You are on page 1of 28

ภาคผนวก

70

ภาคผนวก ก
- แผนการจัดการเรียนรู
- รายนามผูเชี่ยวชาญ
71

หนวยการเรียนรูที่ 1
กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 วิชา ศ 31101
เรื่อง ประวัตคิ วามเปนมาของดนตรี เวลา 1 คาบ
______________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
ดนตรี เ ปน ส ว นหนึ่ ง ของวิ ถีชีวิ ต มนุษ ย มนุ ษ ยรูจั ก นํ า ดนตรี มาใชป ระโยชนตั้ ง แต ยุค กอ น
ประวัติศาสตร หลังจากจากที่มนุษยรูจักการจดบันทึกขอมูล จึงทําใหคนรุนหลังไดทราบประวัติ
ความเปนมาของดนตรี การศึกษาประวัติศาสตรดนตรี ทําใหเราเขาใจมนุษยดวยกันมากขึ้น เขาใจ
วิถีชีวิตความเปนอยู และเขาใจการสืบทอดทางวัฒนธรรมดนตรี
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. เขาใจวิวัฒนาการของดนตรีสากล
2. อธิบายลําดับการกําเนิดของดนตรีสากลในยุคตางๆได
3. สาระการเรียนรู
ดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก ซึ่งเริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึก
ทํานองเพลงที่เปนแบบแผนเดียวกันดวยสัญลักษณเฉพาะที่เรียกวา “โนตสากล“และใชเครื่องดนตรี
ที่มีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ประวัติของดนตรีสากลนั้น ในสมัยโบราณมนุษยรูจัก เคาะ ตี และ
นําสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวมาใช เชน การเปาเขาสัตว การนํากระดูกมาเคาะ การเคาะไมเปนจังหวะ
ในภายหลังจึงมีการพัฒนาจนกลายมาเปนดนตรีสากล
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูศึกษาเนื้อหาและเตรียมเอกสาร ใบงาน ใบความรู เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาเรื่องประวัติ
ความเปนมาของดนตรีสากล
ขั้นนํา
- ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวัง เพื่อใหทราบวาเมื่อศึกษาบทเรียนนี้แลวนักเรียนมีความรู
ความเขาใจสามารถอธิบายถึงความหมายและประวัติความเปนมาของดนตรีสากล
72

ขั้นสอน
- ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาใบความรู เ รื่ อ ง ความรู ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ ดนตรี ส ากลในหั ว ข อ เรื่ อ ง
ความหมายของดนตรีสากล ประวัติและธรรมชาติของดนตรีสากล โดยครูผูสอนอธิบายพรอม
ยกตัวอยางและสอบถามนักเรียน
- ใหนักเรียนแบงกลุมออกกลุมละประมาณ 4-6 คน โดยใหแตละกลุมชวยกันสรุปประวัติ
ของดนตรีสากล และชวยกันคิดวา การวิวัฒนาการของดนตรีสากลเปนอยางไร แลวสงตัวแทน
ออกมาอภิปรายหนาชั้น โดยครูผูสอนคอยชวยอธิบายเพิ่มเติม
ขั้นสรุป
- นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงลักษณะและความสําคัญของการวิวัฒนาของดนตรีสากล
ขั้นประเมินผล
- ครูตรวจและประเมินผลงาน ในใบงานของนักเรียนที่นักเรียนไดไปศึกษาและสรุปรวมกัน
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. ใบความรู 2. หนังสือดนตรีสากล
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน 2. สังเกตการทํางานกลุม 3. ตรวจผลงาน
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
73

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เครื่องดนตรีสากล ศ 31101
เรื่อง เครื่องสายและเครื่องลิ่มนิ้ว จํานวน 1 ชั่วโมง
______________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
คุณลักษณะของเสียงที่เกิดจากเครื่องดนตรีแตละชนิดยอมแตกตางกัน เครื่องดนตรีแตละ
ชนิดมีบทบาทหนาที่แตกตางกันไป การเรียนรูใหเขาใจเรื่องเครื่องดนตรีทําใหสามารถจําแนก
ประเภท เครื่องสาย เครื่องลิ่มนิ้วได
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย และเครื่องลิ่มนิ้ว ได
2. บอกองคประกอบของเครื่องดนตรีได
3. สาระการเรียนรู
เครื่องดนตรีสากล ประเภทเครื่องสาย และเครื่องลิ่มนิ้ว
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูเตรียมสื่ออุปกรณในการจัดการเรียนการสอน เตรียมเอกสารเนื้อหา ใบความรู และ
ใบงาน
ขั้นนํา
- ครูยกตัวอยางรูปเครื่องดนตรีแตละชนิดใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางตามภาพ
ขั้นสอน
- ใหนักเรียน แบงกลุม 4-6 คน แลวครูนําเสนอรูปภาพเครื่องดนตรี ตามลําดับขั้นตอน
ภาพทีละภาพ ใหนักเรียนในแตละกลุมพิจารณาตาม
- ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนทราบหรือยังวาครูจะใหนักเรียนรูจักเครื่องดนตรี
ประเภทใด
- ครูนําเสนอตัวอยางเครื่องดนตรีเพิ่มเติม
- ใหนักเรียนตอบคําถามซักถามเครื่องดนตรี ในแตละภาพของตัวอยาง นักเรียนเคยพบ
เห็นหรือไม
- ครูถามนักเรียนหลายๆ คน โดยเริ่มจากนักเรียนกลุมที่ออน ปานกลาง และเกงตามลําดับ
ตามตัวอยางที่นําเสนอรูปภาพ
74

- ครูถามนักเรียนที่รูจักหรือเคยพบเห็นมามีอะไรบาง พรอมใหนกั เรียน อธิบายจําแนก


ของลักษณะของรูปภาพขอแตกตาง หรือขอสังเกตอยางไร
ขั้นสรุป
- จากนั้นครูใหนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะตัวอยางและองคประกอบตางของเครื่อง
ดนตรี
ขั้นประเมินผล
- ครูสังเกตพฤติกรรมกาเรียนรู การทํางาน ตรวจใบงานของนักเรียน
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. รูปภาพเครือ่ งดนตรีสากล 2. ภาพประกอบ
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม 2. แบบทดสอบ / การทดสอบ 3. แบบฝกหัด
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
75

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เครื่องดนตรีสากล ศ 31101
เรื่อง เครื่องเปาลมไม และเครื่องเปาทองเหลือง จํานวน 1 ชั่วโมง
______________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
คุณ ลัก ษณะของเสีย งที ่เ กิด จากเครื ่อ งดนตรีแ ตล ะชนิด ยอ มแตกตา งกัน เครื ่อ งดนตรี
แตละชนิด มีบทบาทหนาที่แ ตกตางกัน ไป การเรีย นรูใหเ ขาใจเรื่องเครื่องดนตรีทําใหสามารถ
จําแนกประเภท เครื่องเปาลมไม และเครื่องเปาทองเหลือง
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเปาลมไม และเครื่องเปาทองเหลืองได
2. บอกองคประกอบของเครื่องดนตรี
3. สาระการเรียนรู
เครื่องดนตรีสากล ประเภทเครื่องเปาลมไม และเครื่องเปาทองเหลือง
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูเตรียมสื่ออุปกรณการเรียนสอน เอกสาร เนื้อหาที่ใชในบทเรียน ใบความรู ใบงาน
ขั้นนํา
- ครูสนทนากับนักเรียนวา โดยใหนักเรียนคนหาคําตอบจากจากรูปภาพเครื่องดนตรี
แตละชนิด
ขั้นสอน
- ครูยกตัวอยางรูปเครื่องดนตรีแตละชนิดใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางตามภาพ
- ใหนักเรียน แบงกลุม 4-6 คน แลวครูนําเสนอรูปภาพเครื่องดนตรี ตามลําดับขั้นตอน
ภาพทีละภาพ ใหนักเรียนในแตละกลุมพิจารณาตาม
- ครู สนทนากับนักเรียนวา นักเรียนทราบหรือยั งว าครูจ ะใหนั กเรียนรูจักเครื่องดนตรี
ประเภทใด
- ครูนําเสนอตัวอยางเครื่องดนตรีเพิ่มเติม
- ใหนกั เรียนตอบคําถามซักถามเครื่องดนตรี ในแตละภาพของตัวอยาง นักเรียนเคยพบเห็น
หรือไม
76

- ครูถามนักเรียนหลายๆ คน โดยเริ่มจากนักเรียนกลุมที่ออน ปานกลาง และเกง ตามลําดับ


ตามตัวอยางที่นําเสนอรูปภาพ
- ครูถามนักเรียนที่รูจักหรือเคยพบเห็นมามีอะไรบาง พรอมใหนกั เรียน อธิบายจําแนกของ
ลักษณะของรูปภาพขอแตกตาง หรือขอสังเกตอยางไร
- จากนั้นครูใหนักเรียนยกตัวอยางที่ เครื่องดนตรีอื่นๆ ซักมาคนละ 1 ตัวอยาง
ขั้นสรุป
- ครูและนักเรียนรวมกันสรุป วาแนวการคิด รูไดอยางไรวาครูตองการใหนักเรียนทราบถึง
เรื่องใดที่จะใช นําเสนอแนวคิด วิธีการคิด พรอมสรุปรวมกัน
ขั้นประเมินผล
- ครูตรวจผลงาน ตรวจใบงานของนักเรียน สังเกตพฤติกรรมการทํางานรวมกันภายในกลุม
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. รูปภาพเครื่องดนตรีสากล
2. ภาพประกอบ
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม 2. แบบทดสอบ / การทดสอบ 3. แบบฝกหัด

7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
77

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 2 เครื่องดนตรีสากล ศ 31101
เรื่อง เครื่องกระทบประกอบทํานองและจังหวะ จํานวน 1 ชั่วโมง
_____________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
คุณลักษณะของเสียงที่เกิดจากเครื่องดนตรีแตละชนิดยอมแตกตางกัน เครื่องดนตรีแตละ
ชนิดมีบทบาทหนาที่แตกตางกันไป การเรียนรูใหเขาใจเรื่องเครื่องดนตรีทําใหสามารถจําแนก
ประเภท เครื่องกระทบประกอบทํานองและจังหวะได
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบประกบทํานองและจังหวะได
2. บอกองคประกอบของเครื่องดนตรีแตละชนิดได
3. สาระการเรียนรู
เครื่องดนตรีสากล ประเภทเครื่องกระทบประกอบทํานองและจังหวะ
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูจัดเตรียมวัสดุอุปกรณที่ใชในการเรียน สื่อ เอกสารเนื้อหา ใบความรู ใบงาน
ขั้นนํา
- ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องเครื่องดนตรีที่เลนโดยใชวิธีการเคาะ หรือการตี ที่นักเรียน
เคยเลน หรือเคยพบเห็นมา
- ครูและนักเรียนยกตัวอยางเครื่องดนตรีแตละชนิดพรอมใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางตาม
ภาพ พรอมคนหาคําตอบ
ขั้นสอน
- ครูนําเสนอรูปภาพเครื่องดนตรี ตามลําดับขั้นตอน ภาพทีละภาพ พรอมอธิบาย และ
ใหนักเรียนพิจารณาตาม
- ครูสนทนากับนักเรียน และซักถาม ภาพเครื่องดนตรีที่นักเรียนเห็น รูจักเครื่องดนตรี
ประเภทใดชนิดใดบาง
- ครูถามนักเรียนหลายๆ คน โดยเริ่มจากนักเรียนที่ออน ปานกลาง และเกง ตามลําดับ
ตามตัวอยางที่นําเสนอรูปภาพ
78

- ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย น พร อ มให นั ก เรี ย น อธิ บ ายจํ า แนกของลั ก ษณะของเครื่ อ งดนตรี
ประกอบทํานองและประกอบจังหวะ มีขอแตกตาง หรือขอสังเกตไดอยางไร
- ครูใหนักเรียนยกตัวอยางเครือ่ งดนตรีที่นักเรียนไดเรียนรูแ ละจดจําเครื่องดนตรี
ขั้นสรุป
- ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ลักษณะของเครื่องดนตรีที่ใชในการเลนกระทบประกอบ
ทํานองและเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
ขั้นประเมินผล
- ครูตรวจผลงาน ใบงานของนักเรียน สังเกตพฤติกรมการทํางาน
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. รูปภาพเครื่องดนตรีสากล
2. ภาพประกอบ
3. เครื่องดนตรี
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
2. แบบทดสอบ / การทดสอบ
3. แบบฝกหัด
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
79

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5
กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่
หนวยการเรียนรูที่ 3 ลักษณะวงดนตรี วิชา ศ 31101
เรื่อง ประเภทของวงดุริยางค จํานวน 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
วงดนตรีสากลในปจจุบันมีการเรียกชื่อตางๆกันออกไปหลายลักษณะพิจารณาจากรูปแบบ
การประสมวงดวยเครื่องดนตรีประเภทตางๆ และลักษณะของบทเพลงที่บรรเลงสามารถจําแนกวง
ออกเปนประเภทตางๆ
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. เขาใจหลักการประสมวงดนตรีสากล
2. เขาใจเรื่องโอกาสในการบรรเลงดนตรีสากล
3. สาระการเรียนรู
1. วงดุริยางค (Orchestra) เปนลักษณะการผสมวงที่มีเครื่องดนตรี 4 ประเภท คือ กลุมเครื่องสาย
กลุมเปาลม กลุมเครื่องเปาทองเหลือง และกลุมเครื่องตีประกอบจังหวะ เปนตน
2. วงดุริยางคซิมโฟนี
3. วงดุริยางคแซมเบอร
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูจัดเตรียมสือ่ การเรียนการสอน เรื่องของลักษณะวงดนตรี เอกสาร ใบงาน ใบความรู
ขั้นนํา
- ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังเพื่อใหทราบวาเมื่อศึกษาบทเรียนนี้แลวนักเรียนมีความรู
ความเขาใจสามารถอธิบายถึงความสําคัญของวงดนตรีสากลประเภทตางๆได
- ครูสนทนาซักถามความรูของนักเรียนเกีย่ วกับวงดนตรีสากลประเภทตางๆ
ขั้นสอน
- นักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องวงดนตรีสากลโดยครูผูสอนอธิบายประกอบ
- นักเรียนศึกษาเรื่องวงดนตรีสากลเพิ่มเติมจากวีดีทัศนโดยครูผูสอนอธิบายประกอบ
- ใหนกั เรียนทดลองการจัดรูปแบบวงดนตรีสากลตามความคิดของตนเองแลวนําเสนอ
หนาชั้นเรียน
80

ขั้นสรุป
- นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงลักษณะและความสําคัญของวงดนตรีสากลประเภทตางๆ
ขั้นประเมินผล
- ครูสังเกตการทํางานรวมกันเปนกลุม การแสดงความแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวม
ใบงาน และผลงานของนักเรียน
5. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียน
1. ใบความรูเรื่องวงดนตรีสากล
2. วีดีทัศนเรื่องวงดนตรีสากล
6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
1. สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน
2. สังเกตการทํางานกลุม
3. ตรวจผลงาน
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
81

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6
กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่
หนวยการเรียนรู ลักษณะวงดนตรี วิชา ศ 31101
เรื่อง ประเภทของวงแบนด จํานวน 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
วงดนตรีสากลในปจจุบันมีการเรียกชื่อตางๆกันออกไปหลายลักษณะพิจารณาจากรูปแบบ
การประสมวงดวยเครื่องดนตรีประเภทตางๆและลักษณะของบทเพลงที่บรรเลงสามารถจําแนกวง
ออกเปนประเภทตางๆ
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. เขาใจหลักการประสมวงดนตรีสากล
2. เขาใจเรื่องโอกาสในการบรรเลงดนตรีสากล
3. สาระการเรียนรู
วงแบนด (Band) เปนวงดนตรีที่ประกอบดวยเครื่องดนตรี 3 กลุม คือ กลุมเครื่องลมไม กลุม
เครื่องลมทองเหลืองและ กลุมเครื่องกระทบ
4. กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูจัดเตรียมสือ่ ที่ใชในการจัดการเรียนการสอน เอกสาร ใบความรู ใบงาน
ขั้นนํา
- ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังเพื่อใหทราบวาเมื่อศึกษาบทเรียนนี้แลวนักเรียนมีความรู
ความเขาใจสามารถอธิบายถึงความสําคัญของวงดนตรีสากลประเภทตางๆ ได
- ครูสนทนาซักถามความรูของนักเรียนเกีย่ วกับวงดนตรีสากลประเภทตางๆ
ขั้นสอน
- นักเรียนศึกษาใบความรูเรื่องวงดนตรีสากลโดยครูผูสอนอธิบายประกอบ
- นักเรียนศึกษาเรื่องวงดนตรีสากลเพิ่มเติมจากวีดีทัศนโดยครูผูสอนอธิบายประกอบ
- ใหนกั เรียนสังเกตลักษณะการจัดรูปแบบวงดนตรีสากล
ขั้นสรุป
- นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงลักษณะและความสําคัญของวงดนตรีสากลประเภทตางๆ
82

ขั้นประเมินผล
- ครูสังเกตการณทํางาน ตรวจผลงานและใบงานของนักเรียน
5. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียน
1. ใบความรูเรื่องวงดนตรีสากล
2. วีดีทัศนเรื่องวงดนตรีสากล
6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
1. สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน
2. สังเกตการทํางานกลุม
3. ตรวจผลงาน
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
83

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
หนวยการเรียนรูเรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากล ศ 31101
เรื่อง ตัวโนตและตัวหยุด จํานวน 1 ชั่วโมง
______________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
ตัวโนต คือ เครื่องหมายที่ใชบันทึกแทนเสียง โนตจะมีเสียงสูงต่ําระดับใดนั้นขึ้นอยูกับ
บรรทัด 5 เสนและกุญแจประจําหลัก เมื่อเห็นลักษณะและตําแหนงของตัวโนตที่บันทึกอยู
ในบรรทัด 5 เสน จะทําใหทราบทันทีวาเสียงจะมีระดับสูงต่ํา และมีความสั้นยาวเพียงใด
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบของดนตรีสากลและทฤษฎีดนตรีสากล
2. สามารถอธิบายถึงความสําคัญขององคประกอบของดนตรีและทฤษฎีดนตรีได
3. สาระการเรียนรู
1. ลักษณะของตัวโนตและตัวหยุด
2. ชนิดและคาของตัวโนต
4. กิจกรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูจัดเตรียมสือ่ ในการจัดการเรียนรู เอกสาร ใบความรู ใบงานสําหรับนักเรียน
ขั้นนํา
- ครูสนทนากับนักเรีย น เรื่องการบัน ทึกบทเพลงดนตรีสากล นักเรียนสามารถบันทึก
ไดอยางไร
- ครูยกตัวอยางบทเพลงที่มาการบันทึกโนตสากลใหนักเรียนดูลักษณะตางๆ ของตัวโนต
วามีลักษณะอยางไรบาง
ขั้นสอน
- ครูนําเสนอโดยใชสื่อโนตดนตรีสากล พรอมทั้งใหนักเรียนฝกปฏิบัติตาม ขั้นตอนการ
ปฏิบัติพื้นฐานเบื้องตน โดยมีเนื้อหาเรื่องของจังหวะตัวโนตในแตละตัว ตัวหยุด เปนตน
- ครูแบงกลุมนักเรียนเปนกลุม ๆละ 4-6 คนโดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติเปนกลุมตามแบบฝก
ตามขั้นตอนการฝกปฏิบัติโนตดนตรีสากลพื้นฐานเบื้องตน เชน โนตตัวกลม ตัวดํา จังหวะการหยุด
ของโนตตัวกลม โนตตัวขาว ตัวดํา เปนตน
- ครูคอยกําชับกํากับดูแล การฝกของสมาชิกแตละกลุม การชวยเหลือ
- ครูสังเกตพฤติกรรมภายในการฝกปฏิบัติของนักเรียนในแตละกลุม
84

ขั้นสรุป
- นักเรียนในแตละกลุมโดยการฝกปฏิบัติโนตสากลพื้นฐานเบื้องตน ตามโนตเบื้องตน
สังเกตการปฏิบัติของนักเรียนวาปฏิบัติไดถูกตองหรือไม
- ครูใหคําแนะนําขอเสนอแนะตางๆ ในการปฏิบัติ
ขั้นประเมินผล
- ครูทดสอบนักเรียนโดยการทดสอบการปฏิบัติ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. รูปภาพ 2. ใบความรู 3. แบบฝกหัด
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม 2. แบบทดสอบ 3. แบบฝกหัด
7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
85

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
หนวยการเรียนรูเรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากล ศ 31101
เรื่อง กุญแจซอล กุญแจฟา จํานวน 1 ชั่วโมง
_____________________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
กุญแจประจําหลักที่ควรศึกษามี 4 ชนิด คือ กุญแจประจําหลักซอล กุญแจประจําหลักฟา กุญแจ
ประจําหลักโดอัลโต และกุญแจประจําหลักโดเทเนอร แตจะขอกลาวเพียงกุญแจประจําหลักซอล
และกุญแจประจําหลักฟา ซึ่งเปนกุญแจประจําหลักที่นิยมใชกันมากที่สุด
2. จุดประสงคการเรียนรู
1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบของดนตรีสากลและทฤษฎีดนตรีสากล
2. สามารถอธิบายถึงความสําคัญขององคประกอบของดนตรีและทฤษฎีดนตรีได
3. สาระการเรียนรู
1. ลักษณะของกุญซอล และกุญแจฟา
2. คาโนตและชื่อของโนตในกุญแจซอลและกุญแจฟา
4. กิจกรมการเรียนรู
ขั้นเตรียม
- ครูจัดเตรียมสือ่ ในการจัดการเรียนรู เอกสาร ใบความรู ใบงานสําหรับนักเรียน
ขั้นนํา
- ครูสนทนากับนักเรีย น เรื่องการบัน ทึกบทเพลงดนตรีสากล นักเรียนสามารถบันทึก
ไดอยางไร
- ครูยกตัวอยางบทเพลงที่มาการบันทึกโนตสากลใหนักเรียนดูลักษณะตางๆ และเครื่อง
ดนตรีที่ใชบันทึกในกุญแจซอล และกุญแจฟาของบทเพลงวามีลักษณะอยางไรหรือแตกตางกัน
อยางไรบาง
86

ขั้นดําเนินสอน
- ครู นํ า เสนอโดยใช สื่ อ โน ต ดนตรี ส ากล พร อ มทั้ ง ให นั ก เรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ต าม ขั้ น ตอน
การปฏิบัติพื้นฐานเบื้องตน โดยมีเนื้อหาเรื่องของจังหวะตัวโนตในแตละตัว ตัวหยุด ลงในกุญแจ
ประจําหลักกุญแจซอล กุญแจฟา พรอมบอกลักษณะตางๆ คาโนต ตําแหนงเสียงของโนตในแตละ
ตําแหนง เปนตน
- ครูแบงกลุมนักเรียนเปนกลุมๆ ละ 4-6 คนโดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติเปนกลุมตามแบบฝก
ตามขั้นตอนการฝกปฏิบัติโนตดนตรีสากลพื้นฐานเบื้องตน เชน โนตตัวกลม ตัวดํา จังหวะการหยุด
ของโนตตัวกลม โนตตัวขาว ตัวดํา ลงในกุญแจประจําหลัก กุญแจซอล และกุญแจฟา ใหนักเรียน
ฝกปฏิบัติ เปนตน
- ครูคอยกําชับกํากับดูแล การฝกของสมาชิกแตละกลุม การชวยเหลือ
- ครูสังเกตพฤติกรรมภายในการฝกปฏิบัติของนักเรียนในแตละกลุม
ขั้นสรุป
- นักเรียนในแตละกลุมโดยการฝกปฏิบัติโนตสากลพื้นฐานเบื้องตน ตามโนตเบื้องตน
สังเกตการปฏิบัติของนักเรียนวาปฏิบัติไดถูกตองหรือไม
- ครูใหคําแนะนําขอเสนอแนะตางๆ ในการปฏิบัติ
ขั้นประเมินผล
- ครูทดสอบนักเรียนโดยการทดสอบการปฏิบัติ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
5. สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. รูปภาพ 2. ใบความรู 3. แบบฝกหัด
6. วิธีการวัดผลและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม 2. แบบทดสอบ 3. แบบฝกหัด
87

7. ผลหลังการจัดการเรียนรู
1. ผลการจัดการเรียนรู
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ปญหาและอุปสรรค
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................
( นายเฉลิมเกียรติ โงนแกว )
ครูผูสอน
88

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรูศิลปะ เรื่อง ดนตรีสากล


คําชี้แจง 1.แบบทดสอบมีทั้งหมด 30 ขอ คะแนนเต็ม 30 คะแนน ใชเวลา 60 นาที
2.ใหนกั เรียนทําเครื่องหมายกากบาท (x) ทับอักษร ก, ข, ค, ง ที่เห็นวาถูกตองที่สุดเพียงขอ
เดียวในกระดาษคําตอบ
1. ชนชาติที่ยกยองดนตรีเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ 7. ขอใด ไมใช เครื่องเปาลมไม
ก.อังกฤษ ข.กรีก ก.ปคโคโร ข.แซกโซโฟน
ค.ฝรั่งเศษ ง.เยอรมัน ค.บาสซูน ง.ทูบา
2.รากฐานของดนตรีสากลมาจากสิ่งใด 8. ขอใด คือ เครื่องเปาลมไมที่ไมมีลิ้น
ก.เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา ก.โอโบ ข.แซกโซโฟน
ข.เพื่อความบันเทิง ค.รีคอรเดอร ง.บาสซูน
ค.เพื่องานรื่นเริง 9. เครื่องดนตรีที่ลักษณะเหมือนเสียงเปาเขา
ง.เพื่อยึดประกอบอาชีพ สัตว
3. วิวัฒนาการดนตรีตะวันตก มาจาก ก.ทรัมเปท ข.เฟรนซฮอรน
ก.ศาสนา ดนตรีขับรอง ดุริยางค ค.ปคโคโร ง.ทูบา
ข.ดุริยางค ศาสนา ประสานเสียง 10.ขอใด คือ เครื่องดนตรีตีประกอบทํานอง
ค.ขับรอง ศาสนา ดุริยางค ก.ทิมปานี ข.เบลลไลรา
ง.ประสานเสียง ศาสนา ดุริยางค ค.คองกา ง.บองโกส
4. ไวโอลิน จัดอยูในเครื่องดนตรีประเภทใด 11.ขอใด คือ เครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
ก.เครื่องเปาลมไม ข.เครื่องสาย ก.ไซโลโฟน ข.บองโกล
ค.เครื่องกระทบ ง.เครื่องสี ค.เบลลไลรา ง.มาริมบา
5. ขอใดเครื่องดนตรีที่มีอายุเกาแกที่สุด 12. เครื่องดนตรีตระกูลเดียวกับไซโลโฟน
ก.ปคโคโร ข.ฟลุท แตมีขนาดใหญกวา
ค.ฮารฟ ง.กีตาร ก.ไซโลโฟน ข.บองโกล
6. ขอใด คือ เครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิว้ ค.เบลลไลรา ง.มาริมบา
ก.ออแกน ข.แซกโซโฟน
ค.คลาริเนต ง.ทรัมเปท
89

13. วงดุริยางคซิมโฟนี วงขนาดเล็ก มีผูเลน 19. คือชื่อ เรียกของตัวโนตขอใด


ประมาณกี่คน ก.โนตตัวกลม ข.ตัวขาว
ก. 40 - 50 คน ข. 60 - 80 คน ค.ตัวดํา ง.เขบ็ต 1 ชั้น
ค. 80 - 110 คน ง. 110 – 12 คน 20. คือชื่อ เรียกของตัวโนตขอ
14. วงดุริยางคแชมเบอร ที่มีผูบรรเลง 3 คน ใด
เรียกวา ก.โนตตัวกลม ข.ตัวขาว
ก. ดูโอ ข.ทริโอ ค.ตัวดํา ง.เขบ็ต 1 ชั้น
ค. ควอเตท ง.ควินเตท
15. ควินเตท มีผูบรรเลง กี่คน 21. จากภาพ คือตัวหยุดตัว
ก. 3 คน ข. 4 คน โนต ตัวใด
ค. 5 คน ง. 6 คน ก.โนตตัวกลม ข.ตัวขาว
16. วงแจส มีถนิ่ กําเนิดมาจาก ค.ตัวดํา ง.เขบ็ต 1 ชั้น
ก. อเมริกา ข.อินเดีย
ค. แอฟริกา ง.ยุโรป
22. จากภาพ คือตัวหยุดตัว
17. แตรวง มีลกั ษณะของวงดนตรีที่
โนต ตัวใด
ประกอบดวยเครื่องดนตรีกลุมใดเปนหลัก
ก.โนตตัวกลม ข.ตัวขาว
ก.เครื่องประกอบจังหวะ
ค.ตัวดํา ง.เขบ็ต 1 ชั้น
ข.เครื่องเปาลมไม
23. โนตตัวกลม มีคาอัตราจังหวะ เทากับกี่
ค.เครื่องเปาทองเหลือง
จังหวะ
ง.เครื่องลิ่มนิ้ว
ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ
18. วงที่ใชในกิจการของทหาร จนแพรหลาย
ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ
ไปสูสถานศึกษา ใชในการสวนสนามหรือ
24. โนตตัวขาว มีคาอัตราจังหวะ เทากับกี่
บรรเลงกลางแจง
จังหวะ
ก.แตรวง ข.วงคอมโบ
ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ
ค.วงแชมเบอร ง.วงโยธวาทิต
ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ
90

29. เครื่องเปาทองเหลือง เมื่อฝกปฏิบัติเสร็จ


25. จากรูป โนตในบรรทัด แลว ควรทําอยางไร
5 เสน คือ ระดับตัวโนต ของโนตใด ก. เปาน้ําลายออกใหหมด เช็ดให
ก. โด ข. เร แหง เก็บไวใหเรียบรอย
ค. มี ง. ฟา ข. เมื่อเลนเสร็จแลว เก็บ
ใสกลองทันที โดยไมตองทําความสะอาด
26. จากรูป โนตในบรรทัด ค. นําไปผึ่งแดดแลวเก็บเขาตูท ันที
5 เสน คือ ระดับตัวโนต ของโนตใด เพื่อปองกันเครื่องขึ้นสนิม
ก. โด ข. เร ง. ถูกทุกขอที่กลาวมา
ค. มี ง. ฟา 30.เครื่องสาย เมื่อนักเรียนเลนเสร็จแลว ควร
จะปฏิบัติอยางไร
27 . จากรูป โนตใน ก. เปาน้ําลายออกใหหมด เช็ดให
บรรทัด 5 เสน คือ ระดับตัวโนต ของโนตใด แหง เก็บไวใหเรียบรอย
ก. ฟา ข. ซอล ข. เมื่อเลนเสร็จแลว เก็บใสกลอง
ค. มี ง. ลา ทันที โดยไมตอ งทําความสะอาด
ค. นําไปผึ่งแดดแลวเก็บเขาตูท ันที
28. จากรูป โนตในบรรทัด
เพื่อปองกันเครื่องขึ้นสนิม
5 เสน คือ ระดับตัวโนต ของโนตใด
ง. เช็ดสายใหแหง เก็บไวในที่รม
ก. ที ข. เร เพื่อปองกันการขึ้นสนิ
ค. มี ง. ลา
91

ตารางที่ 5 แสดงคาอํานาจจําแนก คาความยากงาย และคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ

แบบทดสอบ อํานาจจําแนก ความยากงาย


ขอที่ คาอํานาจ การแปล คาความยาก การแปล
จําแนก ความหมาย งาย ความหมาย
1 0.57 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
2 0.66 คาจําแนก ดี 0.73 คอนขางงาย
3 0.48 คาจําแนก ดี 0.60 ปานกลาง
4 0.62 คาจําแนก ดี 0.53 ปานกลาง
5 0.21 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
6 0.38 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
7 0.21 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
8 0.27 คาจําแนก ใชได 0.73 คอนขางงาย
9 0.77 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
10 0.27 คาจําแนก ใชได 0.73 คอนขางงาย
11 0.77 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
12 0.35 คาจําแนก ใชได 0.80 คอนขางงาย
13 0.67 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
14 0.80 คาจําแนก ดี 0.60 ปานกลาง
15 0.32 คาจําแนก ใชได 0.73 คอนขางงาย
16 0.22 คาจําแนก ใชได 0.60 ปานกลาง
17 0.57 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
18 0.22 คาจําแนก ใชได 0.60 ปานกลาง
19 0.77 คาจําแนก ดี 0.67 ปานกลาง
20 0.22 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
92

ตารางที่ 5 แสดงคาอํานาจจําแนก คาความยากงาย และคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ


เรื่อง ดนตรีสากล (ตอ)

แบบทดสอบ อํานาจจําแนก ความยากงาย


ขอที่ คาอํานาจ การแปล คาความยาก การแปล
จําแนก ความหมาย งาย ความหมาย
21 0.22 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
22 0.27 คาจําแนก ใชได 0.73 คอนขางงาย
23 0.22 คาจําแนก ใชได 0.60 ปานกลาง
24 0.22 คาจําแนก ใชได 0.67 ปานกลาง
25 0.35 คาจําแนก ใชได 0.80 คอนขางงาย
26 0.80 คาจําแนก ดี 0.73 คอนขางงาย
27 0.80 คาจําแนก ดี 0.73 คอนขางงาย
28 0.22 คาจําแนก ใชได 0.60 ปานกลาง
29 0.80 คาจําแนก ดี 0.80 คอนขางงาย
30 0.80 คาจําแนก ดี 0.73 คอนขางงาย
93

ตารางที่ 6 แสดงความสอดคลองของแบบทดสอบ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู กลุมสาระ


ศิลปะสาระวิชาดนตรีสากล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชวิธีกระบวนการกลุมเกณฑ
การใหคะแนนของผูเชี่ยวชาญ
1. คําถามที่สอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู 1 คะแนน
2. ไมแนใจกับคําถามสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู 0 คะแนน
3. คําถามไมสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู -1 คะแนน
ตารางการใหคะแนนของผูเชีย่ วชาญ

ขอที่ ผูเชี่ยวชาญ คาดัชนีความสอดคลอง


ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3
1. 1 1 1 1
2. 1 1 1 1
3. 1 1 1 1
4. 1 1 1 1
5. 1 1 1 1
6. 1 1 1 1
7. 1 1 1 1
8. 1 1 1 1
9. 1 1 1 1
10. 1 1 1 1
11. 1 1 1 1
12. 1 1 1 1
13. 1 1 1 1
14. 1 1 1 1
15. 1 1 1 1
94

ตารางการใหคะแนนของผูเชีย่ วชาญ (ตอ)

16. 1 1 1 1
17. 1 1 1 1
18. 1 1 1 1
19. 1 1 1 1
20. 1 1 1 1
21. 1 1 1 1
22. 1 1 1 1
23. 1 1 1 1
24. 1 1 1 1
25. 1 1 1 1
26. 1 1 1 1
27. 1 1 1 1
28. 1 1 1 1
29. 1 1 1 1
30. 1 1 1 1
95

ตารางที่ 7 แสดงความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมกาเรียนรู


เรื่อง ดนตรีสากล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชวิธีกระบวนการกลุม
เกณฑการใหคะแนนของผูเชี่ยวชาญ
1. คําถามที่สอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู 1 คะแนน
2. ไมแนใจกับคําถามสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู 0 คะแนน
3. คําถามไมสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู -1 คะแนน
ตารางการใหคะแนนของผูเชีย่ วชาญ

แผนที่ ผูเชี่ยวชาญ คาดัชนีความสอดคลอง


ทานที่ 1 ทานที่ 2 ทานที่ 3
1 1 1 1 1
2 1 1 1 1
3 1 1 1 1
4 1 1 1 1
5 1 1 1 1
6 1 1 1 1
7 1 1 1 1
8 1 1 1 1
9 1 1 1 1
10 1 1 1 1
11 1 1 1 1
12 1 1 1 1
96

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ

1. รองศาสตราจารยวัชรินทร ศรีรักษา โรงเรียนสาธิตศึกษาศาสตร


ระดับประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน
2. นายปยะศักดิ์ ปกโคทานัง อาจารยประจําภาควิชาศิลปศึกษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
3. นายพัฒน เสงมูล ครู โรงเรียนบานหนองหญาปลอง
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1

You might also like