You are on page 1of 37

แนวทางการกำหนดตัวชี้วัด

โครงการ/กิจกรรม

กลุ่มพัฒนาระบบบริหา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่มาของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การบริหารกิจการบ้านเมือง
ที่ดี
(Good Governance)
พระราชบัญญัติระเบียบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลัก
บริหารราชการแผ่นดิน เกณฑ์และวิธีการบริหาร
(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

กพร.ก กพร.ก กพร.ก กพร.ก กพร.ก


รม รม รม รม รม
5

ตัวชี้วัด
(Key Performance Indicator)
ตามแนวทางของ
สำนักงาน ก.พ.ร.

8
ความเป็ นมาของตัวชี้วัด
▷ ในอดีตรู้จักกันในทางกายภาพ เชิงคุณลักษณะ เช่น
ความร้อน ความใกล้ไกล เป็ นต้น

▷ ต่อมาการวัดเชิงคุณลักษณะบางอย่างได้ถูกกำหนดเป็ นเชิง
ปริมาณที่ได้รับการยอมรับตามมาตรฐานสากล เช่น องศา
เซลเซียส กิโลเมตร กิโลกรับ เป็ นต้น และยังมีตัวชี้วัดในด้าน
ต่างๆ อีกมากมาย
9
Definition of
key performance indicator
▷ the Cambridge Business English Dictionary –
(noun, ABBREVIATION KPI) one of the most important ​
indicators (= something that ​shows what a ​situation is like or
how it is ​changing) that show how well an ​economy, ​company, ​
project, etc. is doing, or how well an ​employee is ​working : The
​key ​performance ​indicators for these ​divisions should be ​growth in ​
sales, ​margins and ​franchise ​numbers.
▷ Oxford Dictionary – (noun) A quantifiable measure used
to evaluate the success of an organization, employee, etc. in
meeting objectives for performance : key performance indicators
show big improvements and delivery times have been reduced

10
ความหมายของ “ตัวชี้วัด”
▷ ตัวชี้วัด หมายถึง เครื่องมือ หรือ ดัชนีที่ใช้ในการวัด
ความก้าวหน้าของการบรรลุแต่ละเป้าหมาย ซึ่งจะต้อง
สามารถวัดผลและกำหนดเป้าหมายของความสำเร็จได้
(สำนักงาน ก.พ.ร.)
▷ ตัวชี้วัด หมายถึง ดัชนีชี้วัด หรือหน่วยวัดความสำเร็จ
ของการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดขึ้น โดยหน่วยที่วัดควรมี
ผลเป็ นตัวเลขที่นับได้จริง และสื่อถึงเป้าหมายในการ
ปฏิบัติงาน เพื่อความชัดเจนในการกำหนดเป้าหมาย
การติดตาม และการประเมินผลการปฏิบัติงานในด้าน
ต่างๆ (สำนักงาน ก.พ.)
11
หลักการกำหนดตัวชี้วัด
▷ สามารถวัดผลได้
▷ มีความคงเส้นคงวา
▷ มีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ
▷ เปรียบเทียบกับองค์กรอื่นที่มีลักษณะงาน
เหมือนกันได้
▷ มีข้อมูลจริง

12
ความสำคัญของการกำหนดตัวชี้วัด

▷ เป็ นเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามประเมินผลเพื่อให้
กิจกรรมนั้นบรรลุตามแผนและเป้าหมาย
▷ ทำให้คาดการณ์ล่วงหน้าได้ เพื่อแก้ปัญหาหรือวางแผน
ในอนาคต
▷ ภาครัฐ ใช้ตัวชี้วัดเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรรเงิน
รางวัล (Bonus) และการพิจารณาจัดสรรสิ่งจูงใจอื่นๆ
▷ เป็ นเครื่องมือกระตุ้นให้ข้าราชการทำงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อผลตอบแทนที่เป็ นธรรม
13
การกำหนดตัวชี้วัดตามหลักคิด
Balanced Scorecard
(Robert S. Kaplan and David P. Norton, 1990)

Balanced ScoreCard คือ


▷ เครื่องมือที่แปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ทำให้
เกิดความชัดเจนในการวัดผลการดำเนินงานของ
องค์การ ภายใต้ความเชื่อที่ว่า...
If you can’t measure, you can’t manage
If you can’t measure, you can’t improve
What gets measure, gets done

14
Balanced Scorecard Framework

15
(Kapland & Norton, 1990)
Balanced Scorecard Framework (ตัวอย่างประเด็นการวัด)

การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน
การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม
การตรวจสอบได้ด้านการเงินการบัญชี
ฯลฯ

การดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้
การบริหารงานบุคคล
ส่วนเสีย/สังคม/ชุมชน
การบริหารจัดการภายในองค์การ
ฯลฯ
ฯลฯ

การพัฒนาสมรรถนะองค์การ
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (creative thinking)
การบริหารความเสี่ยง (risk management)
การบริหารการเปลี่ยนเปลี่ยน (change
management) 16
ฯลฯ
(Kapland & Norton, 1990)
Applying Balanced Scorecard Theory

Where is our organization going?


Vision
Strategic
What is our strategy?

What do we need to do well to go there?


Critical Success
Factors
How do we know well we’re doing? Key Performance Indicators
• Financial
• Customer
• Internal Processes
• Learning and Growth
17
Balanced Scorecard VS. KPI Framework of (Thailand)
OPDC

การประเมิน การประเมิน

Internal Management
External Impact
ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ

การประเมิน
การพัฒนา
คุณภาพการ
องค์การ
บริการ
18
Cascading Key Performance Indicators

19
หลักการคิดในการถ่ายทอดตัวชี้วัดในสถานศึกษา

ตัวชี้วัด ผอ.

รองฯ/ผช.ฯ

ผอ.กลุ่ม/หน.ระดับ/
หน.กลุ่มสาระ/หน.งาน

ครูและบุคลากร

การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (Individual Scorecard)


20

ประเภทของตัวชี้วัด
ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.

21
ประเภทของตัวชี้วัด
1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ (Output)
2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ/ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(Outcome/Milestone)
3. ตัวชี้วัดแบบผสมผสาน (Hybrid)
4. ตัวชี้วัดแบบเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
5. ตัวชี้วัดแบบวัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail)
22
1. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

▷ กำหนดขึ้นเพื่อใช้วัดสิ่งที่นับได้
▷ มีหน่วยการวัด เช่น จำนวน ร้อยละ และระยะเวลา
เป็ นต้น
▷ เหมาะในการวัดสิ่งที่จับต้องได้ เป็ นรูปธรรม มี
ความชัดเจน

23
ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ร้อยละผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอน
ต้นต่อประชากรกลุ่มอายุ (12-14 ปี )

สูตรการคำนวณ :
จำนวนผู้เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 - 3 หรือเทียบเท่า ปี การศึกษา 2559 X 100

จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 12–14 ปี
หมายเหตุ : * ใช้ข้อมูลจำนวนประชากรจากกระทรวงมหาดไทย ณ ธันวาคม 2558

ระดับ 1 ระดับพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
2 ระดับ 3 พ.ศ. 2542
ระดับ 4 ระดับ 5
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
89.85 มาตรา 10 การจัดการศึกษา
92.39 ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการ
94.93 97.47 100
ศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บ
ค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์
สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้
หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาส * ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานพิเศษ

24
2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ/ขั้นตอนการปฏิบัติ
งาน (Milestone)
▷ วัดสิ่งที่ไม่เป็ นค่าเชิงปริมาณ หรือหน่วยวัดใดๆ
▷ เป็ นการวัดที่เป็ นลักษณะพรรณนา หรือคำอธิบาย
เกณฑ์การประเมิน
▷ การประเมินเสมือนกรอบกำกับการใช้วิจารณญาณ
ของผู้ประเมิน

25
ตัวชี้วัดที่ 43 ระดับความสำเร็จของกาพัฒนา
ระบบการควบคุมภายใน

หน่วยรับตรวจ
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ส่วนงานย่อย
ว่าด้วยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.
2544 ซึ่งออกโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
พ.ศ.สำนักงานคณะกรรมการ
1. 2542 มาตรา 15 (3) (ก) (ค) ตามระเบียบฯ 1. สำนักในส่วนกลาง
- ข้อ 5 กําหนดให้หัวหน้าหน่วยงานภาครัฐ (ผู้รับตรวจ) นํามาตรฐานการควบคุมภายในที่ออกตาม
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระเบียบนี้ไปใช้เป็ นแนวทางในการจัดวางระบบควบคุมภายใน ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่
ระเบียบฯ มีผลใช้บังคับ 2. กลุ่มต่างๆ ในสำนักงาน
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- ข้อ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/
6 ให้จัดทํารายงานการประเมินผล การควบคุมภายในต่อผู้กํากับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบ
ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปี งบประมาณ
ประถมศึกษา/สำนักงานเขตพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- สํานักนายกรัฐมนตรีได้ออกระเบียบว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548 ซึ่ง
การศึกษามัธยมศึกษา
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ มัธยมศึกษา
กําหนดให้การปฏิบัติตามระเบียบ คณะกรรมการ
3. ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน
สถานศึกษา 3. งานต่างๆ พ.ศ. 2544 เป็ นตัวชี้วัดหนึ่ง ในการ
ในสถานศึกษา
ติดตามและประเมินผลส่วนราชการ

26
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
หน่วยรับตรวจดำเนินการสรุปภาพรวมรายงานการ
ติดตามประเมินผลการควบคุมภายในของโรงเรียนใน
1 สังกัด ตามแบบ ปอ.1 ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2558
แล้วเสนอผู้บริหารทราบ

หน่วยรับตรวจดำเนินการติดตามประเมินผล (รอบ 6
เดือน) ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ
ปอ. 3) แล้วสรุปลงในแบบรายงานผลการติดตามการ
2 ปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ
ติดตาม ปอ.3) และรายงานให้ผู้กำกับดูแลทราบ
ภายในวันที่ 30 เมษายน 2559

หน่วยรับตรวจดำเนินการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
3 เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในให้กับหน่วยงานใน
สังกัด
27
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
หน่วยรับตรวจดำเนินการจัดทำรายงานผลการประเมินองค์
ประกอบของการควบคุมภายในครบทั้ง 5 องค์ประกอบ
4 (แบบ ปอ.2) และจัดทำรายงานแผนการปรับปรุงการ
ควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3)

หน่วยรับตรวจดำเนินการจัดทำหนังสือรับรองการประเมิน
ผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) ทั้งนี้ ผ่านการสอบทาน
การประเมินผลการควบคุมภายในจากผู้ตรวจสอบภายใน
(แบบ ปส.) แล้วรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
5
ผู้กำดับดูแลและคุณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล
ประจำกระทรวงศึกษาธิการ ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2559

28
3. ตัวชี้วัดแบบผสมผสาน (Hybrid)

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ + ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

29
ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการลด
เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ของสถานศึกษา

เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน
1 จัดทำร่างแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของ
สถานศึกษาที่ระบุแนวทางการดำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ และ
ระบบการติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน (ตามรูป
เป้ าหมายของตัวชี้วัด
แบบ PDCA) ได้แล้วเสร็จ
“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
2 แผนการดำเนินงานขับเคลื่อนฯ ผ่านความเห็นชอบจากเลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
3 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนฯ
- มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ได้ร้อยละ 100 100%
4 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ ในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินการตามหลักการ
ร้อยละ 100 PDCA
- มีการติดตามประเมินผลเพื่อให้ผู้บริหารรับทราบ
5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ ที่ประกอบด้วยผลการดำเนิน
งานโครงการฯตามวัตถุประสงค์ มีแนวทางการปฏิบัติที่ดีของโรงเรียนที่ประสบ
ความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะจากการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุง
และพัฒนาโครงการ และนำเสนอผลต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

30
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดที่มีผลการ
ประเมินคุณภาพภายในระดับดีขึ้นไป

เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน
1 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาในสังกัดที่ส่งผลการประเมิน
คุณภาพภายในต่อ สพฐ.
2 ร้อยละ 90 ของสถานศึกษาในสังกัดที่ส่งผลการประเมิน
คุณภาพภายในต่อ สพฐ. (และเงื่อนไข)
สถานศึกษาทุกแห่งต้องผ่านการประเมินคุณภาพภายในระดับดีขึ้นไป
3 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาในสังกัดที่ส่งส่งผลการประเมิน
(พร้อมดำเนินการตามเงื่อนไข)
คุณภาพภายในต่อ สพฐ. (และเงื่อนไข)
4 ร้อยละ 97.5 ของสถานศึกษาในสังกัดที่ได้รับการตรวจประเมิน
โดยต้นสังกัดผ่านผลการประเมินคุณภาพภายในระดับดีขึ้นไป
5 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาในสังกัดที่ได้รับการตรวจประเมิน
โดยต้นสังกัดผ่านผลการประเมินคุณภาพภายในระดับดีขึ้นไป

31
ตัวชี้วัดที่ 1.5.1.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) สำหรับโรงเรียนขนาดใหญ่และ
ขนาดใหญ่พิเศษ

เกณฑ์การให้คะแนน

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน

สารสนเทศ (DLIT)
ระดับ 1 สถานศึกษาขนาดใหญ่สามารถดำเนินงานตามเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผนการดำเนินงาน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ที่ระบุไว้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2559 ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบกับแผนดำเนินการ
-ระดับ
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2 สถานศึกษาขนาดใหญ่สามารถดำเนินงานตามเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผนการดำเนินงาน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ที่ระบุไว้ในปีงบประมาณ
(DLIT) ในการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2559 ร้อยละ 90 เมื่อเปรียบเทียบกับแผนดำเนินการ
-ระดับ
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย 50% มีค่าคะแนนเฉลี่ย O-NET เพิ่มขึ้น
3 สถานศึกษาขนาดใหญ่สามารถดำเนินงานตามเป้าหมายตัวชี้วัดตามแผนการดำเนินงาน
พัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ที่ระบุไว้ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2559 ร้อยละ 100 เมื่อเปรียบเทียบกับแผนดำเนินการ
ระดับ 4 ร้อยละ 40 ของสถานศึกษาขนาดใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ที่นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงขึ้น (เฉลี่ยรวมทุกวิชา
ทุกระดับชั้นที่เปิดสอบ)
ระดับ 5 ร้อยละ 50 ของสถานศึกษาขนาดใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ที่นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย O-NET สูงขึ้น (เฉลี่ยรวมทุกวิชา
32
ทุกระดับชั้นที่เปิดสอบ)
4. ตัวชี้วัดแบบเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
▷ ส่วนใหญ่พบในการประเมินผลงานหรือประเมินการปฏิบัติ
งานของผู้เรียน
▷ สามารถสะท้อนให้เห็นความเที่ยงตรงของการพิจารณาใน
รูปแบบของระดับคะแนนแต่ระดับ

33
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของโรงเรียนวิถีพุทธที่ผ่านการประเมินผล
การดำเนินการ 29 ประการสู่ความเป็ นโรงเรียนวิถีพุทธ

สูตรการคำนวณ
โรงเรียนวิถีพุทธ

โรงเรียนวิถีพุทธตามกลุ่มเป้ าหมายผ่านเกณฑ์การ
ประเมินผลตามแนวทางที่กำหนดครบทุกแห่ง
แนวทางดำเนินการ 29 ประการสู่ความเป็ นโรงเรียนวิถีพุทธ
1. ด้านกายภาพ 7 ประการ 2. ด้านกิจกรรมประจำวันพระ 3. ด้านการเรียนการสอน 5
1.1 มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ 4 ประการ ประการ
1.2 มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน 2.1 ใส่เสื้อขาวทุกคน 3.1 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อน
1.3 มีพระพุทธรูปประจำห้องเรียน 2.2 ทำบุญใส่บาตร ฟังเทศน์ เข้าเรียน เช้า บ่าย ทั้งครู และ
1.4 มีพระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม 2.3 รับประทานอาหาร นักเรียน
พระราชดำรัสติดตามที่ต่างๆ มังสวิรัติในมื้อกลางวัน 3.2 บูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ
1.5 มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น และในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1.6 มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม
1.7 ไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 % 2.4 สวดมนต์แปล 3.3 ครู พานักเรียนทำโครงงาน
คุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ
1 ครั้ง
3.4 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุก
คน ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ 1
ครั้ง
มีวัดเป็ นแหล่งเรียนรู้
3.5 ครู ผู้บริหาร และ นักเรียนทุก
คน เข้าค่ายปฏิบัติธรรมอย่างน้อยปี ละ
1 ครั้ง
4. ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียน 5 ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ
และนักเรียน 5 ประการ 5.1 ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน
4.1 รักษาศีล 5 5.2 ไม่ดุ ด่า นักเรียน
4.2 ยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม 5.3 ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน
4.3 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการ 5.4 โฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทำความดี
พิจารณาอาหาร รับประทานอาหารไม่ดัง ไม่ 5.5 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน มีสมุดบันทึกความดี
หก ไม่เหลือ 5.6 ครู ผู้บริหาร และนักเรียน(ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ขึ้นไป) สอบได้
ธรรมศึกษาตรีเป็ นอย่างน้อย
4.4 ประหยัด ออม ถนอมใช้ เงิน และ 5.7 บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับสถานศึกษา :

คะแนน ความหมาย
1.ด้านกายภาพ ดำเนินการครบทุกประการ และ
2.ด้านกิจกรรมประจำวันพระ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 1 ประการ
ระดับ 1 3.ด้านการเรียนการสอน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 2 ประการ
4.ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และ นักเรียน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 2 ประการ
5.ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 4 ประการ
1.ด้านกายภาพ ดำเนินการครบทุกประการ และ
2.ด้านกิจกรรมประจำวันพระ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 2 ประการ
ระดับ 2 3.ด้านการเรียนการสอน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 2 ประการ
4.ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และ นักเรียน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 2 ประการ
5.ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 5 ประการ
1.ด้านกายภาพ ดำเนินการครบทุกประการ และ
2.ด้านกิจกรรมประจำวันพระ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 3 ประการ
ระดับ 3 3.ด้านการเรียนการสอน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 3 ประการ
4.ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และ นักเรียน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า3 ประการ
5.ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 6 ประการ
ระดับสถานศึกษา (ต่อ)

คะแนน ความหมาย
1.ด้านกายภาพ ดำเนินการครบทุกประการ และ
2.ด้านกิจกรรมประจำวันพระ ดำเนินการครบทุกประการ
3.ด้านการเรียนการสอน ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 4 ประการ
ระดับ 4 4.ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และ นักเรียน
ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 4 ประการ
5.ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ดำเนินการได้ไม่น้อยกว่า 7 ประการ

1.ด้านกายภาพ ดำเนินการครบทุกประการ และ


2.ด้านกิจกรรมประจำวันพระ ดำเนินการครบทุกประการ
3.ด้านการเรียนการสอน ดำเนินการครบทุกประการ
ระดับ 5 4.ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และ นักเรียน
ดำเนินการครบทุกประการ
5.ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ดำเนินการครบทุกประการ
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา :

คะแนน ความหมาย

โรงเรียนวิถีพุทธ ร้อยละ 80 ของเขตพื้นที่แห่งนี้


ระดับ 1
ได้ระดับคะแนนรายโรงเรียน ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
โรงเรียนวิถีพุทธ ร้อยละ 85 ของเขตพื้นที่แห่งนี้
ระดับ 2
ได้ระดับคะแนนรายโรงเรียน ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
โรงเรียนวิถีพุทธ ร้อยละ 90 ของเขตพื้นที่แห่งนี้
ระดับ 3
ได้ระดับคะแนนรายโรงเรียน ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
โรงเรียนวิถีพุทธ ร้อยละ 95 ของเขตพื้นที่แห่งนี้
ระดับ 4
ได้ระดับคะแนนรายโรงเรียน ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
โรงเรียนวิถีพุทธ ร้อยละ 100 ของเขตพื้นที่แห่งนี้
ระดับ 5
ได้ระดับคะแนนรายโรงเรียน ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
5. ตัวชี้วัดแบบวัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ
(Pass/Fail)

39
ตัวชี้วัดที่ 26 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัด
เก็บข้อมูลผลการเรียนรายบุคคลระบบออนไลน์
น้ำหนัก : ร้อยละ 1

สพฐ. ได้สร้างระบบเพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งรายงานผลการเรียน โดย


ประมวลผลผ่านระบบ SchoolMIS สำหรับโรงเรียนสังกัด สพป. และ
สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ และผ่านระบบ SGS สำหรับโรงเรียน
มัธยมศึกษา โดยโรงเรียนยืนยันข้อมูลสมบูรณ์ตามกำหนดการจัดเก็บ
ข้อมูลผลการเรียนอย่างเป็ นระบบ เป็ นกลไกในการพัฒนา ติดตาม ตรวจ
สอบ และประเมินผลการดำเนินงานด้านการสอนของสถานศึกษา ทั้งใน
ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

ประเมินโดยใช้ระบบ SchoolMIS สำหรับสังกัด สพป. และ


ระบบ SGS Online สำหรับโรงเรียนสังกัด สพม.
เมื่อโรงเรียนยืนยันข้อมูลสมบูรณ์ตามกำหนดกรอบเวลา

40
เกณฑ์การให้คะแนน

ลำดับ ผลการประเมิน

1 1 ไม่ครบถ้วน

2 -
ประเมินโดยใช้ระบบ
3
SchoolMIS สำหรับสังกัด
-
สพป. และ
ระบบ SGS Online สำหรับโรงเรียนสังกัด สพม.
4 -
เมื่อโรงเรียนยืนยันข้อมูลสมบูรณ์ตามกำหนดกรอบเวลา
5 5 ครบถ้วน

41

THANK YOU
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โทร 02-288-5875
โทรสาร 02-280-5499
http://www.psdg-obec.go.th
PSDG OBEC

You might also like