเนินงาน
ของหน่วยรับตรวจได้ ดังนั้น จึงวัดผลจากค่าคะแนนของหน่วยรับตรวจที่ได้จากค่าคะแนนของตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ
ของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับคะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ ภารกิจหลัก/ คะแนนย่อยที่ได้
เป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย)
0.00-1.00 0.20
1.01-2.00 0.40
2.01-3.00 0.60
3.01-4.00 0.80
4.01-5.00 1.00

กสร.10 57
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
ทุกหน่วยงานในส่วนกลาง

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นายสุวิทยา จันทวงศ์ ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 3475

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นางมธุรส เปรมฤทธิ์ ฝ่ายพัฒนาข้าราชการและบำเหน็จความชอบ
กองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 5867

2. นายชัยวัธน์ ศรมณี ฝ่ายพัฒนาข้าราชการและบำเหน็จความชอบ


กองการเจ้าหน้าที่
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 5867

58 กสร.10
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ

ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์การ
ตัวชี้วัดที่ 12 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 20
คำอธิบาย :
• การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา
ส่วนราชการได้ยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์คณ ุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน (Fundamental
Level : FL) จำนวน 2 หมวด ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ซึ่งหน่วยงานด้านนโยบายได้ดำเนินการในหมวด 1 หรือ
หมวด 4 (หมวดบังคับ) และหมวดสมัครใจอีกหนึ่งหมวด สำหรับหน่วยงานด้านบริการได้ดำเนินการในหมวด 1 หรือหมวด 6
(หมวดบังคับ) และหมวดสมัครใจอีกหนึ่งหมวดเช่นกัน
• สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำนักงาน ก.พ.ร. ยังคงมุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุง
องค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานใน
หมวดที่เหลือจำนวน 2 หมวด รวมทั้งให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบการบริหารจัดการที่ดีที่ส่วนราชการได้ดำเนินการ
มาแล้วในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในระดับ
ก้าวหน้า (Progressive Level: PL) ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป
• สาระสำคัญของแนวทางดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
และ พ.ศ. 2553 มีความแตกต่างเพียง 2 ประการ ดังนี้
1) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน ทัง้ 7 หมวด เนือ่ งจากส่วนราชการ
จะต้องได้รับการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) เพื่อเป็นพื้นฐาน
ของการพัฒนาระบบบริหารจัดการในระดับก้าวหน้าที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป
2) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวด 7 เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ทั้ง 6 หมวด ซึ่งส่วนราชการจะเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาหมวดละ 1 ตัวชี้วัด เพื่อสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการ
และเป็นจุดเน้นทีส่ ำคัญทีส่ ว่ นราชการต้องผลักดันการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบกับตัวชีว้ ดั ทีเ่ ลือกในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 นี้ จะเป็นส่วนหนึง่ ของการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คณ ุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน (Certify FL)
3 ) ตั ว ชี้ วั ด ผลลั พ ธ์ ข องหมวดที่ ด ำเนิ น การที่ ส่ ว นราชการได้ คั ด เลื อ กมาในการจั ด ทำแผนพั ฒ นาองค์ ก าร
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (แบบฟอร์ม 4.2) และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2553 นั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ให้
คะแนนความครบถ้วนตามตัวชีว้ ดั ย่อย 15.3.3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แล้ว สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอยกเลิก
การให้คะแนนผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าว เนื่องจากได้มากำหนดเป็นตัวชี้วัดในหมวด 7 ซึ่งสะท้อน
ผลลัพธ์ของกระบวนการที่ครอบคลุมทุกหมวดแล้ว
• การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ ให้องค์การได้ปรับปรุงระบบบริหารจัดการ
ให้ได้มาตรฐานและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ดังนั้น แม้ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ไปแล้วก็ตาม ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหาร
จัดการทีด่ ดี งั กล่าวให้ตอ่ เนือ่ ง เพือ่ เป็นพืน้ ฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขัน้ ก้าวหน้าทีจ่ ะต้องดำเนินการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป

กสร.12 59
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

• ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง ความสำเร็จที่ส่วนราชการนำ


เกณฑ์คณ ุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึง่ เป็นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมิน
องค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ
เพื่อปรับปรุงองค์การและยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการสู่ระดับมาตรฐานเทียบเท่าสากล
• ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” น้ำหนัก ร้อยละ 20 แบ่งออกเป็น
3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

น้ำหนัก
ตัวชี้วัด
(ร้อยละ)
12.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 8
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของ
12.2 ผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพ 6
การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7)
ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ
12.3 6
การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
รวม 20

60 กสร.12
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 12.1 : ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน


หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : ร้อยละ 8 (น้ำหนักหมวดร้อยละ 4 จำนวน 2 หมวด)
คำอธิบาย :
• ส่วนราชการจะดำเนินการเพื่อให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานจำนวน 2 หมวด
ที่เหลือ และส่วนราชการจะใช้แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่ได้จัดทำขึ้นเป็นเครื่องมือในการกำกับ
ติดตามเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้นำ 2 หมวดที่เหลือมาดำเนินการเพื่อประเมินผลในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 ได้แก่
 หมวด 2 : การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ “แผนพัฒนาระบบการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ”
 หมวด 4 : การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ “แผนพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูล”

น้ำหนัก (ร้อยละ)
ตัวชี้วัด หมวดที่เหลือ หมวดที่เหลือ
(1) (2)
12.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 4
(วัดกระบวนการในการดำเนินการพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554)
รวม 8

เกณฑ์การให้คะแนน :
วัดความสำเร็จของกระบวนการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ
โดยเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็น ดังนี้

น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน
การประเมินผล
(ร้อยละ) 1 2 3 4 5
ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คณ
ุ ภาพการบริหารจัดการ 4 60 70 80 90 100
ภาครัฐระดับพื้นฐาน

กสร.12.1 61
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 12.2 : ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์


การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7)
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 6
คำอธิบาย :
• ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของ
ส่วนราชการ หมายถึง การวัดความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการ
หมวด 1 – 6
• ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 1 – 6 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดแนะนำของสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนหมวดละ
1 ตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าน้ำหนักคะแนนเท่ากันทุกตัวชี้วัด และผลรวมของน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดรวมกันเท่ากับ 1

ตารางและสูตรการคำนวณ :
ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จ คะแนนที่ได้ คะแนน
(i) (Wi) ตามเป้าหมายของตัวชี้วัด (SMi) ถ่วงน้ำหนัก
(Wi x SMi)
1 2 3 4 5
KPI1 W1 60 70 80 90 100 SM1 (W1 x SM1)
KPI2 W2 … … … … … SM2 (W2 x SM2)
. . … … … … … . .
. . … … … … … . .
KPIi Wi … … … … … SMi (Wi x SMi)
น้ำหนักรวม S W1- i ค่าคะแนนของตัวชี้วัดนี้เท่ากับ S (Wi x SMi)

ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เท่ากับ

S (Wi x SMi) หรือ (W1 x SM1) + (W2 x SM2) + ... + (Wi x SMi)
S W1 - i W1+ W2 +...+ Wi

62 กสร.12.2
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

โดยที่ :
W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับตัวชี้วัดที่กำหนดให้เท่ากันทุกตัวชี้วัด และผลรวมของน้ำหนักของ
ทุกตัวชี้วัด เท่ากับ 1
SM หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด
i หมายถึง ลำดับที่ของตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นตามแนวทางการดำเนินงาน

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 S (Wi x SMi) = 1
2 S (Wi x SMi) = 2
3 S (Wi x SMi) = 3
4 S (Wi x SMi) = 4
5 S (Wi x SMi) = 5

กสร.12.2 63
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ตัวชี้วัดที่ 12.3 : ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ


การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
น้ำหนัก : ร้อยละ 6
คำอธิบาย :
• การประเมินองค์กรด้วยตนเองนั้น ให้ส่วนราชการดำเนินการ ดังนี้
o จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร
o ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1 – 7 ตามโปรแกรมตรวจประเมิน FL
o ประเมินองค์กรด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
ตามโปรแกรม Self Certify FL
• การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Certify FL) เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับพื้นฐาน หมายถึง การให้ส่วนราชการประเมินองค์กรตามประเด็นที่กำหนดที่แสดงให้เห็นถึงการยกระดับการบริหาร
จัดการองค์การในประเด็นที่สำคัญของแต่ละหมวด ที่สะท้อนถึงความเป็นระบบ และการนำไปปฏิบัติให้เกิดผล ซึ่งจะเป็น
พื้นฐานสำคัญของการพัฒนาองค์การให้เกิดความยั่งยืน

น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน
การประเมินผล
(ร้อยละ) 1 2 3 4 5
ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์กรด้วยตนเอง 6 1 2 3 4 5
ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐระดับพื้นฐาน

เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความ
ก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone)
ระดับคะแนน
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

64 กสร.12.3
รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน
2 ประเมิ น องค์ ก รด้ ว ยตนเองตามเกณฑ์ คุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ ระดั บ พื้ น ฐาน (FL)
ได้ครบถ้วน
3 ประเมินองค์กรด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประเด็น
การตรวจรับรอง
4 ประเมินองค์กรด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ตามประเด็น
การตรวจรับรอง
5 ประเมินองค์กรด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ตามประเด็น
การตรวจรับรอง

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
จัดเก็บข้อมูลการดำเนินงานเป็นแฟ้มข้อมูลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 และเอกสารรายงานผลการประชุมคณะทำงาน/ คณะกรรมการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด :
นางโสภา เกียรตินิรชา ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เบอร์ติดต่อ : 0 2246 0363

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
นางนงนุช ทิพย์เกษร กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เบอร์ติดต่อ : 0 2245 6380

กสร.12.3 65
คณะทำงาน

คณะที่ปรึกษา
1. นางอัมพร นิติสิริ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
2. นายปกรณ์ อมรชีวิน รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
3. นางโสภา เกียรตินิรชา ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

คณะผู้จัดทำ
1. นางสาวสุภรณ์ ชยากรสกล นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
2. นางนงนุช ทิพย์เกษร นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
3. นางดวงใจ ขุนโต นักวิชาการแรงงานปฏิบัติการ
4. นางสาวมยุรินทร์ บุญพิทักษ์ นักวิชาการแรงงานปฏิบัติการ
5. นางสาวขจีรัตน์ เสนางาม เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
6. นางสาวเฉิดฉาย พวงสุมาลี ธุรการและบันทึกข้อมูล
7. นางสาวเพชรรัตน์ จันที ธุรการและบันทึกข้อมูล

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน

โทรศัพท์ : 0 2245 6380


โทรสาร : 0 2246 0147
http://asdg.labour.go.th/asdg

You might also like