You are on page 1of 10

BALANCE SCORECARD

Group 3
Management team

นาย ณัฐวิชช์ แซ่ซิ้ม นาย ณัฐวัฒน์ ลอองสุวรรณ นาย กฤษณ์ชญานิน ขวัญพุทโธ

2
คื อ ระบบการจั ด การเชิ ง กลยุ ท ธ์ ที่ ใ ช้ ใ นการระบุ แ ละปรั บ ปรุ ง
ฟั ง ก์ ชั่ น ทางธุ ร กิ จ ภายใน เพื่ อ นาไปสู่ ก ารปฎิ บั ติ โ ดยอาศั ย การวั ด ผลหรื อ
BALANCE SCORECARD
(BSC) การประเมิ น ที่ ช่ ว ยให้ อ งค์ ก รเกิ ด ความสอดคล้ อ งเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น
และมุ่ ง เน้ น ในสิ่ ง ที่ มี ค วามสาคั ญ ต่ อ ความสาเร็ จ ขององค์ ก ร โดยปั จ จั ย ที่
เอื้ อ ต่ อ ความสาเร็ จ ประกอบด้ ว ย 4 มุ ม มองด้ ว ยกั น ได้ แ ก่

• Customer perspective • Internal perspective • Innovation and • Financial perspective


(มุมมองของลูกค้า) : ลูกค้ามอง (มุมมองภายใน) : เราทา learning perspective (มุมมองทางการเงิน) :
เรา (แบรนด์หรือบริษัท) อย่างไร? อะไรได้ดี หรือ อะไรที่ (มุมมองด้านนวัฒกรรม เรามองผู้ถือหุ้นอย่างไร ?
เราสามารถปรับปรุงให้ และการเรียนรู้) : เรา
ดีขึ้นได้ สามารถปรับปรุงและ
สร้างมูลค่าได้หรือไม่ 3
1.Customer Perspective : ลู ก ค้ า เห็ น เราอย่ า งไร?
ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า ในระดั บ สู ง ส่ ง ผลอย่ า งมากต่ อ ความสาเร็ จ เชิ ง กลยุ ท ธ์ แ ละส่ ง ผล
CUSTOMER
PERSPECTIVE ต่ อ กาไรของบริ ษั ท แต่ สาหรั บ องค์ ก รทั่ ว ไปที่ มุ่ ง เน้ น ทากาไรจะนามุ ม มองของลู ก ค้ า ไปไว้
ในอั น ดั บ 2 หรื อ 3 รองจากมุ ม มองด้ า นการเงิ น (Financial Perspective)

2.Financial Perspective : มุ ม มองทางการเงิ น


ภายใต้ มุ ม มองด้ า นการเงิ น เป้ า หมายของบริ ษั ท คื อ การทาให้ แ น่ ใ จว่ า เจ้ า ของ/ผู้ ถื อ หุ้ น
FINANCIAL จะได้ รั บ ผลตอบแทนจากการลงทุ น และจั ด การความเสี่ ย งหลั ก ที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า ง
PERSPECTIVE เหมาะสม บริ ษั ท จะสามารถบรรลุ ผ ลเป้ า หมายด้ า นการเงิ น ได้ ค รบทุ ก มิ ติ บริ ษั ท จะต้ อ ง
ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทุ ก คน ได้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ลู ก ค้ า ซั พ พลาย
เออร์ และพนั ก งานในบริ ษั ท
4
3.Internal Processes Perspective : เราเก่ ง อะไร
กระบวนการภายในของธุ ร กิ จ เป็ น ตั ว กาหนดว่ า ประสิ ท ธิ ภ าพขององค์ ก รทางานได้ ดี เ พี ย งใด
INTERNAL การใช้ ง าน BSC จะทาให้ เ กิ ด มุ ม มองของวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละการวั ด ผลที่ ส ามารถช่ ว ยให้ ธุ ร กิ จ
PROCESSES
PERSPECTIVE ดาเนิ น ไปได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ช่ ว ยประเมิ น สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารของ
บริ ษั ท ว่ า เป็ น ไปตามมาตรฐานที่ บ ริ ษั ท ควบคุ ม และเป็ น สิ่ ง ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการหรื อ ไม่

4.Learning and Growth Perspective : มุ ม มองความสามารถขององค์ ก ร


ความสามารถขององค์ ก รเป็ น สิ่ ง สาคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของเป้ า หมายและ
LEARNING AND วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ดี บุ ค ลากรในแต่ ล ะหน่ ว ยงานขององค์ ก ร จะต้ อ งแสดงให้
GROWTH เห็ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ทั้ ง ในแง่ ข องความเป็ น ผู้ นา วั ฒ นธรรมองค์ ก ร การประยุ ก ต์ ใ ช้
PERSPECTIVE
ความรู้ และทั ก ษะ
5
ประโยชน์ของการใช้ BSC คืออะไร?
มุมมอง 4 มิติของ Balanced Scorecard ช่วยส่งเสริมให้องค์กรต้อง
“สร้างสมดุล” ระหว่างตัวขับเคลื่อนหลักความสาเร็จทางธุรกิจ
นอกจากนี้ยังบังคับให้องค์กรกาหนดเมตริกที่จับต้องได้ให้กับแต่ละ
มุมมอง เพื่อเพิ่มความรับผิดชอบให้แต่ละหน่วยงานหรือแต่ละแผนก
ให้ทางานประสานเข้ามาเป็นเนื้อเดียวกัน สุดท้ายยังใช้เป็นกรอบเพื่อการ
สื่อสารกลยุทธ์ขององค์กร ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงกว้าง

6
ข้อดีของ BSC
•ช่วยให้กลยุทธ์ขององค์กรมีโครงสร้างที่เข้าใจง่าย : การนา Balanced
Scorecard มาปรับใช้ พนักงานทุกฝ่ายจะเข้าใจภาพใหญ่ขององค์กร
ทั้งเป้าหมาย จุดประสงค์ แนวทางปฎิบัติไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อทุก
ฝ่ายเข้าใจง่าย การทางานก็จะง่ายขึ้นตาม
•ทาให้การสื่อสารง่ายขึ้น : การสื่อสารระหว่างสมาชิกในทีมและแผนกจะ
มีความง่ายขึ้นเมื่อทุกคนพูดภาษาเดียวกัน กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การที่ทั้ง
องค์กรมีระบบวัดผลการปฎิบัติงานที่คล่องตัว จะช่วยให้ทุกคนพูดคุยและ
เข้าใจเกี่ยวกับกลยุทธ์ ความก้าวหน้าในองค์กรได้ง่ายขึ้น
•เชื่อมโยงผู้ปฎิบัติงานเข้ากับเป้าหมายขององค์กร : การที่พนักงานหรือผู้
ปฎิบตั งิ านแต่ละคนทราบถึงจุดประสงค์โดยรวมขององค์กรผ่านการใช้
งาน BSC พนักงานจะไม่เพียงแต่โฟกัสที่หน้าที่ของตนเองเท่านั้น แต่ยัง
ทราบถึงผลกระทบหากพวกเขาได้ทาภารกิจที่ได้รับมอบหมายสาเร็จว่า
มันจะส่งผลที่ยิ่งใหญ่ต่อองค์กรโดยรวมอย่างไร
1.ต้ อ งปรั บ ให้ เ ข้ า กั บ องค์ ก ร (ใช้ เ วลานาน) : การใช้ ร ะบบ BSC ให้ ไ ด้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ปัญหาในการใช้ BALANCED ต้ อ งมี ก ารปรั บ ให้ เ ข้ า กั บ องค์ ก ร ผ่ า นการปรั บ แต่ ง ให้ เ หมาะสมกั บ ทุ ก ระดั บ การ
SCORECARD คืออะไร เปลี่ ย นแปลงจะก่ อ ให้ เ กิ ด แรงต้ า นจากภายใน ทั้ ง การไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ไม่ ป ฎิ บั ติ ต ามจาก
ความเคยชิ น เดิ ม การดาเนิ น การอาจจะใช้ ร ะยะเวลานาน
2.ผู้บริหารต้องเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง : เพื่อให้การใช้งาน BSC เกิด
ประสิทธิภาพ ต้องเป็นการร่วมมือกันตั้งแต่พนักงานระดับล่างสุดไปจนถึงผู้บริหาร
ระดับสูงสุด ซึ่งถ้า BSC ถูกนาไปเสนอแต่เพียงบางหน่ยงาน แล้วผู้บริหารยังไม่เข้า
ร่วมด้วย ก็อาจส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือต่อผู้ปฎิบัติงาน

3. ต้องใช้ข้อมูลจานวนมาก : อย่างที่กล่าวไปในช่วงต้นของบทความ BSC


ต้องการข้อมูลจากหลายฝ่ายเข้ามารวมกัน เพื่อใช้ในการสร้างความสมดุลในการ
บริหารองค์กร แต่การเริ่มต้นในธุรกิจ
4. วิเคราะห์ภายในโดยไม่สนใจปัจจัยภายนอก : อย่างที่ทราบว่า 4 มุมมองของ
BSC คือ มุมมองทางลูกค้า การเงิน ขั้นตอนภายใน และ ความสามารถองค์กร
ไม่ได้มีการวิเคราะห์ปัจจัยการแข่งขันภายนอก หรือแง่มุมทางเศรษฐศาสตร์
ประกอบทาให้ขาดมิติการพิจารณาธุรกิจด้านอื่นๆ
8
ตัวอย่างการนาไปใช้จริง

Balanced Scorecard เป็นเครื่องมือที่ให้นาหนั


้ กแต่ละปัจจัยไม่เท่ากัน รูปแบบการทางาน
จะค่อนข้างเป็นกระบวนการ โดยเริ่มต้นตามกระบวนการด้านล่างนี้ คือ เมื่อผ่านขั้นตอนการ
ทางานเพิ่มประสิทธิภาพหรือเป็นความสามารถขององค์กร (Learning and Growth) และ
ผ่านกระบวนการภายในองค์กรแล้ว (Internal Processes) ก็ส่งมอบคุณค่าเพื่อทาให้ลูกค้า
ประทับใจ (Customer) สุดท้ายจะเป็นมุมมองด้านการเงินที่ดีขึ้น (Financial)
9
Q&A
for Adsorption separation

Thank you for attention

You might also like