You are on page 1of 55

วิจัยชั้นเรียน

การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิชา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ (2001-0001) จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาห้อง
AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

จัดทาโดย
อาจารย์ชลธิชา สุวรรณหล้า

วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
2

บทที่ 1
บทนา

1.1 ที่มาและความสาคัญ
ในปั จ จุ บั น การเรี ย นการสอนของประเทศไทย ส่ ว นมากมี ก ารวั ด และประเมิ น ผล
การจั ดการเรี ย นรู้ที่ ห ลากหลาย แต่ ส่ว นมากจะเป็น แบบการทาแบบทดสอบ หรื อการท า
ข้อสอบทั้งแบบอัตนัยและปรนัย และเนื่องจากทางวิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ
มีนโยบายในการให้อาจารย์สร้างแบบทดสอบให้เป็นมาตรฐาน เพื่อใช้วัดความรู้ในวิชาที่เรียน
ซึ่งมีลักษณะของของสอบที่มีทั้งอัตนัยและปรนัย สาหรับของระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ปีที่ 2
ผู้วิจัยจึงได้ทาการเปรียบเทียบข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัยจากรายวิชา คอมพิวเตอร์
เพือ่ งานอาชีพ (2001-0001) จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ
และบริหารธุรกิจ โดยได้สนองนโยบายดังกล่าวในเบื้องต้น คือการจัดทาข้อสอบระหว่างภาค
และปลายภาค ในลักษณะของข้อสอบที่มีทั้งแบบอัตนัยและปรนัย โดยแบบอัตนัยมีตัวเลือก 4
ตัวเลือกข้อ สอบ 10 ข้อ และแบบปรนัยมีประมาณ 5-10 ข้ อ ตามเนื้ อหาวิชา ซึ่งข้อสอบมี
ทั้งหมดจานวน 2 ชุด พร้อมเฉลย
เพื่อใช้วัดผลและประเมินผลข้อสอบที่จัดทาขึ้นมีคุณภาพเพียงไร ความยาก-ง่ายของ
ข้อสอบแต่ละแบบ ความแตกต่างของข้อสอบ จุดเด่น -จุดด้อย พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไขของ
ข้อสอบแต่ละแบบว่ามีอะไรบ้าง จะปรับปรุงข้อสอบให้มีคุณภาพจะต้องปรับตรงส่วนใด ดังนั้น
ในกรณีที่จะการเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิชา คอมพิวเตอร์
เพื่องานอาชีพ (2001-0001) จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ
และบริหารธุรกิจนั้น จึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง

1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นพัฒนาข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัยในรายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
(2001-0001) จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและ
บริหารธุรกิจที่มปี ระสิทธิภาพแบบอิงเกณฑ์
2. เพื่ อ ศึ ก ษาการเปรี ย บเที ย บการวิ เ คราะห์ ข้ อ สอบแบบอั ต นั ย และปรนั ย รายวิ ช า
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ (2001-0001) จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัย

2
3

เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ โดยใช้ผลการสอบระหว่างภาคเป็นการประเมินรอบที่ 1
และผลการทดสอบปลายภาคเป็นการประเมิน รอบที่ 2

1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
2.ประชากร และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย
2.1 ประชากร ได้แก่ นักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและ
บริหารธุรกิจ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2555 จานวน 1 ห้องเรียน นักศึกษาห้อง AU203 จานวน 23 คน สุม่ มา 20 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและ
บริหารธุรกิจ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2555 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักศึกษาห้อง AU203 ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling)
3.ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยคือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 60 ชั่วโมง

1.4 วิธีดาเนินการวิจัย
1.4.1 จัดเตรียมเอกสารที่ใช้ในรายวิชา
1.4.2 สอนโดยการใช้หนังสือเรียน วิชา คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ และเอกสาร
เพิ่มเติม
1.4.3 ทดสอบข้อสอบโดยใช้คะแนนสอบระหว่างภาคมาประเมินรอบที่ 1
1.4.4 วัดและประเมินผลรอบที่ 1 พร้อมทั้งหาข้อปรับปรุงแก้ไข
1.4.5 ทดสอบข้อสอบโดยใช้คะแนนสอบปลายภาคมาประเมินรอบที่ 2
1.4.6 วัดและประเมินผลรอบที่ 2
1.4.7 รวบรวม และสรุปผลการวิจัยเพื่อนาเสนอ

1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทาให้ทราบคุณภาพของข้อสอบของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2
สาขาช่างอุตสาหกรรม (AU 203) วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ

3
4

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ แผนกช่างยนต์ วิทยาลัย
เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ที่ศึกษาอยู่ในชั้นปวช.ปีที่ 2
คณะฯ หมายถึง คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ข้อสอบ หมายถึง ข้อสอบระหว่างภาคและปลายภาคที่จัดทาขึ้น เพื่อใช้ใน
การทดสอบ นักศึกษาคณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัย
เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานสานักงาน หมายถึง วิชาชีพพืน้ ฐานที่นักศึกษาต้องเรียนรู้และเข้าใจ เพื่อให้
สามารถนาไปใช้ และปฏิบัติได้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการเรียน
นักศึกษา ห้อง AU203 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและ
บริหารธุรกิจ แบบอิงเกณฑ์

4
5

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาวิ จัยเรื่อ ง การเปรีย บเทียบการวิเ คราะห์ข้อสอบแบบอั ตนัยและปรนั ย


รายวิช า งานสานั กงาน (2201-2303) จากกลุ่มตั วอย่า งนักศึ กษาห้อ ง AC301 วิ ทยาลั ย
เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ผู้วิจัยได้ทาการทบทวนแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องใน
การวิจัย โดยให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
2.1. ความหมายของการวิเคราะห์ขอ้ สอบ
2.1. ค่าความยาก หรือความง่าย
2.3 ความหมายของแบบทดสอบ
2.4 ประเภทของแบบทดสอบ
2.5 ข้อสอบมาตรฐาน
2.6 แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย (Deagnostic Test)
2.7 Speed Test
2.8 Power Test
2.9 ข้อสอบแบบอัตนัย (Essay Test)
2.10 ข้อสอบแบบปรนัยหรือแบบให้ตอบสัน้ ๆ
2.11 ลักษณะของแบบทดสอบ
2.12 การวางแผนสร้างแบบทดสอบมาตรฐาน
2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1. ความหมายของการวิเคราะห์ข้อสอบ
บุญชม ศรีสะอาด ได้ให้ความหมายของคาว่า การวิเคราะห์ข้อสอบ มาจากคาว่า
Item Analysis หมายถึง การหาค่าสถิติที่แสดงคุณลักษณะของข้อสอบเป็นรายข้อ ซึ่งตาม
ทฤษฎีดั้งเดิม (Classical Theory) นิยมหาคุณลักษณะข้อสอบ 2 ชนิด คือ ค่าความยาก
(Difficulty) กับ ค่าอานาจจาแนก (discrimination) การวิเคราะห์ขอ้ สอบเป็นเทคนิคที่ทาให้ทราบ
ว่าแต่ละข้อมีความยากเท่าใดและมีอานาจจาแนกเท่าใด เพื่อพิจารณาคัดเลือกเอาข้อสอบที่มี
คุณลักษณะเข้าเกณฑ์ไปใช้ต่อไป ในบทความนี้จะกล่าวเฉพาะแนวคิดตามทฤษฎีดั้งเดิม

5
6

2.2. ค่าความยาก หรือความง่าย


บุญชม ศรีสะอาด ค่าความยาก หรือ ความยากง่าย เป็นค่าที่บอกให้ทราบ
ว่าข้อนัน้ ยาก โดยถือเอาจานวนผู้ตอบถูกมากน้อยเป็นเกณฑ์ ถ้าถูกหลายคน จัดว่าเป็นข้อสอบ
ที่ง่าย ถ้าถูกน้อยคนจัดว่าเป็นข้อที่ยาก ค่าความยากนิยมเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P มีค่า .00
ถึง +1.00 ค่าอานาจจาแนก เป็นค่าที่บอกให้ทราบว่า ข้อนั้นจาแนกกลุ่มผู้สอบได้ดีเพียงใด ค่า
อานาจจาแนกเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์หลายอย่างขึ้นกับว่าจะเป็นค่าอานาจจาแนกชนิดใด
หรือหาโดยวิธีของใคร ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ (Test Item) มีค่า -1.00 ถึง +1.00
เมื่ อ พู ด ถึ ง การวิ เ คราะห์ ข้ อ สอบ โดยทั่ ว ไปจะหมายถึ ง การวิ เ คราะห์ ข้ อ สอบแบบ
เลือกตอบข้อสอบแบบอื่น ๆไม่นิยมนามาวิเคราะห์ เนื่องจากข้อสอบแบบเลือกตอบมีคุณสมบัติ
เหมาะสมที่สุดกับการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ แต่อย่างไรก็ตามเราสามารถทาการวิเคราะห์
ข้อสอบแบบอื่น ๆ ได้ทุกแบบ ดังจะแยกกล่าวเป็น 2 กรณี คือการวิเคราะห์ข้อสอบแบบปรนัย
อื่น ๆ กับการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตนัย
2.2.1. การวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบปรนัยอื่น ๆ
เมื่อ พูดถึ งข้ อสอบแบบปรนั ย (Objective) มักหมายถึง ข้อ สอบแบบ
เลือ กตอบแบบถูก ผิด แบบจับ คู่ และแบบเติ มคา ข้ อสอบแบบปรนัยที่ ไม่ใ ช่ข้อ สอบแบบ
เลื อ กตอบสามารถน ามาวิ เ คราะห์ ห าค่ า ความยาก และอ านาจจ าแนกได้ โ ดยใช้ วิ ธี ก าร
เช่นเดียวกันกับการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ (กรณีคาตอบถูก) เพราะข้อสอบแบบถูกผิด
ก็คือข้อสอบแบบเลือกตอบที่มีตัวเลือก 2 ตัว คือ ถูกหรือผิด ข้อสอบแบบจับคู่ก็ คือข้อสอบ
แบบเลือกตอบที่ตัวเลือกลดลงเรื่อย ๆ ตามจานวนข้อที่ได้ตอบไปแล้ว ข้อสอบแบบเติมคาอาจ
กล่าวได้ว่าเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบชนิดหนึ่งที่มีตัวเลือกมากมายไม่จากัดที่ผู้ตอบ ต้องเลือก
คาตอบ (คิดตอบ) ออกมาเอง ในการวิเคราะห์จะถือเสมือนข้อสอบถูกผิด ถ้าเติมคาตอบ
ถูกต้องก็เทียบได้กับที่ตอบข้อสอบถูกผิดได้ “ถูก” จะได้คะแนน 1 คะแนน และถ้าเติมคาตอบที่
ไม่ถูกต้องก็เทียบได้กับที่ตอบข้อสอบถูกผิดได้ “ผิด” ซึ่งจะไม่ได้คะแนนของข้อนั้น จากลักษณะ
ดังกล่าวเหล่านี้ ก็สามารถนาผลการสอบของข้อสอบแบบถูกผิด แบบจับคู่ และแบบเติมคามา
วิเคราะห์หาค่าความยากและอานาจจาแนก โดยใช้สูตรและวิธเี ดียวกันกับการวิเคราะห์ข้อสอบ
แบบเลือกตอบ ซึ่งสามารถศึกษาได้จากหนังสือวัดผลการศึกษาโดยทั่วไป
2.2.2. การวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอั ตนั ย (Essay) เป็น ข้อ สอบที่ใ ห้ผู้ สอบเขีย นตอบตาม
ความคิดของตนเอง แม้ว่าโดยทั่วไปจะได้รับการนาไปใช้น้อย แต่ก็เป็นเครื่องมือที่จาเป็นในการ
วัดผลโดยเฉพาะในการวัดเกี่ยวกับความคิดเห็น เจตคติ ความสามารถในการคิดสังเคราะห์

6
7

(Synthesis) ความสามารถในการอธิบายให้คนอื่นเข้าใจ ความสามารถในการ บูรณาการ


ความรู้ การวัดในลักษณะเหล่านี้ข้อสอบแบบอัตนัยจะวัดได้ดีมาก ข้อสอบข้อเขียนพิสดาร
(Comprehensice) ซึ่งเป็นข้อสอบที่วัดความรู้ขั้นสูงก็ล้วนแต่เป็นข้อสอบแบบอัตนัย การที่จะ
ตอบข้อสอบชนิดนี้ได้ต้องอาศัยความรอบรู้ ประสบการณ์ และความสามารถในการบูรณา
การความรู้
2.3 ความหมายของแบบทดสอบ
แบบทดสอบ คือ ชุดของคาถามหรือกลุ่มของงานที่สร้างขึ้นมาเพื่อชักนาให้ผู้ถูกสอบ
ได้ แ สดงพฤติ ก รรมอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดออกมา โดยผู้ ส อนสามารถสั ง เกตและวั ด ได้
แบบทดสอบนี้ประกอบด้วย 2 ภาค คือ ภาคกระตุ้น กับภาคตอบสนองสิ่งเร้าที่ไปเร้านั้น
ต้ อ งเร้ า ให้ ผู้ ถู ก สอบได้ แ สดงอาการตอบสนองออกมาให้ สั ง เกตและวั ด ได้ ถ้ า เร้ า แล้ ว ไม่
ตอบสนองหรือตอบออกมาแต่สังเกตและวัดไม่ได้ก็ไม่ถอื ว่าเป็นแบบทดสอบ

2.4 ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบมีหลายชนิด ที่ควรรู้จักมีดังนีค้ ือ
2.4.1. แบบทดสอบวั ด ผลสั มฤทธิ์ท างการเรีย น (Achievement Test) เป็ น
แบบทดสอบที่ใช้ตรวจสอบระดับความสามารถหรือความสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.4.1.2 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teacher – made Test) เป็น
แบบทดสอบที่ใช้วัดและประเมินผลการเรียนการสอนในห้องเรียน ส่วนมากเป็นข้อสอบวั ด
ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาต่าง ๆ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
 ข้อสอบเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
 ข้อสอบเพื่อประเมินผลการเรียนการสอน

2.5 ข้อสอบมาตรฐาน
ข้อสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นแล้วนาไปใช้
ทดสอบและวิเคราะห์ผลการสอบตามวิธกี าร เพื่อปรับปรุงคุณภาพและใช้เป็นมาตรฐานในการ
ทดสอบกับเด็ก ๆ ทั่วไป มีการหาเกณฑ์ปกติ (Norm) เพื่อใช้เป็นหลักในการเปรียบเทียบคาว่า
มาตรฐานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสามารถวัดได้ 3 แบบ ตามจุดมุ่งหมายและ
ลักษณะวิชาที่สอนคือ

7
8

2.5.1. วัดด้านปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติ


หรือทักษะของผู้เรียนโดยเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถในรูปของการปฏิบัติจริง เช่น
วิชาศิ ลปศึก ษา พลศึกษา งานช่ า ง งานประดิ ษฐ์ การวัด แบบนี้ ต้องวั ดโดยใช้ข้ อสอบ
ภาคปฏิบัติ (Performance Test)
2.5.2 วัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเนือ้ หาวิชา
ประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียน รวมทั้งพฤติกรรมความสามารถในด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้
โดยใช้ขอ้ สอบ วัดผลสัมฤทธิ์
2.5.3. วัดด้านทักษะ เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดภายหลังการฝึกฝนและได้เรียน
เพื่อดูว่าผู้เรียนมีทักษะหรือความคล่องแคล่วในการคิดแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนขนาด
ไหน แบบทดสอบนี้มุ่งวัดว่าผู้เรียนมีทักษะการคิดหรือการทางานขนาดไหน ซึ่งแตกต่างกับ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่วัดว่าผู้เรียนมีความรูค้ วามสามารถระดับใด สาหรับผู้มีทักษะคือผู้
ที่สามารถทางานได้ปริมาณมาก ๆ โดยใช้เวลาทาเพียงเล็กน้อย ทาได้สะดวกสบาย การวัด
ทัก ษะถ้ า ใช้แ บบทดสอบลั ก ษณะของข้ อ สอบจะต้ อ งเป็ นค าถามที่ เ ป็น ปั ญ หาง่ าย ๆ แต่ มี
ปริมาณมาก แล้วให้ทาในเวลาจากัด ผู้ใดทาได้มากแสดงว่ามีทักษะ ข้อสอบทักษะนี้ ถ้าให้ตอบ
โดยไม่จากัดเวลา ผู้ถูกสอบส่วนใหญ่จะทาได้และได้คะแนนเต็ม

2.6. แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย (Deagnostic Test) เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ค้นหา


ข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนในการเรียนแต่ละวิชา เป็นเรื่อง ๆ ไป ข้อสอบนี้มักจะมีเนื้อหาต่าง ๆ
หลายเรื่อง เรื่องละหลาย ๆ ข้อ และทดสอบดูว่าเด็กคนใดอ่อน พฤติกรรมด้านใดเพื่อหาทาง
ปรับปรุงแก้ไขต่อไป แบบทดสอบชนิดนี้มีประโยชน์สาหรั บครูที่ต้องการจะปรับปรุงการเรียน
การสอน เพราะจะได้รู้ว่าควรสอนวิชาใด เรื่องใด มากน้อยเพียงใด

2.7. Speed Test เป็นแบบทดสอบที่มคี าถามจานวนมาก และจากัดเวลาในการตอบ จะต้อง


ตอบโดยอาศัยความเร็ว แบบทดสอบลักษณะนี้ส่วนใหญ่ใช้สาหรับวัดทักษะด้านใดด้านหนึ่ง
ของนักเรียน ข้อสอบจะเป็นข้อสอบง่าย ๆ ถ้าให้เวลาในการทามาก ผู้สอบจะตอบถูกหมด
ฉะนั้นแบบทดสอบแบบนีจ้ ึงต้องจากัดเวลาในการสอบ

2.8 Power Test เป็นแบบทดสอบที่เปิดโอกาสให้ตอบในเวลานานหรือต้องการให้นักเรียนไ


แสดงความรู้ ความสามารถให้ ม ากที่สุ ด เช่ น ข้อ สอบอัต นัย การเขีย นรายงาน การท า
ปริญญานิพนธ์ เป็นต้น

8
9

2.9 ข้อสอบแบบอัตนัย (Essay Test) เป็นข้อสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงออกซึ่ง


ความสามารถของตนเองโดยใช้ ภาษาของตน สามารถวัดความคิด ทัศนคติของผู้สอบได้
อย่างดี ผู้สอนต้องมีความสามารถในการจัดระเบียบความรู้ แสดงความคิดริเริ่มและรู้จักการ
สังเคราะห์ จึงจะสามารถตอบข้อสอบได้ดี โดยทั่วไปแบ่งข้อสอบอัตนัยออกเป็น 2 อย่างคือ
 แบบไม่จากัดคาตอบ จะเน้นความลึกและขอบเขตของความรู้ มีเสรีภาพใน
การแสดงออก ยั่วยุให้เกิดความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์
 แบบจ ากั ด ค าตอบ จะต้ อ งการค าตอบเฉพาะเจาะจงที่ วั ด ระเบี ย บของ
ความคิดเป็นอย่างดี ง่ายในการตรวจ มีความยุติธรรมสูง มีความเชื่อมั่นสูง
กว่าแบบไม่จากัดคาตอบ
ข้อดีของข้อสอบแบบอัตนัย
 สามารถวัดกระบวนการทางความคิด ซึ่งได้แก่ ความสามารถในการ
เขียน
การประเมินผล ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ได้ดี
 สามารถวั ด ความสามารถในเรื่ อ งการรู้ จั ก เลื อ กความรู้ ความคิ ด ที่
เหมาะสมการ
นาเสนอความรู้ ความคิดต่าง ๆ ตลอดจนการจัดรวบรวมความคิดให้เป็นระเบียบ
 สามารถวัดทัศนคติได้
 ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
 ส่งเสริมนิสัยการเรียนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการรู้จักอ้ างอิง มอง
ภาพโดย
ส่วนรวมออก มองเห็นความสัมพันธ์ของเหตุผล
 ส่งเสริมการใช้ภาษา
 สะดวกและง่ายในการออกข้อสอบ
 ให้เสรีภาพแก่ผู้สอบในการตอบคาถาม
ข้อเสียของข้อสอบแบบอัตนัย
 มีความเชื่อมั่นต่า เนื่องจากมีจานวนน้อยข้อ การตรวจขึ้นอยู่กับอารมณ์
ของผู้ตรวจ

9
10

ความไม่แน่นอนในการให้คะแนน เวลาในการตรวจ สาเหตุสาคัญที่ทาให้ความเชื่อมั่นต่านั้น


ขึน้ อยู่กับว่าใครเป็นผูต้ รวจข้อสอบและตรวจข้อสอบเมื่อใด
 มีความเที่ยงตรงต่า เนื่องจากคลุมเนือ้ หาได้น้อย จึงมีความเที่ยงตรงด้าน
เนือ้ หาต่า
และบางที ส าเหตุ ที่ ไ ม่ ไ ด้ วั ด ในสิ่ ง ที่ ต้ อ งการจะวั ด อาจเนื่ อ งมาจาก ลายมื อ ของผู้ ส อบ
ความสามารถในการตีปัญหา เป็นต้น
 มีประโยชน์ใช้สอยต่า เนื่องจากตรวจลาบาก เสียเวลาและพลังงานมาก

ดร. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ได้แนะนาการตรวจและการให้คะแนนข้อสอบแบบอัตนัย


ไว้ดังต่อไปนี้
 คิดดู ก่อนว่าจะแบ่งการให้คะแนนออกกี่จุด และแต่ละจุดจะให้คะแนน
เท่าไร ทาง
ที่ดีควรบอกให้ทราบล่วงหน้าว่าจะให้คะแนนอะไรบ้าง เช่น ให้คะแนนความสะอาด การสะกด
ตัว อย่าไปหักคะแนนในเรื่องที่ไม่ได้บอกไว้
 ทาเฉลยไว้เป็นตัวอย่างก่อน คาตอบใดที่ผิดจากเฉลยจะให้คะแนนเท่าไร
จะต้อง
กาหนดไว้ กล่าวคือวางรูปแบบการให้คะแนนไว้ให้พร้อม
 การตรวจ ควรตรวจทีละข้อ เมื่อครบทุกคนแล้วจึงขึ้นข้อใหม่ อย่าตรวจที
ละคนทุก
ข้อแล้วขึ้นคนใหม่
 อย่า ลาเอี ยงโดยอาศั ยการรู้จั กเป็น ส่ว นตั ว หรือ มีอ คติ ซึ่ง จะทาให้ เสี ย
ความยุติธรรม
 ก่อนตรวจให้คะแนนจริง ควรลองตรวจเป็นตัวอย่างสัก 2 – 3 คนก่อน
โดยเลือก
แบบสุม่ เพื่อทราบแนวการสอบของนักเรียน จะได้วางแผนการให้คะแนนของเราได้ถูกต้อง
2.10 ข้อสอบแบบปรนัยหรือแบบให้ตอบสั้น ๆ หมายถึง แบบทดสอบที่กาหนดให้ตอบสั้น
หรือแบบกาหนดคาตอบให้เลือก ได้แก่แบบต่าง ๆ ต่อไปนี้
2.10.1 แบบถูก - ผิด (True - False) ลักษณะเป็นแบบทดสอบที่ยกข้อความ

10
11

ให้ผู้สอบพิจารณาว่า ข้อความนั้นถูกหรือผิด จริงหรือเท็จ ใช่หรือไม่ใช่ โดยใช้หลักวิชาที่เคย


เรียนรู้มา
ข้อดีคือ 1. เดาได้ง่าย
2. ส่วนมากวัดได้เฉพาะด้านความรู้ ความจา ตามตาราเท่านั้น
3. ไม่สามารถชีจ้ ุดอ่อนของการเรียนได้อย่างแท้จริง เนื่องจากโอกาสเดาถูกมีมาก
4. บางรายวิชายากที่จะสร้างข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จโดยสมบูรณ์ได้
หลักในการสร้างข้อสอบแบบถูก - ผิด
1. ไม่ควรจกข้อความจากตาราโดยตรงมาเป็นคาถาม
2. ไม่ควรใช้ขอ้ ความที่มลี ักษณะตอบได้ถูกและผิด
3. ไม่ควรใช้ประโยคซับซ้อน เว้นแต่จะวัดความสมารถทางภาษา
4. ไม่ควรใช้ประโยคปฏิเสธซ้อน
5. การใช้คาถาม เช่น เสมอ ๆ อาจจะ ทั้งหมด ฯลฯ ต้องระวังให้มากเพราะ
อาจจะแนะคาตอบให้ผู้สอบได้
6. ไม่ควรหักคะแนนสาหรับข้อผิดตามเพราะเป็นการไม่ยุติธรรม
7. ควรใช้ขอ้ ความที่ถูกผิดตามหลักวิชา

2.10.2 ข้อสอบแบบเติมคา (Completion) ลักษณะเป็นแบบทดสอบที่ประกอบไป


ด้วยประโยคหรือข้อความที่ยังไม่สมบูรณ์และจะเว้นที่ให้ผู้สอบเติมคา ข้อความหรือประโยค ลง
ในช่องว่าง เว้นไว้ เพื่อให้ได้ความสมบูรณ์ถูกต้อง
ข้อดี คือ 1. วัดความรู้ - ความจาได้ดี
2. สร้างง่ายและสร้างได้ทุกวิชา
3. เดาได้ยาก ผู้สอบต้องมีความรูจ้ ริงจึงจะสามารถตอบได้
4. สามารถสร้างได้มากข้อ ทาให้เป็นข้อสอบที่ถามครอบคลุมเนือ้ หาสอบ
5. เหมาะสาหรับวิชาที่ถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง กฎ สูตร ความสามารถใน
การคิดคานวณ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ข้อเสีย 1. มักจะถามเกี่ยวกับความรู้ - ความจา อย่างเดียวไม่ได้ใช้สมรรถภาพ
ทางสมองที่ดีกว่านี้
2. ข้อสอบแบบนี้ คาถามมักจะไม่เฉพาะเจาะจง ลาบากในการตรวจให้
คะแนนและเสียเวลาในการตรวจ

11
12

2.10.3 แบบจับคู่ (Matching) เป็นแบบทดสอบที่ประกอบด้วยชุดของคาถาม ที่มี


ตัว เลื อกชุด หนึ่ งร่ วมกัน และแต่ล ะครั้ง ที่จั บคู่ กัน ต่อ ไป จานวนตั วเลือ กจะลดลงไปเรื่อ ย ๆ
ลัก ษณะของข้ อ สอบแบบจั บคู่ จ ะประกอบด้ว ยคาหรือ ข้อ ความแยกเป็น 2 พวก หรื อ 2
คอลัม น์ ให้ ผู้ สอบจับ คู่ว่ า แต่ ละค าหรื อแต่ล ะข้อ ความในคอลัม น์ หนึ่ ง จะจั บคู่ กับ ค าหรื อ
ข้อความใดในอีกคอลัมน์หนึ่ง ข้อสอบแบบนี้มีหลายแบบ เช่น ให้จับคู่ระหว่างคาศัพท์กับ
ความหมาย เหตุการณ์กับเวลา เวลากับสถานที่ บุคคลกับผลงาน เป็นต้น สิ่งที่สาคัญใน
การสร้างข้อสอบแบบนี้ คาชี้แจงจะต้องชัดเจน และข้อความในคอลัมน์หนึ่งควรมีจานวน
มากกว่าข้อความในอีกคอลัมน์หนึ่ง
ข้อดี 1. สามารถวัดความรู้ ความจา ประเภทใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไรได้ดี
2. สร้างได้ง่ายและรวดเร็ว
3. ประหยัดกระดาษในการพิมพ์ขอ้ สอบ
4. เป็นปรนัยในการตรวจให้คะแนน
5. วัดเรื่องราวที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันได้ดี
ข้อเสีย 1. ข้อความหรือคาที่จะให้จับคู่จะต้องเป็นเรื่องหรือเนื้อหาพวกเดียวกันถ้า
ต้องการหลาย ๆเรื่อง ควรแยกออกเป็นตอน ๆ
2. ข้อความหรือคาในคอลัมน์หนึ่งจะต้องจับคู่ได้ถูกต้องกับข้อความหรือคา
เพียงข้อเดียวในอีกคอลัมน์หนึ่งเท่านัน้ และจะต้องเป็นคาหรือข้อความที่สอดคล้องกันจริง ๆ
3. ทุกข้อความหรือคาในคอลัมน์หนึ่งควรมีจานวนมากกว่าข้อความหรือคาใน
อีกคอลัมน์หนึ่ง
4. ข้อความหรือคาในคอลัมน์หนึ่ง ควรมีจานวนมากกว่าข้อความหรือคาใน
อีกคอลัมน์หนึ่งประมาณ 3 – 4 ตัวเป็นอย่างน้อย โดยปกติตัวเลือกจะมีมากกว่า
5. ข้อสอบชุดหนึ่ง ๆ ไม่ควรมีมากข้อเกินไป ควรอยู่ระหว่าง 5 – 12 คู่ ทั้งนี้
ไม่รวมกับคาที่ไม่มคี ู่ที่ใส่ไว้ลวงผู้ที่ไม่รู้
6. ข้อความที่เป็นตัวเลือกตัวหนึ่ง อาจมีโอกาสถูกเลือกได้เกิน 1 ครั้ง เพื่อ
ลดจุดอ่อนในการตัดตัวเลือกลงไปเรื่อง ๆ แต่โดยปกตินิยมให้เลือกได้เพียงครั้งเดียว แล้วมีตัว
ลวงไว้ให้
7. ควรพิมพ์แบบทดสอบทั้งชุดให้อยูใ่ นหน้าเดียวกัน

2.10.4 แบบเลือกตอบ (Multiple - Choices) ข้อสอบแบบเลือกตอบเป็นข้อสอบที่


นิยมใช้กันมากในข้อสอบมาตรฐาน (Standardized test) และข้อสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teacher

12
13

Made Test) เป็นข้อสอบชนิดที่มีตัวคาถามและตัวคาตอบให้เลือกเช่นเดียวกับข้อสอบปรนัย


แบบ ถูก – ผิด แบบจับคู่ แต่จะก าหนดตัวเลือกต่างกันไปจากข้อสอบทั้งสองประเภทนั้ น
ข้อสอบแบบเลือกตอบจะประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วนคือ
1. ส่วนที่เป็นตัวคาถาม หรือตัวปัญหา เรียกว่า Stem
2. ส่วนที่เป็นตัวเลือก (Choices) ซึ่งแยกเป็น 2 ประเภท คือ
 ตัวที่เป็นคาตอบ (Keyed response) ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะคือ
ก. เป็นคาตอบที่ถูก (Correct answer) ซึ่งไม่เพียงคาตอบเดียว
ข. เป็นคาตอบที่ดีที่สุด (Best answer) ในลักษณะเช่นนี้ถ้าพิจารณาตัว
เลือกตอบแต่ละข้อจะเห็นว่าถูกทุกข้อ แต่ถ้าพิจารณาโดยส่วนรวมแล้วจะเห็นว่ามีข้อที่ดีที่สุด
เพียงข้อเดียว
 ตัวเลือกที่ไม่ใช่คาตอบ ซึ่งเรียกว่าตัวกลาง หรือตัวหลอกล่อ
(Distractor หรือ Foil) สาหรับตัวเลือกอาจมี 3,4 หรือ 5
ตัวเลือกตามความเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน เช่น
ชั้นประถมปีที่ 1- 2 ควรมี 3 ตัวเลือก
ชั้นประถมปีที่ 3 - 6 ควรมี 4 ตัวเลือก
ชั้นมัธยมศึกษา หรือสูงกว่า ควรมี 5 ตัวเลือก

2.11 ลักษณะของแบบทดสอบ
ลักษณะของแบบทดสอบที่ดีมี 10 ประการดังนี้คือ
1. มีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง ความสามารถของแบบทดสอบที่สามารถ
วัดได้ในสิ่ งที่ต้องการจะวัดหรื อคะแนนจากแบบทดสอบนั้นให้ความหมายแก่เราตรงตามที่
ต้องการ
ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ แบ่งเป็น 4 ชนิด
1.1 ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content Validity) หมายถึงแบบทดสอบนัน้
มีคาถาม
สอดคล้องและครอบคลุมเนื้อหาวิชาตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร และได้สัดส่วนที่ถูกต้องตรงกับ
ความจริง ซึ่งเราสามารถตรวจสอบดูได้จากการนาไปเทียบกับตารางวิเคราะห์หลักสูตรที่ทาไว้
ในด้านเนือ้ หาวิชา
1.2 ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Contruct Validity) หมายถึง

13
14

ความสามารถของแบบทดสอบที่จะวัดสมรรถภาพของสมองหรือพฤติกรรมในด้านต่าง ๆ ของ
ผู้เรียนได้ตรงตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร ในภาคความมุ่งหมาย
1.3 ความเที่ ย งตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึ ง
ความสามารถของ
แบบทดสอบที่สามารถเร้าให้นักเรียนตอบสนองออกมาตรงตามสภาพความเป็นจริงของเขา
เกณฑ์ที่ใช้เทียบก็คือ สภาพความเป็นจริงในปัจจุบันของนักเรียน
1.4 ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์ (Predictive Validity) หมายถึ ง
ความสามารถพยากรณ์ผลการเรียนในอนาคตของนักเรียนได้ถูกต้องตาม
ความเป็ น จริ ง เกณฑ์ ที่ ใ ช้ เ ที ย บคื อ สภาพความเป็ น จริ ง หรื อ สภาพ
ความสาเร็จในอนาคตของผู้เรียน

2. มีความเชื่อมั่นได้ (Reliability) หมายถึงแบบทดสอบนัน้ สามารถให้ผลการวัด


ที่คงที่ ไม่ กลับไปกลั บมา ไม่ว่ าจะนาไปวัดกี่ หนกั บผู้เรี ยนกลุ่มเดิมก็ต าม เช่ น เด็ กที่เ ก่งได้
คะแนนมาก เด็กอ่อนได้คะแนนน้อยถ้าทาการสอนอีกครั้งโดยใช้ขอ้ สอบชุดเดิมกับกลุม่ เดิม เด็ก
ที่เก่งก็ยัง เก่งอยู่และเด็กที่อ่อนก็ยังอ่อนเหมือนเดิม แสดงว่าแบบทดสอบนี้มคี วามเชื่อมั่นสูง

3. มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficulty) หมายถึงข้อสอบแต่ละข้อควรมีคนตอบ


ถูกและผิดอย่างละครึ่งของจานวนคนที่เข้าสอบ ข้อสอบที่ง่ายคือมีจานวนคนตอบถูกมากและ
ข้อสอบที่ยากเกินไปคือมีจานวนคนตอบถูกน้อยมากนั้นจัดได้ว่าเป็นข้อสอบที่ไม่มีประโยชน์
อะไร เพราะไม่สามารถจาแนกผูเ้ รียนได้ว่าใครเก่ง ใครอ่อน

4. มีอานาจจาแนก (Discrimination) หมายถึงแบบทดสอบสามารถแยกเด็ก


ออกเป็น
ประเภทๆ ได้ทุกชั้นทุกระดับ ตั้งแต่อ่อนสุดจนถึงเก่งสุด คือถ้าแบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม
โดยที่กลุ่มหนึ่งได้คะแนนมาก อีกกลุ่มได้คะแนนน้อย ถ้ากลุ่มได้ คะแนนมากตอบถูกมากกว่า
กลุ่มที่ได้คะแนนน้อยในแต่ละข้อแสดงว่าข้อสอบนั้น ๆ มีอานาจจาแนกดีแต่ถ้าหากว่ากลุ่มได้
คะแนนมากตอบได้ถูกจานวนพอ ๆ กับกลุ่มได้คะแนนน้อยก็แสดงว่าข้อสอบนั้น ๆ ไม่มีอานาจ
จาแนก

14
15

5. มีความยุติธรรม (Fair) หมายถึงข้อคาถามในแบบทดสอบนั้นต้ องไม่แนะ


แนวทางให้นักเรียนเดาคาตอบได้ถูก ไม่ลาเอียงต่อเด็กกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะการที่ข้อสอบจะให้
ความเสมอภาพเช่นนีไ้ ด้ ก็ตอ้ งอาศัยการสร้างข้อสอบให้ครอบคลุมเนือ้ หาในหลักสูตรนั่นเอง

6. ถามลึก (Searching) หมายถึง แบบทดสอบที่มีคาถามวัดพฤติกรรมหลาย ๆ


ด้าน ไม่เน้นเฉพาะด้านความจาเพียงด้านเดียว ควรใช้คาถามที่ให้นักเรียนได้ใช้สติปัญญา ใน
การคิดหาคาตอบให้มากกว่าความจาให้ใช้ความเข้าใจ การนาไปใช้การวิเคราะห์ สังเคราะห์
และการประเมินค่า

7. มีความเป็นปรนัย (Objectivity) ความเป็นปรนัยของแนวทดสอบคุณสมบัติ


3 ประการคือ
7.1 มีความชัดเจนในตัวคาถาม
7.2 มีความชัดเจนในวิธีการตรวจให้คะแนน
7.3 มีความชัดเจนในการแปลความหมายของคะแนน

8. ต้องยั่วยุ (Exemplary) หมายถึงแบบทดสอบนัน้ จะต้องมีลักษณะท้าทายชวนให้


เด็กคิดหาคาตอบ เช่น โดยการเรียงลาดับ คาถาม จากข้อง่ายไปหาข้อยาก หรือการใช้
รูปภาพประกอบคาถาม

9. จาเพาะเจาะจง (Definition) หมายถึงมีความชัดเจนในคาถามไม่ถามหลายแง่


หลายมุมหรือใช้คาคลุมเครือซึ่งจะทาให้นักเรียนงงได้ คาถามที่จาเพาะเจาะจงคือ ทุกคนอ่าน
แล้วต้องเข้าใจคาถามตรงกัน

10. ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึงแบบทดสอบนัน้ สามารถวัดความรูไ้ ด้มาก


ที่สุดในเวลาที่กาหนดให้สอบและการตรวจให้คะแนนทาได้รวดเร็ว ถูกต้อง สะดวกในการคุม
สอบและดาเนินการสอบ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการจัดทาข้อสอบน้อย พิมพ์ได้ชัดเจนอ่าน
ง่าย เป็นต้น

15
16

2.12 การวางแผนสร้างแบบทดสอบมาตรฐาน
การสร้ า งแบบทดสอบมาตรฐาน เป็ น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ จ ะพั ฒ นาคุ ณ ภาพของการ
ประเมินผลในโรงเรียนได้ แบบทดสอบมาตรฐานมีลักษณะเด่น คือ มีคุณภาพดี เพราะผ่านการ
วิ เ คราะห์ ม าแล้ ว มี เ กณฑ์ ป กติ ซึ่ ง ท าให้ ส ามารถแปลความหมายคะแนนได้ ถู ก ต้ อ งมี คู่ มื อ
ดาเนินการสอบทาให้วิธดี าเนินการสอบเป็นมาตรฐานเดียวกัน การใช้แบบทดสอบมาตรฐานใน
โรงเรี ยนจะช่ วยให้ สามารถปรับ คุณภาพของการศึกษาในโรงเรีย นไม่ให้ ตกต่าได้ การสร้า ง
แบบทดสอบมาตรฐานมีขนั้ ตอนการสร้างดังนี้
1. สร้ า งตารางจ าแนกเนื้ อ หาและพฤติ ก รรม จะท าให้ ท ราบว่ า จะสร้ า ง
แบบทดสอบวัดเนื้อหาอะไร พฤติกรรมอะไร อย่างละเท่าไร รายละเอียดเกี่ยวกับการสร้าง
ตารางจาแนกเนื้อหาและพฤติกรรมได้กล่าวไว้แล้ว
2. สร้างข้อคาถามตามตารางจาแนกเนื้อหาและพฤติกรรม ศึกษาหลักการสร้าง
ข้อคาถามที่ดี และการใช้ตารางจาแนกเนื้อหาและพฤติกรมในการสร้างแบบทดสอบ
3. นาแบบทดสอบไปทดลองใช้ เป็นการนาแบบทดสอบไปสอบในสถานการณ์จริง
กับกลุ่มนักเรียนในระดับชั้นเดียวกับแบบทดสอบที่สร้างขึ้น ควรไปสอบหลังจากที่นักเรียนได้
เรียนเนือ้ หาครบแล้ว
4. วิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ เพื่อหาค่าความยากง่ายและอานาจจาแนกของข้อสอบ
ศึกษาวิธีการวิเคราะห์และการแปลความหมายได้
5. ปรับปรุงข้อสอบที่คุณภาพยังไม่ถึงเกณฑ์ แล้วนาไปทดลองใช้ใหม่ และนามา
วิเคราะห์หาค่าความยากง่าย และอานาจจาแนกอีกครั้งหนึ่ง
6. เก็บเข้าธนาคารข้อสอบ ข้อสอบที่มีคุณภาพดีแล้วจะนาเก็บเข้าธนาคารข้อสอบ
7. จัดพิมพ์แบบทดสอบเป็นฉบับ เพื่อไว้ใช้ต่อไป
8. สร้างคู่มือดาเนินการสอบ โดยกาหนดเกี่ยวกับวิธีดาเนินการสอบ ซึ่งกล่าวถึงการ
เตรี ย มตั ว ก่ อ นการสอบ ได้ แ ก่ การก าหนดวัน เวลา สถานที่ ส อบ อุ ป กรณ์ ก ารสอบ และ
ผู้ดาเนิ นการสอบว่า ควรเตรียมตั วอย่า งไร ข้ อแนะนาเกี่ย วกับวิ ธีดาเนิ นการขณะสอบ การ
ปฏิบัตติ นของผู้ดาเนินการสอบให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และการปฏิบัตเิ มื่อหมดเวลาสอบ
9. หาเกณฑ์ ป กติ เกณฑ์ ป กติ โ ดยทั่ ว ไปจะเป็ น คะแนนมาตรฐานเพื่ อ ใช้ ส าหรั บ
เปรียบเทียบคะแนนสอบ ทาให้สามารถแปลความหมายของคะแนนได้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

16
17

ลาดับขั้นการสร้างแบบทดสอบมาตรฐานโดยสรุปแสดงได้ดังภาพ

1. สร้างตารางจาแนกเนือ้ หาและ
พฤติกรรม
2. สร้างข้อคาถามตามตารางในขั้นที่ 1

3. นาข้อสอบไปทดลองใช้

4. วิเคราะห์
ข้อสอบรายข้อ
5. ปรับปรุง
ไม่ดี

ดี
6. เก็บเข้าธนาคารข้อสอบ

7. จัดพิมพ์เป็นฉบับ

8. สร้างคูม่ ือดาเนินการสอบ 9. หาเกณฑ์ปกติ

10. แบบทดสอบมาตรฐาน

17
18

หลักในการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบที่ดี ควรจะเริ่มจากจุดมุ่งหมายว่าเขียนข้อสอบเพื่อจุดประสงค์อะไร
จะ ข้อสอบจะต้องเขียนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายนั้น หลักทั่วไปที่ควรคานึงถึงในการเขียน
ข้อสอบแบบเลือกตอบ มีดังนีค้ ือ

1. เขียนคาถามให้เป็นประโยคคาถามที่สมบูรณ์
ตัวอย่าง ต้นไม้ต้องการปุ๋ย เหมือนคนต้องการอะไร
ก. ไขมัน
ข. โปรตีน
ค. เกลือแร่
ง. วิตามิน

2. คาถามควรใช้คาให้พอเหมาะ ไม่ฟุ่มเฟือย
ตัวอย่าง คาถามที่ไม่ดี เช่น
คนที่ มีร ายได้ น้อยไม่ สามารถจะซื้ ออาหารประเภทเนื้อ สัต ว์รับ ประทาน ก็
อาจจะซื้ อ อาหารจ าพวกพื ช ที่ มี ร าคาถู ก แต่ มี คุ ณ ค่ า เท่ า กั น มารั บ ประทานแทนได้ พื ช ดั ง
กล่าวคืออะไร
ก. งา
ข. ถั่ว
ค. มัน
ง. เผือก
คาถามควรถามสัน้ ๆ คือ อาหารชนิดใดที่มีคุณค่าแทนเนือ้ สัตว์ได้

3. ไม่ควรใช้คาถามแบบปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ เพราะเข้าใจยาก ควรถาม


เป็นประโยคคาถามธรรมดาจะทาให้เข้าใจดีขึ้นตัวอย่าง คาถามที่ไม่ดี เช่น
นักเรียนไม่ควรเลือกอาหารกระป๋องที่ไม่มลี ักษณะเช่นไร

18
19

ก. กระป๋องบุบ
ข. กระป๋องเป็นสนิม
ค. ฝากระป๋องบวมนูน
ง. ตะเข็บกระป๋องปิดสนิท
คาถามที่ดี คือ นักเรียนควรเลือกอาหารกระป๋องที่มีลักษณะเช่นไร
4. เขียนคาถามให้ชัดเจนและถามให้ตรงจุด คาถามที่ไม่ชัดเจนว่า
ต้องการคาแปลหรือความหมาย ควรถามให้ชัดเจน เช่นตัวอย่าง คาถามที่ไม่ชัดเจน เช่น
พระรัตนตรัยคืออะไร
ก. ศีล
ข. ผ้าไตรจีวร
ค. แก้ว 3 ดวง
ง. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
คาถามที่ชัดเจน เช่น พระรัตนตรัย แปลว่าอะไร หรือ พระรัตนตรัย หมายถึงอะไร

5. ถามข้อละปัญหาเดียวหรือเรื่องเดียว
ตัวอย่าง คาถามที่ไม่ดี เช่น
หินอัคนีใช้ทาประโยชน์อะไร
ก. ทาครก – จังหวัดชลบุรี
ข. ทาถนน – จังหวัดลาปาง
ค. ทาปูนขาว – จังหวัดสระบุรี
ง. ทากระดานชนวน – จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ควรถามคาถามแยกเป็น 2 คาถาม และจะได้เป็น 2 ข้อคือ
1. ถามเกี่ยวกับประโยชน์
2. ถามว่ามีมากที่ไหน

6. ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับวัยของผู้ตอบ
ตัวอย่าง คาถามที่ไม่ดี เช่น
นักเรียนจะช่วยพัฒนาโรงเรียนได้โดยวิธีใด
ก. มาโรงเรียนทุกวัน
ข. ทาความเคารพครู

19
20

ค. ทาการบ้านส่งครูทุกวัน
ง. ทาความสะอาดห้องเรียน
คาถามนีไ้ ม่เหมาะกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาเพราะบางคนอาจไม่เข้าใจ ควรเปลี่ยนเป็น
คาง่าย ๆ เช่น นักเรียนจะช่วยเหลือโรงเรียนโดยวิธีใด
7. ข้อเดียวต้องมีคาตอบเดียว
ตัวอย่าง ที่ไม่ดี เช่น
สิ่งใดที่ไม่เข้าพวก
ก. เนือ้
ข. นม
ค. ไข่
ง. ข้าว
จ. ปลา
คาถามที่ไม่ชัดเจนอาจทาให้เกิดความเข้าใจผิดของผู้ตอบ คาตอบข้อนี้อาจเป็นข้าว เพราะ
คุณค่าทางอาหารแตกต่างจากข้ออื่น แต่นักเรียนบางคนอาจตอบ นม เพราะเป็นของเหลว
แต่ตัวเลือกอื่นมีลักษณะเป็นของแข็ง ฉะนั้นคาถามจึงต้องถามให้ชัดเจน มิฉะนั้นคาตอบถูก
อาจมีมากกว่า 1 คาตอบ

8. ให้ตัวถูกและผิด ถูกผิดตามหลักวิชา การกาหนดตัวให้ถูกหรือผิดให้สอดคล้อง


กับความเชื่อของสังคม หรือคาพังเพยทั่ว ๆ ไป ไม่ได้ จะต้องเป็นไปตามหลักวิชา เช่น ถามว่า
สิ่งใดไม่ควรรับประทาน ตัวเลือกคือ หมู เนื้อปลา ผู้ถามกาหนดคาตอบให้เป็นหมู เพราะ
นับถือศาสนาอิสลาม อย่างนีย้ ่อมไม่ได้

9. ควรเรียงลาดับตัวเลือก ตัวเลือกที่เป็นตัวเลข ควรเรียงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก


ส่วนตัวเลือกที่เป็นตัวหนังสือควรเรียงข้อความจากสัน้ ไปหายาว ตัวอย่าง ที่ไม่ดี เช่น
สองชั่วโมงครึ่งเป็นกี่นาที ควรแก้เป็น
ก. 120 นาที ก. 100 นาที
ข. 180 นาที ข. 120 นาที
ค. 150 นาที ค. 150 นาที
ง. 100 นาที ง. 180 นาที
หลังจากเล่นกีฬามาเหนื่อย ๆ เราควรปฏิบัติอย่างไร

20
21

ก. รีบอาบน้า ล้างหน้า
ข. ดื่มน้ามาก ๆ
ค. นั่งพัก
ง. เดินไปมา
ตัวเลือกควรเรียงใหม่ ดังนี้
ก. นั่งพัก
ข. เดินไปมา
ค. ดื่มน้ามาก ๆ
ง. รีบอาบน้า ล้างหน้า

10. ให้ตัวเลือกเป็นอิสระขาดจากกัน อย่าให้ตัวเลือกใดเป็นส่วนประกอบของตัวอื่น


ตัวอย่าง ที่ไม่ดี เช่น
สุนทรภูม่ ีชื่อเสียงด้านใด ดีข้นึ สุนทรภูม่ ีชื่อเสียงด้านใด
ก. ศิลปิน ก. นักเรียน
ข. นักเรียน ข. นักแสดง
ค. นักแสดง ค. ช่างปั้น
ง. ช่างแกะสลัก ง. ช่างแกะสลัก
ไม่ดี พลเมืองไทยในปัจจุบันมีประมาณเท่าใด ดีข้นึ พลเมืองไทยในปัจจุบันมี
ประมาณเท่าใด
ก. น้อยกว่า 40 ล้าน ก. น้อยกว่า 40 ล้าน
ข. น้อยกว่า 50 ล้าน ข. ระหว่าง 40 ล้านถึง 50 ล้าน
ค. มากกว่า 50 ล้าน ค. ระหว่าง 50 ล้านถึง 60 ล้าน
ง. มากกว่า 60 ล้าน ง. มากกว่า 60 ล้าน

11. ระวังเรื่องเพศและพจน์ของคาถามและตัวเลือก
ไม่ดี ชื่อใดเป็นวีรสตรีของไทย ดีข้นึ ชื่อใดเป็นวีรสตรีของไทย
ก. พระนเรศวร ก. นางเสือง
ข. คุณหญิงโม ข. นางนพมาศ
ค. พระยาพิชัยดาบหัก ค. คุณหญิงโม
ง. นายจันหนวดเขีย้ ว ง. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์

21
22

12. ตัวเลือกถูกและตัวลวงอย่าให้สั้นยาวแตกต่างกันมากนัก
ไม่ดี อะตอมคืออะไร ดีข้นึ ส่วนที่เล็กที่สุดของสสารอัน
ก. สารประกอบ ประกอบด้วยนิเคลียสซึ่งถูกล้อมรอบด้วย
ข. โมเลกุล อีเลคตรอน เรียกว่าอะไร
ค. ของผสม ก. สารประกอบ
ง. ส่วนที่เล็กที่สุดของสสารประกอบด้วย ข. โมเลกุล
นิวเคลียส ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยอีเลคตรอน ค. ของผสม
ง. อะตอม

13. อย่าให้ชี้แนะคาตอบซึ่งกันและกัน เช่น


ข้อแรก คุณหญิงโมเป็นวีรสตรีในสมัยใด ข้อหลัง ชื่อใดเป็นวีรสตรีของไทย
ก. สมเด็จพระนเรศวร ก. นางนพมาศ
ข. สมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ข. นางเสือง
ค. สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ค. คุณหญิงโม
ง. สมเด็จพระนั่งเกล้า ง. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์

14. อย่าใช้คาศัพท์หรือภาษาแปลกกว่าคาอื่น ๆ
ไม่ดี แพทย์ใช้กล้องอะไรดูของเล็ก ๆ ดีขึ้น กล้องจุลทรรศน์ใช้สาหรับส่อง
ดูอะไร
ก. กล้องขยาย ก. ดาว
ข. กล้องส่อง ข. เชือ้ โรค
ค. กล้องถ่ายรูป ค. โครงกระดูก
ง. กล้องจุลทรรศน์ ง. รูปถ่าย
15. อย่าให้ตัวเลือกถูกและผิดเด่นชัดเกินไป
ไม่ดี ในสมัยโบราณนักรบไทยใช้อาวุธอะไรมากที่สุด ดีขึ้น ในสมัยโบราณนักรบไทยใช้อาวุธ
อะไรมากที่สุด

22
23

ก. ดาบ ก. ธนู
ข. ปืนกล ข. ดาบ
ค. จรวด ค. หอก
ง. เครื่องบิน ง. กระบี่
16. คาถามควรเร้าให้นักเรียนได้ใช้ความคิด คาถามควรถามให้นักเรียนได้คิดเพื่อ
วัดความเข้าใจของนักเรียนบ้าง เช่น
ไม่ดี ใบไม้ทาหน้าที่อะไร ดีข้นึ ใบไม้ทาหน้าที่คล้ายอะไร
ก. ย่อยอาหาร ก. คนใช้
ข. คายอาหาร ข. คนครัว
ค. ปรุงอาหาร ค. คนเก็บเงิน
ง. ดูดซึมอาหาร ง. คนเปิดประตู

17. ตัวเลือกต้องมีความเป็นเอกพันธุ์ (Homogenious)


ตัวเลือกของคาถามข้อหนึ่ง ๆ นั้นควรเขียนเป็นเรื่องเดียวกันทั้งตัวถูกและตัวลวง
การเขียนตัวเลือกไปคนละทิศละทาง จะทาให้เกิดปัญหาในการเปรียบเทียบเพื่อหาคาตอบถูก
ดังตัวอย่าง
ไม่ดี กรุงเทพฯมีความสาคัญในฐานะใด ดีข้นึ กรุงเทพฯ มีความสาคัญใน
ฐานะใด
ก. เมืองหลวง ก. เมืองหลวง
ข. ที่ตั้งรัฐบาล ข. เมืองท่า
ค. ชุมทางการบิน ค. เมืองอุตสาหกรรม
ง. อยู่ตอนกลางของประเทศ ง. เมืองพานิชยกรรม

18. ไม่ควรถามในเรื่องที่เด็กคล่องปากอยู่แล้ว
ไม่ดี เมื่ออหิวาต์กาเริบ ควรปฏิบัตอิ ย่างไร
ก. กินยาป้องกัน
ข. กาจัดแมลงวัน
ค. ล้างมือก่อนกินอาหาร
ง. ไปหาหมอตรวจสุขภาพ
คาถามข้อนี้ตรงกับคากล่าวที่ว่า “อหิวาต์กาเริบ ล้างมือก่อนเปิบด้วยน้าประปา.....”

23
24

19. ระวังคาถามแบบปลายเปิด ปลายปิด


ตัวเลือกแบบปลายเปิดได้แก่ “ไม่มีขอ้ ใดถูก หรือ “ผิดทุกข้อ”
ตัวเลือกแบบปลายปิดได้แก่ “ถูกทุกข้อ”
ตัวเลือกทั้ง 2 ชนิดนี้ ไม่จาเป็นจริง ๆ แล้วไม่ควรใช้ เพราะเป็นตัวเลือกที่ทาให้
นักเรียนเดาได้ง่าย เช่น ตัวเลือก “ถูกทุกข้อ” ถ้านักเรียนอ่านพบว่าตัวเลือกในคาถามข้อใดข้อ
หนึ่งผิดก็จะทราบได้ทันทีว่าเลือก “ถูกทุกข้อ” ก็ผิดด้วย ทาให้มีโอกาสเดาตัวเลือกที่เหลือให้
ถูกได้ง่ายขึน้

20. ใช้ภาพประกอบคาถามด้วยยิ่งดี เพราะจะทาให้นักเรียนเข้าใจคาถามง่ายขึ้น


โดยเฉพาะเด็กเล็ก การใช้แผนผัง ตารางเลข กราฟ นามาใช้เป็นถามได้

21. อย่าให้ตัวถูกมีคาซ้าหรือเสียงซ้ากับตั วคาถาม จะทาให้สามารถเดาได้ง่าย


เช่น
ไม่ดี “พระปฐมเจดีย์” ตั้งอยูท่ ี่จังหวัดใด
ก. ลพบุรี ข. นครปฐม
ค. อ่างทอง ง. พระนครศรีอยุธยา
ตัวเลือกที่ถูกคือ ข้อ ข. นครปฐม ซึ่งมีคาซ้ากับตัวคาถาม ตัวเลือกเช่นนี้ไม่ดี นักเรียนจะ
เดาได้ง่าย

22. ตัวเลือกที่เป็นตัวถูกควรให้กระจายออกไปเท่า ๆ กัน และอย่าให้เรียงกันเป็นระบบ


เพราะการเรียงตัวอย่างเป็นระบบโดยต่อกันไปเป็นช่วง ๆ นั้นจะกลายเป็นการชี้แนะคาตอบที่
ถูกให้กับ นักเรีย น โดยไม่ ตั้งใจ จ านวนตั วถูก ควรกระจายออกไปในลักษณะสุ่มให้ครบทุ ก
ตัวเลือก ดังตัวอย่างต่อไปนี้
จะเห็ นได้ ว่ า ตัว ถู ก เรี ย งกั นอย่ า งเป็ น ระบบเช่น นี้ นัก เรี ยนก็ จ ะเดาต่ อไปได้ ว่า ข้ อ
13,14,15, 16 ตัวที่ถูกก็คือ ก, ง, ข, ค, ต่อไปเป็นช่วง ๆ เรื่อยไป ครูควรจัดให้ตัวถูกกระจาย
ไปในลักษณะสุม่ โดยให้ตัวเลือกมีจานวนแต่ละตัวเท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน

แบบของข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (Style of Multiple Choice)


ข้อสอบประเภทนี้ นิยมเขียนกันอยู่ 3 แบบคือ

24
25

1. แบบคาถามเดี่ยว เป็นแบบที่ใช้กันมาก แต่ละข้อจะมีคาถามและตัวเลือกครบ


บริบูรณ์เป็นอิสระในตัวเอง ไม่ต้องอาศัยตัวเลือกจากข้ออื่น เช่น
ข้อ 1 วีรกรรมเด่นของสมเด็จพระนเรศวรตรงกับข้อใด
ก. ประกาศอิสรภาพ
ข. รวบรวมพลเมือง
ค. ทาสงครามยุทธหัตถี
ง. เล่นการพนันเอาเมือง
ข้อ 2 “เพลงต้นตระกูลไทย” ให้ข้อคิดในด้านใด
ก. สั่งสอน
ข. ปลอบใจ
ค. เตือนสติ
ง. คิดสร้างสรรค์

2. แบบตัวเลือกคงที่ เป็นแบบที่กาหนดตัวเลือกให้ชุดหนึ่งสาหรับตอบคาถาม
หลาย ๆ ข้อ ข้อ คาถามเหล่ านั้นจะต้องเป็นเรื่ องเดี ยวกัน หรือเกี่ ยวกัน เป็นลั กษณะทานอง
เดียวกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
จงพิจารณาชื่อโรคตัง้ แต่ข้อ 1 ถึง ข้อ 8 ว่าตรงกับตัวเลือกใดที่กาหนดให้
ก. โรคที่เกิดจากการสัมผัส
ข. โรคที่เกิดจากสัตว์นาโรค
ค. โรคที่เกิดกับระบบทางเดินอาหาร
ง. โรคที่เกิดกับระบบทางเดินของลมหายใจ
ข้อ 1. ไข้ไทฟอยด์
ข้อ 2. ไข้หวัดใหญ่
ข้อ 3. โรคริดสีดวงตา
ข้อ 4. วัณโรค
ข้อ 5. โรคไข้เลือดออก
ข้อ 6. โรคบิด
ข้อ 7. โรคตาแดง
ข้อ 8. โรคไข้มาลาเรีย

25
26

3. แบบสถานการณ์ เป็นแบบที่ใช้วิธีกาหนดข้อความ ภาพหรือตารางตัวเลขให้


นักเรียนพิจารณาแล้วตั้งคาถามเกี่ยวกับข้อความหรือภาพหรือตารางตัวเลขที่กาหนดให้นั้น
ข้อสอบประเภทนี้ออกยากกว่ าแบบอื่ น แต่มี คุณค่าดี กว่า หลักสาคัญในการสร้า งข้อสอบ
ประเภทนีค้ ือ
3.1 สถานการณ์ ที่ก าหนดขึ้ น อาจจะใช้ข้ อ ความ ค าพู ด คาสนทนา บท
ประพั น ธ์ รู ป ภาพ ตาราง ตั ว เลข สถิ ติ หรื อ กราฟก็ ไ ด้ แต่ ค วรเป็ น สถานการณ์ ที่ มี
ความหมาย มีแง่มุมให้คิดและเป็นสถานการณ์ที่รัดกุม ไม่ยืดยาวเกินความจาเป็น
3.2 การถามควรถามในแง่ มุ ม ที่ ต้ อ งคิ ด และพิ จ ารณา ไม่ ค วรถามตรงตาม
สถานการณ์ที่กาหนดหรือถามนอกสถานการณ์จนเป็นเรื่องทั่วไปซึ่งสามารถตอบได้ไม่ต้องใช้
สถานการณ์
3.3 ควรจะตั้ ง ค าถามในแง่ ก ารแปลความหมายตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง
สถานการณ์ ถามข้อ คิด ถามความสัม พัน ธ์ข องสิ่ง ต่ าง ๆ หรือ ตั้ง ชื่อ ข้ อความหรือ ภาพที่
กาหนดให้ในสถานการณ์นั้น ๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
จงใช้สุภาษิตต่อไปนีต้ อบคาถามข้อ 1 ถึง ข้อ 5
“มีสลึงพึงประจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์
จงมักน้อยกินน้อยค่อยบรรจง อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน”
ตัวอย่างที่ไม่ดี
ข้อ 1 มีสลึงพึงประจบให้ครบเท่าใด
ก. 1 บาท
ข. 2 บาท
ค. 3 บาท
ง. 4 บาท
คาถามข้อนี้ไม่ดี เป็นการถามที่ตรงกับสถานการณ์ที่ยกมากล่าว นักเรียนสามารถตอบได้
ทันทีโดยไม่ต้องใช้ความคิด ควรเปลี่ยนคาถามใหม่
ตัวอย่างที่ดีขึ้น
ข้อ 2 คาว่า “มักน้อย” หมายถึงอะไร
ก. แล้วแต่ดวง
ข. ตามอัตภาพ
ค. ตามมีตามเกิด
ง. เดินสายกลาง

26
27

ข้อ 3 คาว่า “จะยากนาน” นั้นเป็นเหตุมาจากอะไร


ก. เกิดมาจน
ข. ปัญญาน้อย
ค. สุรุ่ยสุร่าย
ง. ไม่หารายได้
ข้อ 4 สุภาษิตบทนีเ้ ขียนขึน้ เพื่อจุดประสงค์ใด
ก. สั่งสอน
ข. แลอบใจ
ค. ตักเตือน
ง. ห้ามปราม
ข้อ 5 สุภาษิตบทนีเ้ น้นเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. การใช้จา่ ย
ข. การประหยัด
ค. การดาเนินชีวิต
ง. การรวบรวมเงิน

ลักษณะของเครื่องมือวัดผลที่ดี
เครื่องมือวัดผลเป็นชุดของสิ่งเร้าที่ใช้วัดพฤติกรรมหรือคุณลักษณะเพื่อให้ได้ข้อมูล
เกี่ยวกับพฤติกรรมหรือคุณลักษณะของสิ่งนั้น ตามที่ผู้วัดต้องการ เครื่องมือวัดผลนี้อาจได้มา
จาก 2 ทาง คือ
1. เครื่องมือที่มผี ู้อื่นสร้างไว้แล้วหรือเครื่องมือมาตรฐาน
2. เครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองเนื่องจากไม่สามารถหาเครื่องมือวัดได้ตรงกับพฤติกรรม
หรือคุณลักษณะที่จะวัดได้ จึงต้องสร้างใหม่อย่างมีหลักวิชาและต้องหาคุณภาพของเครื่องมือ
ด้วยเครื่องมือวัดผลที่ดีจะต้องเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพจึงจะช่วยให้การวัดผลมีความถูกต้อง
เชื่อถือได้และผลการประเมินที่ได้ย่อมเชื่อถือได้ด้วย ดังนั้นเครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองก่อนจะ
นาไปใช้จริงจึงควรตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือก่อนทุกครั้ง การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เป็นการตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องมือในเรื่อง ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความยาก
อานาจจาแนก และความเป็นปรนัย

27
28

1. ความเที่ยงตรง หรือ ความตรง (Validity) เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัด


ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัดความตรงของแบบทดสอบนัน้ มีสิ่งที่ควรพิจารณาดังนี้
1.1 ความตรงเป็นเรื่องที่อ้างถึงการตีความหมายของผลที่ได้จากเครื่องมือที่ใช้ในการ
ทดสอบหรื อการประเมิน ผล มิ ใช่ เ ป็น ความตรงของเครื่ องมือ แต่เ ป็ นความตรงของการ
ตีความหมายที่ได้จากผลของการทดสอบ
1.2 ความตรงเป็นเรื่องของระดับมิใช่เป็นเรื่องมีหรือไม่มี การบอกความตรงของแบบทดสอบ
ควรเสนอในรูประดับที่เฉพาะเจาะจง เช่น มีความสูงปานกลาง หรือต่า
1.3 ความตรงจะเป็นความตรงเฉพาะเรื่องที่ต้องการวัดเสมอไม่มีแบบทดสอบใดที่มี
ความตรงทุกวัตถุประสงค์เช่น แบบทดสอบเลขคณะอาจมีความตรงสูงในการวัดทักษะ การ
คานวณ แต่มีความตรงต่าในการวัดเหตุผลเชิงตัวเลข และอาจมีความตรงปานกลางในการ
คาดคะเนผลการเรียนวิชาเลขคณิตในวิชาต่อไป
1.4 ความตรงเป็นมโนทัศน์เดี่ยว หมายความว่าความตรงเป็นค่าตัวเลขเดียวที่ได้มา
จากหลักฐานหลายแห่ง หลักพื้นฐานที่ใช้ยึดในการตีความหมายของความตรงก็คือเนื้อหา
เกณฑ์ที่กาหนดและโครงการ

ประเภทของความเที่ยงตรง
ความเที่ยงตรงแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้
1. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) หมายถึงคุณสมบัติของข้อคาถามที่
สามารถวัดได้ตรงตามเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัด และเมื่อรวบรวมข้อคาถามทุกข้อ
เป็นเครื่องมือทั้งฉบับจะต้องวัดได้ครอบคลุมเนือ้ หาและพฤติกรรมทั้งหมดที่ต้องการวัดด้วย
ความเที่ ย งตรงเชิ ง เนื้ อ หาเป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด โดยเฉพาะแบบทดสอบวั ด
ผลสัมฤทธิ์ เพราะแบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาต่า นักเรียนไม่สามารถแสดง
ความรู้ ห รื อ พฤติ ก รรมที่ เ ขามี อ ยู่ ไ ด้ เพราะความรู้ ห รื อ พฤติ ก รรมที่ เ ขามี อ ยู่ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก วั ด
ข้อสอบวัดในสิ่งที่ครูไม่ได้สอน หรือครูสอนแต่ไม่ได้วัด ผลที่ตามมาคือผู้สอบตอบข้อสอบไม่
ถูกเป็นส่วนใหญ่ส่งผลให้คะแนนที่ได้จากการวัดครั้งนั้น ขาดความเชื่อถือ วัดในสิ่งที่ต้องการ
จะวัดจริง ๆ ไม่ได้และเมื่อนาผลการวัดครั้งนั้น ๆ ไปประเมินผล ผลการประเมินครั้งนั้น ๆ ก็
ขาดความเชื่อถือตามไปด้วย

2. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) เป็นคุณสมบัติของ


เครื่องมือที่สามารถวัดได้ตรงตามทฤษฎีหรือแนวคิดของโครงสร้างที่ต้องการจะวัด คาว่ า

28
29

โครงสร้างมีความหมายในเชิงนามธรรม ที่ใช้อธิบาย และค้นหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนได้ เช่น


ความเสียสละ อาจให้ความหมายในเชิงโครงสร้างว่า หมายถึง การกระทาที่ไม่เอาเปรียบ
ผู้อื่นการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การช่วยเหลือผู้อื่น การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การอดทน
เพื่อให้คนอื่นมีความสุข ดังนั้นหากสร้างเครื่องมือวัดให้สัมพันธ์สอดคล้องกับสมรรถภาพย่อย
ตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างได้ จะถือว่าเครื่องมือหรือแบบทดสอบนั้นมีความเที่ยงตรงเชิง
โครงสร้าง

3. ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง (Criteria relative validity) เป็น


คุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัดได้สอดคล้องกับเกณฑ์ภายนอกบางอย่าง ความเที่ยงตรง
ตามเกณฑ์เกี่ยวข้องแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
3.1 ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ (Concurrent validity) เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือ
ที่สามารถวัดได้ตรงกับสภาพที่เป็นจริงที่เกิดขึน้ ในปัจจุบัน เช่น แบบทดสอบวัดความเสียสละ
ถ้านาไปสอบกับนักเรียนคนหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้กันทั่วไปว่านักเรียนคนนี้มีความเสียสละมาก ผลการ
สอบปรากฏว่า ได้คะแนนความเสียสละสูงมาก หมายความว่าเป็นคนเสียสละซึ่งตรงกับสภาพ
ความเป็นจริงของนักเรียนคนนั้นจริง ๆ แสดงว่า แบบทดสอบวัดความเสียสละฉบับนั้นมีความ
เที่ยงตรงเชิงสภาพ
3.2 ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive validity) เป็นคุณสมบัติของ
เครื่องมือที่สามารถวัดได้ตรงกับสภาพที่เป็นจริงที่เกิดขึ้นในอนาคต เช่น แบบทดสอบความ
ถนัดทางการเรียน เมื่อนาไปใช้สอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันแห่งหนึ่ง ปรากฏว่า นาย ก
สอบคัดเลือกได้ และได้คะแนนความถนัดสูงมาก เมื่อนาย ก เข้าไปเรียนในสถาบันแห่งนั้น
ปรากฏว่าเรียนได้ผลการเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม แสดงว่าแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน
ฉบับนั้น มีความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ ความเที่ ย งตรงเชิ ง สภาพและความเที่ ย งตรงเชิ ง
พยากรณ์ ต่างก็เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัดได้ตรงกับสภาพที่เป็นจริงเหมือนกัน
แต่แตกต่างกันตรงระยะเวลาที่ใช้เป็นเกณฑ์ ถ้านาเครื่องมือไปวัดโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ใน
ปัจจุบันก็จะเป็นความเที่ยงตรงเชิงสภาพ ถ้านาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ในอนาคตก็จะเป็น
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์
ความเชื่อมั่น (Reliability)
แบบทดสอบที่ดีต้องเชื่อมั่นได้ว่าผลจากการวัดคนที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนไปมา การวัดครั้งแรก
เป็นอย่างไร เมื่อวัดซ้าอีกโดยใช้แบบทดสอบชุดเดิมกับผู้สอบกลุ่ มเดิม จะวัดกี่ครั้งก็ตาม ผล
จากการวัดย่อมเหมือนเดิม หรือใกล้เคียงกัน สอดคล้องกัน

29
30

แบบทดสอบที่เชื่อมั่นได้จะสามารถให้คะแนนได้คงที่แน่นอน ปกติในการสอบแต่ละครั้งคะแนน
ที่ได้มักไม่คงที่ แต่ถ้าอันดับที่ของผู้สอบยังคงที่เหมือนเดิม ก็ยังถือว่าแบบทดสอบนั้นมีความ
เชื่อมั่นสูง เนื่องจากความเชื่อมั่นของแบบสอบ หมายถึงความคงที่ของคะแนนที่ได้จากการ
สอบของคนกลุ่มเดิม หลาย ๆ ครั้ง การหาค่าความเชื่อมั่นจึงยึดหลักการสอบหลาย ๆ ครั้ง
แล้วหาความสัมพันธ์ของคะแนนที่ได้จากการสอบหลายครั้งนั้น ถ้าคะแนนของเด็กแต่ละคน
คงที่หรือขึ้นลงตามกันแสดงว่าแบบทดสอบนัน้ มีค่าความเชื่อมั่นสูง ค่าความเชื่อมั่นคานวณได้
จากการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนทั้งสองชุด จากการสอบนักเรียนกลุ่มเดิม
2 ครัง้ โดยใช้แบบทดสอบเดียวกัน ความเชื่อมั่นมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1.00

วิธีหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทาได้หลายวิธีดังนี้
1. การสอบซ้า (Test – retest) เป็นการนาแบบทดสอบชุดเดียวกันไปสอบเด็ก
กลุ่ ม เดี ย วกั น 2 ครั้ ง ในเวลาห่ า งกั น พอสมควร แล้ ว น าคะแนนทั้ ง 2 ชุ ด นั้ น มาหา
ความสัมพันธ์กัน ค่าที่ได้ คือค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบ วิธีการเช่นนี้เรียกว่า “Measure
of Stability”
การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยการสอบซ้ามีข้อเสียอยู่หลายประการดังนี้
1.1 การสอบโดยการใช้แบบทดสอบเดียวกันซ้ากันหลาย ๆ ครั้ง ทาให้
ผู้สอบ
เกิดความเบื่อหน่าย เพราะธรรมชาติของคนไม่ชอบความซ้าซากจาเจ
1.2 เสียเวลาในการสอบมาก
1.3 ผู้สอบเกิดการเรียนรู้จากการสอบครั้งแรก ทาให้การสอบครั้ง
หลังเกิดความคลาดเคลื่อนได้
ฉะนั้น การหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยวิธีการสอบซ้า จึงไม่เป็นที่นิยมกัน

2. ใช้แบบทดสอบคู่ขนาน (Parallel tests หรือ Equivalence tests) แบบทดสอบ


คู่ขนาน หมายถึงแบบทดสอบ 2 ชุด ที่มีลักษณะและคุณภาพใกล้เคียงกันมากที่สุด ทั้งด้าน
เนือ้ หา ความยากง่าย อานาจจาแนก ลักษณะคาถาม และจานวนข้อคาถามจนอาจกล่าวได้
ว่าเป็นแบบทดสอบฉบับเดียวกัน สามารถใช้แทนกันได้
การใช้แบบทดสอบคู่ขนานนีเ้ ป็นการแก้ปัญหาข้อจากัดต่าง ๆ ของการหา
ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยการสอบซ้า การหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทาได้
โดย นาแบบทดสอบคู่ขนานไปทดสอบนักเรียนกลุ่มเดี่ยวกันทั้ง 2 ฉบับในเวลาเดียวกัน แล้ว

30
31

นาคะแนนจากการทาแบบทดสอบ 2 ชุดนี้มาหาความสัมพันธ์กัน ก็จะได้ค่าความเชื่ อมมั่น


ของแบบทดสอบทั้ง 2 ฉบับ วิธีการนีเ้ รียกว่า “Measure of Equivalence test”
ข้อจากัดของการหาค่าความเชื่อมั่นโดยวิธีการใช้แบบทดสอบคู่ขนาน คือเป็น
การยากที่จะสร้างแบบทดสอบสองฉบับที่มีลักษณะใกล้เคียงกันทั้งเนือ้ หาความยากง่ายรายข้อ
และอานาจจาแนก

3. วิธีแบ่งครึ่งข้อสอบ (Split - half) วิธีการแบ่งครึ่งข้อสอบเป็นการ


แก้ปัญหาความยากในการสร้างแบบทดสอบคู่ขนานโดยการใช้แบบทดสอบฉบับเดียวสอบเด็ก
กลุ่มเดียวเพียงครัง้ เดียวแต่ได้คะแนน 2 ชุด เช่นเดียวกับการสอบซ้าหรือการใช้แบบทดสอบ
คู่ขนาน
วิ ธี ที่ จ ะให้ ไ ด้ ค ะแนน 2 ชุ ด จากการสอบครั้ ง เดี ย วนั้ น ท าได้ โ ดยการ
ตรวจข้อสอบ 2 ครัง้ ๆ ละครึ่งฉบับ การแบ่งตรวจข้อสอบครั้งละเครื่องฉบับอาจแบ่งเป็นข้อคี่
กับข้อคู่หรือครึ่งแรก ครั้งหลัง หรือวิธีอื่นใดก็ได้ที่อาจทาให้ข้อสอบที่แบ่งเป็น 2 ตอนนั้นมี
ลักษณะคล้ายแบบทดสอบคู่ขนาน 2 ฉบับ แต่โดยทั่วไปนิยมแบ่งเป็นข้อคี่และข้อคู่มากกว่า
เพราะการเรียงลาดับข้อสอบฉบับหนึ่ง ๆ นั้นนิยมเรียงตามเนือ้ หาเป็นตอน ๆ และเรียงจากง่าย
ไปยาก ฉะนั้นการแบ่งครึ่งข้อคี่ข้อคู่จงึ ทาให้ข้อสอบที่แบ่งครึ่ง 2 ตอนนั้นมีลักษณะคล้ายคลึง
พออนุโลมให้เป็นแบบทดสอบคู่ขนานได้ เป็น ที่น่ าสั งเกตว่ าค่ าความเชื่ อมั่ นของแบบทดสอบ
เต็มฉบับจะสูงกว่าของแบบทดสอบเพียงครึ่งฉบับ ความจริงก็คือค่าความเชื่อมั่นขึ้นอยู่กับ
ความยาวหรือจานวนของข้อความ อาจสรุปเป็นเกณฑ์ทั่ว ๆ ไปได้ว่า แบบทดสอบที่มีข้อ
คาถามจานวนมาก น่าจะมีค่าความเชื่อมมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่มีจานวนคาถามน้อยกว่า
แต่ทั้งนีจ้ ะต้องขึน้ อยู่กับคุณภาพด้านอื่น ๆ ของแบบทดสอบด้วย
จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว เป็ น ตั ว ชี้ อ ย่ า งหนึ่ ง ว่ า การใช้ แ บบทดสอบปรนั ย ซึ่ ง
สามารถถามได้หลายข้อ ถามครอบคลุมเนื้ อหาได้มากกว่าการถามแบบอัตนัย ค่าความ
เชื่อมั่นของแบบทดสอบจึงน่าจะสูงกว่าด้วย ดังนั้นการสอบในปัจจุบันจึงนิยมใช้แบบทดสอบ
ปรนั ย ในการวั ด ผลการเรี ย นทั่ ว ไปแต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า แบบทดสอบปรนั ย จะดี ก ว่ า
แบบทดสอบอั ต นั ย ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ จุ ด ประสงค์ ข องการจั ด และขึ้ น อยู่ กั บ คุ ณ ภาพของ
แบบทดสอบด้วย

การวิเคราะห์ข้อสอบ

31
32

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบจะให้ดีและถูกต้อง จะต้องตรวจสอบคุ ณภาพของ


แบบทดสอบเป็นรายข้อและตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบทั้งฉบับ (ชวาล แพรัตกุล. 2516 :
10-11) โดยการตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบเป็นรายข้อมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
2 ประการคือ ความยากของข้อสอบ (dificulty) และอานาจจาแนกของข้อสอบ (discrimination)
ส่วนการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับ มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาคุณภาพ 2 ประการ
คือ ความเที่ยงตรง (validity) และความเชื่อมั่น (reliability) การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
หรือการวิเคราะห์ขอ้ สอบ หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบว่ามีคุณภาพดีเพียงใด
หลั ง จากที่ น าแบบทดสอบไปทดสอบและตรวจให้ ค ะแนนแล้ ว การตรวจสอบคุ ณ ภาพ
แบบทดสอบ จะช่ ว ยในการปรั บ ปรุ ง เทคนิ ค การสอนของครู ช่ ว ยให้ ค รู ส ามารถค้ น หา
ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในการเรียนของนักเรียน โดยพิจารณาว่าผู้เรียนยังอ่อนในเนื้อหาส่วนใด
และยังมีเนื้อหาในส่วนใดบ้างที่ครูต้องสอนซ่อมเสริม (อนันต์ ศรีโสภา. 2525 : 185) นอกจากนี้
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบยังช่วยประหยัดเวลาในการสร้างข้อสอบที่ดีขึ้นใหม่อีกด้วย
การวิเคราะห์ขอ้ สอบแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงกลุ่ม และ
การวิเคราะห์ขอ้ สอบตามแนวคิดอิงเกณฑ์

การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงกลุ่ม
การประเมินผลตามแนวคิดอิงกลุม่ เป็นการเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนในกลุ่ม เพื่อดู
ว่ า ใครเก่ ง -อ่ อ นกว่ า กั น ดั ง นั้ น ลั ก ษณะที่ ส าคั ญ ของข้ อ สอบจะต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความยาก
(difficulty) และอานาจจาแนก (discrimination) โดยพยายามเลือกข้อสอบที่มีค่าความยาก
พอเหมาะ และสามารถจาแนกผูส้ อบได้
1. ความยากของข้อสอบ (difficulty : p) หมายถึง สัดส่วนของจานวนผู้ที่ทาข้อสอบข้อนั้น
ถูกกับจานวนคนทัง้ หมด ซึ่งมีสูตร ดังนี้

สูตร
กรณีใช้กับตัวถูก กรณีใช้กับตัวลวง
เมื่อ P แทน ค่าความยากของข้อสอบรายข้อ เมื่อ P แทน ค่าความยากของตัวลวง
R แทน จานวนผู้ที่ทาข้อสอบข้อนั้นถูก R แทน จานวนผู้ที่ตอบตัวลวงนั้น
N แทน จานวนคนทัง้ หมด N แทน จานวนคนทัง้ หมด
ตัวอย่าง 7.1 ในการสอบวิชาภาษาไทยจานวน 20 ข้อ มี่ผู้เข้าสอบทั้งหมด 30 คน ปรากฏว่าใน
ข้อที่ 1 มีผู้ทาถูก 20 คน จงหาความยากของข้อสอบข้อที่ 1

32
33

จากสูตร

ข้อสอบข้อที่ 1 มีความยากเท่ากับ 0.67


คุณสมบัติของความยาก (P) มีดังนี้
1. ค่าความยากมีค่าตั้งแต่ .00 ถึง 1.00
2. ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าสูง แสดงว่าข้อสอบง่าย หรือมีคนทาถูกมาก
3. ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าต่า แสดงว่าข้อสอบยาก หรือมีคนทาถูกน้อย
4. ค่าความยากที่ดีสาหรับตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง .20 ถึง .80 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง .05
ถึง .50
5. เกณฑ์ในการพิจารณาความยากแบบทุกตัวเลือกมี ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2537 : 151-
152)
ตาราง 7.1 เกณฑ์การพิจารณาค่าความยากของตัวถูก และตัวลวง
ค่า P ตัวถูก ค่า P ตัวลวง

.00 ถึง .09 ยากมาก .00 ถึง .04 ใช้ไม่ได้


.10 ถึง .19 ยาก

.20 ถึง .39 ค่อนข้างยาก .05 ถึง .09 พอใช้


.40 ถึง .60 ปานกลาง .10 ถึง .30 ใช้ได้
.61 ถึง .80 ค่อนข้างง่าย .31 ถึง .50 พอใช้

.81 ถึง .90 ง่าย .51 ถึง 1.00 ใช้ไม่ได้


.91 ถึง 1.00 ง่ายมาก

ตัวอย่าง 7.2 ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์แบบเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ มีผู้เข้าสอบ จานวน


20 คน จงหาค่าความยาก (P) พร้อมทั้งบอกผลการพิจารณา
ข้ อ ตัวเลือก จ า น ว น ค น ที่ P ผลการพิจารณา สรุป
ที่ เลือก

33
34

1 ก. 4 .20 ใช้ได้ ใช้ได้


(ข.) 12 .60 ปานกลาง
ค. 4 .20 ใช้ได้

2 ก. 0 .00 ใช้ไม่ได้ ใช้ไม่ได้


(ข.) 19 .95 ง่ายมาก ตัดทิ้ง
ค. 1 .05 พอใช้

30 (ก.) 2 .10 ยาก ใช้ไม่ได้


ข. 13 .65 ใช้ไม่ได้ ตัดทิ้ง
ค. 5 .25 ใช้ได้

จากการพิจารณาค่า P ในข้อ 1 เป็นข้อสอบที่ดี เพราะว่าทั้งตัวถูกและตัวลวงอยู่ในเกณฑ์ดี


ในข้อ 2 พบว่าเป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ เพราะว่าค่า P ตัวถูกง่ายมาก ส่วนค่า P ตัวลวง (ก) ใช้ไม่ได้
สมควรตัดทิ้ง
ในข้อ 30 พบว่าเป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ เพราะว่าค่า P ตัวถูกยาก และค่า P ตัวลวง (ข) ใช้ไม่ได้
สมควรตัดทิ้ง

2. อานาจจาแนกของข้อสอบ (discrimination = r) หมายถึง ประสิทธิภาพของข้อสอบใน


การจาแนกเด็กออกเป็นกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน หรือกลุม่ สูงและกลุม่ ต่า เขียนเป็นสูตรได้ ดังนี้

สูตร หรือ

เมื่อ RH, RL แทน จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูงและกลุ่มต่าตามลาดับ


NH, NL แทน จานวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มต่าตามลาดับ
N แทน จานวนคนทัง้ หมด
คุณสมบัติของค่าอานาจจาแนก (r) มีดังนี้
1. ค่าอานาจจาแนกมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง 1.00

34
35

2. ถ้าค่าอานาจจาแนกสูง แสดงว่าข้อสอบมีอานาจจาแนกสูง
3. ถ้าค่าอานาจจาแนกต่า หรือเป็นศูนย์ แสดงว่าข้อสอบไม่มอี านาจจาแนก
4. ค่าอานาจจาแนกที่ดีของตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง .20 ถึง 1.00 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง .05
ถึง .50
5. ในกรณีที่พิจารณาค่าอานาจจาแนกทั้งตัวถูกและตัวลวงมีเกณฑ์ ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี .
2537 : 151-152)
ตาราง 7.2 เกณฑ์การพิจารณาค่าอานาจจาแนกตัวถูก และตัวลวง
ค่า r ตัวถูก ค่า r ตัวลวง

ค่าลบ ใช้ไม่ได้
.00 ไม่มีอานาจจาแนก ค่าลบ ใช้ไม่ได้
.01 ถึง .09 ต่า .00 ถึง .04 ใช้ไม่ได้
.10 ถึง .19 ค่อนข้างต่า

.20 ถึง .29 ค่อนข้างสูง .05 ถึง .09 พอใช้


.30 ถึง .50 สูง .10 ถึง .30 ใช้ได้
.51 ถึง 1.00 สูงมาก .31 ถึง .50 พอใช้

.51 ถึง 1.00 ใช้ไม่ได้


วิธีวิเคราะห์ขอ้ สอบรายข้อ มีขนั้ ตอนดังนี้
1. นาข้อสอบที่สร้างขึ้นตามตารางวิเคราะห์หลักสูตรไปสอบกับนักเรียน สมมติว่าไปทดสอบกับ
นักเรียน 30 คน แล้วนามาตรวจให้คะแนน
2. เรียงกระดาษคาตอบจากคะแนนสูงไปหาคะแนนต่า
3. ใช้เทคนิค 27 % (อาจใช้เทคนิค 25% ถึง 50 %ก็ได้ โดยยึดหลักว่า ถ้าจานวนคนที่สอบมี
น้อยให้ใช้เปอร์เซ็นต์สูง แต่ถ้ามีคนเข้าสอบมาก ๆ ให้ใช้เปอร์เซ็นต์ต่า โดยไม่ต่ากว่า 25%)
27
วิธีการหากลุม่ สูง ให้เอา 100 คูณจานวนคนทัง้ หมดที่เข้าสอบ เช่น คนสอบ 30 คนจะได้กลุ่มสูง
27
 30  8.10
เท่ากับ 100 ประมาณ 8 คน ส่วนการหากลุม่ ต่าก็ใช้วิธกี ารเช่นเดียวกัน คือได้จานวน
8 คน

35
36

4. นับจานวนกระดาษเรียงคะแนนสูงสุดลงมา 27% ของผู้เข้าสอบคือประมาณ 8 คน เรียกว่า


กลุ่มสูง (high group) ใช้สัญลักษณ์ ส หรือ H และเรียงกระดาษคาตอบจากคะแนนต่าสุด 27%
คือประมาณ 8 คน เรียกว่ากลุ่มต่า (low group) ใช้สัญลักษณ์ ต หรือ L
5. นากระดาษในกลุ่มสูง (H1-H8) ไปลงรอยขีด (tally) ในแบบฟอร์ม
6. ส่วนกลุ่มต่าให้ทาในทานองเดียวกันกับกลุม่ สูง

ตารางวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อทุกตัวเลือก โดยใช้เทคนิค 27%


วิชา………………........ชั้น……………......กลุ่มสูง (H1-H8)
ข้อที่ 1 2 60

คนที่ (ก) ข ค ก ข (ค) ก (ข) ค

H1 / / /
H2 / / /
H3 / / /
H4 / / /
H5 / / /
H6 / /
H7 / / / /
H8 / /

รว ม 6 1 1 0 0 8 5 2 1
(H)

ตารางวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อทุกตัวเลือก โดยใช้เทคนิค 27%


วิชา..…………….......ชั้น……………….......กลุ่มต่า (L1 - L8)

ข้อที่ 1 2 60

คนที่ (ก) ข ค ก ข (ค) ก (ข) ค

36
37

L1 / / / / /
L2 / / / /
L3 / / /
L4 / / /
L5 / / /
L6 / / /
L7 / / /
L8

รวม 2 3 3 0 1 7 2 6 0
(L)

7. นาค่ารวม (H) และค่ารวม (L) ของแต่ละตัวไปหาค่าความยาก (P) และค่าอานาจ


จาแนก (r) โดยใช้สูตรดังนี้

ตัวถูก

ตัวลวง
ตัวถูก ตัวลวง
P แทน ค่าความยากของข้อสอบ P แทน ค่าความยากของข้อสอบ
r แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ r แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
RH แทน จานวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก RH แทนจานวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบตัวเลือกนั้น
RL แทน จานวนคนในกลุ่มต่าที่ตอบถูก RL แทน จานวนคนในกลุ่มต่าที่ตอบตัวเลือกนั้น
NH แทน จานวนคนทัง้ หมดในกลุ่มสูง NH แทน จานวนคนทัง้ หมดในกลุ่มสูง
NL แทน จานวนคนทัง้ หมดในกลุ่มต่า NL แทน จานวนคนทัง้ หมดในกลุ่มต่า
ตัวอย่าง 7.3 ในข้อ 1 มีวิธกี ารหาค่า P และ r ดังนี้
ตัวถูก (ก) ;

ตัวลวง (ข) ; ตัวลวง (ค) ;

37
38

ส่วนข้ออืน่ ๆ มีวิธกี ารคานวณเช่นเดียวกัน


8. นาค่า P, r ที่คานวณได้บรรจุลงในตารางวิเคราะห์ข้อสอบ พร้อม
ทั้งบอกผลการพิจารณา
ตาราง 7.3 ตารางวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อแบบทุกตัวเลือก แสดงค่า P,r และผลการ
พิจารณา

ข้อ ตัว L H P r ผลการพิจารณา สรุป

ที่ เลือก ค่า P ค่า r

1 (ก) 2 6 .50 .50 ป า น สูง ดี เ พ ร า ะ ค่ า P,r


ข 3 1 .25 .25 กลาง ใช้ได้ เข้าเกณฑ์
ค 3 1 .25 .25 ใช้ได้ ใช้ได้
ใช้ได้

2 ก 0 0 .00 .00 ใช้ไม่ได้ ใช้ไม่ได้ ตั ด ทิ้ ง เพราะว่ า เป็ น


ข 1 0 .06 .13 พอใช้ ใช้ได้ ข้อสอบที่ง่ายมากและ
(ค) 7 8 .94 .13 ง่ายมาก ค่อนข้างต่า มีอานาจจาแนกต่า

60 ก 2 5 .44 -.38 พอใช้ ใช้ไม่ได้ ตั ด ทิ้ ง เ พ ร า ะ ว่ า


(ข) 6 2 .50 -.50 ป า น ใช้ไม่ได้ ข้ อ สอบไม่ มี อ านาจ
ค 0 1 .06 -.12 กลาง ใช้ไม่ได้ จาแนก
พอใช้
จากตาราง ข้อ 1 ตัวถูก (ก) และตัวลวง (ข,ค) ค่า Pและ r เข้าเกณฑ์ซ่งึ เป็นข้อสอบที่ดี
ข้อ 2 ตัวถูก (ค) ค่า P และ r ไม่เข้าเกณฑ์ ส่วนตัวลวง(ก) ค่า P , r ก็ไม่เข้าเกณฑ์ สมควรตัดทิ้ง
ข้อ 60 ตัวถูก (ข) ค่า P เข้าเกณฑ์ แต่ค่า r ใช้ไม่ได้ ส่วนตัวลวง (ก,ค) มีค่า r ใช้ไม่ได้ ดังนั้น
สมควรตัดทิ้ง

38
39

การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงเกณฑ์
การประเมินตามแนวคิดอิงเกณฑ์เป็นการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนกับ
เกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานว่าอยู่ในระดับถึงมาตรฐานที่ยอมรับหรือไม่ การตรวจสอบคุณภาพของ
แบบทดสอบตามแนวคิดนี้ มีวิธีหาค่าความยากของข้อสอบ เช่นเดียวกับแนวคิดแบบอิงกลุ่ม
เพียงแต่ค่าความยากนั้นไม่ได้ถือว่าข้อสอบที่ยากหรือง่าย เป็นข้อสอบที่ไม่ดีแต่จะเน้นการวัด
ตรงจุดประสงค์เป็นสาคัญ ดังนั้น ข้อสอบที่วัดตรงตามจุดประสงค์และเป็นข้อสอบที่ง่ายหรือ
ยากก็ถอื ว่าเป็นข้อสอบที่ดี

อานาจจาแนกของข้อสอบ (discrimination) ตามแนวคิดอิงเกณฑ์


อานาจจาแนกของข้อสอบ หมายถึง ประสิทธิภาพในการจาแนกระดับความสามารถของผู้
เรียนรู้แล้ว (กลุ่มรอบรู)้ กับผู้ที่ยังไม่เรียน (กลุ่มไม่รอบรู)้ การวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อตาม
แนวคิดอิงเกณฑ์ จะมุ่งเน้นหาค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ โดยถือว่าข้อสอบอิงเกณฑ์ที่ดี ควร
มีค่าอานาจจาแนกดี (สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. 2522 : 11-13) การหาค่าอานาจจาแนกข้อสอบ
รายข้อแบบอิงเกณฑ์ ในที่นี้ จะนาเสนอ 2 วิธี คือ วิธีของคริสปีนและเฟลด์ลูเซน (Kryspin and
Feldluson) และวิธขี องเบรนแนน (Brennan)
1. การหาค่ า อ านาจจ าแนกตามวิ ธี ข องคริ ส ปี น และเฟลด์ ลู เ ซน (Kryspin and
Feldluson)
คริสปีน และเฟลด์ลูเซน (Kryspin and Feldluson) ได้เสนอการหาค่าอานาจจาแนกที่เรียกว่า
ดัชนี S (index of sensitivity) หรือดัชนีความไวในการวัด ซึ่งมีสูตรดังนี้ (สาเริง บุญเรืองรัตน์.
2527 : 88)

สูตร (สาหรับตัวถูก)

เมื่อ S แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ


RA แทน จานวนคนตอบถูกหลังสอน
RB แทน จานวนคนตอบถูกก่อนสอน

39
40

T แทน จานวนคนที่เข้าสอบทั้งสองครัง้

การแปลความหมายค่า S (กรณีตัวถูก)
การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบในด้านความไว พิจารณาตามระดับค่า S ดังนี้
ตาราง 7.4 เกณฑ์การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบในด้านความไว (index of sensitivity)

ค่า S ความหมาย

1.00 เป็นข้อสอบที่ดี เป็นไปตามทฤษฎี

.80 ถึง .99 เป็นข้อสอบที่ดี หาได้ในเชิงปฏิบัติ

.30 ถึง .79 เป็นข้อสอบที่พอใช้ได้

.00 ถึง .29 เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ควรตัดทิ้ง

-1.00 ถึง .00 เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ ควรตัดทิ้ง

ในการพิจารณาค่าอานาจจาแนก (S) ถ้าค่า S เป็นบวกใกล้ +1.00 หมายถึง การเรียนการสอน


บรรลุตามเป้าหมาย คือ ก่อนเรียนผู้เรียนไม่มีความรู้ หลังจากเรียนแล้วปรากฏว่ามีความรู้ตาม
จุดประสงค์ที่ตั้งไว้ แต่ถ้าค่า S เป็นลบใกล้ -1.00 หมายถึง ก่อนเรียนผู้เรียนมีความรู้ แต่เมื่อ
เรียนจบเนือ้ หาแล้วปรากฏว่าผู้เรียนกลับไม่มคี วามรูเ้ ลย

40
41

ตัวอย่าง 7.5 ในการสอบก่อนสอนและหลังสอน วิชาสถิติเบื้องต้นกับนักเรียนจานวน 5 คน


จานวน 20 ข้อ ดังนี้

ข้อที่ 1 2 3 20

ชื่ อ RB RA RB RA RB RA RB RA
นักเรียน

1. นก / / / / / /

2. ไก่ / / / / / /

3. แมว / / / / / /

4. เสือ / / / / /

5. ช้าง / / / / /

รวมคนถูก 5 5 3 5 5 0 0 5

S 0 .40 -1.00 1.00

ผ ล ก า ร เป็นข้อสอบที่ไม่ เป็ น ข้ อ สอบ เป็ น ข้ อ สอบ เ ป็ น


พิจารณา ดี ค ว ร ตั ด ทิ้ ง ที่พอใช้ได้ ที่ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ ข้อสอบที่ ดี
เพราะง่ายมาก ควรตัดทิ้ง เป็นไปตาม
ทฤษฎี

วิธีใช้ดัชนี S มีดังนี้
1. ใช้ในกรณีที่มีการทดสอบ 2 ครัง้ คือ ก่อนสอน และหลังสอน

41
42

2. หาค่าอานาจจาแนกตัวถูกโดยใช้ดัชนี S แต่ถ้าจะหาค่าอานาจจาแนกตัวลวงด้วยควรใช้สูตร
ดังนี้

สูตร (สาหรับตัวลวง)
เมื่อ S แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบของตัวลวงนัน้
RA แทน จานวนคนที่ตอบของตัวลวงนัน้ หลังสอน
RB แทน จานวนคนที่ตอบตัวลวงนั้นก่อนสอน
T แทน จานวนคนที่เข้าสอบทั้งสองครัง้
การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบในด้านความไว ในกรณีของตัวลวงพิจารณาเป็นรายตัวเลือก
ดังนี้
2.1 ค่า RA ยิ่งน้อยเท่าไรยิ่งดี
2.2 ถ้าค่า S เป็นลบ เป็นตัวลวงที่ไม่ดี ต้องแก้ไขปรับปรุง
2.3 ถ้าค่า S เป็นบวก เป็นตัวลวงที่ใช้ได้

2. การหาค่าอานาจจาแนกตามวิธีของเบรนแนน (Brennan)
เบรนแนน (Brennan) ได้เสนอสูตรในการหาค่าอานาจจาแนกของข้อสอบแล้วตั้งชื่อเป็นดัชนีบี
(discrimination index B) การหาค่าอานาจจาแนกวิธีนี้จะสอบครั้งเดียวจากกลุ่มตัวอย่างเดียว
แล้วแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ที่สอบได้คะแนนผ่านเกณฑ์ และกลุ่มผู้ที่สอบได้คะแนนไม่
ผ่านเกณฑ์ มีสูตรดังนี้ (Brennan. 1972 : 292)

สูตร (สาหรับตัวถูก)
เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
U แทน จานวนคนทาข้อสอบข้อนั้นถูกของกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์
L แทน จานวนคนทาข้อสอบข้อนั้นถูกของกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์
N1 แทน จานวนคนที่สอบผ่านเกณฑ์
N2 แทน จานวนคนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์

การแปลความหมายค่าดัชนีบี (B-index)
ตาราง 7.5 เกณฑ์การแปลความหมายค่าดัชนีบี (B-index)

42
43

ค่ า ( B- หมายความว่าข้อสอบนั้นสามารถ
index)

+1.00 บ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องทุกคน

.50 ถึง .99 บ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

.20 ถึง .49 บ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นบางส่วน

.00 ถึง .19 บ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก หรือไม่ถูกต้อง

ติดลบ บ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ผิดพลาด หรือตรงข้ามกับความจริง


ข้อสอบที่ถอื ว่ามีคุณภาพจะต้องมีค่าอานาจจาแนกตามแนวคิดของเบรนแนน(B-index)
ตั้งแต่ .20
ขึน้ ไป (บุญชม ศรีสะอาด, นิภา ศรีไพโรจน์ และนุชวนา ทองทวี. 2528 : 130)

การวิเคราะห์ข้อสอบโดยใช้ ดัชนีบี (B-index) มีวิธีการดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2537 :


161)
1. นาแบบทดสอบไปทดสอบกับนักเรียนที่ต้องการวัด
2. ตรวจให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อ และรวมคะแนนไว้
3. ใช้จุดตัดหรือคะแนนการผ่านเกณฑ์ แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มรอบรู้ (ผู้ที่ได้คะแนนผ่าน
เกณฑ์) กับกลุ่มไม่รอบรู้ (ผู้ที่ได้คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์)
4. รวมจานวนคนรอบรู้ (N1) และผู้ไม่รอบรู้ (N2)
5. นับจานวนคนรอบรู้ที่ตอบถูก(U : upper) และนับจานวนคนที่ไม่รอบรู้ที่ตอบถูก (L : lower)
ในแต่ละข้อ
6. คานวณหาค่าอานาจจาแนก (B)

43
44

ตัวอย่าง 7.6 นาแบบทดสอบอิงเกณฑ์แบบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ซึ่งวัดในจุดประสงค์


เดียวกันไปทดสอบกับนักเรียน 10 คน โดยใช้เกณฑ์การตัดสินผู้รอบรู้ (ผู้ผ่านเกณฑ์) 80% จง
หาค่าอานาจจาแนกของข้อสอบรายข้อ
กลุ่ม ชื่อ ข้อ รวม

1 2 3 10

1.หนึ่ง 1 1 1 1 10
รอบรู้ 2. 1 1 1 1 10
หน่อย 1 1 1 1 9
3.เปิ้ล 1 1 0 1 8
4.ชมพู่ 1 1 1 0 8
5.เขียว 1 1 1 0 8
6.หวาน

U 6 6 5 4

ไม่ 1.แมว 1 1 1 0 7
รอบรู้ 2.ไก่ 1 0 1 1 6
3.หมู 1 0 1 0 4
4.เสือ 1 1 0 1 4

L 4 2 3 2

B .00 .50 .08 .17


วิธีการคานวณหาค่า B-index

จากสูตร

44
45

ข้อ 1 : ข้อ 2 :
ส่วนข้ออื่น ๆ มีวิธกี ารคานวณเช่นเดียวกัน
สรุปผลการวิเคราะห์
ข้อสอบข้อที่ 1 : เป็นข้อสอบที่ไม่ดี เพราะบ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก
ข้อสอบข้อที่ 2 : เป็นข้อสอบที่ดี เพราะบ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ข้อสอบข้อที่ 3 : เป็นข้อสอบที่ไม่ดี เพราะบ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก
ข้อสอบข้อที่ 10 : เป็นข้อสอบที่ไม่ดี เพราะบ่งชีผ้ ู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก
สรุปได้ว่าข้อสอบที่ควรคัดเลือกไว้คือ ข้อ 2 ส่วนข้อที่ควรตัดทิ้ง คือ ข้อที่ 1,3 และ 10

วิธีการใช้ B-index มีดังนี้


1. ใช้หาค่าอานาจจาแนกข้อสอบตามแนวคิดอิงเกณฑ์ โดยจะทาการสอบหลังเรียนครัง้ เดียว
2. การวิเคราะห์ตัวเลือกที่เป็นตัวถูกใช้สูตรข้างต้น ส่วนการวิเคราะห์ตัวลวง ให้ใช้สูตร ต่อไปนี้

สูตร (สาหรับตัวลวง)
เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนกของข้อสอบ
U แทน จานวนคนที่สอบผ่านเกณฑ์ตอบตัวลวงนั้น
L แทน จานวนคนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ตอบตัวลวงนั้น
N1 แทน จานวนคนที่สอบผ่านเกณฑ์
N2 แทน จานวนคนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์
การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย
การวิเคราะห์ขอ้ สอบอัตนัยจะต้องทาการแบ่งกลุ่มนักเรี ยนที่เข้าสอบออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม
เก่ง (กลุ่มสูง) และกลุ่มอ่อน (กลุ่มต่า) โดยใช้เทคนิค 25 % ของจานวนนักเรียนที่เข้าสอบ
วิธีการคานวณจะต้องใช้สูตรของ D.R.Sabers (1970) ดังนี้
ดัชนีค่าความยาก (PE) มีสูตร ดังนี้

ดัชนีค่าอานาจจาแนก (D) มีสูตร ดังนี้

45
46

เมื่อ PE แทน ดัชนีค่าความยาก


SU แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มเก่ง
SL แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มอ่อน
N แทน จานวนผู้เข้าสอบของกลุ่มเก่ง หรือกลุม่ อ่อน (เฉพาะกลุม่ ใดกลุ่มหนึ่ง)
Xmax แทน คะแนนที่นักเรียนทาได้สูงสุด
Xmin แทน คะแนนที่นักเรียนทาได้ต่าสุด
D แทน ดัชนีค่าอานาจจาแนก
ตัวอย่าง 7.6 แบบทดสอบอัตนัยฉบับหนึ่งหลังจากที่นาไปทดสอบกับนักเรียนและตรวจให้
คะแนนแล้วจึงทาการแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุม่ คือกลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อนด้วยเทคนิค 25 %
จากข้อมูลในตารางข้างล่างเป็นคะแนนของข้อสอบข้อที่ 1 (ซึ่งมีคะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนน)
จงหาค่าความยากและอานาจจาแนก
คะแนน กลุ่มเก่ง คะแนน กลุ่มอ่อน

f fx f fx

5 3 15 5 0 0

4 5 20 4 1 4

3 2 6 3 3 9

2 0 0 2 5 10

1 0 0 1 0 0

0 0 0 0 1 0

รวม 10 45 รวม 10 23

46
47

ข้อสอบอัตนัยข้อที่ 1 มีค่าความยากเท่ากับ 0.68

ข้อสอบอัตนัยข้อที่ 1 มีค่าอานาจจาแนกเท่ากับ 0.46


การแปลความหมาย การแปลความหมายค่าความยาก และอานาจจาแนกของข้อสอบอัตนัย
จะใช้หลักการเช่นเดียวกันกับการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอิงกลุม่

บทสรุป
การตรวจสอบคุ ณ ภาพแบบทดสอบ เป็ นการตรวจสอบว่ าแบบทดสอบนั้ น ๆ มี คุณ ภาพดี
เพี ยงใด หลัง จากที่ นาแบบทดสอบไปใช้ และตรวจให้ค ะแนนแล้ว การตรวจสอบคุ ณภาพ
แบบทดสอบจะกระทาใน 2 ลักษณะ คือ การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบรายข้อ หรือ
การวิเคราะห์ข้อสอบ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณาความยาก (difficulty) และค่าอานาจจาแนก
(discrimination) ส่วนการตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบทั้งฉบับนั้น มีจุดมุ่งหมายเพื่อพิจารณา
ความเที่ยงตรง (validity) และ ความเชื่อมั่น (reliability) การวิเคราะห์ข้อสอบ มีแนวคิดในการ
หาคุณภาพ 2 แนวคิด คือ การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์ โดยการ
วิเคราะห์ขอ้ สอบตามแนวคิดอิงกลุม่ จะพิจารณาในเรื่องความยากและอานาจจาแนก ส่วนการ
วิเคราะห์ขอ้ สอบตามแนวคิดอิงเกณฑ์จะพิจารณาเฉพาะค่าอานาจจาแนกเท่านั้น

ความแตกต่างระหว่างการประเมินผลแบบอิงกลุ่มกับเกณฑ์

การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์
1. เป็น การเปรี ย บเที ย บความสามารถของ 1. เป็นการเปรียบเทียบความสามารถของ

47
48

นักเรียนแต่ละคนกับนักเรียนคนอื่นๆ ในกลุ่มที่ นั ก เ รี ยนแ ต่ ละ ค น กั บ เ ก ณ ฑ์ ใ น ที่ นี้ ก็ คื อ


เรียนด้วยกัน จุดประสงค์ของการเรียนรู้
2. โครงสร้างของการประเมินผลแบบอิงกลุ่ม 2. โครงสร้างของการประเมินผลแบบอิง
ประกอบด้ วยผลของแนวความคิด และ/หรื อ เกณฑ์ประกอบด้วยจุดประสงค์ของการเรียน
จุดประสงค์ที่ละเอียดครอบคลุม คือเน้นการ การสอนทั้ ง หมดที่ ก าหนดไว้ อ ย่ า งจ าเพาะ
เป็นตัวแทนของจักรวาลความรู้ เจาะจงแล้ ว แบบทดสอบที่ ใ ช้ วั ด จึ ง วั ด ตาม
จุดประสงค์การเรียนการสอน
3. ใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันกับนักเรียน 3. อาจใช้ แ บบทดสอบต่ า งฉบั บ กั น กั บ
ทุกคนในกลุ่ม นักเรียนแต่ละคนในกลุ่ม
4. ข้อสอบสร้างขึ้นเพื่อใช้จาแนกนักเรียนเป็น 4. ข้อสอบที่สร้างขึ้นเพื่อวัดระดับความรู้ หรือ
กลุ่มเก่ง กลุ่มอ่อน จึงเหมาะสมสาหรับการ ทักษะความสามารถ จึงเหมาะสมสาหรับการ
สอบคัดเลือก หรือสอบแข่งขัน เรียนการสอนหรือการวินิจฉัย
5. ต้องการข้อสอบที่มีความยากพอเหมาะ 5. ข้อสอบไม่คานึงถึงความยาก สิ่งสาคัญ
(50%) คื อ ไม่ ย ากหรื อ ง่ า ยเกิ น ไป โดยสุ่ ม คื อ เน้ น การเขี ย นค าถามตามเนื้ อ หาและ
เนือ้ หามาอย่างดี จุดประสงค์ที่ได้กาหนดไว้
6. แบบทดสอบจะต้องคานึงถึงคุณลักษณะที่ 6. แบบทดสอบจะต้องเน้นความเที่ยงตรง
ดีและความเที่ยงตรงทุกแบบเป็นสาคัญ ตามเนื้ อ หาเป็ น ส าคั ญ ความเที่ ย งตรงแบบ
อื่นๆ อาจไม่จาเป็น
7. การวิเคราะห์ ข้อสอบรายข้อใช้เกณฑ์ 7. การวิเคราะห์ข้องสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์
ภายในคื อ กลุ่ ม ผู้ ไ ด้ คะแนนสู ง กั บ กลุ่ ม ผู้ ไ ด้ ภายนอกเช่น กลุ่มรอบรูก้ ับไม่รอบรู้ หรอเรียน
คะแนนต่า แล้วกับยังไม่ได้เรียนเป็นต้น
8. ใช้คะแนนในรูปของคะแนนมาตรฐาน หรือ 8. คะแนนจะแปลความหมายออกมาในรูป
ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ (Percentile Rank) ซึ่ง ของการรอบรูห้ รือยังไม่รอบรู้
จะแปลความหมายในรูปของลาดับที่ของกลุม่

2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จิร ศัก ดิ์ สุ ทั ศนะจิน ดาม ประภาพร ตั้ง ธนธานิช และสุพ รรณี ปูน อน
(บทคัด ย่ อ : 2548) เรื่ อง การจั ดท าข้อ สอบวั ด ความรู้ พื้ น ฐานวิช าชีพ สั ต วแพทย์ แ ละการ
วิเคราะห์ขอ้ สอบสาหรับนักศึกษาคณะสัตวแพทยศาสตร์ชั้นปีที่ 6 ที่จะสาเร็จการศึกษาในเดือน
มีนาคม 2548 เพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการจัดทาข้อสอบให้มีความชานาญเป็นอย่าง

48
49

ดี ครูผู้สอนจะต้องมีการทาวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่ งของกระบวนการเรียน การทาวิจัยในครั้ง นี้


ผู้จัดทาได้พัฒนาจัดทาแผนการจัดกิจกรรมมีการทบทวนลักษณะทางกายภาพของข้อสอบและ
ลักษณะความเหมาะสมของข้อสอบในเชิงเหตุผล แต่ยังไม่สามารถทราบถึงคุณภาพของข้อสอบ
ในเชิงประจักษ์ จนกว่าจะนาข้อสอบไปใช้ทดสอบจริง

กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย

แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

49
50

บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย

ในการศึกษาวิ จัยเรื่อ ง การเปรีย บเทียบการวิเ คราะห์ข้อสอบแบบอั ตนัยและปรนั ย


รายวิช า งานสานั กงาน (2201-2303) จากกลุ่มตั วอย่า งนักศึ กษาห้อ ง AC301 วิ ทยาลั ย
เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ การวิจัยครัง้ นีเ้ ป็นการวิจัยเชิงสารวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการวิ เ คราะห์ ข้ อ สอบแบบอั ต นั ย และปรนั ย รายวิ ช า งานส านั ก งาน
(2201-2303) ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขาการบัญชี (AC 301)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

3.1 ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
ผู้วิจัยได้กาหนดขั้นตอนในการวิจัยไว้ดังนี้
3.1.1 ศึก ษาหลั กการ ทฤษฏี แนวความคิด เกี่ ยวกั บ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการวิ เ คราะห์
ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัย ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
สาขาการบัญชี (AC 301) วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
3.1.2 ก าหนดกรอบความคิ ด ในการวิ จั ย ผู้ วิ จั ย ได้ ก าหนดกรอบความคิ ด เพื่ อ
ทาการศึกษาเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัย ของนักศึกษา
ระดั บชั้ นประกาศนี ยบั ตรวิ ชาชีพชั้ นปี ที่ 3 สาขาการบั ญชี (AC 301) วิ ทยาลั ย
เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจกาหนดวัตถุประสงค์
3.1.3 ก าหนดกลุ่ ม ประชากร ส าหรั บ การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ได้ ก าหนดกลุ่ ม ประชากร คื อ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ กาหนดวัตถุประสงค์ จานวน 36 คน
ประกอบไปด้วย เพศชายจานวน 2 คน เพศหญิงจานวน 34 คน โดยใช้แบบทดสอบ
จานวน 36 ชุด และสถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือการหาค่าร้อยละ
3.1.4 สร้างเครื่องมือการวิจัย การสร้างเครื่องมือการวิจัย ผู้วิจยั ศึกษาจากหลักการ ทฤษฎี
แนวคิด วัตถุประสงค์ เพื่อจาแนกว่าควรสร้างเครื่องมือวัดด้านใดบ้างให้เหมาะสมกับ
สภาพของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น ปี ที่ 3 สาขาการบั ญ ชี

50
51

คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจกาหนดวัตถุประสงค์ที่
ต้องการศึกษา
3.1.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนาเครื่องมือที่สร้างขึ้นมา ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างได้
ตอบแบบสอบถามและเก็บข้อมูลด้วยตนเอง
3.1.6 การสรุปผลการวิจัยและนาเสนอผลการวิจัย โดยนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล
และเขียนสรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ในการท าวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ผู้ ท าวิ จั ย ได้ ใ ช้ ก ลุ่ ม ของประชากรในการส ารวจข้ อ มู ล เป็ น
นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขาการบัญชี (AC 301) จานวน 36 คน
ของวิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ

3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการเก็บข้อมูลที่ใช้เพื่อการศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ออกแบบเครื่องมือสาหรับเก็บ
รวบรวมข้อมูล คือ การใช้แบบทดสอบ กล่าวคือ จะใช้ แบบทดสอบสาหรับนักศึกษาในเรื่อง
ทาการศึกษาเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัย ซึ่งแบบทดสอบ จะแบ่ง
ออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบทดสอบแบบอัตนัย
ตอนที่ 2 แบบทดสอบแบบปรนัย

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้นาเครื่องมือที่สร้างขึ้น มา คือ แบบทดสอบ ซึ่งให้
นักศึกษากลุ่มตัวอย่างได้ทดลองทาและเก็บข้อมูลด้วยตนเอง

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลในครัง้ นี้ ผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ตามกระบวนการระเบียบวิธีการ
วิจัยเชิงปริมาณ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ศึกษาคุณสมบัติพื้นฐานของบุคคล โดยวิเคราะห์ด้วยสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
1.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage) (นิศารัตน์ ศิลปเดช 2542: 144)

51
52

f
สูตร P  100
n

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ


f แทน จานวนหรือความถี่ที่ต้องการหาค่าร้อยละ
n แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean , X ) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ 2540: 53)

X
สูตร ΣX 
N

เมื่อ X แทน คะแนนตัวกลางเลขคณิต


 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน
N แทน จานวนคะแนนในข้อมูลนั้น

1.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ


2540: 103)

NX 2  (X ) 2
สูตร SD 
N(N  1)

เมื่อ SD แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน


X 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง
( X ) 2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกาลังสอง
N แทน จานวนในกลุ่มตัวอย่าง

52
53

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิชา


งานสานักงาน (2201-2303) สาขาการบัญชี ชั้นปีที่ 3 (AC 301) วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและ
บริหารธุรกิ จ มีวั ตถุประสงค์ ในการศึก ษาครั้งนี้ เ พื่อศึก ษาพฤติกรรมการเปรีย บเทีย บการ
วิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิชา งานสานักงาน (2201-2303) ของนักศึกษา
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขาการบัญชี (AC 301) วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยี
และบริหารธุรกิจ ซึ่งมีจานวนนักศึกษาทั้งหมด 36 คน ได้รับแบบทดสอบกลับมาจานวน 36
ชุด คิดเป็น100 % ของจานวนแบบทดสอบทั้งหมด ซึ่งสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ดังนี้

4.1 ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักศึกษา
การศึกษาข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา ประกอบไปด้วย เพศ และอายุ
จากการศึกษาข้อมูลพืน้ ฐานของนักศึกษา ห้อง AC301 จานวน 36 คนซึ่งประกอบด้วย
เพศ และอายุ พบว่านักศึกษาเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 94.45

ตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลทั่วไป


ข้อมูลทั่วไป จานวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
ชาย 2 5.56
หญิง 34 94.45
รวม 36 100.00

จากตารางที่ 4.1 จากการสอบถามข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา AC 301 จานวนทั้งหมด


36 คน โดยการสอบถามเรื่องเพศพบว่านักศึกษาเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 5.56 เพศหญิง
คิดเป็นร้อยละ 94.45

จากการศึกษาข้อมูลการทดสอบของนักศึกษา AC301 วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและ


บริหารธุรกิจ จานวนทั้งหมด 36 คน แสดงข้อมูลดังตารางที่ 4.2

53
54

ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลการทดสอบของนักศึกษา


ประเภทของแบบทดสอบ ผ่าน ไม่ผ่าน
1. แบบทดสอบแบบอัตนัย 28 8
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 77.78 22.22
2. แบบทดสอบแบบปรนัย 14 22
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 38.8 61.12

จากตารางที่ 4.2 การศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลการทาแบบทดสอบของนักศึกษาพบว่า

การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้ อสอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิช า งานสานักงาน


(2201-2303) โดยส่วนใหญ่นักศึกษาจะทาแบบทดสอบแบบอัตนัยผ่าน 28 คน คิดเป็น 77.78
เปอร์เซ็นต์ ไม่ผ่าน 8 คน คิดเป็น 22.22 เปอร์เซ็นต์ และนักศึกษาสามารถทาแบบทดสอบแบบ
ปรนัยผ่าน 14 คน คิดเป็น 38.8 เปอร์เซ็นต์ ไม่ผ่าน 22 คน คิดเป็น 61.12 เปอร์เซ็นต์

54
55

บทที่ 5
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิชา


งานสานักงาน (2201-2303) สาขาการบัญชี ชั้นปีที่ 3 (AC 301) วิทยาลัยพายัพเทคโนโลยีและ
บริหารธุรกิจ
ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาเป็ น ข้ อ มู ล ปฐมภู มิ ที่ ไ ด้ ม าจากการใช้ แ บบทดสอบ ส าหรั บ
นักศึกษาที่มีต่อการทาข้อสอบแบบอัตนัยและปรนัย ซึ่งมีจานวนนักศึกษาทั้งหมด 36 คน และ
ได้รับแบบสอบถามกลับมาทั้งหมด 36 ชุด คิดเป็น 100 % ซึ่งผลการศึกษาสามารถสรุปและ
วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้

5.1 ผลการศึกษา
จากการศึกษาข้อมูลพืน้ ฐานของนักศึกษา ห้อง AC301 จานวน 36 คนซึ่งประกอบด้วย
เพศ และอายุ พบว่านักศึกษาเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 94.45
จากการสอบถามข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา AC 301 จานวนทั้งหมด 36 คน โดย
การสอบถามเรื่องเพศพบว่านักศึกษาเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 5.56 เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ
94.45
การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ข้ อสอบแบบอัตนัยและปรนัยรายวิช า งานสานักงาน
(2201-2303) โดยส่วนใหญ่นักศึกษาจะทาแบบทดสอบแบบอัตนัยผ่าน 28 คน คิดเป็น 77.78
เปอร์เซ็นต์ ไม่ผ่าน 8 คน คิดเป็น 22.22 เปอร์เซ็นต์ และนักศึกษาสามารถทาแบบทดสอบแบบ
ปรนัยผ่าน 14 คน คิดเป็น 38.8 เปอร์เซ็นต์ ไม่ผ่าน 22 คน คิดเป็น 61.12 เปอร์เซ็นต์

5.2 ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป
5.2.1 ควรมีการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึน้ จากการทาแบบทดสอบแต่ละชนิด เพื่อที่จะนา
ผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุง การทาข้อสอบให้ตรงกับหลักสูตรของนักศึกษา เพื่อ
ก่อให้เกิดประโยชน์จากการใช้งานสูงสุด
5.2.2 ควรทาการวิจัยและติดตามการประเมินผลข้อสอบแต่ละประเภทของนักศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อนาผลวิจัยที่ได้รับไปปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีให้มปี ระสิทธิภาพ

55

You might also like